The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา ป.อ. ปยุตโต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-18 19:10:11

แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา ป.อ. ปยุตโต

แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา ป.อ. ปยุตโต

Keywords: แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา,ป.อ. ปยุตโต

-๓-

แกน ธรรมเพ่อื ชวี ติ

การดาํ เนินชวี ิตทงั้ สามดา น
เปนปจ จัยเกอ้ื หนุนกนั ในการศึกษา

เมอ่ื รูธ รรมชาติของสงิ่ ทงั้ หลายและธรรมชาติของมนษุ ยแ ลว ก็เอาความ
รใู นความจริงของธรรมชาตินน้ั มาใชประโยชน

สาระของพระพุทธศาสนาอยตู รงน้ี คอื การนาํ เอาความรใู นธรรมชาติ
และกฎธรรมชาตมิ าใชป ระโยชน สนองจดุ หมายท่เี ราตองการ คือการพฒั นา
มนุษย เพราะไดบ อกแลววา มนษุ ยพ ฒั นาได จนสามารถเปน อยโู ดยไมตอง
พึง่ พาอวชิ ชา ตัณหา อปุ าทาน

ในเม่อื กระบวนการของชีวติ ท่ีเคลอ่ื นไหวไปน้นั แยกเปน ๓ ดา น คอื
พฤติสมั พันธ (ทเ่ี รยี กโดยอนโุ ลมวา พฤติกรรม) จติ ใจ และปญญา เราก็
พฒั นาชวี ติ ทัง้ ๓ ดา นนี้ขึน้ ไป ใหทาํ อะไรตออะไรไดส ําเร็จตามตองการ จนมี
ชีวิตทีส่ มบรู ณ โดยพฒั นาพฤตกิ รรมข้ึนไป พัฒนาจิตใจข้นึ ไป โดยเฉพาะ
ขอ สาํ คญั ทสี่ ดุ ตอ งพัฒนาปญญาขึน้ ไป เพราะในทสี่ ุด ทุกอยา งจะอยูใ น
ขอบเขตของปญญา อยา งท่วี า รเู ทาใด ทาํ ไดเทาน้ัน

แตใ นทางกลับกนั คนกพ็ ัฒนาปญ ญาไมไ ด ถาไมมีการส่ือสัมพันธ การ
ทําพฤตกิ รรม และการทาํ งานของจิตใจมาเก้ือหนุน

มหี ลกั การอยูวา องคประกอบท้งั ๓ ดานแหง กระบวนการดาํ เนนิ
ชวี ติ ของมนุษย ตอ งพงึ่ พาอาศัยซง่ึ กันและกนั

๔๖ แกนแทข องพระพทุ ธศาสนา

แมวาจุดยอดจะอยูท ่กี ารพัฒนาปญญา กจ็ รงิ แตปญญานนั้ จะเกดิ
ข้นึ มาลอยๆ ไมไ ด ตองอาศยั จิตใจ พรอมดว ยพฤตกิ รรมการเคล่ือนไหว
และการใชอ นิ ทรยี ส มั พนั ธ

ปญญาอาศยั พฤติสัมพันธ (อินทรยี สัมพนั ธ และพฤติกรรม) เชน
อยา งงา ยๆ เราจะไดความรู เราตองอาศยั ตา หู จมูก ล้ิน กายของเรา ส่ือ
ความรูจากโลกภายนอกเขามา เราตอ งเคลื่อนไหวเชนเดนิ ไปหาขอ มูล ตอง
ใชมือหยิบ ฉวย คน แยก เลอื ก เก็บขอ มูลเปน ตน ตอ งใชว าจา เชน รจู กั
สอบถาม รูจ ักปรกึ ษา รูจักพดู เรม่ิ ต้ังแตรจู ักตัง้ คาํ ถาม ถาไมรจู ักต้งั คําถาม
ถามไมเปน พดู กับเขาไมรเู รอ่ื ง เขากไ็ มร ูว าถามอะไร หรือถา ถามดวยคําพูด
ไมดี เขากเ็ กลยี ดเอา ไมรว มมือ ไมอยากตอบ

เพราะฉะน้ันจึงตองพัฒนาพฤติกรรมใหรูจักพูด รูจักตั้งคําถามให
ชัดเจน รูจกั พูดใหนาฟง ใชถอ ยคําสละสลวย พฒั นาพฤตกิ รรมใหสัมพันธ
กับเพ่ือนมนษุ ยอ ยา งไดผ ลดี ใหเ ขามีไมตรี ใหเขาชนื่ ชม ใหเขาเตม็ ใจทีจ่ ะ
รว มมอื เปนตน

พรอมกันนนั้ อกี ดานหนง่ึ ปญญากต็ องอาศยั จติ ใจ เชน จติ ใจตอ งเขม
แข็งอดทน มคี วามเพียรพยายาม แนวแนมั่นคง มสี ติ มสี มาธิ ถา ใจเกียจ
ครา น ระยอ ทอ ถอย ไมสู พอเจอปญ หาก็ถอย ความคิดกไ็ มกาว ปญ ญาก็
ไมพฒั นา แตถา ใจสู เขมแขง็ เดินหนา ตอ ไป ก็สามารถพฒั นาปญญาได
หรอื ถา ไมมสี มาธิ ใจฟุงซา น ก็คิดอะไรสับสนไมช ัดเจน จึงตองใหใจมสี มาธิ
ดวย ดงั นเ้ี ปน ตน สภาพจติ ใจจึงเกอ้ื หนุนตอ การพฒั นาของปญ ญา

จิตใจเปน ฐานของพฤติกรรม อยา งท่ีพดู แลว วา การเคล่อื นไหวทํา
พฤตกิ รรมของคนเรา เกดิ จากความตัง้ ใจ เราตอ งมีเจตนา ซงึ่ ประกอบดว ย
แรงจงู ใจ ถา เรามีแรงจูงใจและความตงั้ ใจที่ดี พฤติกรรมทอี่ อกไปกจ็ ะดี

จิตใจก็ตอ งอาศยั พฤติกรรม เพราะพฤตกิ รรมเปนเครื่องมือสนอง
ความตองการของจิตใจ จิตใจอยากไดโ นนไดน่ี อยากเหน็ อยากดู อยากฟง

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๔๗

หรือเกลยี ดชัง อยากหนี อยากทาํ ลาย อยากไปใหพน จากส่ิงน้นั สิ่งนี้ เปนตน
ก็อาศัยพฤตกิ รรม ตองสาํ เรจ็ ดวยพฤตกิ รรมท้ังนัน้

ปญ ญาเปนตัวช้นี าํ บอกทาง ใหแสงสวา ง กํากับ ควบคมุ ดูแล จัดปรับ
แกไ ข ขยายขอบเขต พัฒนา และทาํ หนา ทปี่ ลดปลอย ชวยใหเ กดิ อสิ รภาพ
ทั้งแกพ ฤติกรรม และแกจติ ใจ

ปญญาช้นี าํ พฤติกรรม ควบคมุ กํากับ ขยายขอบเขต และปลดปลอย
พฤตกิ รรม อยา งทีพ่ ูดไปแลววา พฤตกิ รรมจะทาํ อะไรไดแคไ หน ก็ไดแคเ ทา
ท่ีมปี ญ ญารูเทาใด ถาไมร เู ลย กต็ ดิ ขดั ตัน ถารูเขาใจ พฤตกิ รรมกเ็ ดนิ หนา
ไดต อ ไป ยงิ่ รเู ขา ใจมองเหน็ กวา งไกลลกึ ซงึ้ พฤตกิ รรมกย็ ง่ิ กวา งขวางซบั ซอ น
และทาํ ไดผลมากขนึ้ ๆ

ปญญาบอกทางแกจติ ใจ รวมทง้ั ชนี้ ํา กํากับ จดั ปรับ แกไ ข ขยาย
ขอบเขต ตลอดจนปลดปลอยจิตใจใหเ ปน อสิ ระ อยา งท่พี ดู ไปแลว เชน พอ
เจออะไร ถา ไมร เู รอ่ื ง กต็ ดิ ขดั อัดอ้นั ตันทันที ทําอะไรไมถูก เกดิ ทุกขเปน
ปญ หา แตพ อปญ ญามา รูวา สงิ่ น้ันคอื อะไร เปนอยางไร จะปฏบิ ัติตอมัน
อยางไร เราจะเอามนั มาใชทาํ อะไรได ก็โลง โปรงสบายใจ หมดปญหา ไมบ ีบ
ค้นั ตดิ ขดั คบั ของ ใจก็โลง ไป

เพราะฉะน้นั ปญ ญามาก็ทาํ ใหจ ิตใจเปนอิสระ มีความสขุ โลง โปรง แก
ปญ หาได เรยี กวาเปนตวั ปลดปลอ ย คอื liberate จติ ใจ

เพราะฉะน้ัน ชวี ิตทัง้ ๓ ดา น ของมนุษย คือ พฤติกรรม จติ ใจ
ปญ ญา จึงคบื เคลื่อนไปดว ยกันเปน ระบบแหงกระบวนการ ทอ่ี าศัยซงึ่ กัน
และกนั มนษุ ยจึงตอ งพัฒนาไปดวยกันพรอมทงั้ ๓ อยาง

๔๘ แกน แทของพระพุทธศาสนา

บนฐานแหง หลักความสมั พันธของชวี ติ สามดา น
ทรงตงั้ หลกั ไตรสิกขาใหมนษุ ยพฒั นาอยา งบูรณาการ

เม่อื รเู ขาใจหลักความสัมพนั ธเ ปนปจจัยแกก นั ของชวี ติ ๓ ดา นน้ันแลว
ก็นําหลกั นั้นมาใชใ นการพฒั นาชวี ติ เริม่ ต้งั แตพฒั นาพฤติกรรมใหดีขึน้
โดยฝก ดว ยความต้ังใจ และมคี วามเขาใจ ใหเ กดิ พฤตกิ รรมท่ดี ีงามเกอื้ กูล
ขน้ึ มาติดตัวหรือประจาํ ตวั เรยี กวา ศีล

โดยท่ัวไป ในการฝก ใหเ กิดศลี เราจะใช “วินัย” เพราะวาวนิ ยั นนั้ เปนตัว
กําหนดรปู แบบ วินัยกค็ ือการจดั ตั้ง วางระบบ กําหนดระเบียบแบบแผนใน
สังคมมนุษย ถาเราไมมรี ะบบระเบยี บแบบแผน พฤตกิ รรมของมนษุ ยจะวนุ
วายมาก เราจึงใชวินัยเปนตัวกาํ หนดหรอื จดั ระบบพฤติกรรม

เมอ่ื พฤตกิ รรมของคนเปน ไปตามวนิ ยั ทจ่ี ดั ตงั้ วางกาํ หนดไว กเ็ รยี กวา ศลี
เวลานีส้ ับสนกนั มาก ระหวางคําวา “วินัย” กับ “ศีล” จนกระทง่ั บางทีก็
ใชเ ปน อนั เดียวกนั หรือไมก ็แยกหา งกนั ไปคนละเร่อื งเลย
ขออธบิ ายวา วนิ ยั คอื การจดั ตงั้ วางระบบระเบยี บแบบแผน รวมทงั้ ตวั
ลายลกั ษณอ กั ษรทเ่ี ปน ขอ กาํ หนดวา เราจดั วางระเบยี บแบบแผนกาํ หนดพฤติ
กรรมกนั ไวอ ยา งไร
สว นคณุ สมบตั ขิ องคนทต่ี งั้ อยใู นวนิ ยั นนั้ เรยี กวา ศลี กแ็ คน เี้ อง
วนิ ยั น้นั อยูขางนอก วินัยเปนเครือ่ งมือฝก คนใหม ีพฤตกิ รรมท่ีถูกตอ ง
เหมาะสม เปน ตวั หนังสอื บาง เปน ภาวะแหงความเปน ระเบียบบา ง เปนระบบ
แบบแผนทกี่ าํ หนดการฝกบา ง ตลอดจนเปน การปกครองคือจดั การดแู ล
ควบคมุ คนใหป ฏิบตั หิ รือฝกตนตามระบบระเบียบท่จี ัดต้งั ไวน น้ั
เมื่อคนปฏบิ ตั ติ าม จนความเปนระเบียบกลายเปน คณุ สมบัติในตวั เขา
แลว การที่เขาปฏบิ ตั ิตามวินยั นัน้ เราเรยี กวา ศีล
เพราะฉะน้นั คาํ วา “มวี นิ ยั ” ทใี่ ชก ันในสมัยน้ี ก็คอื ศีลน่ันเอง

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๔๙

เร่อื งนย้ี งั มขี อทีค่ วรทราบอีกมาก แตเ วลาไมพอ จะตอ งขอผา นไปกอน
พดู คราวๆ วา การฝกพฤติกรรมและการติดตอสมั พันธกับโลกภายนอกของ
มนุษยใ หเปน ไปในทางท่ดี ีงามเกื้อกลู จนเกิดเปนคุณสมบัติขึน้ ในตวั ของเขา
เรยี กสั้นๆ วา “ศลี ” คอื การมีพฤติกรรมและการสือ่ สารสัมพนั ธท พ่ี งึ ปรารถนา
เรยี กเตม็ วา “อธศิ ีลสิกขา”

เปน อันวา ศลี กค็ อื กระบวนการฝก พฤตกิ รรมและการตดิ ตอ สมั พันธ
ของมนุษย กับสิง่ แวดลอ มหรือโลกภายนอก

การพฒั นาดานจิตใจ มีคณุ สมบตั ิมากมายท่ีพงึ ตองการ เชน เมตตา
กรณุ า ศรทั ธา กตัญกู ตเวที ความเคารพ ความเพียร ความเขม แข็ง อด
ทน ความมีสติ ความมีสมาธิ ความรา เริง เบกิ บาน ผองใส ความสขุ ฯลฯ
เรียกวา “อธิจติ ตสิกขา”

แตบ างทเี รียกชอ่ื ใหส นั้ และงายเขา โดยเอาสมาธิ ซง่ึ เปนคุณสมบตั ิท่ี
เปน แกนสําคัญมาเปน ตวั แทน จึงเรยี กการพฒั นาดานจติ ท้ังหมดวา สมาธิ

คําท่ีนยิ มพดู กนั ในปจ จุบันวา “การพัฒนาทางอารมณ” กเ็ ปน คาํ พดู
เพยี้ นไป ซง่ึ มคี วามหมายรวมอยใู นการพฒั นาดา นจติ ใจทก่ี าํ ลงั อธบิ ายอยนู ้ี

ทาํ ไมจงึ วา สมาธิ เปนคุณสมบัติแกน ถงึ กบั เปนตวั แทนที่ใชเ รียกชือ่
การพัฒนาดานจิตทง้ั หมด?

ตอบวา ในการพฒั นาจติ ของคนนี้ มคี ณุ สมบตั ิสาํ คญั ทส่ี ดุ อยูอ ยา งหนึ่ง
ซึ่งถา ขาดไปเสยี คณุ สมบัตอิ ยา งอื่นก็จะต้งั อยไู มไ ด และการพฒั นาดา นจิต
ใจกจ็ ะดําเนินไปไมไ ด

เหมอื นกับวาเรามีของมากมาย เราจะจัดเก็บต้ังมันไว หรือเราจะทํางาน
กับมัน หรือจะใหของเหลานัน้ เจรญิ งอกงามขนึ้ ไป หรอื อะไรก็แลว แต มีสิ่ง
จําเปนอยา งหนง่ึ คอื ฐานท่ีตงั้ หรอื ท่รี องรบั ทม่ี ่นั คง

เชน จะวางของบนโตะ โตะกต็ อ งมนั่ ถา โตะ สัน่ ไหว ของอาจจะลม หรือ
หลน หายไปเลย หรือจะทาํ งานกับของเหลา นั้น กไ็ มส ะดวกหรอื ไมส ําเร็จ แต

๕๐ แกนแทของพระพุทธศาสนา

ถา โตะทต่ี งั้ ทวี่ างหรอื ท่ีรองรับนัน้ มัน่ คงไมหวนั่ ไหว ของนน้ั กต็ ั้งอยู จะจดั จะ
ทําอะไรกับมนั หรือจะใหเ กิดการเคลอื่ นไหวงอกงามเจริญขึ้น ก็ทําได

ในทางจิตใจก็เหมือนกัน คณุ สมบัตทิ ี่เปนแกนในการพฒั นาจิตใจ กค็ ือ
ภาวะทจี่ ิตอยตู ัวไดท ่ี ซง่ึ ชวยใหคณุ สมบตั ิอื่นๆ ต้งั อยูได เจรญิ งอกงามได
ตลอดจนชว ยใหปญญาทาํ งานไดด ี

คณุ สมบตั ติ ัวแกนนี้เรยี กวา สมาธิ แปลวาจิตตงั้ ม่ัน คือจิตอยูกบั ส่ิงท่ี
ตอ งการไดต ามตอ งการ ถา จิตไมเ ปนสมาธิ มนั ก็ไมอ ยกู บั สงิ่ ทตี่ อ งการ หรอื
อยกู ับส่งิ ทต่ี อ งการไมไ ดตามตอ งการ เชน อยูก ับหนงั สือ อยกู บั งานไมไ ดเลย
เดี๋ยวไปๆ

สมาธนิ ่แี หละเปน ตัวแทนของกระบวนการพัฒนาจติ เพราะฉะนนั้ จงึ
เอาคําวา “สมาธิ” มาเรยี กแทนการพฒั นาคณุ สมบัติดา นจติ ท้ังหมด นเ่ี รยี ก
วาเปนวิธเี รียกแบบตัวแทน แตตัวแทนน้เี ปนตัวแกนดวย

สว นการพัฒนาปญญา เรียกชอื่ เตม็ วา “อธิปญ ญาสิกขา” แตนิยม
เรยี กงายๆ สน้ั ๆ วา ปญญา คอื กระบวนการพฒั นาความรูความเขาใจ

เปนอนั วา การพฒั นามนุษยก็อยทู ี่ ๓ ดาน หรอื ๓ แดนน้ี ซง่ึ ดาํ เนินไป
ดวยกันอยางเกื้อหนุนแกกันเปน ระบบแหง บรู ณาการ

การฝก ฝนพฒั นามนุษย เริ่มตงั้ แตการเรยี นรูตา งๆ น้ี ศพั ทบาลีเรียกวา
สกิ ขา ฉะน้นั การฝก ๓ ดานท่พี ูดมาแลว จงึ เปน สกิ ขา ๓ ดา น คาํ วา ๓ นน้ั
ภาษาบาลีคือ “ติ” ถา เปนสนั สกฤตก็คือ “ไตร” ฉะนัน้ จงึ เปน ไตรสิกขา

ไตรสิกขากแ็ ยกเปน ศีล สมาธิ ปญ ญา ดังกลาวแลว ซ่ึงก็คอื กระบวน
การพัฒนาพฤติกรรม พฒั นาจติ ใจ และพฒั นาปญ ญา เพ่อื ใหช วี ติ มนษุ ย
ดาํ เนนิ ไปสูค วามสมบรู ณ คือภาวะท่เี ปนผูมวี ิชาแลว มชี ีวติ เปน อยูดวย
ปญญา ไมตองมชี วี ติ อยโู ดยพึง่ พาอาศัยอวชิ ชา ตณั หา อุปาทาน และไมตก
อยใู ตอ ํานาจครอบงาํ ของมนั อีกตอ ไป ก็คือพน ทุกข โดยกาํ จดั สมทุ ยั ได
บรรลจุ ดุ หมาย คือ นิโรธ เพราะปฏบิ ตั ติ ามมรรคไดค รบถว น

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๕๑

จะเหน็ วา อริยสจั สม่ี าครบหมดเลยทีเดียว
เรอื่ งไตรสิกขา คอื การท่ีจะพัฒนาพฤติกรรม จิตใจ และปญญานน้ั มี
รายละเอยี ดมาก ดงั นัน้ เพ่ือใหส ะดวกในการปฏบิ ตั ิ ทานจงึ จาํ แนกออกไป
เปนขอปฏิบัตยิ อย ทีละหมวดทีละประเภท ซ่ึงมมี ากมาย คอื ขอ ปฏิบัตแิ ละ
คุณสมบัติทง้ั หลายท่กี ลาวไวใ นพระพทุ ธศาสนา

เม่ือพัฒนาดว ยไตรสกิ ขา ชีวิตกเ็ ปน อริยมรรคา
เพราะชีวติ ท่ีดี คอื ชวี ติ ทีศ่ ึกษา

ชวี ติ ตอ งเปน อยดู าํ เนนิ ไปตลอดเวลา การทช่ี วี ติ เปน อยดู าํ เนนิ ไปกค็ อื
การทตี่ อ งเคลอ่ื นไหวพบประสบการณใ หมๆ เจอสถานการณใ หมๆ ซ่งึ จะตอ ง
รูจ กั ตอ งเขาใจ ตอ งปฏบิ ตั ิหรือจดั การอยางใดอยางหนึง่ หรอื หาทางแกไ ข
ปญ หาใหผ า นรอดหรอื ลลุ ว งไป ทง้ั หมดนเี้ รยี กสนั้ ๆ กค็ อื สกิ ขา หรอื การศกึ ษา

เพราะฉะนัน้ การทชี่ วี ิตจะเปนอยูไ ด ก็ตอ งศกึ ษาหรอื สิกขาตลอดเวลา
พดู สน้ั ๆ วา ชวี ิตคอื การศึกษา หรอื ชวี ติ ทีด่ คี ือชวี ิตทมี่ สี ิกขา หมายความวา
มีการเรียนรู หรอื มีการฝกฝนพัฒนาไปดวย

พดู อกี อยา งหน่งึ วา การดําเนนิ ชีวติ ท่ดี ี จะเปน ชวี ติ แหงสิกขาไปในตัว
เราเคยไดย ินวา ฝร่งั บางพวกวาชวี ติ คอื การตอสู บางก็วา ชวี ิตเปนความ
ฝน แตถา พูดตามหลักพระพุทธศาสนา “ชวี ิตคือการศึกษา” ถา ใชภาษา
ฝร่งั ก็ตอ งพูดวา To live is to learn. หรือ Life is learning.
ตรงน้ีเปนการประสานระหวางการพัฒนามนุษยหรือการเรียนรูฝกฝน
พฒั นามนุษย ที่เรียกวาสกิ ขา/ศึกษา กบั การดาํ เนนิ ชีวติ ทด่ี ีของมนษุ ยท ่ี
เรียกวา มรรค ใหเปนอนั เดียวกัน คอื การดําเนนิ ชวี ติ ชนดิ ทมี่ กี ารศกึ ษา
พัฒนาชีวติ ไปดวยในตัว จงึ จะเปนชวี ติ ท่ีดี
ศีล สมาธิ ปญญา คือการพฒั นาพฤติกรรม จิตใจ และปญ ญา หรอื

๕๒ แกน แทของพระพทุ ธศาสนา

การศกึ ษา ๓ ดา นทพ่ี ดู ไปแลว เมอื่ ขยายออกเปน ขอ ปฏบิ ตั ิ กม็ าเปน มรรคมี
องค ๘ นนั่ เอง

ในทํานองเดียวกัน มรรคมอี งค ๘ เมื่อสรปุ ก็เปน ๓ คือ ศีล สมาธิ
ปญญา

ฉะนนั้ ศีล สมาธิ ปญญา ๓ อยา งของไตรสกิ ขา กับมรรคมีองค ๘
ประการ จึงตรงกนั กลาวคอื

ดานศลี กระจายออกเปนสัมมาวาจา สมั มากมั มนั ตะ และสมั มาอาชวี ะ
น่ีคือการใชก ายและวาจาใหถกู ตองดีงาม ท้ังในการกระทาํ ทั่วไป ในการสื่อ
สารสัมพนั ธ และในการเล้ยี งชีพ ใหถูกตอง

ดานจติ ใจ มีมากมาย แตตวั นําสาํ คญั มี ๓ คอื ตอ งมคี วามเพียร
พยายาม เดินไปขา งหนา เรยี กวา สมั มาวายามะ ตองมีสตเิ ปนตวั คอยจบั
คอยกาํ หนดใหท าํ งานได และเปน ตวั เตอื นใหไ มเ ผลอพลาดและไมป ลอ ย
โอกาสใหเ สียไป เรยี กวา สมั มาสติ กับทง้ั ตอ งมสี มาธิ ใหจิตแนว แน มีความ
สงบ ดาํ เนินไปอยา งม่นั คง เรียกวา สัมมาสมาธิ

ดา นปญ ญา แยกเปน ๒ คอื สมั มาทฏิ ฐิ มคี วามเหน็ ความเขา ใจถูก
ตอง และสมั มาสังกปั ปะ ดาํ ริถกู ตอ ง คือ วางแนวทางความคิดท่ีจะนาํ ชวี ิต
ไปในทางทถี่ ูกตอ ง

พอเร่ิมกระบวนการโดยมีความรูเขาใจท่ีทําใหวางแนวความคิดถูกตอง
ท้งั เจตจาํ นง ความเพยี รพยายาม และสติท่กี ํากับ เปนตน มาสนองแนว
ความคิดนี้ พฤตกิ รรมกม็ าสนองเจตจาํ นงและความเพยี รพยายามนั้น จึง
ดําเนินชีวิตไปดวยการเรียนรูและปฏิบัติตอประสบการณและสถานการณ
ตางๆ อยางถกู ตองไดผ ลดี ไตรสกิ ขากม็ าประสานกบั มรรค

ไตรสิกขา ก็คือการพัฒนามนษุ ยใ หด ําเนินชวี ิตดีงามถูกตอง ทําใหม ีวถิ ี
ชวี ติ ท่เี ปนมรรค

สวนมรรค ซึ่งแปลวาทาง คือทางดาํ เนินชวี ิต หรอื วถิ ชี ีวติ ที่ถกู ตองดี

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๕๓

งามของมนษุ ย กต็ องเปน วิถีชีวติ แหง การเรียนรฝู ก ฝนพัฒนาตน คือสกิ ขา
มรรคกับสกิ ขา จงึ ประสานเปนอันเดยี วกนั เมือ่ มองในแงอรยิ สจั สี่ ก็

เปน อรยิ มรรค คอื เปนวถิ ีชวี ิตอันประเสรฐิ
เมือ่ เปน มรรค กด็ ําเนนิ กาวหนา ไปสูจุดหมาย โดยกาํ จัดสมทุ ยั ใหหมด

ไปเร่ือยๆ ชว ยใหเรามีชีวิตทพ่ี ึง่ พาอวิชชา ตัณหา อปุ าทานนอ ยลงไปๆ ไมอ ยู
ใตอ าํ นาจครอบงําของมนั พรอมกับทเี่ ราจะมีปญญาเพมิ่ ข้นึ และดําเนนิ ชีวติ
ดวยปญญามากข้นึ ทกุ ขก็จะนอยลงไป สขุ จะมากข้ึนตามลาํ ดับ จนกระทง่ั
ในทส่ี ุดพอสมุทยั หมด ทุกขก็หมด ก็บรรลจุ ดุ หมายเปน นโิ รธโดยสมบูรณ

จุดเริ่มของการศึกษา มชี อ งทางทชี่ วี ติ เตรียมไวให
แตต องใชเปน จงึ จะเกิดการพัฒนา

เรื่องไมจ บเทา น้ี เมอ่ื แยกแยะออกไป ก็ถงึ องคป ระกอบทเ่ี ราตองการ
สุดยอดคือ ปญญา

อยางทีก่ ลาวแลว วา มนษุ ยจะตัง้ จติ จํานงในใจ และจะทาํ พฤตกิ รรมได
แคไ หน ก็อยูในขอบเขตของปญ ญา และปญ ญาเปนตวั แกป ญ หาท่ีแทจรงิ

แตป ญ ญาจะเกดิ ขน้ึ มาไดอ ยา งไร เรากต็ อ งรกู ระบวนการพฒั นาของปญ ญา
การทจ่ี ะเขา ใจเรอ่ื งน้ี กต็ อ งยอ นกลบั ไปพดู เรอ่ื งธรรมชาตขิ องมนษุ ยใ หมอ กี

หนั มาดทู ต่ี ัวมนษุ ยเองวา มนษุ ยเรยี นรูไดอ ยางไร และพรอมกนั นนั้
มนุษยส มั พนั ธกบั โลกและส่ิงแวดลอมอยา งไร ก็ตองดทู ่เี ครื่องมอื สอ่ื
สัมพันธร ะหวา งมนษุ ยกบั สง่ิ แวดลอ ม ซึง่ มี ๒ ประเภท คือ

๑. มนุษยสัมพันธก ับสิ่งแวดลอ มดวยสง่ิ ทีเ่ รียกวา อินทรีย หรอื

อายตนะ ๖ อยา ง คอื ตา หู จมกู ล้ิน กาย ใจ อินทรยี เ หลา น้ีเปนทาง หรอื
เปน ประตทู เ่ี ขามาของความรูข อ มูลตา งๆ ทเ่ี รยี กวา การรับรู เพราะฉะน้ัน
อนิ ทรียพวกนที้ ง้ั หมดเรียกวา ทวาร ๖ ซึ่งแปลวา ประตหู รอื ชอ งทาง

๕๔ แกน แทข องพระพุทธศาสนา

การท่เี รียกวาอายตนะ ก็เพราะเปนแดนตอระหวา งชวี ิตของเรากับโลก
และทีเ่ รยี กวาอนิ ทรยี  เพราะทํางานเปนใหญใ นหนาท่ีของตัว เชน ตาเปน
อนิ ทรยี ใ นการเหน็ หเู ปนอินทรยี ในการฟง เปนตน และชอื่ วาทวาร ในแง
เปน ประตู หรอื เปน ชองทางเชื่อมตอระหวางชวี ิตกบั โลก เปน ชองทางเขา มา
ของขอมูลตา งๆ เปน ทางสัมพนั ธซึ่งมี ๖ อยา ง คอื ตา หู จมูก ลนิ้ กาย ใจ

๒. เราติดตอ สมั พันธกบั โลกภายนอก ดวยพฤติกรรมทีแ่ สดงออกทาง

ประตู หรอื ทวาร ๓ คือ กาย วาจา ใจ
เราสัมพันธกับโลกภายนอก โดยเคลอ่ื นไหวจบั โนน จบั น่ี ดว ยกาย ตดิ

ตอ สมั พนั ธส อื่ สารกบั โลกมนษุ ยภ ายนอก โดยพดู จาบอกแจง ไถถ ามชแ้ี จง
ดว ยวาจา และมเี จตจาํ นง ตง้ั เจตนา คดิ การตา งๆดว ยใจ

สรุปวา การเก่ยี วขอ งสัมพนั ธก ับสง่ิ แวดลอมในโลกทัง้ หมด มีชองทาง
ติดตอ คอื ทวาร ๒ ชดุ คือ

๑. ทวาร ประเภทชอ งทางท่จี ะรู ๖ ทาง คือ ตา หู จมูก ลนิ้ กาย ใจ
(เรยี กเต็มวา ผสั สทวาร ๖ = ชอ งทางรบั รู)

๒. ทวาร ประเภทชองทางทีจ่ ะทาํ ๓ ทาง คือ กาย วาจา ใจ
(เรียกเตม็ วา กรรมทวาร ๓ = ชองทางทาํ การ)

การเกย่ี วขอ งกบั โลกหรอื สงิ่ แวดลอ มในดา นการกระทาํ น้ี เรยี กวา กรรม
ซง่ึ แยกเปน การกระทาํ ทางกายเรียกวา กายกรรม การกระทาํ ทางวาจาเรยี ก
วา วจกี รรม การกระทําทางใจเรยี กวา มโนกรรม

เม่อื จับหลกั นไ้ี ด เรากเ็ ขา สกู ระบวนการพฒั นามนษุ ยท จ่ี ะตอ งอาศัย
ประตู หรอื ทวาร ทง้ั ๙ (๖+๓) นี้

เรมิ่ ดว ยทวารชุด ตา หู จมกู ลิน้ กาย ใจ ทเ่ี รียกวาอนิ ทรีย หรือ
อายตนะ ๖ น้ัน เราใชม นั เพือ่ อะไร มนั ทาํ หนาทีอ่ ะไร

ถาเราไมรูหนา ที่หรอื การทํางานของมัน เราก็ใชมนั สะเปะสะปะ เร่อื ย
เปอ ย คอื ใชไ มเ ปน ไมม ปี ระสิทธิภาพ เราก็ไมพัฒนา แตถ าเรารูเขาใจ และ

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๕๕

ใชมันใหถกู ตอง เรากจ็ ะพัฒนาไดอ ยางดี
พดู แบบงา ยๆ วา โดยสรปุ หนา ทขี่ องอนิ ทรยี  คอื ตา หู จมกู ลน้ิ กาย

ใจ แยกได ๒ อยา ง คอื
๑. หนาที่รู คือ รบั รูขอมลู ขา วสาร เชน ตาดู รวู าเปน อะไร วาเปน

นาฬิกา เปน กลองถา ยรูป เปน ดอกไม ใบไมส เี ขยี ว สีแดง สเี หลอื ง รูปรา ง
ยาวส้นั ใหญเลก็ หไู ดย ินเสยี งวา ดัง เบา เปนถอ ยคาํ สอื่ สารวา อยา งไร
เปน ตน ทําใหไ ด data และ information

๒. หนาท่รี ูสึก หรือรบั ความรสู กึ คอื พรอมกบั รบั รขู อ มูล เราก็มคี วาม
รูสกึ ดว ย บางทีตัวเดน กลับเปน ความรสู กึ เชน เห็นแลวรูสึกสบายหรือไม
สบาย ถกู ตาไมถกู ตา สวยหรือนา เกลยี ด ถูกหูไมถ กู หู เสียงนมุ นวลไพเราะ
หรือดงั แสบแกว หรู าํ คาญ เปน ตน

จะเหน็ วา อนิ ทรีย หรืออายตนะ หรือทวาร ๖ น้ที ําหนา ที่ ๒ อยาง
พรอ มกนั ท้ังรบั รขู อ มลู ดว ย และรบั ความรูสกึ ดวย พรอมกนั

การรับดานรูข อมูล เรยี กวา ดา นศกึ ษา
การรบั ดานความรสู ึก เรียกวา ดา นเสพ
เปน อันวา อายตนะทําหนาท่ี ๒ อยา งคือ ศกึ ษา กบั เสพ
ในการดาํ เนินชีวติ ของมนษุ ยนัน้
ถา จะใหม นุษยพัฒนา มนุษยจะตอ งใชอ ินทรยี เ พือ่ รหู รือศกึ ษาใหมาก
สวนมนุษยทไ่ี มพัฒนา จะใชอินทรียเพอ่ื เสพเปน สวนใหญ บางทีแทบ
ไมใ ชเ พือ่ การศึกษาเลย เอาแตห าเสพส่ิงชอบใจไมชอบใจ ถกู หู ถูกตา เอา
สวยงาม สนุกสนานบนั เทิงเขา วา
กญุ แจสาํ คญั ทจี่ ะตดั สนิ วา มนษุ ยจ ะใหช วี ติ ของตวั เองเปน อยา งไร จะพฒั นา
หรอื ไม จะชว ยใหโ ลกหรอื สงั คมไปทางไหน กอ็ ยทู กี่ ารใชอ นิ ทรยี น แ้ี หละ
คนท่ีไมพัฒนา กจ็ ะใชอินทรียเพ่ือเสพสนองความรูสกึ อยูกับความรู
สึกสบายไมส บาย สุขทกุ ข ชอบใจไมช อบใจ แลวก็วนเวียนอยูนนั่ สขุ ทุกข

๕๖ แกนแทของพระพทุ ธศาสนา

ของเขาอยทู ี่ความชอบใจไมชอบใจ เจอสิ่งชอบใจก็เปน สขุ เจอสง่ิ ไมช อบใจก็
เปนทุกข แลว กห็ าทางหนสี ิง่ ท่ไี มช อบใจ หาแตสิ่งชอบใจ วนเวยี นอยูแคนี้

แตถาใชอ ินทรียเ พอ่ื ศกึ ษาสนองความตองการรู ก็จะใชตา หู
เปน ตน ไปในทางการเรยี นรู และจะพฒั นาไปเรอ่ื ยๆ ปญ ญาจะเกิด จะรูวา
อะไรเปนอะไร แลว ตอไปก็จะถึงจุดแยก

คนท่อี ยูก ับการใชอนิ ทรียเ พอ่ื เสพความรูสกึ ความสุขของเขากจ็ ํากดั อยู
กบั สง่ิ ท่ชี อบใจ แตค นทใ่ี ชอินทรยี เพ่ือศึกษา จะพฒั นาความสขุ ใหขยาย
ขอบเขตกวา งขวางออกไป พรอ มกับแรงจงู ใจท่เี กดิ ขนึ้ ใหมๆ

เมื่อคนเร่ิมศึกษา การพฒั นาก็เริ่มทนั ที
ความตอ งการอยางใหมก ็มี ความสขุ อยางใหมก ็มา

ตอนนพี้ ึงทราบวา มีแรงจงู ใจ ๒ แบบ
แรงจูงใจแบบท่ี ๑ คือแรงจูงใจในการเสพ เรยี กวาตัณหา ซึง่ มากับ
เรอ่ื งของความรูสึก
แรงจงู ใจแบบท่ี ๒ คือแรงจงู ใจในการศึกษา (และสรา งสรรค) เรียกวา
ฉนั ทะ ซง่ึ มากบั เรือ่ งของความรู
ตัณหาเปนความตอ งการประเภทความรูสึก คอื มีปฏกิ ริ ยิ าสนองตอบ
ตอ สงิ่ ทีช่ อบใจ-ไมชอบใจ ถาชอบใจสิง่ ใดก็จะเกดิ กามตณั หา ปรารถนาจะได
เสพส่งิ นัน้ อีกและมากข้นึ ยิง่ ขนึ้ ไป เกดิ ภวตณั หา อยากคงอยเู ปน อยใู นภาวะ
หรอื สถานะทจี่ ะไดส ง่ิ ทปี่ รารถนานน้ั ตลอดไป ถา ไมช อบใจกจ็ ะเกดิ วภิ วตณั หา
อยากจะหนี อยากจะหลบหาย อยากจะทําลาย
คนทเ่ี ปน นกั เสพจึงวนเวียนอยกู บั แรงจูงใจ ท่ีเรยี กวาตัณหา
แตพ อใชอ นิ ทรยี เ พอ่ื ศกึ ษา กเ็ กดิ การเรยี นรู พอไดค วามรมู า กจ็ ะเกดิ
ความอยากรยู ง่ิ ขน้ึ ไปวา อะไรเปน อะไร พอไดส นองความอยากรกู เ็ กดิ ความสขุ

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๕๗

จากการสนองความตองการในการรู ความสุขจะพัฒนาขนึ้ ตอนน้จี ะมี
ความสขุ จากการสนองความใฝรู

ยง่ิ กวานนั้ พอรูวาอะไรเปน อะไร เขาจะเรม่ิ แยกไดว า เออ...สิง่ นมี้ นั อยู
ในภาวะท่ีควรจะเปนไหม ปญญาทร่ี ทู ่ีแยกได จะทาํ ใหเกดิ ความอยากหรือ
ความตอ งการคืบเคลอื่ นกา วไปอกี ขนั้ หน่ึง คืออยากใหส ิง่ นน้ั ๆ อยูในภาวะที่
มันควรจะเปน ซึ่งเปนธรรมดาของการศกึ ษาท่จี ะเปนอยางนั้นเอง เพราะ
ความรทู ําใหเราแยกหรอื จาํ แนกได เราเหน็ โตะ ตัวน้สี มบรู ณเ รียบรอ ย เราก็
พอใจ พอเหน็ ตัวนน้ั ไมสมบรู ณบ กพรอ ง เราก็อยากใหม ันสมบูรณ

เม่ือความรแู ยกแยะใหแลว ก็จะเกดิ ความตอ งการหรือเกดิ ความอยาก
ชนดิ ใหม คืออยากใหมันอยใู นภาวะทีค่ วรจะเปน ซ่ึงเรยี กสัน้ ๆ วา อยากให
มนั ดี ถา มันยังไมดกี ็อยากใหม ันดี แลว กก็ า วไปสูการอยากทาํ ใหมนั ดี และ
กา วไปสูพฤติกรรมในการกระทําเพอ่ื ใหมนั ดี ตอนน้ีแหละพฤตกิ รรมในการ
กระทํา(เพอื่ ใหมันด)ี ก็เกิดข้ึน

พอทาํ ใหด ไี ด กเ็ กดิ ความสขุ เพราะความสขุ เกดิ จากการสนองความ
ตอ งการ เมอื่ เราพฒั นาความตอ งการอยา งใหมข น้ึ ได ความสขุ กพ็ ฒั นาไปดว ย

ถาเราไมพ ฒั นาความตองการ ความสขุ ของเรากจ็ าํ กัดอยูกบั การเสพ
คอื ตอ งการสง่ิ ชอบใจและไมต อ งการสง่ิ ไมช อบใจ แลว กว็ นเวยี นอยกู บั ตณั หา

พอเราพัฒนาในดา นความรู เราใชอ ายตนะในเชงิ ศึกษาเรยี นรู กเ็ กิด
ความอยากรู ซง่ึ เปน ความตองการใหม เมอ่ื หาความรูเ พ่ือสนองความ
ตอ งการท่จี ะรู ก็ไดความสุขจากการเรียนรู

เม่ือตองการใหมนั ดี อยากใหมนั ดี และไดท าํ เพอื่ สนองความตอ งการท่ี
อยากใหม นั ดนี น้ั ได กเ็ กดิ ความสขุ จากการทาํ ใหม นั ดี การกระทาํ กก็ ลายเปน
ความสขุ หรอื การสรา งสรรคเ ปน ความสขุ คนกไ็ ดค วามสขุ จากการสรา งสรรค

เพราะฉะนนั้ มนษุ ยจ งึ พฒั นาดว ยการศกึ ษา คอื พฒั นาชวี ติ ของตน โดย
พฒั นาพฤตกิ รรม พฒั นาจติ ใจ พฒั นาปญ ญา ซงึ่ รวมทง้ั พฒั นาความสขุ ดว ย

๕๘ แกนแทข องพระพทุ ธศาสนา

ตรงนี้เปนจุดสาํ คญั คือ การพัฒนาความสขุ ซ่งึ เกิดจากการสนอง
ความตองการใหม ท่ีเรยี กวา ใฝรู ใฝดี ใฝทาํ ใหด ี หรอื ความอยากรแู ละ
อยากทาํ ใหมนั ดี ซึ่งทางพระเรยี กวา ฉันทะ เปนแรงจงู ใจชนดิ ใหม ซึ่งถา ไม
มีการศกึ ษา กจ็ ะไมมแี รงจูงใจชนดิ น้ี

ฉะนนั้ พระพุทธศาสนาจงึ ใหเราลดตณั หา พยายามทาํ ตัณหาใหน อ ยลง
คอื อาศยั มนั และขนึ้ ตอ มนั ใหน อ ยลง พรอ มกบั พฒั นาและใชฉ นั ทะใหม ากขนึ้

แตเรามักจะพดู กนั ดานเดยี ว บอกใหล ดละตณั หา ทาํ ใหเกดิ ความเขา
ใจผิดวา ความอยากความตองการตอ งลดละใหห มด กลายเปนความผดิ
พลาดอยางใหญห ลวง

พระพุทธศาสนาแยกไวว า ความอยาก มี ๒ ประเภท คือความอยากท่ี
เปน กุศล กบั ความอยากทเ่ี ปน อกศุ ล

๑. ความอยากท่ีเปน อกศุ ลเรยี กวา ตณั หา ความอยากแบบนี้ ถาเราตก
เปนทาสของมันแลว จะไมพัฒนา ไดแ ตจ มอยูกบั ความสุขและความทุกข
จากความชอบใจและไมชอบใจ

๒. ความอยากท่เี ปน กุศลเรยี กวา ฉนั ทะ ถา เราพัฒนาปญญา ความ
ปรารถนาท่ีเปน แรงจูงใจชนิดใหมกจ็ ะเกิดขนึ้ ซ่งึ ทาํ ใหเ ราไดความสุขชนิด
ใหม และจะนาํ เรากา วหนาไปในการพฒั นาชีวิต

พอเกิดฉันทะ พระพทุ ธเจาตรัสวา น้คี อื แสงเงินแสงทองของชีวติ ที่ดี
งาม เปนรุง อรุณของการศึกษา

ถา เดก็ คนไหนเกดิ ฉนั ทะ เกดิ ความใฝร ู เกดิ ความใฝด ี เกดิ ความใฝจ ะทาํ
ใหด ี หรอื เกดิ ความใฝส รา งสรรคข น้ึ มาแลว มน่ั ใจไดเ ลยวา เดก็ คนนนั้ จะพฒั นา
แนๆ เพราะแสงเงนิ แสงทองมาแลว เราจงึ เรยี กมนั วา รงุ อรณุ ของการศกึ ษา

เพราะฉะน้ัน ตอ งใหค นเกิดความอยากที่เรยี กวาฉันทะ และเลิกละ
ความเขา ใจผดิ ทบ่ี อกวา ความอยากเปน ตณั หาหมด ซึ่งทาํ ใหเ ลยเถดิ ไป
กลายเปน วา อยากอะไรไมไ ด ตอ งละ ตองลด ตองกาํ จัดหมด

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๕๙

ถาจะปฏิบัตใิ หถกู ตองไมมัวลดละความอยาก แตตองเปลีย่ นความ
อยากที่เปน อกุศล มาเปนความอยากที่เปน กศุ ลคือฉันทะน้ใี หได ชีวิตกจ็ ะ
ดี ชาตปิ ระเทศกจ็ ะพฒั นา ใฝร ู ใฝด ี ใฝส รา งสรรค หรอื ใฝร -ู ใฝด -ี ใฝท าํ ให
มนั ดี นค่ี ือกุญแจดอกแรกทีจ่ ะไขเขาไปสแู กน แทข องพระพทุ ธศาสนา

ตอ งเขา ใจระบบ ถา ไมเ ขา ใจระบบของพระพุทธศาสนาอยา งเปนภาพ
รวมแลว เราจะไมมวี ันเขา ใจพระพทุ ธศาสนาท่แี ทจ ริงเลย

ไดพยายามพูดใหเห็นตัวแทของพระพุทธศาสนาคือการเขาถงึ ความจรงิ
ของธรรมชาติ และนาํ ความรใู นความจริงของธรรมชาติน้ันมาใชประโยชนใ น
การพัฒนาชวี ติ ของมนุษย ใหเ ปนชวี ิตที่ดงี าม และมสี ังคมทอี่ ยูในสนั ติสุข

เริ่มแรก พอเกิดมา เราก็มีอนิ ทรียท เ่ี ปน เครอ่ื งมอื ในการดาํ เนินชวี ิต ซึง่
ใชต ดิ ตอ สอ่ื สารกับส่งิ แวดลอ มหรือโลกภายนอก ตอนน้แี หละการดําเนนิ
ชีวติ ท่ีถูกหรอื ผิด ก็เร่ิมทันที

จากท่พี ูดมาน้ี กเ็ ปน อันวา ชองทางติดตอสอื่ สารกับโลกโดยทาง
อายตนะ หรืออินทรยี  ๖ ท่ีเปนทง้ั แดนศกึ ษาและแดนเสพน้ี ในการพัฒนา
คน เราตองใชม นั เพ่อื การศกึ ษาใหม ากข้ึน ใหเ กดิ ความใฝร -ู ใฝดี-ใฝท าํ ใหดี
พดู ส้นั ๆ ก็คือ ใฝศกึ ษาและใฝส รา งสรรค

ใฝรู กค็ อื ใฝศ ึกษา ใฝดี-ใฝทาํ ใหม นั ดี กค็ อื ใฝส รา งสรรค

การพัฒนามนุษยม ีแหลง ใหญอ ยูในมโนกรรม
จดุ สาํ คัญน้ถี าพลาดไป ก็คอื ชอ งทางใหญใ หหายนะเขา มา

ไดพดู แลววา มี ทวาร คอื ชองทางอีกประเภทหน่ึง คือชอ งทางของการ
กระทาํ ไดแ กก ารแสดงออกทางกายวาจาใจ

เมือ่ เกิดมปี ญ ญา และมีเจตจาํ นงที่ดีมากข้ึน เราก็พฒั นาการกระทาํ ของ
เราทง้ั ๓ ทางนนั้ ใหดยี ิง่ ข้นึ คอื

๖๐ แกน แทข องพระพุทธศาสนา

มโนกรรม ความคดิ ของเรากด็ ขี นึ้
วจกี รรม การพดู ของเราก็ดีขึ้น
กายกรรม การกระทําทางกายของเราก็ดีขนึ้
กรรม ๓ ทางนก้ี ็เปนกระบวนการพฒั นามนษุ ยทคี่ รบวงจร
จาํ ไวอ ยางหน่ึงวา พระพุทธศาสนาถอื วา มโนกรรมสาํ คญั ทสี่ ดุ
คนทั่วไปมักเห็นวากายกรรมสําคญั ทสี่ ดุ เพราะถึงขน้ั ลงมอื ลงไม เอา
อาวธุ ไปฟน ไปฆา เขาได
แตข อใหพ จิ ารณาดหู ลกั ทพี่ ระพทุ ธเจา ตรสั ไวว า “กมมฺ นุ า วตตฺ ตี โลโก”
โลก(สงั คมมนษุ ย) เปน ไปตามกรรมนนั้ เงอ่ื นไขนม้ี าจากมโนกรรมเปน สาํ คญั
โลกนที้ ง้ั โลก ไมใ ชถ กู ขบั เคลอ่ื นดว ยกายกรรมเปน ใหญ แตม นั มาจาก
มโนกรรม กระบวนการรสู กึ นกึ คดิ เชอ่ื ถอื ในใจของคนนแี่ หละเปน ปจ จยั สาํ คญั
เจตจาํ นงแรงจงู ใจมาจากไหน กม็ าจากแนวความคดิ มาจากความเชอื่ มา
จากความยดึ ถอื ในคา นยิ มหลกั การอดุ มการณเ ปน ตน ตรงนแี้ หละสาํ คญั ทสี่ ดุ
เมือ่ มคี วามเชือ่ มีแนวคิด มีการยดึ ถอื อดุ มการณ หรอื แมเ พียงคา นยิ ม
ซึง่ ทางพระใชศ ัพทเ ดียวงายๆ วา “ทฏิ ฐ”ิ ถาทิฏฐิเปนอยางไรแลว แรงจูงใจ
เปนตนจะมาสนอง แลวตอ ไปกระบวนการของกรรมกด็ าํ เนินไป โดยแสดง
ออกมาทางกายวาจา ซงึ่ เปน ไปตามที่เชือ่ หรอื ยึดถือนัน้
ยกตัวอยางเชน วา ถา มนุษยเช่อื หรือยึดถอื หรือมีแนวความคดิ วา
มนษุ ยจะประสบความสําเรจ็ ชวี ติ ของเราจะสุขสมบรู ณ ตอ เมอื่ มวี ัตถุพรัง่
พรอ ม หรอื มีเศรษฐกจิ ม่ังคั่งท่ีสดุ ถา มีความเชอ่ื หรอื มีแนวความคิดแบบนี้
กระแสวัฒนธรรมอารยธรรมจะไปตามท้งั หมด สงั คมจะเดินไปตามน้ี
ดว ยอทิ ธพิ ลของความเชอ่ื นี้ มนษุ ยจ ะมงุ ทาํ การทกุ อยา งเพอื่ สรา งความพรง่ั
พรอ มทางวตั ถุ กระแสวตั ถนุ ยิ มจะรนุ แรงขนึ้ จนกระทงั่ กลายเปน บรโิ ภคนยิ ม
สงั คมบริโภคนยิ ม กค็ อื สงั คมซึ่งมีฐานความคิดทเี่ ชือ่ วามนุษยจ ะมี
ความสุขสมบูรณเ มอ่ื วตั ถุมเี สพพร่งั พรอม

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๖๑

กระแสวัฒนธรรมอารยธรรมปจจุบันเปล่ียนมาเปนบริโภคนิยมเชนน้ี
เพราะมีทฏิ ฐิ ท่ีเปนฐานความคิดหรือความเช่ือ ซึง่ สบื มาจากตะวันตก ท่ไี ด
สรางสรรคค วามเจริญทางวตั ถขุ ้นึ มา โดยเฉพาะทเี่ ดน ทางวทิ ยาศาสตรและ
เทคโนโลยี แลวเอาวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีมารับใชส นองอุตสาหกรรม
ทาํ การผลติ ใหเ กิดความเจรญิ ทางเศรษฐกิจ

ตวั การสําคัญในกระบวนการนีค้ อื อตุ สาหกรรม ซ่ึงเดิมทีฝร่งั มุงระดม
กาํ ลงั ทาํ การผลติ เพอื่ แกป ญหาความขาดแคลน (scarcity) แตพออยูในวถิ ี
ชวี ิตของการผลิตสรา งวัตถไุ ปนานๆ และจติ ใจครนุ คิดมงุ หมายท่จี ะมคี วาม
พรั่งพรอ มทางวตั ถุ ไปๆ มาๆ โดยไมต อ งรูต วั ฝรงั่ ทั่วๆ ไปก็กลายเปน วตั ถุ
นิยม หรอื มแี นวคิดทฏิ ฐิวตั ถุนิยมเปนกระแสหลัก

กลายเปนแนวคิดทฏิ ฐิวา คนจะมคี วามสุขมากท่สี ุด เมือ่ มีวัตถุเสพ
บริโภคมากมายพรั่งพรอมทีส่ ดุ แลว กเ็ ปดทางแกลทั ธิบรโิ ภคนยิ ม

ความเปน ไปทัง้ หมดนม้ี จี ดุ เร่มิ ทโ่ี ยงกบั ฐานความคดิ ใหญ คือความมงุ
หมายท่ีจะพิชติ ธรรมชาติ

Encyclopaedia Britannica เขยี นไวในหวั ขอ “History of
Science” บอกวา เมอื่ ถอยหลังไปพนั ปกอนโนน ตะวนั ตกลาหลังตะวนั
ออกในดา นการปฏิบัติจดั การกับธรรมชาติ คือดา นวิทยาศาสตรแ ละ
เทคโนโลยี แตดว ยความมุงหมายทีจ่ ะเอาชนะธรรมชาติ จงึ ทาํ ใหต ะวนั ตก
สามารถลาํ้ หนา ตะวนั ออกไปไดใ นดา นวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยนี ัน้

มีหนงั สอื เลม หนงึ่ ชอ่ื วา A Green History of the World เขียนโดย
Clive Ponting ไดพยายามขบคดิ ในเรื่องการแกปญ หาธรรมชาตแิ วดลอม
เสยี หนังสือนน้ั ไดวิเคราะหแ นวคดิ ของตะวนั ตกใหเหน็ วา อารยธรรมทท่ี าํ
ใหธ รรมชาติแวดลอมเสยี นเี่ ปน มาอยางไร

มบี ทหนง่ึ เขาไดสืบสาวความคดิ ของชาวตะวันตก ตง้ั แต Socrates,
Plato, Aristotle จนมาถึงนักจติ วิทยาอยาง Freud รัฐบรุ ษุ อยา ง Francis

๖๒ แกนแทข องพระพุทธศาสนา

Bacon นกั ปรัชญาผูนําทีเ่ ปน บดิ าแหง วิทยาศาสตรส มยั ใหมด ว ยอยา ง
René Descartes ตลอดจนนกั คดิ ฝายสงั คมนิยมคอมมวิ นิสตท งั้ หมด
ลวนมวี าทะที่พดู ถึงความใฝฝน หรอื ความกระหายทจ่ี ะพิชติ ธรรมชาติ

นกั ประวัตศิ าสตรโ ซเวียตคนหน่งึ ถงึ กบั เขียนไววา ตอ ไปเม่อื มนุษย
เจริญดวยวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ธรรมชาตจิ ะเปนเหมอื นข้ผี ึง้ อันออ น
เหลวในกํามอื ทีเ่ ราจะปนใหเ ปน อยา งไรกไ็ ด Descartes ก็พดู ไวแ รงมาก
Plato, Aristotle ก็พดู แนวน้ีทงั้ น้นั

น่ีคือจุดมุงหมายท่ีนําทางความคิดความเชื่อของตะวันตกมาตลอดเวลา
๒ พันกวา ป คอื ความเชือ่ และมงุ หมายใฝฝน วา เม่อื ไรมนษุ ยพ ิชิตธรรมชาติ
ไดสําเรจ็ โลกมนุษยจ ะพร่งั พรอมสุขสมบูรณ เปน โลกทเี่ ปนสวรรคบ นดนิ

ดว ยความเช่ือน้ีแหละ จงึ ทําใหมนุษยชาวตะวนั ตกไดเ พียรพยายาม
แสวงหาความรใู นความเรน ลับของธรรมชาติ แลวพัฒนาวิทยาศาสตรและ
พัฒนาเทคโนโลยขี นึ้ มา

มโนกรรม คอื แนวคิดความเชอ่ื ท่ีวานี้ อยูเบื้องหลังอารยธรรม
ปจ จุบันทัง้ หมด

นีค่ ือตวั อยางความหมาย ท่พี ระพทุ ธเจาตรสั วา มโนกรรมสาํ คญั ท่ีสุด

การพัฒนาคน พัฒนาสังคม ไมม ที างไดผ ลจริง
ถา ทอดทิ้งฐานของการพัฒนา คือมโนกรรม

เปน อันวา อารยธรรมปจ จุบนั ที่มีตะวันตกเปน ตัวแทนนี้ เจริญมาดว ย
แนวคิดพน้ื ฐานคือความมงุ หมายพิชติ ธรรมชาติ แลว ปจจบุ นั น้ตี ะวนั ตกก็
กลบั มาติเตยี นแนวคิดน้ี พรอ มท้ังติเตียนบรรพบรุ ุษของตนเอง

ดังเชนหนังสือเลม ที่กลา วถึงเม่ือก้ี ไดติเตยี นบรรพบรุ ุษชาวตะวันตก
เตม็ ท่ี วา ลวนแตเช่อื ผดิ ถอื ผิดคดิ เห็นผดิ พลาดไป มงุ หมายแตจ ะเอาชนะ

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๖๓

ธรรมชาติ จงึ ทาํ ใหเกดิ ปญหาสิง่ แวดลอมในปจจบุ นั ซ่ึงเปนปญหาใหญท่สี ดุ
ตามแนวคดิ ทฏิ ฐขิ องตะวนั ตกนน้ั มนษุ ยม องธรรมชาตเิ ปน ศตั รู จงึ

พยายามเอาชนะมนั แลว กจ็ ดั การกบั มนั ตามชอบใจ โดยไมม คี วามรบั ผดิ ชอบ
อยา ง Al Gore รองประธานาธบิ ดอี เมริกา ซ่งึ เปนนกั สง่ิ แวดลอ ม คือ

environmentalist ดวย ไดเขยี นหนงั สือขน้ึ มาเลมหนึ่งชอ่ื วา Earth in
the Balance โลกในภาวะดลุ ยภาพ แกบอกวา เรายอมรับวา ตะวนั ตกมี
แนวคดิ ทท่ี ําใหอ ารยธรรมของเรานไ้ี มมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ ธรรมชาติ คดิ จะ
ทําอะไรกบั ธรรมชาติตามชอบใจ

ความสํานึกผิดและความผิดหวังตอแนวคิดทิฐิท่ีจะพิชิตธรรมชาติของ
ตะวันตกน้ี ไดเปน เหตุใหฝ รงั่ หาทางแกไ ข รวมทั้งการหันมาสาํ รวจและแสวง
หาแนวคดิ ตะวันออก และแมแตค วามคิดของชนอนิ เดียนแดง

เวลาน้ี อนิ เดยี นแดงทเ่ี คยถกู เหยยี ดหยามกลบั ไดร บั ความชน่ื ชม ฝรงั่
อเมรกิ นั หลายคน เชน Al Gore นนั้ แหละ ไดย กวาทะของ Seattle หวั หนา
เผา อนิ เดยี นแดง ซงึ่ เอาชอื่ มาตงั้ เปน ชอ่ื เมอื ง Seattle ในอเมรกิ า ขนึ้ มาเอย อา ง

ตามเรือ่ งวา เมอ่ื ครั้งประธานาธบิ ดี Franklin Pierce ติดตอขอซอื้ ที่
ดนิ ของอนิ เดียนแดง หัวหนาเผาคนน้ีไดม ีหนังสือตอบประธานาธบิ ดไี ปวา

“อะไรกนั ผืนฟา และแผนดิน ทานจะเอามาซื้อขายไดอยางไร นีเ่ ปน
ความคดิ ที่แปลกประหลาด”

ตอนน้ี คนอเมริกนั ยคุ ปจ จบุ นั หนั มายกยองสรรเสริญวาอนิ เดียนแดงมี
ความคิดท่ีถูกตอ ง

นีแ่ หละ... ความคิดพิชิตธรรมชาตเิ ปนเบอ้ื งหลังอารยธรรมปจจบุ ัน ซ่ึง
เฟอ งฟูเตม็ ที่ในยคุ อุตสาหกรรม ทม่ี นุษยเ อาความรวู ทิ ยาศาสตรมาประดษิ ฐ
อปุ กรณเทคโนโลยี แลว ก็พฒั นาอุตสาหกรรม เพอ่ื ความเจรญิ ทางเศรษฐกจิ
ดวยความมุงหมายท่จี ะสรางวตั ถใุ หพ รัง่ พรอ ม ตามความเชื่อวา

“มีเสพบริโภคมากท่ีสดุ จะเปนสขุ ท่ีสุด”

๖๔ แกนแทของพระพุทธศาสนา

แนวคดิ ทฐิ คิ วามเชอื่ ทีเ่ ปน มโนกรรมนี้ เปน อทิ ธิพลสําคญั ท่สี ุด ทจ่ี ะ
เปนตัวกาํ หนดวิถชี ีวิตและสังคม ถาคนในสังคมไทยมีความเช่อื วา ผลสาํ เร็จ
จะเกิดขนึ้ จากการดลบันดาลของอํานาจเหนอื ธรรมชาติ ถา คนไทยเชอื่ อยา งน้ี
สังคมไทยจะเปนอยา งไร ขอใหพ ิจารณา แลว ขณะน้ีเปน หรือเปลา

สังคมไทย จะโดยรูตวั หรอื ไมร ตู ัวกต็ าม ไดต กอยใู ตแนวคิดความเช่ือ
วา ผลสําเร็จจะเกดิ ข้นึ ไดด วยอาํ นาจดลบันดาลของสิง่ ที่นอกเหนอื ธรรมชาติ
นี่คอื จดุ ท่เี ราจะตอ งแกปญ หาสงั คมไทยถึงขน้ั มโนกรรม

เหมอื นกับท่ีฝรงั่ ขณะนกี้ ําลงั หาทางแกป ญหาการพัฒนาทไี่ มยง่ั ยืน ตอ ง
ลงไปถงึ ข้นั รากฐานความคดิ ถงึ ขน้ั ตอ งแกค วามเชือ่ ในการพชิ ิตธรรมชาติ ที่
ถอื วา มนษุ ยจะมีความสาํ เร็จและสขุ สมบรู ณ ตอ เม่อื มอี ํานาจจดั การกบั
ธรรมชาตไิ ดตามตองการ

แนวคดิ ทฐิ สิ องอยา งนี้ เปน ปญ หาเกยี่ วกบั การพฒั นา ทสี่ ดุ โตง ไปคนละ
ดา น

แตจ ุดทเ่ี ปนตัวแทของปญหาก็อยูที่ปมเดยี วกนั คอื มันบงชว้ี า
มโนกรรมสาํ คญั ทสี่ ุด และที่วา โลกน้ีเปน ไปตามกรรม ก็คอื เปนไปตาม
มโนกรรมอยา งทวี่ าน่ันแหละ

ตราบใดยงั ไมถงึ จุดหมาย ยังมีชวี ติ อยู ก็ตอ งศึกษา
ความหมายของธรรมที่ปฏบิ ัติ จึงวดั ดว ยไตรสกิ ขา

อีกเรอื่ งหนึ่งทอ่ี ยากจะพดู ไว คือเกณฑวินจิ ฉยั ความหมายของหลัก
ธรรมในพระพุทธศาสนา วา ปฏิบตั ิอยา งไรถูกอยางไรผิด

เวลาศึกษาหลกั ธรรมตางๆ เรามกั เนน เรือ่ งความหมายกนั แควา ธรรม
ขอนีค้ อื อะไร มีความหมายวา อยา งไร แตการใหค วามหมายเทานนั้ ยังไมพ อ
ตอ งมเี กณฑท่ีสัมพนั ธก บั ระบบทง้ั หมดได

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๖๕

ธรรมท้ังหมดสมั พนั ธสงผลตอ กนั เปน กระบวนการ และอยูใ นระบบ
เดียวกนั อยางทพ่ี ดู ถึงไตรสกิ ขา ก็เปน ระบบในตัวของมนั แลวระบบของ
ไตรสกิ ขาน้ันก็ยังไปเปน สวนยอยที่รวมอยใู นระบบใหญข องอริยสัจ ท่คี ลมุ
ระบบใหญของธรรมชาตทิ ัง้ หมดอีกช้ันหน่ึง คอื วา ดวยกฎธรรมชาตทิ ค่ี รอบ
คลุมท้ังความเปน จรงิ ของธรรมชาติทวั่ ไป และโยงมาถึงชวี ติ มนุษยที่เปน
ธรรมชาติสว นหนึ่งดว ย

เกณฑท จี่ ะใชต รวจสอบนี้ ตอ งใหเ หน็ ความสมั พนั ธเ ชอื่ มโยงในระบบ
เกณฑห นง่ึ ก็คือไตรสิกขาเองนน่ั แหละ เนอ่ื งจากวาคณุ สมบตั ิและขอ ปฏบิ ตั ิ
หรอื หลักธรรมทกุ อยา งกอ็ ยใู นกระบวนการปฏบิ ตั ทิ เ่ี รยี กวา ไตรสกิ ขาทงั้ หมด ไม
เกนิ จากนไ้ี ปได เมอื่ เปน เชน นน้ั มนั จะตอ งมสี ว นรว มสง ผลอยใู นกระบวนการ
ของไตรสกิ ขา

ไตรสกิ ขา คอื อยา งไร คอื กระบวนการศกึ ษาฝกฝนพัฒนามนษุ ย
กระบวนการนี้มขี อ ปฏิบัติยอ ยๆ ท่สี งผลตอ ทอดกันคบื หนาไปเรื่อยจนกวา
จะถึงจุดหมาย ถา ไมถ ึงจุดหมายก็ตองไมหยดุ

เพราะฉะน้ัน ก็เทากบั มีเกณฑท ่ีบอกวา ขอ ปฏบิ ัตหิ รือหลกั ธรรมทกุ ขอ
เราจะตองชัดวามันสงผลใหมีการกาวหนาไปในกระบวนการของไตรสิกขา
อยางไร คอื จะตองทาํ ใหเราเดนิ หนา และสง ผลตอ ใหข ออื่นรบั ชว งไป จนถงึ
จุดหมายสุดทา ยน้ัน

รวมความวา ธรรมะตางๆ ท่เี ปน องคประกอบในกระบวนการไตรสกิ ขา
นี้ ตองมลี กั ษณะ ๒ อยา ง คือ

๑. ทําใหค ืบเคล่อื นหรอื กา วหนาไป
๒. สงผลตอขออนื่
ยกตวั อยาง เชน ในการปฏบิ ัติ สมาธิ เราไดค วามหมายของสมาธิไวแ ต
ตน วา จิตตงั้ ม่นั สงบ แนวแน
พอจติ ตงั้ มน่ั สงบแนว แนไ ดต ามความหมายแลว เรากพ็ อใจ นกึ วา ถกู แลว

๖๖ แกน แทของพระพทุ ธศาสนา

แตย งั หรอก ลองเอาเกณฑม าตรฐานมาวดั วา ถกู ตามหลกั ไตรสกิ ขาหรอื ไม
พอวดั ดว ยเกณฑนี้ เรากจ็ ะมองเหน็ ตอ ไปอีกวา ออ ถา ปฏิบัติสมาธิถูก

จะไมใชห ยดุ อยูแ คนน้ั คือไมต ิดอยูแ คสมาธิ แตส มาธติ องชวยใหเ รากาวตอ
ไป แลวก็ดูวาสมาธิสง ผลตอ ปญญาอยางไร ถา ไมสงผลตอ กแ็ สดงวา พลาด

สมาธิน้ันมีผลดีหลายอยา ง มีทง้ั ผลโดยตรงและผลขางเคยี ง เชน ทาํ ให
จติ ใจสงบ สบาย มคี วามสุข ทําใหจติ ใสมองเห็นอะไรชัดเจน และทําใหเกิด
กําลัง ทําใหม งุ แนว ไปอยา งแรง เหมือนกระแสนา้ํ ทีไ่ หลลงมาจากภเู ขาวิ่งไป
ทางเดียว มกี ําลงั แรงมาก เจออะไรก็พัดพาไปได

สรปุ วา จิตสมาธิมีคุณสมบตั ิ หนง่ึ ...มีพลัง สอง...สงบสบายมีความสขุ
สาม...ใส มองเห็นอะไรๆ ชัดเจน

เม่ือไดค ณุ สมบตั เิ หลาน้ี เรากเ็ อามาใชอ ยางใดอยา งหน่ึง เชน พอสงบสขุ
สบาย กอ็ าจจะเอามาใชใ นการแกป ญหาชวี ิตประจาํ วัน เวลามคี วามทุกขก็มา
นงั่ สมาธิใหจิตใจสงบ เพลนิ สบาย หายทุกข ซงึ่ ก็ไดป ระโยชนอ ยางหน่ึง แต
ยงั ไมถ กู ตองตามหลกั ไตรสกิ ขา

ถา ใชป ระโยชนเ พยี งแคน ้ีกก็ ลายเปนหยุด ไมกา วตอไป อาจจะเขวออก
เปน มจิ ฉาสมาธิ ไดแคเปนสง่ิ กลอ ม เหมือนยากลอมประสาทเปนตน เอาแค
สบาย ไมตองคดิ ตองทาํ อะไร มีทุกขกเ็ ขามาหลบ ซึง่ มที างพลาดไดมาก

วสิ ทุ ธมิ รรคบอกวา สมาธนิ ั้นเขาพวกกันไดกบั ความขเ้ี กยี จ (สมาธสิ ฺส
โกสชชฺ ปกฺขตตฺ า) เพราะวา มนั สงบสบาย ก็โนมเอียงไปทางเกียจคราน เฉ่อื ย
ชา ไมอ ยากทําอะไร กลายเปน ตกหลมุ ความประมาท นัน่ ก็คอื เรมิ่ เขว ฉะนน้ั
การใชป ระโยชนจากสมาธิจะตองระวัง ถาใชไ มเปนก็เกิดโทษได

สังคมไทยบางทีศกึ ษาธรรมะไมตลอดกระบวนการ และไมม หี ลกั ใน
การวนิ ิจฉัย คนไทยไมนอ ยเอาสมาธมิ าใชแคห าความสขุ สงบสบาย ซึ่งก็ใช
ไดในระดบั หนง่ึ ทา นไมไ ดปฏเิ สธ จะเอามาใชเ ปนเคร่อื งพกั ผอ นจิตใจหรอื
แกป ญ หาความทกุ ขก็ได อยา งนอ ยทําใหน อนหลับได ทําใหมจี ิตใจสดชื่นข้ึน

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๖๗

แตตอ งมองตอ ไปวา ประโยชนยังไมจบแคน ้ัน สมาธิชวยใหเ รามคี วาม
เขม แข็งพรอ มที่จะเดินหนาตอ ไปดวย

จงึ ตอ งมองตอ ไปอกี วา จะมอี งคธรรมอะไรมารับผลจากสมาธิ เพ่อื จะ
กาวตอ ไป ก็จะเห็นหลกั ในไตรสิกขาวา จะตอ งสง ผลตอ ใหปญ ญามารบั ชว ง
ทาํ งานเดินหนา ตอไป

ประโยชนท ส่ี าํ คัญของสมาธิ คอื ทําใหจติ เปน “กมั มนยี ” แปลวา ควร
แกงาน หรือเหมาะแกงาน คือใชเปนท่ที ํางานซึง่ ปญญาจะทําหนาท่ีไดด ี เชน
มองเหน็ ชดั สาํ รวจตรวจสอบไดเ ปนลําดับ พจิ ารณาไดลกึ ซึง้ วิเคราะหวจิ ยั
ไดล ะเอยี ด จนเขา ถึงความจรงิ แจมแจง

สมาธิท่ที าํ ใหคนหยดุ ศกึ ษา แสดงวา เปนสมาธทิ ีใ่ ชผ ดิ

สมาธเิ ตรียมจิตพรอมใหปญญาทาํ งานเดินหนา ฉนั ใด
สันโดษกเ็ ตรยี มตัวพรอมใหม งุ เพยี ร ไมพ ะวักพะวน ฉันนั้น

อกี ตวั อยา งหนึง่ คือ สันโดษ ซ่งึ ทําใหพอใจในวัตถุเสพบรโิ ภคของตน มี
เทา ไรก็ยนิ ดีเทาน้ัน

หลายคนบอกวา สนั โดษแลว จะไดม ีความสขุ กถ็ ูกตอง แตผิดดว ย ถา
ใครตอบวาสันโดษเพอื่ สขุ กผ็ ิดแนๆ พุทธศาสนาไมไดสอนอยา งนั้นแคนน้ั

ความสุขเปนผลพลอยไดของสนั โดษ พอสันโดษก็สุขทนั ที มันเปนผล
พลอยไดตามมาเอง แตย งั ไมใ ชว ัตถปุ ระสงค ผลที่ตองการไมไดอ ยทู ีน่ ่ี ผล
ท่ตี องการจากสนั โดษคอื อะไร

เราสนั โดษแลว จะไดอะไรขน้ึ มา ท่ีจะเปนความคบื หนา และชวยให
กาวตอไปในไตรสิกขา

พอสนั โดษในวตั ถุ เราก็สุขกบั วตั ถุท่มี อี ยูหรือไดม าแลว สุขงา ยดวย
วัตถุนอย มวี ัตถุแคน ก้ี ็สขุ แลว

๖๘ แกน แทข องพระพทุ ธศาสนา

ตรงขา มกับตอนทีไ่ มสนั โดษน่ี เราไมสุขสกั ที ความสุขของเราไปอยูกับ
วตั ถุท่ยี ังไมได เราจงึ กระวนกระวายโลดแลน หาวตั ถุเสพ

เวลาของเราก็ใชหมดไปกับการโลดแลน หาส่งิ เสพเพือ่ บาํ รุงบาํ เรอตวั เอง
แรงงานก็ใชหมดไปกับเร่ืองนี้ ความคิดก็ครุนวุนวายกับการท่จี ะไปหาสิง่ เสพ
วา ทาํ อยางไรจะไดอนั นน้ั อันน้มี า

ความไมส ันโดษจึงทาํ ลายเวลา สิ้นเปลืองแรงงาน และส้ินเปลือง
ความคดิ ท่จี ะใชใ นการสรา งสรรค

เพราะฉะนนั้ ทา นจึงใหสันโดษ เพ่อื จะไดสขุ กับวตั ถไุ ดง าย พอสุขกบั
วตั ถไุ ดง า ยแลว เราไมใชอ ยูเฉยๆ งานการหนา ทีข่ องเรามอี ยแู ลว ตอนนเ้ี วลา
แรงงานและความคิด เราออมไวไ ด เรากเ็ อาเวลาเร่ียวแรงความคิดนั้นไปทุม
เทใหกับการทาํ กจิ หนา ที่ งานการกจิ หนา ทน่ี ั้นกเ็ ดินหนา กา วไปไดดี

สรปุ วา สันโดษเพ่ือเตรียมพรอ ม สันโดษเปนธรรมะขนั้ เตรยี มพรอม
คอื ใหพรอ มทีจ่ ะกาวตอ ไป

ธรรมะนี่ มที ัง้ ข้ันเตรียมตัวใหพรอ ม และขนั้ กาวเดนิ
สนั โดษเปนธรรมะประเภทเตรยี มตัวใหพรอ ม พอเราพรอมแลว เราไม
พะรุงพะรงั ไมม วั กังวล ไมม ัวพะวกั พะวนกับการหาส่งิ เสพบํารุงบาํ เรอตัว
เอง ทีนจ้ี ะทาํ งานการสรา งสรรคอ ะไร ก็ไปมุงหนา แนวด่งิ ไปเลย
พระพุทธเจา ไมตรสั สันโดษไวโดดเดีย่ ว หรอื ลอยๆ แตตรสั ไวกับการ
ทําหนา ทแ่ี ละความเพียรในการทาํ หนา ทน่ี นั้ เชน สําหรบั พระสงฆ ทรงสอน
ใหส ันโดษในจวี ร บณิ ฑบาต เสนาสนะ เสร็จแลว กใ็ หยนิ ดใี นการละอกศุ ล
และพัฒนากศุ ล ทรงสอนใหไ มสันโดษในการพฒั นากศุ ลนั้น
พดู ส้นั ๆ วา ใหส นั โดษในวัตถเุ สพบรโิ ภค แตใหไมส ันโดษในกศุ ล
ธรรมทง้ั หลาย
ถาเปน กศุ ลธรรม สงิ่ ท่ดี ีงาม การสรา งสรรคค ุณความดีทปี่ ระเสริฐ พระ
องคทรงสอนไมใ หส นั โดษ

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๖๙

พระพทุ ธองคเ องก็ไมสันโดษ และเพียรไมระยอ หลักการนีม้ ีทั้งในพระ
สตู รและอภธิ รรม

ถา สอนสันโดษ ตอ งสอนความไมส ันโดษดวยพรอมกัน และตอ งรูว าให
สนั โดษในอะไร ไมส ันโดษในอะไร คือ

๑. ใหส ันโดษในวตั ถุเสพ ที่จะบาํ รงุ บําเรอตนเอง หาความสขุ สวนตวั
๒. ใหไ มส นั โดษในกศุ ลธรรม ในการทาํ ความดงี าม ในการทาํ การสรา งสรรค
สันโดษกบั ไมส นั โดษจงึ ไปดวยกันไดอ ยางดี สนั โดษมาหนุนความไม
สันโดษ ชว ยใหเ รากา วตอไปในไตรสิกขา ใหสามารถทํากรรมที่ดียิง่ ขึ้น ใน
การทจ่ี ะพัฒนาชีวิตและสังคม
น่เี ปนตัวอยางของเกณฑว ินจิ ฉัย

ถาคนไทยตัง้ อยใู นหลักสี่ จะไมตกหลุมวิกฤติ
ถึงแมถ ลาํ ไป กจ็ ะถอนตวั ข้ึนสวู วิ ฒั นไดโดยพลัน

หลกั ธรรม ๔ ประการตอ ไปนี้ เปน หลักการใหญข น้ั พ้ืนฐานของพระ
พุทธศาสนา ซึง่ พระพุทธเจา ตรัสยํ้าอยเู สมอ แตตามปกตติ รัสไวเ ปน อสิ ระ
จากกัน เพราะมนี ยั โยงถึงกนั หรือครอบคลุมกัน ในทนี่ ขี้ อยกมาย้ําไวในที่
เดยี วกนั ถือวาเปน แกน แทท ่ีปฏบิ ตั ิไดทันที และเหมาะกบั สถานการณ
ปจ จุบันของสงั คมไทย จึงขอนํามากลาวปด ทายเทา ท่ีเวลาจะพอมี

หลักสําคญั เหลา นี้จะตอ งใชใ นยคุ ปจ จบุ นั โดยเฉพาะในการแกว ิกฤติ
ของสงั คมไทย และสรา งสรรคประเทศชาตติ อ ไปขางหนา คนไทยจะตองอยู
กบั หลกั การ ๔ อยา งตอไปนี้ใหได คอื

™. หลกั การกระทาํ คือ มงุ ทําการใหสาํ เรจ็ ดวยความเพียรพยายาม
โดยเฉพาะความเพยี รของตนเอง หลักน้ีเรียกวา หลักกรรมและความเพยี ร

พระพุทธเจา ตรสั วา เราเปน กรรมวาที เราเปน วริ ิยวาที พระองคไมได

๗๐ แกน แทข องพระพทุ ธศาสนา

ตรัสอยา งเดียว แตต รสั คกู นั วา กรรมวาที และวิริยวาที “เราเปน ผูก ลาว
หลกั การกระทาํ เราเปนผกู ลา วหลกั ความเพยี ร”

คนจะทํา ตอ งมีความเพยี ร ถา ไมม คี วามเพยี ร ก็กาวไปในการทําไมไ ด
พระพทุ ธศาสนาเปน ศาสนาแหง กรรมและวริ ยิ ะ ใหห วงั ผลสาํ เรจ็ จากการ
กระทาํ ดว ยเรย่ี วแรงกาํ ลงั ของตน ไมม วั หวงั ผลจากการออ นวอนนอนรอผลดล
บนั ดาลจากลาภลอยจากการรวยทางลดั การทจุ รติ การเสยี่ งโชคการพนนั เปน ตน
สรปุ วา ตองถอื หลักการกระทําใหส ําเรจ็ ดวยความเพยี ร
ขอยกพทุ ธพจนม ายํ้าไวว า

ภกิ ษุท้ังหลาย พระผมู พี ระภาคเจาทงั้ หลายแมที่ไดม ี
แลวในอดีตกาล…พระผูมีพระภาคเจาท้ังหลายแมที่จักมีใน
อนาคตกาล… แมเราเองผเู ปนอรหันตสมั มาสมั พทุ ธะในบัดน้ี
ก็เปนกรรมวาท (ตรัสหลกั กรรม) เปน กริ ยิ วาท (ตรัสหลกั การที่
จะตองทํา) เปนวริ ยิ วาท (ตรัสหลักความเพยี ร)

(องฺ.ติก. ๒๐/๕๗๗/๓๖๙)

š. หลกั การศกึ ษาพัฒนาตน คือ ตองถือเปน หนาทโ่ี ดยมจี ติ สาํ นกึ ที่
จะฝกตนใหกา วหนา ตอ ไปในการทาํ กุศลกรรมตางๆ ท่จี ะใหช วี ิตและสงั คมดี
งามยิง่ ขน้ึ นีเ่ รยี กวา หลกั ไตรสิกขา

ตามหลกั เรอ่ื งธรรมชาตขิ องมนษุ ย ที่พูดแลว แตต นวา มนุษยเ ปน สัตว
ท่ีประเสริฐดวยการฝก ดงั น้ัน ในการท่จี ะกา วไปสูความดีงาม ความ
ประเสรฐิ สมบรู ณน น้ั ชวี ติ ตอ งพฒั นาดว ยไตรสกิ ขาเพอื่ กา วไปขา งหนา

ชวี ติ จะตอ งดขี น้ึ ตอ งเรยี นรู ตอ งฝก ฝน ตอ งศกึ ษา ตอ งพฒั นาเสมอไป
จะตอ งไมม วั หยดุ อยกู บั ท่ี

ขอยกคาถาพุทธพจนแ หง หนง่ึ มาไวเตอื นใจวา

เพราะฉะนนั้ แล เปน คนอยใู นโลกน้ี พงึ ศกึ ษา(ตามหลกั
ไตรสกิ ขา)เถดิ สง่ิ ใดกต็ ามทพ่ี งึ รไู ดใ นโลกวา เปน สง่ิ ผดิ รา ย

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๗๑

ไมด ี ไมพ งึ ประพฤตผิ ดิ รา ยไมด เี พราะเหน็ แกส ง่ิ นน้ั ปราชญท ง้ั
หลายกลา ววา ชวี ติ นน้ั นอ ยนกั

(ขุ.สุ. ๒๕/๔๐๙/๔๘๕)

พรอมท้งั พทุ ธภาษิตวา

ในหมมู นษุ ย คนทฝ่ี ก แลว เปน ผปู ระเสรฐิ (ข.ุธ. ๒๕/๓๓/๕๗)

›. หลกั ไมป ระมาท ในการทีจ่ ะทําอะไรๆ ดว ยความเพียร และในการ
ทจ่ี ะพัฒนาตนน้นั จะตอ งไมป ระมาท

ตองมองเห็นตระหนักในความสําคัญของกาลเวลาและความเปลี่ยน
แปลงวา ในขณะที่เราดําเนินชีวิตอยูนี้ สงิ่ ท้ังหลายรอบตวั เราและชีวิตของเรา
ลวนไมเ ทีย่ งแทแนน อน ทุกอยา งเปล่ยี นแปลงไปตลอดเวลา เราจะมวั นง่ิ
นอนใจอยูไมได มีอะไรทค่ี วรจะทาํ ตองรบี ทํา ตอ งเรง ขวนขวายไมประมาท
ไมน อนใจ ไมผ ัดเพยี้ น

หลกั ไมป ระมาทน้ี พระพทุ ธเจาทรงสอนวา เหมอื นกบั รอยเทาชา ง ที่
ครอบคลมุ ธรรมะของพระองคไ วหมด แลว กเ็ ปน ปจ ฉมิ วาจาของพระองค
กอนปรนิ ิพพานดวย จึงถือวา สาํ คัญอยางยง่ิ

ในความไมประมาทน้ี แมแ ตสงั คมก็จะหยุดนิง่ ไมไ ด เพราะสังคมมี
แนวโนมวา เมอ่ื ไรมคี วามสาํ เรจ็ เมอ่ื ไรเจรญิ ดมี ีความพรัง่ พรอ ม เมื่อไรมี
ความสขุ สบาย คนจะเรมิ่ เฉอื่ ยลงและเรม่ิ ออ นแรง แลว กเ็ รมิ่ มวั เมา ประมาท

สงั คมมักจะเปนอยางน้นั คอื พอสบาย ก็ประมาท หนั ไปฟุงเฟอ มัว
เมาหลงระเรงิ ตดิ ในความสขุ สบาย เพลิดเพลิน สําเรงิ สาํ ราญ ลมุ หลงใน
การบันเทิง ไมเ รงรัดขวนขวายทํากิจหนาท่ี ผดั เพี้ยน เฉอื่ ยชา

เพราะฉะนน้ั ผบู ริหารสงั คมจะตองคอยกระตุนเตือนปลกุ เรา ประชาชน
ใหไมประมาทมัวเมาทกุ เวลา

เคร่ืองพิสจู นการพฒั นามนษุ ยอยางหนึง่ คือ ทง้ั ท่ีสุขสบาย ก็ไมประมาท

๗๒ แกน แทข องพระพุทธศาสนา

ถาใครทําไดสําเรจ็ อยา งนเี้ มื่อไร ก็มีคุณสมบตั ทิ ี่จะเปนพระอรหันต พระ

พุทธเจาตรสั วา บุคคลเดยี วทีจ่ ะไมประมาทเลยเปนอันขาด คือพระอรหนั ต

นอกจากนน้ั แมแ ตพ ระโสดาบนั พระสกทาคามี และพระอนาคามี กย็ งั

ประมาทได คอื พอประสบความสาํ เรจ็ ไปเทา นี้ กพ็ อใจวา เราไดก า วหนา มามคี วาม

ดเี ยอะแลว นะ กช็ กั เฉอื่ ย พอเฉอ่ื ยลง พระพทุ ธเจา กต็ รสั วา เธอประมาทแลว

ในพระพุทธศาสนานี้ ทา นไมใ หห ยุดในการสรางสรรคกุศลธรรม ตราบ

ใดยังไมถึงจุดหมาย กต็ อ งกาวไปในไตรสกิ ขาโดยไมป ระมาท ตองกา วตอ

ไปๆ พระพทุ ธเจาตรสั ไวว า

เราไมสรรเสริญแมแตความตั้งอยูไดในกุศลธรรมท้ัง

หลาย ไมต อ งพูดถงึ ความเส่อื มถอยจากกศุ ลธรรมท้ังหลาย

เรายกยองสรรเสริญอยางเดียวแตความกาวหนาตอไปใน

กศุ ลธรรมทัง้ หลาย (อง.ฺ ทสก. ๒๔/๕๓/๑๐๑)

พทุ ธพจนนีแ้ สดงหลกั เดยี วกัน คอื ความไมประมาท

q. หลกั พง่ึ ตนได ซง่ึ ทาํ ใหม อี สิ รภาพ การพง่ึ ตนกค็ อื ตอ งทาํ ใหแ กต วั เรา
ดวยตนเอง จงึ ตองพฒั นาตวั เอง คอื เราพฒั นาตนเองเพื่อใหท ําไดดว ยตนเอง

เมอ่ื เราทาํ ไดด วยตนเอง เราก็พ่ึงตนได ถา เราทาํ ไมไ ด เรากย็ ังพ่ึงตน
เองไมไ ด

เราตอ งพยายามพ่งึ ตนใหได แต เราจะทาํ ไดดวยตนเอง และพึ่งตนได
เราตองทําตนใหพ ึ่งตนได โดยฝกตนขนึ้ ไปใหท าํ ไดท าํ เปน

พระพุทธเจาทรงเนน “การทําตนใหพ ่ึงตนได” หรือ “ทาํ ตนใหเปน ท่ี
พ่ึงได” มากกวาเนนการพึง่ ตน

ถา พูดวา ใหพ ่ึงตน แตเ ขาไมม คี วามสามารถทจ่ี ะพ่งึ ตน แลว เขาจะพ่งึ
ตนไดอยางไร กไ็ ดแตซ ัดกันวา นเ่ี ธอยากจน เธอก็พง่ึ ตนสิ วา อยา งนัน้ มัน
จะพงึ่ ตนอยา งไร ในเมอ่ื ไมมคี วามสามารถทีจ่ ะพงึ่ ตนน้ัน

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๗๓

เพราะฉะนั้น อยาพดู แคพึง่ ตน ซ่งึ เปนเพยี งคําเตือนเร่ิมตน แตตอ งกา ว
ตอ ไปสกู ารฝกฝนปฏบิ ัติซงึ่ เปน คาํ สอนที่แทว า “จงพยายามพ่งึ ตน ดวย
การทําตนใหเปน ท่ีพ่ึงได”

แลว ทาํ อยางไรจะใหต นเปนท่ีพึง่ ได กต็ อ งฝก ตองศกึ ษาพฒั นาตน
พอพัฒนาตนกเ็ ขาไตรสิกขา ซง่ึ ทําใหต นเองมีคณุ สมบตั ิดมี ากข้ึน มี
คณุ ภาพดขี ้ึน สามารถทํากรรมตางๆ ทีเ่ ปนกศุ ลยง่ิ ขึน้ ไดผ ลดียง่ิ ขน้ึ
เมอ่ื มคี วามสามารถทาํ การทง้ั หลายไดด ยี งิ่ ขนึ้ กพ็ ง่ึ ตนเองได พอพง่ึ ตน
เองได กไ็ มต อ งพง่ึ คนอน่ื กเ็ ปน อสิ ระ กลายเปน วา สามารถเปน ทพ่ี งึ่ ของคนอนื่
ฉะนน้ั การปฏิบตั ใิ นไตรสกิ ขาคือการพัฒนาตน และการพฒั นาตนกท็ าํ
ใหพ งึ่ ตนเองได และการพึ่งตนเองไดกบั ความอสิ ระ ก็เปนอันเดยี วกนั
ความเปน อสิ ระนี้ มิใชเฉพาะการไมต องคอยพง่ึ พาข้ึนตอ คนอืน่ เทา นน้ั
แตห มายถึงการไมตอ งพ่ึงพาขนึ้ ตอวตั ถุมากเกินไปดวย
ดังน้ัน อิสรภาพที่สําคัญมากอยา งหนึง่ จงึ หมายถึงการมคี วามสามารถ
ที่จะมีความสขุ ในตัวเองไดมากขน้ึ โดยพ่งึ พาข้นึ ตอวัตถเุ สพบริโภคนอ ยลง
คอื เปน คนที่สุขไดงา ยขนึ้ ไมตองเอาชีวติ ไปขึน้ ตอวตั ถุ ไมต อ งเอาความสขุ ไป
ฝากไวก บั สงิ่ เสพบรโิ ภค ซง่ึ จะทาํ ใหล ดการแยง ชงิ เบยี ดเบยี นกนั ในสงั คม
พรอมกนั นน้ั เมื่อไดพัฒนาตนเอง ใหมีความสามารถมากขึ้น ท้ังในการ
ทจี่ ะมคี วามสขุ ที่เปนอสิ ระ และในการทีจ่ ะทาํ การสรางสรรคต า งๆ กจ็ ะทาํ
ใหท ้งั ชวี ิตของตัวเองก็ดีขึน้ และสามารถเกือ้ กูลแกผูอ น่ื หรือแกส งั คมไดม าก
ขนึ้ พรอมไปในคราวเดียวกนั
ขอยกพทุ ธภาษิตมายํา้ เตอื นอกี วา

ตนแลเปน ทพ่ี ง่ึ ของตน โดยแทจ รงิ คนอนื่ ใครเลา จะเปน
ทพี่ งึ่ ได มตี นทฝี่ ก ดแี ลว นน่ั แหละ คอื ไดท พี่ ง่ึ ทหี่ าไดย าก

(ขุ.ธ. ๒๕/๒๒/๓๖)

๗๔ แกนแทข องพระพุทธศาสนา

หลกั ๔ นส้ี มั พนั ธเ ปน อนั เดยี วกนั แตแ ยกในเชงิ ปฏบิ ตั ใิ หใ ชไ ดเ หมาะสม
และไดผ ลจรงิ จงั การปฏบิ ตั จิ ากทกุ หลกั จะมาบรรจบประสานเปน อนั เดยี วกนั

ขอทวนอกี ครั้งวา หลัก ๔ ประการนีต้ องย้าํ อยางที่สดุ เพราะเปน หลกั
ใหญข องพระพุทธศาสนา และเหมาะสมยิง่ กับยคุ ปจ จุบนั

๑. ทําการใหส ําเรจ็ ดว ยความเพียรพยายาม
๒. เรยี นรูฝกศึกษาพฒั นาตน ใหชีวติ และสงั คมกา วหนา ไปสูความ

ดีเลิศประเสรฐิ ย่ิงข้ึน
๓. มคี วามไมประมาท กระตอื รือรน ขวนขวายสรางสรรคส งิ่ ทด่ี งี าม

ไมป ลอ ยเวลาใหเสียไปโดยเปลาประโยชน
๔. พึ่งตนได มีอิสรภาพ พรอมที่จะเผ่ือแผค วามสขุ เปนที่พึง่ แกผู

อ่ืนได
มสี ี่ขอ นี้พอแลว ประเทศไทยพัฒนาไดแ น

แกน แทข องพทุ ธธรรม คือความหลดุ พนพึ่งตนได
ในสังคมของกัลยาณมิตร ผูมชี วี ิตที่เกอื้ กูลกัน

ขอจบดว ยคาํ สรปุ ตามหวั ขอ ทตี่ งั้ ไวใ หว า “แกน แทข องพระพทุ ธศาสนา”

น้นั มอี ยูในพระสูตรหนึ่งชอ่ื วา มหาสาโรปมสตู ร ซง่ึ พระพทุ ธเจาไดต รสั เรื่อง

แกน ของพระพทุ ธศาสนาไว มใี จความตามพระสูตรนว้ี า

ชีวิตทีป่ ระเสริฐ (พรหมจริยะ) คอื ตวั พระพุทธศาสนาน้ี เปรียบไดก บั

ตนไม ซ่งึ มีองคป ระกอบตางๆ คือ

ลาภสกั การะ เหมอื นกิ่งใบ

ศีล เหมือนสะเก็ดไม

สมาธิ เหมือนเปลอื กไม

ปญญา เหมือนกบั กระพ้ีไม
วมิ ุตติ   เปน แกน

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๗๕

ตรงนแ้ี หละมาถึงแกน แทข องพระพุทธศาสนา คือ ความหลดุ พนเปน
อิสระ เขากับหลกั ทีพ่ ูดสุดทายวา จะตองพัฒนาตนใหพง่ึ ตนเองได และเปน
อสิ ระ จนกระท่ังในทสี่ ุดเปนอสิ ระทางจติ ใจและปญญา

เราพงึ่ คนอนื่ เชน พงึ่ พระพทุ ธเจา กเ็ พอื่ ทําตวั เราใหพ ึ่งตนเองได พระ
พุทธเจา ชว ยใหเราพึง่ ตนเองไดน่นั เอง จดุ หมายก็คอื พ่ึงตนเองไดเปน อสิ ระ

เพราะฉะน้นั หลกั พุทธศาสนาจึงมาถึงแกนแทท ่สี งู สุด คือวิมุตติ ความ
หลดุ พน เปนอิสระ แกน แทข องพระพทุ ธศาสนา ก็จบลงตรงนี้เอง

ตอนแรกเปน อิสระทางพฤตกิ รรม ซึ่งหมายถึงพฤติกรรมท่ีเปนอิสระ
ทางสังคม ทาํ อะไรๆ พูดอะไรๆ ไดโดยไมถูกบงั คบั ครอบงําขม เหง แต
พรอมกันน้นั กต็ องเปนพฤตกิ รรมท่ีเกิดจากจติ ใจทีเ่ ปน อสิ ระจากกเิ ลส จงึ จะ
เปนอสิ ระจากการเบยี ดเบยี นกันแทจ ริง

อสิ รภาพที่แทจึงไมใชเปนพฤติกรรม แตเปนภาวะทางจิตใจและ
ปญญา และอิสรภาพทส่ี มบรู ณคอื อิสรภาพทางปญญา

ในดานพฤติกรรมนัน้ ทา นไมส อนใหเปนอสิ ระแบบแยกตา งหากจาก
กัน หรือตางคนตา งอยู แตพฤตกิ รรมนั้นทา นมงุ ใหพ่งึ พาอาศัยซ่งึ กนั และกนั
ใหเกือ้ หนนุ กนั ดวยวัตถแุ ละเร่ยี วแรงกําลังเปน ตน โดยรเู ทา ทันวาวัตถุ
ทรพั ยส ินภายนอก รวมท้ังลาภสกั การะทงั้ หลาย เราตอ งอาศัย แตม ันเปน
เพยี งปจจัยเก้อื หนุน เหมือนเปน กิง่ ใบ ไมใชเ ปน ตวั แกนสาร

ในดานพฤตกิ รรมเกย่ี วกบั ชีวติ ภายนอกนี้ ใหเราเปนทีพ่ ่ึงแกคนอน่ื ได
พรอมกบั เราตอ งพง่ึ คนอื่นดว ย

ใหสงั คมเปน สังคมทพี่ งึ่ พาอาศยั ซง่ึ กันและกนั เปน กัลยาณมิตรของกนั
และกนั โดยแตล ะคนกม็ ีอะไรใหคนอ่ืนไดพงึ่ บาง ตา งกเ็ ก้ือหนุนกนั ให
สังคมอยผู าสกุ และใหแ ตละคนมีโอกาสพัฒนาย่ิงข้นึ ไปในไตรสิกขา เพ่ือให
แตล ะคนมอี ิสรภาพท่พี ง่ึ ตนไดแทจริงในทางจติ ใจและทางปญ ญา อยา งน้จี ึง
จะเปนสังคมทด่ี ี

๗๖ แกน แทของพระพทุ ธศาสนา

ขอใหด ูวนิ ัยของพระ คือชีวิตในสงั ฆะตามพทุ ธบญั ญตั ิ จะเห็นชดั วาเปน
อยา งน้ี

พระพทุ ธเจา ทรงจดั วางเปนแบบไว คอื สงั คมสงฆเปนสังคมตัวอยาง
แหงการท่ีแตละคนพยายามพัฒนาตนใหมีอิสรภาพทางจิตใจและปญญา
โดยทช่ี ีวิตทางดานพฤตกิ รรมน้ันพ่ึงพาอาศัยเกอ้ื กลู ซงึ่ กันและกนั เปน การ
เกอ้ื หนนุ กนั ใหก า วไป ไมใ ชช ว ยใหเ ขาไมต อ งทาํ แลว คอยรอรบั ความชว ยเหลอื

คนที่มอี สิ รภาพทางจติ ใจและทางปญญาเทานั้น จึงจะสรางสรรคสังคม
อยางน้ี และอยกู นั ดว ยดีในสังคมอยางน้ไี ด

เรื่อง แกนแทของพระพุทธศาสนา พูดมาถึง “แกนธรรมเพื่อ
ชวี ติ ” แลว กข็ อจบไวเ พยี งนี้กอน

แมวาท่จี รงิ ยังมหี ัวขอทค่ี วรพดู อกี ๒ เรื่อง หรือ ๒ บท คือ แกน
ธรรมเพือ่ สงั คม กบั แกน ธรรมเพ่ือโลก แตจําเปน ตอ งยตุ ิเพราะ
ความยาวทีเ่ กนิ เวลา

ขออนุโมทนาทานอธิบดี ทานรองอธิบดี ทา นผูอํานวยการ และ
ทา นผบู ริหารระดับสูงของกรมการศาสนา

ขอความเจรญิ ผาสกุ จงมแี ดทุกทา น

คาํ โปรย

… พทุ ธศาสนาสอนใหร ทู ันทุกข และใหอ ยเู ปนสุข
… คอื ทุกขสําหรับเห็น แตสุขสาํ หรับเปน

ความดเี ลิศประเสรฐิ ของมนษุ ยน้ัน อยทู ีก่ ารเรยี นรฝู กศกึ ษาพัฒนาตน
ขึ้นไป มนุษยจะเอาดไี มไ ดถ าไมมกี ารเรียนรฝู ก ฝนพัฒนาตน เพราะฉะนนั้
เราจงึ พูดเต็มวา

“มนษุ ยเ ปน สัตวป ระเสริฐดว ยการฝก”

…การท่ีชวี ติ เปน อยูดําเนินไป ก็คอื การท่ีตองเคล่อื นไหวพบประสบ
การณใหมๆ เจอสถานการณใหมๆ ซึ่งจะตอ งรูจักตองเขา ใจ ตองปฏิบตั หิ รือ
จดั การอยางใดอยา งหน่ึง…เรียกส้ันๆ กค็ ือสิกขา หรอื การศกึ ษา

…ฝรง่ั บางพวกวา ชีวิตคือการตอสู บา งก็วาชีวิตเปนความฝน แตถา พูด
ตามหลักพระพทุ ธศาสนา “ชวี ติ คอื การศึกษา”

…หลกั ๔ ประการนีต้ อ งยํ้าอยางท่สี ุด เพราะเปน หลักใหญข องพระ
พุทธศาสนา และเหมาะสมย่ิงกบั ยคุ ปจ จบุ นั
• ทาํ การใหส าํ เร็จดว ยความเพยี รพยายาม
• เรียนรูฝกศึกษาพัฒนาตน ใหชีวิตและสังคมกาวหนาไปสูความดีเลิศ
ประเสรฐิ ยงิ่ ข้นึ
• มีความไมป ระมาท กระตือรือรน ขวนขวายสรา งสรรคส ิ่งท่ดี งี าม ไมปลอย
เวลาใหเ สียไปโดยเปลาประโยชน
• พ่งึ ตนได มอี ิสรภาพ พรอมทจ่ี ะเผื่อแผความสขุ เปน ทพี่ ่ึงแกผ ูอน่ื ได
มสี ข่ี อนพี้ อแลว ประเทศไทยพฒั นาไดแน


Click to View FlipBook Version