สัมมาสมาธิ
โดย
ทา นเจาคุณ พระภาวนาพิศาลเถร
(หลวงพอพธุ ฐานโิ ย)
วัดปา สาลวนั อ.เมือง จ.นครราชสมี า
1. ศลี 5 สามารถทําใหบ รรลุได
การปฏิบตั ิธรรมในดานจิตนนั้ เราจะตอ งเริม่ ตน ดวยทาํ ตนเปน ผมู ศี ีล ศลี นีเ้ ปน สงิ่
สาํ คัญ เปน คุณธรรมอันเปน ภาคพน้ื เปน การปรับกาย วาจา และใจ ใหอ ยใู นสภาพปกติ
โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ศลี หา อันเปน ศลี ทฆี่ ราวาสทว่ั ๆไปพึงสมาทานปฏบิ ตั ิ เปน ศลี หลกั ใหญ
และเปน ศลี ทสี่ าํ คัญ ศลี 8 ศลี 10 ศลี 227 ก็รวมลงอยใู นศีลหาขอ น้ี จะเปน ผใู ดก็ตาม ในเมอ่ื
มาตัง้ ใจสมาทานรักษาศีลหา ขอ เม่ือทําศีลหาใหบริสทุ ธ์ิแลว และต้ังใจทาํ สมาธภิ าวนา ก็
สามารถจะทาํ จติ ใหส งบรซู งึ้ เห็นจริงในสภาวธรรมตามความเปน จรงิ ไมเฉพาะแตเทานัน้ ยงั
สามารถใหบ รรลมุ รรค ผล นพิ พานได ยกตวั อยา งเชน อบุ าสก อุบาสกิ า ในอดตี สมัย
พระพทุ ธเจา ยงั ทรงพระชนมอ ยกู ม็ หี ลายทา น เชน พระนางวสิ าขามหาอุบาสกิ า ทานอนาถบิณ
ฑกิ ะมหาเศรษฐี ทา นกเ็ ปน ผูค รองเหยาครองเรือน แลว ก็มีศลี เพียงหา ขอเทา น้นั แลวทานกไ็ ด
ปฏิบัติธรรมจนไดบ รรลโุ สดาบนั
คนในสมัยปจจบุ นั นี้ มเี พียงแคศลี หา กย็ งั ถอื วา ยังนอยหนาต่ําตา ศลี ของเราไม
มาก บางคนกส็ งสยั วา มศี ลี หา ไมสามารถทีจ่ ะปฏิบัติใหบ รรลุมรรค ผล นพิ พานได อนั นเี้ ปน
การเขาใจผดิ ความจรงิ ศีลหา ขอ นี้ เปนศลี ทก่ี ําจดั บาปกรรม หรืเปน การตดั ผลเพมิ่ ของ
บาปกรรม ทเี่ ราจะพงึ ทาํ ดวยกาย วาจา เชน ปาณาติบาต การเวน จากการฆา สัตว
อทนิ นาทาน เวนจากการหยบิ สง่ิ ของทเี่ ขาไมไดอ นญุ าต กาเมสมุ ิฉาจาร เวน จากการประพฤติ
ผดิ ในกาม มสุ าวาท พดู เทจ็ สุรา ดื่มของมนึ เมา ถา ใครสมาทานรกั ษาศีลหา ขอนใ้ี หบ รสิ ุทธิ์
บริบูรณแ ลว ไดช อื่ วา เปน การตัดผลเพม่ิ ของบาป บาปกรรมทเี่ ราทาํ ที่จะตอ งไปเสวยผลคือ
ไปตกนรกหรอื ไปทรมานในสถานทห่ี าความเจรญิ มไิ ดน ั้น มแี ตก ารละเมดิ ศีลหาขอ เทานั้น สว น
อ่นื ซ่งึ เราทาํ ลงไปแมจ ะเปน บาปอยูบ าง กเ็ ปนแตเพยี งความมวั หมองภายในจติ ใจเทา นน้ั แต
ถาใครมีศีลหา บรสิ ุทธส์ิ มบรู ณ มหี วงั ทีจ่ ะทาํ สมาธิ ปฏบิ ตั ิธรรม รธู รรม เห็นธรรม รแู จงเหน็ จรงิ
ในสภาวธรรมได เพราะฉะนนั้ ผทู ไ่ี มสามารถจะมศี ลี มากๆขนึ้ ไปกวา นน้ั ก็อยา พึงทําความนอย
อกนอ ยใจวา ศีลเรานอ ยเหลอื เกนิ กลวั วา จะไมถงึ นพิ พาน อนั นนั้ เปนการเขา ใจผดิ กอ นท่เี รา
จะเพ่มิ ศีลของตัวเองใหม ากข้ึนไปนั้น เราตอ งพิจารณาถงึ สมรรถภาพของตวั เองวา เราสามารถ
จะปฏบิ ัติและรักษาศลี ใหมากๆไดห รอื ไม ถา เรายงั ไมม สี มรรถภาพพอที่จะรักษาศลี มากๆได ก็
ใหมนั่ คงแตเ พยี งในศลี หา เทา นน้ั
ฆราวาสโดยทวั่ ไป มีเพียงศลี หา เวน จากการฆา สตั ว ลักทรพั ย ประพฤตผิ ิดใน
กาม มสุ าวาท เวน การเสพสรุ า เรายงั ประดับตกแตงดว ยเครื่องหอม เคร่อื งยอ ม เครื่องทาได ดู
หนงั ดลู ะคร หรอื ประโคมขบั ดนตรกี ็ได นอนบนทนี่ อน ที่สงู ทีใ่ หญกไ็ ด ไมผ ดิ ศีล แตถา เราไป
เพิม่ ขอ วกิ าลโภช เขา ไป แตว าอดขา วเย็นไมไ ด เพมิ่ ขอ มาลา เขา ไป แตว าเวน จากการ
ประดับตกแตง ไมได เพมิ่ ขอ นัจจคตี ะ เขา ไป แตว า เวน ดูละคร ดนตรไี มได เพมิ่ ขอ อจุ จา
สยนะ เขา ไป แตก็พอใจในทนี่ อนที่สงู ทใ่ี หญ เราก็รักษาไมไ ด เปน การหาเร่อื งเพ่ิมบาปให
ตนเองโดยไมม เี หตผุ ล การท่ีตั้งใจรักษาศลี ใหม ากๆนน้ั เราตอ งดูสมรรถภาพของตนเอง เมอ่ื
เรามศี ีลหา บรสิ ุทธิ์บรบิ ูรณแ ลว ตงั้ ใจทาํ สมาธิ บําเพญ็ เพียรภาวนาไป เมือ่ เราภาวนาเปนแลว
ศีลกจ็ ะเพมิ่ ข้นึ เอง ไมเ ฉพาะศลี 8 ศลี 10 เทา น้นั เม่ือมีศีลหา มสี มาธิ มีปญญา รูแจงเหน็ จรงิ
ในสภาวธรรม ความเปน ของตัวเองซงึ้ มันเกดิ ขน้ึ ในจติ นั่นแหละ ความท่จี ติ สงบเปน สมาธิ
ความท่ีมปี ญ ญารูจ าเห็นจรงิ ในสภาวธรรม สามารถทาํ จิตใหอยูในสภาพปกตไิ ดน นั่ แหละ จะ
เปนอบุ ายเพมิ่ ศีลเขาไป อยา งวาแตศลี 227 ขอเลย ตอ ใหเปนหมนื่ ๆขอ แสนขอ ก็เพ่มิ ได ถา
พน้ื ฐานของจติ ใจดแี ลว เพราะฉะนัน้ ใครจะปฏิบตั ิธรรม จะเขยิบฐานะการปฏิบตั ขิ องตนใหสูง
ยงิ่ เพียงใด แคไ หน กข็ อใหพ ิจารณาดสู มรรถภาพของตวั เองเปน สาํ คญั อยาไปทาํ อยางงมงาย
ทําอยา งมเี หตมุ ีผล เชน เขาวารกั ษาอโุ บสถไดบ ุญมาก แตใ นเม่ือเราไปรกั ษาอุโบสถ อดขาว
เย็น ไดร บั ทุกขเวทนาอยา งในสมยั ท่อี าตมาเปน พระเลก็ เณรนอย อยูก ับพระอาจารยเ สาร แลว
กไ็ ปพอใจในคาํ วา การอดขา ว บางทีเขาชวนกนั อดขา ว 3 วนั 5 วัน 7 วัน บางทกี ็อดจนถึง 9
วันกม็ ี แตเ มอ่ื อดกนั ไปแลวผลทไ่ี ดร บั กไ็ มไดร ับผลเทาที่ควร การอดทาํ ใหเ ราเกดิ ความเพลีย
ความหวิ ในเม่อื รางกายเกดิ ความหวิ ไมไ ดอาหารมาบาํ รุงรางกาย กอ็ อนเพลยี ในเมอ่ื ความ
ออนเพลยี เกิดข้นึ เราก็ไมสามารถจะปฏิบตั ิธรรมไดอยา งเต็มท่ี แทนทจ่ี ะไดผ ลดีกลบั ขาดทุน ดี
ไมดที ําใหเกิดโรคทางกาย โรคกระเพาะ โรคลาํ ไส ตองทนทุกขท รมาน พยาบาลรกั ษาเปน
เวลานานกวา จะหาย เพราะฉะนนั้ ส่ิงใดทเ่ี ราจะทาํ ลงไป ที่เราเหน็ วา ปฏิบตั ิดี ปฏบิ ัตชิ อบ หรือ
ปฏบิ ตั จิ รงิ เราอยา ปฏบิ ตั ิกนั อยางงมงาย ทาํ ใหม เี หตมุ ีผล พิจารณาสมรรถภาพของรา งกาย
และจติ ใจตนเองวา มคี วามสามารถเพยี งใดหรือไม อาตมาขอใหคติเอาไว
2. วธิ ที าํ สมาธิ
เรอื่ งของธรรมะที่จะนํามาในโอกาสน้ี กค็ วรจะเปนเรื่องประสบการณเ กยี่ วกับการ
ปฏบิ ตั ิธรรม ซง่ึ ปญหาในการปฏิบัตธิ รรมในสมยั ปจจุบันนี้ รูสกึ วา เปนท่ตี ื่นอกตนื่ ใจ หรือเปนที่
สนใจของบรรดาทา นพุทธบรษิ ัททงั้ หลายโดยทั่วๆไป สมยั เมอื่ อาตมายังเปน ศษิ ยท า นอาจารย
เสารอยทู างภาคอีสาน คนทส่ี นใจธรรมะ และต้ังใจนงั่ สมาธิภาวนากนั สวนมากมแี ตคนแกๆ
อายุมากแลว ตอมาในสมยั ปจจบุ ันน้ี คนหนมุ คนสาว คนแก มคี วามสนใจในการปฏิบตั ธิ รรม
แสดงวาชาวพทุ ธทัง้ หลายมคี วามตื่นตวั และเริม่ รสู ึกสํานกึ ในการแสวงหาที่พงึ่ ใหแกตัวเอง
มากขึน้ ทุกทๆี แตบ างครัง้ กย็ งั เปน สงิ่ ทน่ี า เปน หว ง เกยี่ วกบั เรื่องการปฏิบตั ิธรรม โดยเฉพาะ
อยางย่งิ การทาํ สมาธิ เปน ปญหาทีเ่ ราจะตองทาํ ความเขา ใจวา การทําสมาธิ ทจ่ี ดั วา เปน
สมั มาสมาธนิ นั้ มีความมงุ หมายอยทู ่ตี รงไหน ในหลักคาํ ส่งั สอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพทุ ธ
เจา ในเม่ือพระองคแ สดงธรรม โดยมากมักจะมธี รรมเปนของคกู นั เชน สมั มาสมาธิ มิจฉา
สมาธิ หรอื สมั มาทิฏฐิ มจิ ฉาทฏิ ฐิ อะไรทาํ นองนี้ เรอื่ งความถกู กบั ความผดิ นนั้ พระองคมันจะ
ยกขึน้ มาแสดงคกู นั
ดังนนั้ ปญหาเร่ืองการทําสมาธใิ นสมยั ปจ จุบันนี้ จะวาลทั ธขิ องใครถกู ของใครผดิ
จะไมข อนาํ มากลาว เร่อื งถกู หรอื ผิดอยใู นความต้ังใจ หรอื เจตนาของผทู าํ ถา หากบําเพ็ญ
สมาธิ มุง ทจ่ี ะใหจ ติ สงบ ใหมีจิตมน่ั คงตอการทาํ ความดี และเพอื่ จะใหเ กิดมสี มาธิ มี
สตปิ ญ ญารูแจงเหน็ จริงในสภาวธรรมตามความเปนจรงิ เพ่อื จะไดเ ปน อบุ ายถายถอนราคะ
ความกาํ หนดั ยินดี หรือกเิ ลส โลภ โกรธ หลง ใหห มดไปจากจติ ใจ โดยไมไ ดม งุ ส่ิงอ่นื นอกจาก
ความบริสทุ ธแ์ิ ละความพน ทกุ ข จดั วา ไดช่อื วา เปน สมั มาสมาธิ ความรู ความเหน็ ของทา น
เหลา นั้นก็เปน สัมมาทฏิ ฐิ ทีน้ีโดยวิสยั ของการปฏบิ ตั ิ หรอื ภูมิจติ ภมู ธิ รรมทเ่ี กดิ ข้นึ น้ัน ใน
ระดบั ตน ๆนี้ กย็ อ มมที ง้ั ผิด ทงั้ ถกู แมแ ตผทู ม่ี ภี ูมิจิตกา วข้ึนสภู มู ิของความเปนพระอริยบคุ คล
แลว กย็ งั มคี วามเหน็ ผดิ เห็นถูก ยกเวน แตพ ระอรหนั ตจ ําพวกเดยี วเทา นนั้ ผทู ส่ี ําเรจ็ โสดา
สกิทาคา อนาคา แตยงั ไมไดสําเรจ็ พระอรหันต และทาํ ไมจงึ ยงั ไมส าํ เร็จพระอรหนั ต กเ็ พราะ
เหตวุ า สมั มาทฏิ ฐิ ในขน้ั พระอรหัตตมรรค ยังไมส มบรู ณ จงึ ยงั ของอยู จึงยงั ไมสาํ เร็จกอ น
เพราะฉะนนั้ ความผดิ ความถกู นนั้ เราอยาเพม่ิ ไปดว นตดั สนิ วา ใครผิด ใครถกู
เอากนั ตรงทว่ี า ใครสามารถทาํ สมาธิจติ ลงไปใหส งบลงไปไดแลว สภาพจิตของเราเปน อยางไร
เรามกี เิ ลสตัวไหนมาก และควรจะแกไ ขอยา งไร นี้เปน จุดแรกทเ่ี ราจะตองอา นตวั ของเราเองให
ออก จะวา สิ่งอ่ืนผดิ ส่ิงอนื่ ถกู นนั้ ไมสําคญั แมวาเราจะรูอ ะไรผิดอะไรถกู แตเปนเรอ่ื งนอกตวั
นน้ั ไมสาํ คญั สาํ คญั อยูทวี่ า เราอา นจิตใจของเรา แลว กป็ รับโทษตวั เอง แลวก็ตัดสินตวั เอง วา
ตัวเองผิด ตวั เองถูกนนั่ แหละ เปน เรื่องสาํ คญั ท่ีสุด ถา หากเราไมสามารถจะจบั จุดนไ้ี ด เราจะ
ปฏบิ ตั ิ หรอื บาํ เพ็ญเพียรภาวนาแคไหนก็ไมมที างท่ีจะแกไขตัวเองได
อนั น้ี เปน ความคดิ ความเขา ใจของอาตมา ตวั ผูเทศน ทน่ี ํามาเลาสกู นั ฟงกบั ทา น
ทงั้ หลาย กเ็ ผอ่ื วาทานทงั้ หลายจะไดชวยคดิ พิจารณา วาเปน การเหมาะสม หรือไมป ระการใด
ในฐานะท่ีอาตมาเปน ลกู ศษิ ยพ ระอาจารยเ สาร ก็จะไดนาํ เร่อื งการปฏิบัติสมาธติ ามสายทา น
อาจารยเ สารม าเลา สกู นั ฟง
ในขัน้ บรกิ รรมภาวนาตามแบบฉบบั ของทา นอาจารยเสาร และทา นอาจารยม น่ั
ทานอาจารยเสารและทา นอาจารยมนั่ ทา นเปน พระเถระทท่ี รงคณุ ในทางการปฏบิ ัติ สมถกรรม
ฐานและวปิ ส สนากรรมฐานของภาคอสี าน บางทา นอาจจะยงั ไมรูวา ทา นอาจารยเสาร ทา น
อาจารยม น่ั เปน คนเมืองไหน อาตมาจะไดนําประวตั ขิ องทานมาเลา โดยยอ ๆ ทานอาจารย
เสาร และทา นอาจารยมน่ั เปน ชาวอุบลโดยกาํ เนดิ ทานอาจารยเ สารเ กิดที่ อ.เมือง ทาน
อาจารยมนั่ เกดิ ที่ อ.โขงเจยี ม ทงั้ สองทา นนใ้ี นเมอื่ ไดมาอปุ สมบทในพระธรรมวินยั แลว กไ็ ด
ตัง้ ใจศกึ ษาธรรมวนิ ยั เพยี งแคการใหร ูหลกั ธรรม
ทานอาจารยเสารเปน พระเถระทีไ่ มไ ดศ กึ ษาพระปรยิ ัตกิ วา งขวาง ทานเรียนรู
เฉพาะขอวตั รปฏบิ ตั ิ อนั เปน หนา ทที่ ีจ่ ะตอ งปฏิบตั ิโดยตรง ทา นอาจารยเ สารสอบนกั ธรรมตรีก็
ไมได เพราะทานไมสอบ แตความเขาใจเร่อื ง พระธรรมวินัยซง่ึ เปน ขอ ปฏิบตั ินั้น รูสึกทา นมี
ความเขาใจ ละเอยี ดละออดมี าก และทานอาจารยเสารส อนกรรมฐาน หรอื สอนคนภาวนานน้ั
มกั จะยึดหลักภาวนา พุทโธ เปนหลกั ยกตวั อยา ง ในบางครง้ั มผี ไู ปถามทานวา อยากเรยี น
กรรมฐาน อยากจะภาวนาทาํ อยา งไร? ทา นอาจารยเสารจ ะบอกวา ภาวนา พทุ โธ ซิ ภาวนา
พทุ โธ แลว อะไรจะเกดิ ข้ึน? ทา นจะบอกวาอยา ถาม พทุ โธ แปลวาอะไร ถามไปทาํ ไม และ
ทานจะย้ําวา ใหภ าวนา พทุ โธๆๆ อยา งเดยี ว แลวการภาวนาใหม ากๆ ทาํ ใหม ากๆ ทําใหช าํ นิ
ชาํ นาญ ในเมอ่ื ตงั้ ใจจริง ผลท่ีเกิดขึน้ ไมต อ งถาม ทีนเี้ ราไปถามวา ภาวนาพทุ โธแลว อะไรจะ
เกิดขนึ้ ทั้งๆท่เี รายังไมต องลงมาทํา แมว า ผทู าํ เห็นผลมาแลว ทานใหค าํ ตอบลงไป มนั กไ็ ม
เกิดประโยชนอ ะไรสําหรับเราผถู าม เพราะฉะนน้ั ไมจาํ เปนตอ งถาม ถา หากวา ทานอาจจะไป
เปน ลูกศษิ ยข องทา นอาจารยอ งคใดองคห นึง่ ที่ทา นสอนใหภาวนาอยางใดอยา งหน่ึงก็ตาม ถา
ทานยงั มคี วามลงั เลสงสยั ในโอวาทของทา นอาจารยของทา นอยู ทา นจะภาวนาอยา งไร
เพยี งไร แคไ หน ทานจะไมไดรับผลสาํ เรจ็ เพราะฉะนนั้ ทา นจะไปเรยี นกรรมฐานจากสํานกั ไหน
กต็ าม เชน จะเรียนจากสํานกั สมั มาอรหงั ยุบหนอ พองหนอ หรือกาํ หนด นาม รูป อะไรก็ตาม
ในเม่อื ทา นเรียนมาแลว ทานตอ งต้งั ใจปฏบิ ตั ิอยางจรงิ จงั ปฏิบตั ิตามคําแนะนาํ ของทา นอยา ง
จรงิ จงั จะวาเอาจรงิ เอาจงั เชอ่ื กนั จรงิ ๆ อยา งสมมตวิ า อาจารยของทา น หลังจากสอนบท
ภาวนาใหแลว อาจารยของทานสัง่ วา ใหท า นไปนงั่ สมาธบิ รกิ รรมภาวนา วันละ 3 ครัง้ หรือ 4
ครั้ง แตละคร้ังขอใหท ําไดครง้ั ละ 1 ชวั่ โมง ถาทา นปฏบิ ตั ติ ามคาํ ส่ังของทา นอาจารยทา นได จะ
เปนอาจารยใดก็ตาม ผลยอ มเกดิ ขึ้นอยา งแนน อน แตถ า ทา นมีความรูสกึ วา เชอ่ื ครงึ่ ไมเชื่อคร่ึง
ทาํ ไปแลว กไ็ มไ ดผล อยา ทาํ ดกี วา
พุทโธ น้เี ปน คาํ บริกรรมภาวนา ในอนสุ สติ 10 ขอ พทุ ธานสุ สติ ธรรมานุสสติ
สังฆานุสสติ หรืออนสุ สติอนื่ ๆที่มคี าํ บริกรรมภาวนา ตงั้ แตขอ 1 – 8 เรียกวา ตอ งใชค าํ บริกรรม
ภาวนา ตามบทหรอื ตามแบบในการภาวนาในขอนนั้ ๆ การภาวนาอะไรทน่ี ึกคาํ บริกรรม
ภาวนาในใจ เมือ่ เราทาํ แลว จติ จะสงบลงไปไดแ คอปุ จารสมาธิ ใครจะภาวนาอยา งไหน แบบใด
ก็ตาม ในเมื่อนึกบริกรรมภาวนา จติ จะสงบลงไปแคอุปจารสมาธิ
3. ขั้นของสมาธิ
พระพทุ ธศาสนานี้ พระพทุ ธเจาวางหลักคาํ สอนเอาไว อนั เปน หลักใหญๆ กค็ อื ศลี
สมาธิ ปญญา เปน อุบายหรอื เปน หนทางทพ่ี ทุ ธบรษิ ัทจะตอ งยดึ เปน หลกั ปฏิบัติ เพอ่ื สราง
คณุ ธรรมคือความดใี หเกิดมขี ้ึนในจิตในใจ จนถงึ ขนาดท่ี ศีล สมาธิ ปญ ญา ประชมุ พรอมกัน
เปนองคอรยิ มรรค สามารถเกิดสติสมั ปชญั ญะขึ้นมาเปน มหาสตดิ วยวธิ ีการตา งๆ วธิ ีการท่ีจะ
พงึ ปฏิบตั นิ นั้ เราเรียกๆกนั โดยทัว่ ไปวา สมถกรรมฐาน และ วปิ ส สนากรรมฐาน หนทางท่จี ะ
เขาไปสูค วามรูจริงเหน็ แจงในภาวธรรมท้ังปวงนน้ั เราจะหนีจากหลักแหงการปฏบิ ัติสมถกรรม
ฐาน และวปิ สสนากรรมฐานไปไมได ไดกลาวแลววา การศกึ ษาธรรมะและการเรยี นธรรมะเปน
สิง่ ที่เราทา นทงั้ หลายไดศึกษามามากพอสมควรแลว การฟง ธรรมกค็ อื การฟง เสียงผเู ทศน เปน
การฟง ส่งิ ทเี่ ขา มาสัมผัสจากส่งิ ที่เกดิ ขึ้นในภายนอก
สําหรบั ผทู ี่เร่มิ ใหม ซ่ึงจติ ยงั ไมเคยมสี มาธแิ ละไมเ คยเกดิ ภาวะตวั ผรู ขู นึ้ มาในจิต
ใหอ าศยั การกาํ หนดรูลมหายใจเขา ลมหายใจออกบา ง หรอื กําหนดบริกรรมภาวนาอยา งใด
อยางหน่ึง ตามทต่ี นชาํ นชิ าํ นาญ เชน พทุ โธ เปน ตน ใหก ําหนดจดจอ ลงทจี่ ิต แลว เอาจติ นกึ
พทุ โธๆๆ นกึ อยอู ยา งนนั้ นึกอยเู ฉยๆ อยา ไปทําความรูส กึ วา เม่อื ไรจิตของเราจะสงบ เมอ่ื ไรจิต
จะเกิดสวา ง เมอื่ ไรจติ จะเกิดความรู ความเหน็ ขึ้นมา
การภาวนาในเบอื้ งตนนี้ ไมใ ชเพ่อื จะรเู พ่ือจะเหน็ สงิ่ อน่ื เพ่อื ใหรูใหเ หน็ สภาพ
ความจรงิ ของจติ ของตัวเอง เราจะเร่มิ รคู วามเปน จรงิ ของจิต ตง้ั แตเ ราเริม่ กําหนดจติ กับ
บริกรรมภาวนา รอู ยางไร รูอยูตรงทวี่ าจิตของเรากบั บริกรรมภาวนานน้ั มีความสัมพนั ธห รืออยู
ดวยกนั หรือไม เมอื จติ ของเรากบั บรกิ รรมภาวนาสมั พนั ธก ันอยดู ว ยกนั มนั มีโอกาสทจ่ี ะเผลอ
สงกระแสไปทางอน่ื หรือไมนใ้ี หเรากาํ หนดดคู วามจริงของจิตในตอนน้ี ทีน้ีในขณะทเี่ รานกึ พุท
โธๆๆ อยนู นั้ ความรสู กึ ของจติ นน้ั มนั มอี ะไรบางเกิดขนึ้ จติ อยูกบั พทุ โธไหม หรอื วามนั ลืมพุทโธ
เปน บางคร้งั บางขณะ ในขณะที่ลมื นน้ั จติ มันไปอยูทางไหน ไปอยกู ับส่ิงภายนอก ซง่ึ เปน อดีต
สญั ญา หรอื วา นง่ิ วางอยูเฉยๆ ใหเ ราสงั เกตดคู วามจริงในตอนนี้ ทีนถ้ี า หากจติ ของเราลมื
พุทโธแลวมนั ไปอยใู นสญั ญาอดีตทีเ่ ราเคยนึกคดิ และจดจาํ ซง่ึ เปน สิ่งอน่ื นอกจากพุทโธ แสดง
วา จติ ของเราละทงิ้ พทุ โธแลวก็ไปยดึ เอาอารมณเกา แกมาเปน ความรูส ึกนึกคิดตามนสิ ัยเดมิ
เปน อาการของจติ ฟงุ ซา น
แตถ า หากจติ ลืมคําวา พทุ โธ แลว ไปน่ิงอยเู ฉยๆ เมอ่ื มีอาการอยา งน้ีเกิดขึน้ ผู
ภาวนาอยา ไปนึกถงึ พทุ โธอีก ใหก าํ หนดรูล งท่จี ิตเฉยๆอยู แตใ นชวงนถ้ี า หากลมหายใจปรากฏ
ข้ึนในความรูสกึ กใ็ หก าํ หนดรลู มหายใจเฉยอยู เอาลมหายใจเปน เครอ่ื งรขู องจติ เปนเครอ่ื ง
ระลึกของสติ จดจอ ดอู ยูอยางนั้น อยาไปสรา งความรสู กึ นกึ คดิ อะไรข้ึนมา และกไ็ มต องไปนกึ
วา ลมหายใจสน้ั ลมหายใจยาว เปน แตเพยี งรู กําหนดจดจอ อยูเฉยๆเทา นนั้ ความส้นั ความ
ยาว ความละเอยี ด ความหยาบ ของลมหายใจ เปนสงิ่ ทจี่ ติ รูอยู จติ ยอ มรูค วามสนั้ ความยาว
ความหยาบ ความละเอยี ด ของลมหายใจอยใู นที โดยท่ีเราไมจ าํ เปนตอ งไปนึกสําคัญมน่ั
หมายวา ลมหายใจหยาบ ลมหายใจละเอียด ลมหายใจสน้ั ลมหายใจยาว หรือลมหายใจ
หายขาดไปแลว กาํ หนดรลู งท่จี ติ ตัวรจู ดจอ อยูอยา งนน้ั
อนั นี้เปน วธิ ีการปฏบิ ตั ใิ นเบ้ืองตน ในขณะทที่ า นกําหนดจดจอ ดูอยทู ่ลี มหายใจ
เฉยอยู อะไรจะเกดิ ขน้ึ หรือไมเกิดข้ึน ไมต องไปคํานงึ ถงึ ทง้ั นน้ั ถา ในชว งนจ้ี ิตมนั เกดิ ความ
สวา งข้ึนมา กอ็ ยา ไปเอะใจ กําหนดรูลงทจี่ ิตอยางเดยี ว หากเกิดภาพนิมติ ตางๆขนึ้ มา กอ็ ยา ไป
เอะใจ กาํ หนดรูล งท่ีจติ อยา งเดยี ว หรอื จะมีอะไรเกดิ ขึ้น เปนอุทานธรรมะ เปน ภาษิตซึง่ เกิดข้นึ
เปนความรู เปน ภาษา กอ็ ยา ไปสําคัญมนั่ หมาย อยา ไปเอะใจ กาํ หนดรูอยูท ่จี ติ อยางเดียว ถา
หากทา นไปเอะใจ หรือเอาใจใสก บั สิง่ นน้ั สภาพจติ มนั จะเปลยี่ น เม่อื สภาพจติ เปลี่ยนแลว
สมาธิจะถอน สง่ิ ทที่ า นกาํ ลงั กาํ หนดรอู ยนู นั้ มนั จะหายไปทนั ที อนั น้ขี อใหนกั ปฏิบตั ทิ ง้ั หลาย
พึงระมดั ระวัง และในเม่อื ทา นจดจอเอาจติ รอู ยทู จ่ี ติ และกร็ อู ยูทส่ี งิ่ ทจี่ ติ รู ความตงั้ ใจกําหนด
จดจออยูอ ยา งนดี้ ว ยเจตนา ทานเรียกวา วติ ก เม่ือจิตกบั อารมณสิง่ ทกี่ าํ หนดรู มคี วามสนิท
แนบแนน ไมพ รากจากกนั ทรงตัวอยูอตั โนมัติ โดยทีท่ า นไมไ ดต ัง้ ใจท่ีจะควบคมุ อันนเี้ รียกวา
วจิ าร
เมอื่ จติ กบั อารมณ มีความซบึ ซาบและมคี วามซาบซงึ้ ลงไปในดวงจติ ความดดู ดืม่
มนั กย็ อมเกิดข้นึ ความดดู ดมื่ ของจิตนัน้ เรยี กวา ปติ ปต เิ กดิ ขึน้ ทาํ ใหเ รารูสึกกายเบา จิตเบา
บางทีทาํ ใหตวั โยกโคลง บางทีทาํ ใหต ัวขน้ึ จะลอย เหมือนกบั ขน้ึ สอู ากาศ บางทที าํ ใหรสู ึกหนกั
ตวั ซง่ึ สดุ แลว แตอาการของจิต มันจะปรุงจะแตงข้นึ ใหท า นกาํ หนดรูอยทู ่ีจติ อยา งเดียว
ตอนนีป้ ลอ ยใหจ ิตมนั เสวยปติ ในเมอ่ื จติ มีปต ิเปนเครื่องหลอเล้ียง จิตไมฟ ุงซา นไมก ระวน
กระวาย จติ กม็ ีแต ความสุข และกจ็ ะดําเนินสูสมาธใิ นขั้นละเอยี ดตอไปเปน ลําดับ ซ่งึ จุดแรก
เราจะปรากฏวา อุปจารสมาธิเกดิ ขึ้นมคี วามรสู ึกนงิ่ สวา ง แตความรสู กึ ในส่ิงภายนอกยงั รสู กึ
อยบู างนดิ ๆหนอยๆ หรือปรากฏอยา งละเอียด
ในเมอ่ื จติ ผานขัน้ ตอนขั้นน้ีไปแลว จติ จะมีความสงบแนว แนน ิง่ ลงไปสูความเปน
หนง่ึ ซึง่ เรียกวา อปั ปนาสมาธิ หรอื เอกคั คตา ในตอนนจ้ี ิตของทานสงบอยางละเอยี ด มแี ต
สภาวะจิตสงบนง่ิ สวางอยอู ยางเดียว
สมาธิในขั้นตน นโ้ี ดยสวนมาก ในเม่อื จติ สงบลงไปถงึ ขน้ั อปั ปนาสมาธิ หรอื
เอกคั คตาอยางแทจ ริงแลว เราจะรสู ึกวา กายหายไปหมด ยงั เหลอื แตจ ิตดวงเดยี วลว นๆแลว
ในตอนน้ี ผภู าวนานนั้ ไมม คี วามสามารถท่จี ะนกึ คิดอะไรอยา งอน่ื ขนึ้ ภายในจติ ได เพราะสมาธิ
ในตอนนเี้ ปน สมาธิดวยความเปนเองอยา งแทจรงิ เปนสมาธทิ ห่ี มดความตง้ั ใจซ่ึงเรยี กวา สมาธิ
จะเกดิ ขึน้ ตอเมือ่ เราหมดความตั้งใจ เปนสมาธทิ ีเ่ ปน อตั โนมัติ เปน สมาธทิ เี่ ปน เอง ผภู าวนาจะ
นอมจิตไปอยา งไรก็นอมไมได จะถอนจิตออกมากถ็ อนไมไ ด จนกวา จิตนนั้ จะถอนออกมาเอง
นค่ี ือลักษณะจิตทเี่ ขา ไปสอู ปั ปนาสมาธิ หรอื เอกคั คตาในขน้ั ตน
สมาธใิ นขนั้ นท้ี ่ีทา นวามนั เปน สมถะ ยงั ไมส ามารถท่จี ะใหเกดิ ความรคู วามเห็นใน
ดา นปญ ญาหรอื วิปสสนาขนึ้ มาได ก็เพราะจิตในขนั้ นเี้ ปน แตเ พียงวา จติ ดําเนนิ เขา ไปสูความ
เปน เดิม สภาพเดิมของจิตทย่ี ังไมไ ดป ระสบกับอารมณใดๆ ยอ มมีลกั ษณะอยา งน้ี จติ อยา งนี้
ทา นเรียกวา ปฐมจิต เรยี กวา ปฐมวญิ ญาณ เรยี กวา มโนธาตุ เปนเหตุใหผ ูภ าวนาไดร สู ภาพ
ความเปน จรงิ ของจิตด้งั เดิมของตวั เอง คอื จิตท่ไี มม อี ะไรน้ัน มนั มลี กั ษณะอยา งไร แลว เราจะรู
ในตอนนี้ และเมอ่ื จติ ถอนออกจากสมาธิในข้ันน้ี เม่อื มารบั รูอารมณ คอื เกดิ ความคดิ ข้ึนมาก
สภาพจติ หลงั จากท่เี กดิ มีสมาธิแลว ออกมารบั รูอารมณน้ี มันมีลักษณะแตกตา งจากจติ ทีย่ งั ไม
เคยมีสมาธอิ ยา งไร อนั นีผ้ ภู าวนาเม่อื ทําจิตลงไปถงึ ข้นั น้ีแลวจะรทู นั ที เพราะฉะนนั้ การ
บรกิ รรมภาวนาหรือกาํ หนดอารมณเพอื่ ทาํ ใหจ ิตสงบนง่ิ ลงเปนสมาธถิ งึ ขัน้ อปั ปนาสมาธนิ ้นั มี
จุดมุงหมายทจ่ี ะใหผ ูภ าวนานั้นรูสภาพความเปน จรงิ ของจิตดง้ั เดิมของตวั เอง แมว าภูมจิ ติ ใน
ข้ันน้จี ะยังไมเกิด ปญญาญาณรู เหน็ อะไรกต็ าม แตก เ็ ปน พน้ื ฐานสรา งความม่งั คงของจติ เมือ่
จิตผานการเปน สมาธอิ ยา งนบ้ี อยๆเขา สิ่งทจ่ี ะไดเปน ผลพึงตามมาก็คอื ความมี
สตสิ มั ปชญั ญะ จะคอยปรากฏขึน้ ทีละนอ ยๆ
ในข้ันแรกจติ สงบเพยี งครัง้ สองคร้ัง เมื่อจติ ออกจากสมาธิมาขั้นน้แี ลว มันกจ็ ะ
ถอยพรวดๆๆออกมาโดยไมก ําหนดอะไรเลย ออกมาสคู วามเปน ซง่ึ ทเ่ี คยเปนมาตง้ั แตกอนท่ยี งั
ไมเ คยทาํ สมาธิ แตถ าจิตผา นสมาธิแบบนบ้ี อยๆเขา เมอ่ื จิตถอนออกมาเกิดความคดิ จะเกดิ มี
ตวั สตติ ามรูค วามคดิ ข้ึนมาทนั ที จติ คดิ อะไร สตกิ ็จะจองตามรู ใหผภู าวนารบี ฉวยโอกาส
ในตอนนกี้ าํ หนดจดจอความรู ความคิดของตนเองไปเร่อื ยๆ จิตคดิ อะไรขน้ึ มาก็รู เพยี งสกั แต
วา รูอยา งเดียว อยา ไปวพิ ากษว จิ ารณ หรอื อยาไปชว ยมนั คดิ เพิ่มเตมิ ปลอ ยใหจ ติ คิดไปเอง
โดยธรรมชาตขิ องมัน หนา ท่ขี องผปู ฏบิ ัตินี้มีแตต ง้ั ใจตามรคู วามคิดนน้ั ไปเร่อื ยๆ ในเม่ือตวั สติ
ตัวที่ตามรคู วามคิด จิตเอาความคดิ อารมณท่เี กดิ ขึ้นในจติ เปน เครื่องรู เปน เครอื่ งระลกึ ของสติ
สตสิ ัมปชญั ญะกจ็ ะคอยๆดขี ึ้น แลว กเ็ พ่มิ พลงั ข้ึนเปน สตพิ ละ จนสามารถเปน สตวิ นิ โย
สามารถกลายเปน มหาสติ เมอ่ื จิตกลายเปนมหาสตขิ น้ึ มาไดเมื่อไรสตวิ ินโยจะเปน ผนู าํ คือ
เปน ผูต าม ตามรอู ารมณคอื ความคดิ ซงึ่ เกิดขนึ้ กับจติ เมือ่ จิตมีสตติ ามรู
อารมณคอื ความคิดทนั กนั เมอ่ื ไร เมื่อนนั้ ความคิดซ่งึ เราเคยมอี ยกู อ นนนั้ มนั ก็จะกลายเปน ภูมิ
ปญญา
โดยลกั ษณะทว่ี า จิตตัวผูรู ก็จะปรากฏรูอยสู วนหน่ึงตา งหาก และสง่ิ ทอ่ี อกไปคิด
คน ควา ในอารมณน้นั กจ็ ะมอี ยูสวนหน่ึงอกี ตา งหาก มองๆดแู ลว คลา ยกบั วา เราคนเดียวมจี ิต
2 จติ มีใจ 2 ใจ แตแ ททีจ่ ริงมนั กเ็ ปนใจเดยี วกนั นนั้ แหละ แตใ จหนง่ึ จิตหนง่ึ มนั สงบนง่ิ เปน ตวั
ผรู ู เพราะอาศัยพลงั ของสติ ประคบั ประคองเอาไวใ หอ ยใู นสภาพปกติ แตอ กี อนั หน่งึ นน้ั
กระแสแหง ผูรมู นั ออกไปรับรอู ารมณ ในเม่อื รูข้นึ มาแลว จิตมสี ติ อาศัยสตเิ ปน พละ เปน กาํ ลงั
จึงไมไปยึดม่ันถอื มน่ั ในสง่ิ ทต่ี วั เองปรุงขน้ึ มา ในเมอ่ื จติ ปรุงความรขู นึ้ มาโดยไมมีความยดึ ถอื
อาการของกเิ ลสมันก็ไมม ี มแี ตร ูเฉยอยู อะไรรขู ้ึนมาแลวกผ็ านไป รขู น้ึ มาแลว ก็ผา นไป
ในเม่อื จติ มนั ละเอยี ดลงไป สติอนั นี้มนั ละเอยี ดลงไปรูท ันมนั อยา งละเอียดลงไป
โดยไมขาดสาย สายสมั พันธแ หงสติมนั เชอื่ มโยงกันอยูตลอดเวลา ความรูความคิดทีเ่ กดิ ขน้ึ ใน
จิตนั้น มนั จงึ กลายเปน ตัวปญ ญา ทวี่ า รูธรรมเหน็ ธรรม รูแจง แทงตลอดในธรรม ในขน้ั
วิปส สนากรรมฐาน นน้ั กห็ มายถงึ รทู นั ความคดิ ท่เี ราเคยคดิ อยแู ตก อ นทีย่ ังไมภ าวนา หรือ
ภาวนาไมเ ปน
เมือ่ เราภาวนาเปนแลว มสี ติ มสี มาธดิ ี เรียกวา มี พละ 5 พรอ มทีจ่ ติ มี ศรัทธา
วิรยิ ะ สติ สมาธิ ปญญา พรอมมี ศลี สมาธิ ปญ ญา รวมพรอ มกันเปน หนง่ึ ตวั ท่ปี รากฏเดน ชัด
ใหเ รามองเหน็ กค็ อื ความมสี ติ ความรูเทาทนั อารมณน น้ั ๆ ทนี ี้ความคิดท่ีเคยทาํ ใหเ ราวนุ วาย
เดือดรอนอยนู นั้ แหละ มนั จะกลายมาเปน เคร่อื งรขู องจิต เครื่องระลึกของสติ เมื่อจติ กับสติ
ประกอบพลงั เปน อันเดยี วแลว รทู นั เหตกุ ารณนนั้ ๆ มนั กก็ ลายเปน ตวั ปญ ญา เกดิ มาเปน ตัว
วปิ สสนา มาดว ยประการฉะน้ี
ตอไปน้ขี อใหท านทงั้ หลายกาํ หนดจติ กาํ หนดรลู งทจี่ ติ พยายามจดจอ ลงท่ตี ัวผูร ู
หรือผทู ย่ี งั ภาวนาไมเ ปน กก็ าํ หนดบริกรรมภาวนาตามทตี่ นเคยชาํ นิชาํ นาญมาแลว ผทู เ่ี คยมี
สมาธมิ าแลว และทาํ สมาธไิ ดเ ร็ว กไ็ มจ าํ เปน ตอ งไปบรกิ รรมภาวนาอกี กําหนดรลู งทจี่ ิตเทานนั้
จอ งรูลงทจี่ ติ ผูร ู คอยจดจอวามนั จะมีอะไรเกดิ ขนึ้ ภายในจติ ในเมือ่ มีอะไรเกิดขึ้นภายจิต จิต
มันจะตามรู ในข้ันแรกเราจะกาํ หนดจดจอ ดว ยความต้ังใจ ใหม นั ตามรู แตเ ม่ือมันรทู ันกนั จรงิ ๆ
แลว ตอไปเราไมตอ งไปกาํ หนดตามรใู หม นั ลําบาก จติ กบั สตเิ ปน ของคูกนั และจะกาํ หนดตาม
รูสง่ิ ที่เกดิ ขน้ึ ภายในจิตเองโดยอตั โนมตั ิ
ในตอนนเ้ี รียกวา ปญญาภมู ิ ข้ันแหง วปิ สสนาในภาคปฏบิ ตั ิ เกดิ ข้ึนเองในขน้ั
อัตโนมตั ิ คือมนั เกดิ เปน ความรูขัน้ มานนั่ เอง แตค วามรูใ นข้ันนม้ี นั กย็ งั เปน ภาคปฏบิ ตั ิ ในขนั้
วิปส สนา ยงั ไมใชตวั วปิ สสนาอยา งแทจ รงิ ในเมอื่ จติ กาํ หนดตามรสู ง่ิ ท่รี เู ร่ือยไป เมอ่ื จิตรูซงึ้ ใน
ส่งิ ทรี่ ูน น้ั บางทีมันอาจจะรซู ้ึงลงไปวา ความคิดอานทงั้ หลายเหลา น้ี มนั ก็เปน ของไมเที่ยง เปน
ทกุ ข เปน อนตั ตา
พระอรหันตเชน อยา งทาน พระอญั ญาโกณฑัญญะ ฟง พระธรรมจกั กัปปวตั ตน
สูตร แลว ไดด วงตาเหน็ ธรรม เหน็ วา อยา งไร เหน็ วา สิ่งใดสงิ่ หนงึ่ เกดิ ขน้ึ เปนธรรมดา สง่ิ นัน้ มี
ความดับไปเปน ธรรมดา ซงึ่ เปน ธรรมชาติของความรูแจง เหน็ จริงภายในจติ ยอมมลี กั ษณะ
อยา งนี้ ใครจะรู เหน็ มากมายสกั ปานใดกต็ าม มันกร็ วมไปสคู วามวา ยงกฺ ิญจิ สมทุ ยธมมฺ ํ สพฺ
พนตํ นิโรธธมฺมนฺติ สง่ิ ใดสิ่งหนงึ่ เกิดขึน้ เปน ธรรมดา สง่ิ นนั้ มีความดับไปเปน ธรรมดา
ความเห็นความรใู นขัน้ สดุ ยอด มนั มเี พียงแคนี้ ใครจะเทศนอ ยา งไร อธิบายอยา งไร พิจารณา
ไปอยางไร ในเม่ือจิตมนั รแู จง เหน็ จรงิ มนั กม็ แี ต ยงกฺ ญิ จิ สมทุ ยธมฺมํ อยา งเดยี วเทา น้นั เพราะ
ความรูอันนีม้ นั อยเู หนือสมมตบิ ญั ญตั ิ อยเู หนือโลก เปน ความรูข ้นั โลกตุ ตรธรรม
4. เร่ืองของสมาธิ
บางที บางทานบริกรรมภาวนา จติ อาจจะไมสงบเปนอปั ปนาสมาธิสกั ที เพยี งแต
สงบลงไปเปน อุปจารสมาธิ คือ มีอาการเคล้มิ ๆลงไป แลว ก็สวา ง จติ ยงั มีความรสู ึกสัมพันธกบั
รา งกายอยู แลว กม็ คี วามมงุ หมายที่จะทาํ จติ ใหไ ปถงึ อปั ปนาสมาธิ ชนิดที่เรยี กวา สงบนงิ่ ลงไป
แลว รางกายตัวตนไมป รากฏรูส กึ ทง้ั ๆทที่ าํ ไมไ ดก พ็ ยายามทาํ อยอู ยา งนนั้ เพราะไปหลงเชื่อวา
“ตองทาํ จิตใหเ ปน อัปปนาสมาธ”ิ ถาหากทานผูใ ดปฏิบัติแลว มีภูมิจติ เกดิ ขึ้นมลี ักษณะดังทว่ี า
กไ็ มตองไปมุง หมายท่ีจะเอาอัปปนาสมาธิ พอทาํ จิตใหส งบเปนอุปจารสมาธบิ อ ยๆ พอทจี่ ะ
ประคับประคองจติ ใหนอ มสูการพิจารณาแนวทางพระไตรลกั ษณ คอื พิจารณากายและ
ความรสู กึ นอ มไปสพู ระไตรลักษณ คือ อนิจจัง ทกุ ขงั อนตั ตา กร็ ีบกาํ หนดพจิ ารณาทนั ที ไม
ตองคอยจิตสงบเปน อปั ปนาสมาธิ ปฏบิ ตั ไิ ปทาํ นองน้ี กย็ อมจะเกดิ ผลแกผ ปู ฏิบัติเหมอื นกัน
ถาหากตา งวา เราจะคอยใหจ ติ สงบเปนอปั ปนาสมาธเิ สยี กอ น เขา ฌาณใหม นั ไดช าํ นิชาํ นาญ
กอน แลว จงึ ไปพจิ ารณาพระไตรลกั ษณ หรอื ยกจติ ขน้ึ สภู มู วิ ิปสสนา ถาเผอื่ วา ชัว่ ชวี ิตน้ี เราทาํ
อยางนนั้ ไมได เราจะมิตายเปลา หรือ การทําจิตใหน งิ่ เปนอปั ปนาสมาธิ หรือเขาฌานไดอ ยา ง
ชํานชิ าํ นาญนนั้ ผลประโยชนข องการชํานาญในการเขาฌาณ ชํานาญในการทําสมาธิ ทาํ ให
เกิดอิทธฤิ ทธิ์ แตเหตผุ ลน้นั ยังไมเ พียงพอ เพราะทา นอาจารยเทสก ทานวา จติ ท่เี ปน สมาธอิ ยู
ในฌาณนนั้ เปนสมาธิทโ่ี ง เพาะจิตทเ่ี ขาฌานน้ัน จะตอ งเพง สิ่งใดส่งิ หนงึ่ เพยี งสงิ่ เดียวเทา น้ัน
อาการท่วี า ความรู ภูมจิ ติ ภูมิธรรมกไ็ มเ กดิ ขึ้น ครูบาอาจารยทา นก็ยนื ยนั วา สมาธใิ นฌาณ
เปน สมาธิทโ่ี ง แมแ ตโดยหลกั ทา นกย็ นื ยนั ไววา ถา จติ ไปตดิ อยูในความสงบ ในฌาณ คือ ขน้ั
สมถะเทา นั้น อยางดีก็ใหเ กดิ อภญิ ญาสามารถที่จะทําฤทธิ์ตา งๆได สามารถท่จี ะรใู นคนอน่ื
สามารถท่จี ะรสู ่ิงทีป่ ด บงั ซอนเรนอยูภ ายใน ซง่ึ เราไมสามารถทจ่ี ะมองเหน็ ไดดวยตาเปลา แต
เหตผุ ลทีจ่ ะพงึ ทาํ ใหห มดกเิ ลสน้ันยังไมม ี ผสู าํ เร็จฌานแลว จะตองมาเวียนวา ยตายเกิด เพราะ
จิตไมม ปี ญ ญา ลักษณะการรูจริงเหน็ จรงิ ทเ่ี รยี กวา อภญิ ญา รูใ จคนอื่น รเู หตกุ ารณลวงหนา รู
เร่อื งในอดีตทลี่ วงมาแลวนานๆ ในลกั ษณะอยางนี้ ไมไ ดจัดเขา อยูใ นลักษณะปญ ญาที่จะเอา
ตวั รอดไดจากอํานาจของกิเลส เพราะฉะนนั้ สมาธใิ นฌานจึงเปน สมาธทิ ไี่ มส ามารถจะทําผู
ปฏบิ ัติใหสําเรจ็ มรรค ผล นิพพานได ถงึ จะมบี า ง ก็มจี าํ นวนนอย แตสมาธทิ อ่ี ยูใ นอริยมรรค
คือ จิตสงบประชมุ ลงพรอ มที่ หรอื อริยมรรคประชุมพรอมที่จติ นนั้ สามารถทาํ จติ ใหม ัน่ คงและ
ดํารงอยใู นความเปน กลาง เม่อื จติ มอี รยิ มรรค เปน เจตสกิ ประคับประคองอยูท ่ีจติ จติ อยูท่ี
อรยิ มรรค อรยิ มรรคอยทู ่จี ติ แมจ ะอยูใ นลกั ษณะสมาธิขนั้ ออ นๆ จิตจะมสี ตสิ ัมปชญั ญะรเู ทา
ทันเหตกุ ารณ อะไรเกดิ ข้นึ กร็ ู รแู ลวไมย ดึ ถอื ปลอ ยวางไป อาการทจี่ ะเสวยอารมณในขณะทร่ี ู
เห็นอะไรข้ึนมานน้ั ไมม ี คือ จิตไมมอี าการซึมซาบเขาไปในสงิ่ ทีร่ นู นั้ เพราะไมมคี วามยดึ ทาํ ไม
จึงเปนเชน นน้ั ? เพราะสงิ่ ทร่ี เู หน็ ข้ึนมาน้ันเปนภูมปิ ญญาของจิตซึ่งถูกอริยมรรคคอื ศีล สมาธิ
ปญ ญาประชมุ พรอ มกนั ลงแลว สามารถปฏบิ ตั ภิ มู ิจติ ไปสูภูมจิ ติ ภูมธิ รรมขน้ึ สูงไปเปน ลาํ ดับ
ซึง่ จติ มลี กั ษณะอยางน้ี ในขน้ั ตนจะรอู ะไรก็ตาม สมมติเรยี กวา ธรรม กแ็ ลวกนั อารมณก ค็ ือ
ธรรม ธรรมก็คอื อารมณ
ในเม่อื รอู ะไรข้นึ มาแลว ในตอนตนๆยงั จะมีสมมตบิ ญั ญัตเิ รียกวา อะไรอยู
ในตอนนเี้ ปนภูมิความรขู องจติ ซ่ึงอยูในลกั ษณะ ในขน้ั ของอุปจารสมาธอิ อ นๆ ซ่ึงมันอาจจะ
เกดิ ข้ึนแกผ ปู ฏบิ ตั ิ ในขณะท่ีจติ สงบลงไปแลว ความรูสึกภายนอกกย็ งั มอี ยู แตจ ิตอยูใน
ลกั ษณะแหง ความสงบ แลว กม็ ีภมู ิจติ ภูมธิ รรมเกดิ ขึ้นอยูตลอดเวลา แมใ นบางคร้งั ยงั พูดอยู
หรือทาํ อะไรอยกู ็ตาม ลกั ษณะความสงบของจิตมนั มอี ยู ภมู ิรูส ิ่งตา งๆกเ็ กิดขน้ึ อยตู ลอดเวลา
แตว า สามารถท่ีจะพูดจะคยุ สามารถที่จะทาํ ทุกสงิ่ ทกุ อยางไดใ นขณะนนั้ อนั น้เี รยี กวา เปน ภูมิ
จติ ทีม่ อี ริยมรรคประชุมพรอ มลงทจี่ ติ ถา หากในขณะทที่ า นผูป ฏบิ ตั ทิ มี่ ภี มู จิ ติ ลักษณะอยา งนน้ั
เมื่อทาํ สมาธใิ หสงบละเอยี ดลงไป คือ ทาํ ในขณะที่ปราศจากสงิ่ รบกวน เชน นงั่ สมาธอิ ยูใ น
หองพระคนเดยี ว เปน ตน เมื่อจิตสงบลงไปอยา งละเอยี ดแลว เมอ่ื เกดิ ภูมิความรูขึ้นมาภายใน
จติ นัน้ ทุกสงิ่ ทุกอยา งจะประกฎการณม ลี กั ษณะวา จติ สงบนงิ่ เดนสวางไสว และสงิ่ ทใี่ หรูมี
ปรากฏการณเกดิ ขนึ้ อยตู ลอดเวลา แตค วามรใู นขน้ั ละเอยี ดนั้น ไมม อี ะไรจะไปมีความสาํ คัญ
มนั่ หมาย สมมติบัญญตั เิ รียกชอ่ื ส่งิ น้ันวา อะไร อันนี้เปน ธรรมชาตขิ องภมู จิ ิต ภมู ิธรรมท่เี กิดขน้ึ
ในระดบั สงู ในระดับละเอยี ด ซ่งึ อยเู หนอื สมมติบัญญตั ิ ซงึ่ เราเรียกวา สัจจธรรม เกดิ ขึ้นในจิต
ของผปู ฏบิ ัติ ตัวจริงของทา นผูน นั้ ก็เปน สจั จธรรม ความรูของจรงิ ท่เี กิดขึน้ กเ็ ปน สัจจธรรม
เพราะฉะนนั้ สัจจธรรม กบั สจั จธรรม ในเมือ่ มาบรรจบกันเขาจงึ เรียกชอ่ื กนั ไมถกู
มแี ตส่งิ ท่เี กิดขน้ึ ดับไปๆๆอยอู ยา งนน้ั ไปตรงกับคาํ ในธรรมจกั กัปปวตั ตนสตู รทวี่ า ยงกฺ ญิ จิ
สมุทยธมฺมํ สพพฺ นตํ นโิ รธธมมฺ นตฺ ิ สิ่งใดสงิ่ หนง่ึ ท่ีมคี วามเกิดขน้ึ เปน ธรรมดา สิ่งนนั้ ก็มีความดับ
ไปเปน ธรรมดา ทําไมจงึ วา อยา งนนั้ ทาํ ไมจงึ เรยี กวา สง่ิ ใดส่ิงหนึ่ง คําวา สงิ่ ใดสง่ิ หนง่ึ เปน พระ
ดาํ รสั ของพระพุทธเจา ทพ่ี ระองคด าํ รัสวา สง่ิ ใดสิ่งหนง่ึ กเ็ ปน เพราะเหตุวา จะไปบญั ญัติ
ชอ่ื เสยี งเรยี งนามวา อยา งไรก็บัญญตั ไิ มถ กู ทงั้ นนั้ เพราะในขณะท่ีรูข องจริงนนั้ มีแตเ พยี งสงิ่ ใด
ส่งิ หนึ่งเทา นนั้ มันอยูเหนอื สมมติบัญญัติ อะไรที่เราสมมติบัญญตั ไิ ดอยู ส่งิ นน้ั ไมใ ชส ัจจธรรม
นนั่ มนั เปน เพยี งสมมติ ความรจู รงิ เหน็ จรงิ มันอยูเหนอื สมมติบัญญัติ น่ขี อใหทกุ ทา นจงสงั เกต
ดตู รงนี้ใหด ี ถา หากวามภี ูมจิ ติ ภมู ิธรรมปรากฏข้นึ แลว ใหส งั เกตดใู หดี ความรธู รรมะในขน้ั
ละเอียดของจติ นน้ั เปน แตเ พยี งสงิ่ ใดสิ่งหน่ึงปรากฏการณใหร อู ยูต ลอดเวลา ไมม ีส่งิ ที่เราจะไป
สมมตบิ ัญญัติ จติ กน็ ง่ิ เดน อยเู ฉยๆภูมิความรกู ็เกดิ ขน้ึ อยเู รอื่ ยๆ
ทีน้ีมปี ญหาวา ภมู ิความรู อันนนั้ มาจากไหน? มาจากจิต จิตทมี่ ีปญ ญาอนั
ละเอยี ดเฉียบแหลม สามารถปรุงความรขู ึ้นมา ความรอู นั นน้ั คือปญญาที่เกิดขึ้นกับจติ ตัวท่นี ง่ิ
เดน อยูนนั้ คอื ตวั พทุ ธะผูร เู ทาเอาทนั จงึ ไมหวน่ั ไหวตอ เหตกุ ารณท ี่เกดิ ขน้ึ รูอะไรก็เฉย รอู ะไร
ขนึ้ มากเ็ ฉย เพราะมนั เปน ภมู ปิ ญ ญาของจิตท่ฝี ก ฝนอบรมดแี ลว จติ จึงไมห วั่นไหว จติ จึงไมต ดิ
ส่ิงเหลา นนั้ ในขณะนน้ั เปน จิตท่บี ริสทุ ธิ์ สะอาด ไมมีกิเลส ตณั หา อุปาทาน จติ จงึ มี
ปรากฏการณอ ยางนน้ั ถาจติ ทา นผูใดเปน อยอู ยา งน้ีตลอดกาลไมก ลับกลอก ก็ไดช ่ือวา เปน
พระอรหันต นพ่ี ึงสงั เกตและทําความเขาใจอยา งนี้ ถา หากเราทาํ อยางนี้ไดบอยๆ แมวา เรา
ออกจากการนงั่ ปฏิบัตนิ งั่ สมาธิหลับตามา มามองดโู ลกและเขาสสู งั คม ในเมอ่ื เราประสบ
อารมณต า งๆในสงั คมที่เราจะตอ งกระทบกระเทอื น หรือรบั ผดิ ชอบอยนู นั้ ความรสู กึ ของเราจะ
เพยี งวา สกั วา แต คอื พูดก็สกั วา แตพูด คิดสักวา แตค ิด ทาํ สกั วา แตท ํา อนั นค้ี อื สมาธใิ นภมู ิ
ธรรมในอรยิ มรรค แมอ อกมาจากการนงั่ หลับตาสมาธแิ ลว สมาธกิ ย็ ังมีปรากฏอยตู ลอดเวลา
คือ ตัวสติทม่ี กี าํ ลงั กลาและเขมแข็งอยูน นั่ เอง จึงดูคลายกับวาจติ มคี วามสงบอยูตลอดเวลา
สวนทสี่ งบกป็ รากฏอยู สว นทอ่ี อกมาบงการทาํ งานก็มปี รากฏอยู นคี่ ือสมาธิตามแนวทางของ
พระพทุ ธเจา ทาํ สมาธิเปน แลว มภี ูมจิ ิตภมู ธิ รรมสามารถรธู รรมเหน็ ธรรมแลว เราสามารถเอา
ภูมิธรรม ภูมิจติ มาประกอบประโยชนตามวิถที างของชาวโลก ตามวถิ ที างการครองบานครอง
เรือนไดอยางสบาย ถา สมาธิอันใดบาํ เพญ็ ดีแลว ปฏบิ ัตไิ ดดแี ลว คือวาอยูในขนั้ ดตี ามความ
นิยมของผปู ฏบิ ตั ิ มีภมู สิ มาธิสงบดี มีภมู ธิ รรมสงบข้ึน เกิดเบ่อื หนา ยตอ ครอบครวั เกดิ เบื่อ
หนา ยตอ โลก ไมเ อาไหน ไมอยากจะเขา สูส ังคม ไมอ ยากจะทาํ ประโยชนต อ ใครๆ อยากจะ
ปลกี ตัวหนีไปสปู า คนเดียว ทํานองน้ี สมาธิอันนนั้ อยา เพ่งิ ไปเชอ่ื ใหพ จิ ารณามนั ใหร อบคอบ
ถาหากพระพทุ ธเจา สาํ เรจ็ เปน พระพทุ ธเจา มสี มาธิ มพี ระสตปิ ญญาดี เม่ือสาํ เรจ็
แลว เกิดความเบือ่ หนา ยตอ โลก ไมอ ยากอยกู บั โลก ไมอ ยากโปรดสตั วโ ลก แตพระองคหาได
เปนเชน นน้ั ไม เมื่อสาํ เร็จเปน พระพุทธเจาแลว ในบางตอนตน ๆแรกๆนน้ั มาพิจารณาวา ธรรมะ
ที่ตรัสรนู ้ี มนั เปนของละเอยี ด สขุ มุ ยากที่เวไนยสตั วพ งึ รูตามเหน็ ตามได บางครง้ั กร็ ูส ึกทอ แท
ในพระทัยไมอ ยากจะแสดง กลวั จะไมม ีผูรูธ รรม หรอื รูตาม จนกระทงั่ มผี กู ลา ววา มที า ว
มหาพรหมลงมาอาราธนาใหพ ระองคท รงแสดงธรรม ความจรงิ ทา วมหาพรหมทีม่ าอาราธนา
น้ัน ก็คอื พรหมวหิ ารทอ่ี ยใู นพระทยั ของพระองคนน่ั แหละ มากระตนุ เตอื นใหพ ระองคร ูสึก
สาํ นึก ในจารีตประเพณีของผูท่เี ปน พระพุทธเจา ผทู เี่ ปนพระพทุ ธเจา ตอ งมเี มตตา กรณุ า
มทุ ติ า อุเบกขา ตอบรรดาเวไนยสัตวท ง้ั หลาย เมือ่ พระองคตดั สินพระทัย แสดงพระธรรม
เทศนาแกเ วไนยสัตว คุณธรรมนน้ั จึงไดช ือ่ วา พระมหากรณุ าธิคณุ เปนพระคณุ อนั ยง่ิ ใหญของ
พระองคข อหนง่ึ ในบรรดาพระคณุ ทั้งสามประการ แลวพระองคกท็ รงทาํ ประโยชนแกโ ลกอยา ง
กวางขวาง จนสามารถประดิษฐานพระพทุ ธศาสนาลงในชมพูทวีปได แผข ยายกวา งขวางมาสู
เมืองไทยเรา เราไดรับเปน ศาสนทายาทประพฤติปฏิบตั ิอยทู กุ วันนี้ กเ็ พราะความที่
พระพทุ ธเจา สาํ เร็จเปน พระสมั มาสมั พทุ ธเจาแลว มไิ ดเ บ่ือหนา ยตอ การทจี่ ะทาํ ประโยชนแก
โลกนน่ั เอง เพราะฉะนนั้ ผมู ภี ูมิจติ ภมู ิธรรม หรือมคี วามรแู จงเหน็ จรงิ ในธรรมะท่คี วรรูควรเห็น
จึงไมม ีทางทจี่ ะเบือ่ หนา ยตอ โลก แตไ มย ึดถอื โลกดวยอํานาจของกเิ ลส จะมกี ม็ ีแตค วามเมตตา
มีความหวงั ดี อนั นคี้ ือ วถิ จี ติ ของผูป ฏบิ ัตจิ ะตองเปน อยางนนั้
ถาจะพดู ใหช ดั ๆลงไป สมมติวา พอบา น นงั่ สมาธิภาวนาเปน ผมู ภี มู จิ ติ ภมู ธิ รรม
เบอื่ หนา ยครอบครัว อยากจะหนจี ากครอบครวั อนั นนั้ กย็ งั ไมถ ูกตอง แมบ าน ภาวนาเปน แลว
มภี ูมิจติ ภูมธิ รรม เกดิ เบ่ือหนา ยตอ การทจี่ ะทาํ กบั ขาวกบั ปลา หงุ ขาว หุงปลา ใหครอบครวั
รับประทาน อนั นนั้ กไ็ มช อบดวยเหตผุ ล ในเม่อื ทําเปน ภาวนาเปน รธู รรม เหน็ ธรรม มีภมู ิจิต
ภมู ธิ รรมดี จะตอ งมีความรูสํานึกในหนา ท่ี ทต่ี นจะตองรบั ผดิ ชอบเปนกิจวตั รประจําวนั ดยี ง่ิ ขน้ึ
ยกตวั อยา งเชน นางกุลธดิ า ซงึ่ เปน ลกู สาวเศรษฐี และกเ็ ปน พระโสดาบันตัง้ แตย งั เด็กยงั เล็ก
บงั เอิญเพราะผลกรรมบนั ดาล ไดไ ปเปน ภรรยาของนายพรานผูจ ับสตั วปา มาขายทองตลาด
ทั้งๆทที่ า นผนู นั้ เปนพระโสดาบนั เวลาสามีของทานจะเขาปา ไปจบั สตั ว ทา นกเ็ ตรียมเสบยี ง
อาหารให เตรยี มเครอื่ งมือให แตภ ายในจติ ของทานไมไดน กึ วา ใหเ ขาไปจบั สตั วใ หไ ดมามากๆ
จนกระทัง่ มพี ระสังฆาจารย ตั้งเปน ปญ หาขนึ้ มาวา การทพ่ี ระโสดาบนั กระทาํ เชน นนั้ จะไมผ ิด
คุณธรรมของพระโสดาบนั หรอื ? พระอรรถกถาจารยก ็แกว า ไมผดิ เพราะทา นปฏิบัตติ าม
หนา ท่ขี องความเปนภรรยาทดี่ ี อนั น้เี ปน คติตวั อยาง เพราะฉะนน้ั ผใู ดสาํ เรจ็ คณุ ธรรม แมจ ะได
ความเช่ือมน่ั ในการปฏบิ ัตติ น หรือมีภูมิจิตภมู ธิ รรมตามสมควรกต็ าม คือไดเ ปนอริยบุคคล
อยางทไ่ี มมใี ครรกู ต็ าม ยอมจะมคี วามฉลาดในหนา ทท่ี ตี่ นรบั ผิดชอบอยูเ ปน อยา งดี จงึ จะไดช ่ือ
วา เปนผปู ฏบิ ตั ิดี ปฏบิ ตั ิชอบ ในเมื่อจติ ตง้ั อยูในสมั มาทิฏฐิ มคี วามเหน็ ชอบ และกม็ ีศลี สมาธิ
ปญ ญา เปนเครอื่ งประคับประคองจิต จติ ยอมดําเนนิ ไปสภู ูมจิ ิต ภูมิธรรมทถ่ี ูกตองจึงไดช ือ่ วา
เปนผปู ฏบิ ัติดี ปฏบิ ัตชิ อบ ดวยประการฉะน้ี
ตอนไี้ ป ขอไดโปรดทาํ ความสงบจติ พจิ ารณาธรรมทตี่ นเคยรเู คยเรียนมาแลว การ
พจิ ารณาธรรมนั้น สงิ่ ใดทเี่ ราพิจารณาแลว ทาํ ใหเ ราเกดิ ผล เกดิ ความรคู วามเหน็ ขึ้นมา ก็ได
พจิ ารณาอนั นนั้ ซา้ํ ๆซากๆบอยๆ ยาํ้ อยทู ีข่ องเกา นนั่ แหละ อยาไปเปล่ยี น เพ่อื ทําใหช าํ นิ
ชํานาญ เพอ่ื ใหรแู จงเหน็ จริง แลว ภูมจิ ิต ภูมธิ รรม มนั จะคอ ยๆขยายวงกวา งออกไปเปน
ลําดับๆ ถา จบั โนน วางนี่ไมเ ปนหลกั ฐานมั่นคงแลว จติ ของเราก็จะกลายเปน จติ ทไ่ี มย ดึ หลกั
หรือวิหารธรรมเคร่อื งอยไู มแ นนอน การปฏิบตั กิ ็จะไมประสบผลเทา ทค่ี วร “เพราะฉะนนั้ ใครยึด
หลกั อะไรปฏบิ ตั ิกย็ ดึ ใหมน่ั คงลงไป” เราจะพจิ ารณาหลายๆอยาง ในเมือ่ ความรคู วามเห็น
เกิดข้นึ กอ็ ยูในลักษณะเดียวกนั นั่นแหละ อยูในลักษณะแหง ความรูเ หน็ วา ไมเท่ยี ง เปน ทกุ ข
เปน อนัตตา เปนอนิจจงั เปน ทกุ ขงั เปน อนตั ตา อนั เดียวกันนนั่ แหละ เอาสงิ่ ๆเดยี วเปน
เครือ่ งหมายแหง ความไมเทยี่ งเปน ทกุ ข เปนอนตั ตา บอ ยๆเขา เมือ่ จติ มนั รูซ้ึงเหน็ จรงิ อยา งเดียว
เทา นน้ั มนั กถ็ อนอปุ าทาน การยึดมั่นถอื มน่ั ไปเอง กเิ ลสตณั หามนั ก็คอยหมดไปเอง
เพราะฉะนนั้ จงึ ยดึ หลกั ใหม ัน่ คง คือวา เราสามารถจะทาํ ไดท กุ อิริยาบถ หลับตากท็ ําได ลืมตา
กท็ าํ ได นอนทาํ กไ็ ด ถา เราไมน กึ อะไร บริกรรมภาวนาในใจ เรากก็ ําหนดไวท ่ีใจ รอู ะไรแลวก็
ตามรูใ หม นั ทนั ความคดิ คดิ อะไรข้ึนมารูทัน รใู หท ัน เราทําอะไร ใหม ันทนั การกระทาํ ของเรา
พดู อะไรใหทนั ตามคาํ พดู ของเรา ใหมสี ติอยตู ลอดเวลา อันนเ้ี ปน การทาํ สมาธิ ไมตอ งบรกิ รรม
ภาวนาอะไรกไ็ ด สาํ คัญอยูทก่ี ารทําสติ เชน อยา งทา นสอนวา นง่ั หนอ กินหนอ เดนิ หนอ ยก
หนอ ฯลฯ อนั น้ีคอื การทําสติ เปน การปฏบิ ตั ิสมาธิ อยา เอาไปเถยี งกนั นน่ั คือ การทาํ สติ ไปได
ในหลกั มหาสติปฏ ฐานทวี่ า กา วไปก็รู ถอยกลับกร็ ู คเู หยียดกร็ ู แลว ก็นกึ คดิ อะไรก็รู รอู ยู
ตลอดเวลา มนั ก็เหมือนกนั นัน่ แหละ อยาไปเถยี งกนั การปฏิบตั ิถา มวั ไปเถยี งกนั นกั ปฏบิ ัตใิ น
ศาสนาพทุ ธแทนท่ีจะชว ยกนั ทาํ ความเจรญิ แลวกไ็ ปทะเลาะกนั เพราะความคิดเหน็ ไมตรงกนั
อะไรทํานองน้ี อนั นนั้ มนั เปน วิธกี าร แตผ ลที่มันเกดิ ขนึ้ ภายใน เราจะรจู รงิ เหน็ จรงิ เหมือนกนั
หมด
ลกั ษณะสงั เกตการทําสมาธิ ถาหากเราทาํ สมาธิทถ่ี ูกตอ ง ภมู จิ ิตทมี่ นั เปนสมาธิท่ี
ถูกตองนนั้ จะมีลักษณะบง บอกวา สมาธิจะตอ งทํากายใหเบา ทําจติ ใหเ บา เบาจนกระทัง่
บางครงั้ เรารสู ึกวา ไมม ีกาย น้ีลกั ษณะของสมาธิที่ถกู ตอง แลว เมอ่ื เลิกปฏบิ ตั ิ คอื ออกจาก
สมาธแิ ลว กท็ ําใหก ายเบาตลอดเวลา แมแตจะลุกจากทน่ี ่ังนี้ อาการเหนบ็ ชา หรืออะไรตา งๆ
จะไมป รากฏ พอจิตออกจากสมาธลิ มื ตาโพลง ก็ลกุ ขน้ึ เดนิ ไปไดเ ลย ไมต อ งดดั แขง ดัดขา อนั นี้
คือสมาธทิ เ่ี กดิ ขนึ้ อยา งถกู ตอ ง
ทนี ้ีสมาธิบางอยาง พอลืมตาขน้ึ ออกจากทนี่ ่งั ปฏิบตั แิ ลว บางทา นถึงกับนอนให
คนอ่ืนนวดเสน นวดเอน็ กอ น อันน้ไี มถกู ตองแน สมาธอิ ยางน้คี ลายกบั มอี าํ นาจอะไรอยางหนึ่ง
บาง จะเรยี กวา อํานาจสะกดจติ กไ็ ด คอื การสะกดจติ นีน้ มอี ยูหลายอยา ง สะกดดวยอาํ นาจ
คาถาอาคมบรกิ รรมภาวนาก็มี อยา งคนทป่ี ลุกพระนี้ พอเอาพระใสม อื แลวก็ภาวนา นะมะ
พะธะๆๆ เดย๋ี วกส็ นั่ ขึน้ ๆๆ นน่ั ถูกอาํ นาจสะกดจติ แลว อาํ นาจอะไร อํานาจคาถาบรกิ รรม
ภาวนา คาถาในทางไสยศาสตรบ างอยางบรกิ รรมภาวนาแลวจะทําใหเ กดิ ปตอิ ยางแรง อาการ
สัน่ นน้ั คอื อาการปติ ทนี ปี้ ต มิ นั เกดิ ขน้ึ อยา งแรงไมม ขี อบเขต ก็มีอํานาจบงั คับจติ ของเรา บางที
บงั คบั จิตของเราใหไปดูโนน ดูนี่ อะไรในทตี่ า งๆในทาํ นองนนั้ ถา ใครทาํ ไดก็ดีอยหู รอก อยา ไป
หลง ใหม นั รูเ ทา
5. ปรากฏการในขณะทําสมาธิ
ถาหากทานจะบริกรรมภาวนา พทุ โธๆๆ กใ็ หตง้ั จติ อธษิ ฐานภายในใจของตวั เอง
วา บัดนี้ ฉนั จะทําสมาธิภาวนา เพอ่ื ใหจ ิตสงบเปน สมาธิ เพ่อื จะใหรแู จง แทงตลอดสภาวธรรม
ตามความเปน จริง แลวกน็ กึ ในใจของตัวเองวา พทุ โธ ธมั โม สังโฆ , พทุ โธ ธัมโม สงั โฆ , พทุ โธ
ธัมโม สงั โฆ , แลว กน็ อ มใจเชื่อลงไปวา พระพทุ ธเจาอยทู ่ใี จ พระธรรมก็อยทู ี่ใจ พระอริยสงฆก็
อยูท่ีใจ แลวกาํ หนดลงทใี่ จอยางเดยี วเทานน้ั นกึ บรกิ รรมภาวนา พุทโธๆๆ อยอู ยางนนั้ จนกวา
จติ จะมอี าการสงบลงไป ใหพ ึงสงั เกตจติ ของตัวเองใหด ี ถา จติ มีอาการเคลมิ้ ๆลงไป คลายกบั
จะงวงนอน พงึ ใหรเู ถอะวา จิตของเรากาํ ลงั จะเร่มิ สงบแลว เพราะจิตทจ่ี ะสงบในเบื้องตน นนั้
ถาจะวา กันอยา งตรงไปตรงมาก็คอื อาการนอนหลับ เพราะจิตเมอื่ จะสงบกม็ ีอาการเคลิม้ ๆ
แลวกว็ บู ลงไป พอวูบลงไป ก็หยุดวบู แลว จิตจะนง่ิ ในเมื่อจติ นิ่งแลว ถาหากจิตจะนอนหลบั
มนั กห็ ลับมืดไปเลย ถา หากวาจติ จะเปนสมาธิ พอวบู ลงไปนง่ิ แลว จิตกจ็ ะมอี าการสวา งข้ึนมา
ซ่งึ ทง้ั น้ี มิใชวา จะเปน ในลกั ษณะอยา งเดยี วกนั ทง้ั หมด บางทา นกร็ สู ึกวา มกี าย
เบา จติ กเ็ บา แลวจิตกก็ าวเขาไปสคู วามสงบทลี ะนอ ยๆ ไมม อี าการวบู วาบ จนกระทัง่ จติ สงบ
แนนง่ิ ไปจนถงึ ขัน้ อัปปนาสมาธิ แตสวนมากในชว งน้ี ถา เกย่ี วกบั เร่อื งบริกรรมภาวนานน้ั เมื่อ
จติ มอี าการเคลิม้ ๆสงบลงไป มอี าการสวา งขนึ้ แลว คําบรกิ รรมภาวนาท่นี กึ อยนู ้นั จะหายไป ใน
เม่ือคําบริกรรมภาวนาหายไปแลว เรากไ็ มตองไปนกึ ถงึ คําบรกิ รรมภาวนาอีก ในตอนน้ีใหผู
ปฏบิ ัติ กําหนดรอู ยูท จ่ี ติ ของตัวเอง ถา หากจติ มอี าการสงบนง่ิ สวา งอยเู ฉยๆ กก็ าํ หนดรลู งท่นี น้ั
อยา งเดยี ว แตถ าหากชว งนนั้ ถา ลมหายใจปรากฏขึ้นในความรสู ึก กใ็ หก าํ หนดรลู มหายใจ
ตามรลู มหายใจ เพยี งแตรูเทา นน้ั อยา ไปนกึ คิดอะไรทั้งนน้ั ลมหายใจสนั้ กไ็ มตองวา ลมหายใจ
ยาวก็ไมตอ งวา ลมออกสั้นก็ไมตอ งวา ลมออกยาวกไ็ มต องวา ลมเขา สนั้ ก็ไมต องวา ลมเขา
ยาวกไ็ มตองวา เปนแตเ พยี งกาํ หนดรูล มหายใจอยู โดยธรรมชาตแิ ลว อยาไปแตงลมหายใจ
เปนอันขาด ในชวงนเ้ี พยี งแตก ําหนดรูอยูเทา นนั้ ถา หากวา เรากาํ หนดรอู ยูทลี่ มหายใจ ถา
หากลมหายใจแสดงไปในอาการตางๆเชน ลมหายใจอาจจะแสดงอาการหายใจแรงข้นึ หรอื
หายใจแผว เบาลงไป หรอื บางครั้งอาจจะมองเหน็ ลมหายใจสวา งเหมอื นกับปุยนนุ กใ็ หก าํ หนด
รูลงท่จี ติ อยา งเดยี ว รวมความวา อะไรเกดิ ขน้ึ ลงไปภายในความรสู กึ กเ็ พียงแตก าํ หนดรูเ ฉยอยู
อยา ไปทาํ ความเอะใจกับเหตกุ ารณทีเ่ กดิ ขึ้นนนั้ ๆ ถา เราไปทําความเอะใจ หรือไปทกั ทวงสงิ่ ที่
เกดิ ข้นึ จิตจะถอนจากสมาธิทนั ที เพราะฉะนนั้ ใหก าํ หนดรอู ยเู ฉยๆ ในเมอื่ จติ มีสงิ่ ท่รี คู อื ลม
หายใจปรากฏอยูต ลอดเวลา ตวั สตสิ มั ปชญั ญะจะตองมีกําลงั กลาขน้ึ สามารถควบคมุ จติ ให
อยใู นสภาพสงบโดยอัตโนมตั นิ ี้ ขอใหน กั ปฏบิ ตั ทิ ้งั หลายพึงทาํ ความเขาใจอยางน้ี และถา หาก
จติ ของผภู าวนานั้นไมว ง่ิ เขา ไปยึดลมหายใจ ก็ยอมจะสงกระแสออกไปขางนอก ในชวงทจ่ี ิตมี
ความสงบสวา งอยนู นั้ แลวภาพนิมติ ตา งๆจะปรากฏขนึ้ จะเปน ภาพอะไรก็ตาม เม่อื ภาพตา งๆ
ปรากฏขึ้นแลว กใ็ หก ําหนดรอู ยทู ี่จิตอยา งเดยี วเทานนั้ อยาไปทาํ ความเอะใจกบั เหตกุ ารณท ี่
เกดิ ขึน้ ภายนอก
ถาหากเราสามารถประคองจิตของเราใหอ ยูใ นความสงบปกติ โดยไมไ ปเอะใจอยู
กบั สิง่ ทีเกดิ ข้นึ นั้น จิตก็จะสงบนงิ่ เปน สมาธอิ ยูตลอดไป ถาหากเกดิ เอะใจข้ึนมาเมอ่ื ไรแลว
สมาธิกจ็ ะถอน ภาพนมิ ิตนน้ั กจ็ ะหายไป ในตอนนมี้ คี วามสาํ คญั มากสาํ หรบั นักปฏบิ ตั ิ ถา หาก
เรามคี วามรูสกึ วา ภาพนมิ ติ ตางๆเปนสง่ิ อนื่ มาแสดงใหเ รารู เราเหน็ บางทีเราอาจจะเขา ใจผดิ
เชน อยา งเหน็ ภาพผเี ปรต หรือเทวดา เปน ตน บางทา นอาจจะคดิ วา ส่ิงท้งั หลายเหลาน้นั เขา
มาขอสว นบุญเรา แลวเรากไ็ ปนึกแผส วนบญุ กศุ ลใหเ ขา ในเมื่อนกึ ขึน้ มาอยา งนน้ั จติ ก็ถอนจาก
สมาธิ ภาพนมิ ิตทงั้ หลายนนั้ กห็ ายไป อนั นี้ไมคอยรายแรงเทา ไรนัก แตถา หากบางทา น อาจจะ
มคี วามรสู กึ หรอื มคี วามเหน็ นอกเหนอื ไปกวา นี้ โดยสาํ คัญวา ภาพนิมติ ท้ังหลายเหลา นนั้ เปน
สิง่ ทเี่ ขา มาเพอ่ื จะดลบันดาลจิตใจของเราใหเกดิ ความสงบ ใหเ กิดความรู แลวบางทเี ราอาจจะ
เผลอๆนอ มรับเอาสิ่งนน้ั เขา มาสงิ สูอ ยใู นตัวของเรา แลว สภาพจิตของเราจะกลายเปน ใน
ลักษณะทว่ี า สภาพผสี งิ นีถ้ า หากเราไปสาํ คัญวาสง่ิ เหลานน้ั เปน ตนเปน ตวั ขนึ้ มาก หรือเปนส่ิง
อ่ืนขน้ึ มา โดยเฉพาะอยา งย่ิงถา หากไปมองเหน็ ภาพนมิ ิตของผูทีเ่ ราเขาใจวา เปน ผวู เิ ศษ มา
ปรากฏกายใหเ รามองเห็นแลว เราอาจจะนอมเอาภาพนมิ ิตนน้ั ใหเ ขามาสูต วั ของเรา หรอื สู
จิตใจเรา เพราะความเขา ใจผดิ วา ส่งิ ทมี่ องเหน็ นนั้ เปน สิง่ ท่ีมาจากทอี่ ืน่ ในเมือ่ เรานอ มเขา
มาแลว จะมีอาการคลา ยๆกบั วา มีสงิ่ เขา มาทรงอยใู นจติ หลงั จากนนั้ เรากจ็ ะกลายเปนคนทรง
ไป อันน้ีเปนสงิ่ ทีเ่ ราควรจะระมดั ระวงั ใหม ากๆ การภาวนาหรอื การทาํ จติ นี้เราไมไ ดมงุ ใหสงิ่ ใด
สิ่งหน่ึงมาชว ยดลบันดาลใหเ ราเปน ผูร ู ผเู หน็ เราตองการจะทาํ ใหจิตมคี วามสงบนง่ิ เปนสมาธิ
โดยความเปนอสิ ระของจติ เอง ถา หากจิตจะเกิดความรู ความเห็นอะไรข้นึ มา ก็เปน
สมรรถภาพของจิตเอง ไมใ ชส่งิ อน่ื บนั ดาล เพราะฉะนนั้ ขอใหน ักศกึ ษาธรรมะและนักปฏบิ ตั ิ
ท้งั หลายพงึ ทาํ ความเขา ใจ ในเรื่องนมิ ติ ตางๆ ถา หากวา ทา นไมไปเอะใจ หรอื ไมไ ปสาํ คัญวา
นมิ ติ ตา งๆซึง่ ไปปรากฏขึ้นนนั้ เปน สงิ่ อน่ื มาดลบนั ดาลใหเรารู เราเห็น ทําความรสู ึกวาภาพ
นมิ ิตนน้ั เกิดข้ึนจากจิตของเรา จติ ของเรานน้ั แหละเปน ผปู รุงแตง ข้นึ มา เพราะเรามี
ความสาํ คญั วา เราอยากรู อยากเหน็ ในเมือ่ เราอยากรู อยากเหน็ พอจติ สงบเคลม้ิ ลงไปอยใู น
ระดับแหง อุปจารสมาธิ ในตอนนีจ้ ติ ของเราจะฝน ดนี กั ถา หากเรานกึ ถงึ อะไรแลวจะเกิดเปน
ภาพนมิ ติ ขน้ึ มา ถา หากเราสามารถกําหนดจดจอรลู งท่ีจิตอยางเดยี ว โดยไมส าํ คญั ม่นั หมาย
ในนิมิตนน้ั ๆ ภาพนมิ ิตจะเปน อุปกรณการปฏบิ ตั ิของทา นผูมสี ตปิ ญ ญา โดยกําหนดรูอยูท ่จี ิต
แลว ภาพนิมิตที่มองเหน็ นน้ั จะแสดงปฏิกริ ยิ าเปลยี่ นแปลงตางๆ ถา จติ ของทา นผปู ฏบิ ตั ิน้นั มี
สมาธมิ น่ั คงพอสมควรกจ็ ะสามารถกาํ หนดเอานิมิตเหลา นนั้ เปน เครอื่ งหมายแหงความรู เปน
เครอ่ื งรขู องจิต เปน เครือ่ งระลกึ ของสติ บางทภี าพนิมิตนน้ั อาจจะแสดงเร่อื งอสภุ กรรมฐาน
หรอื ธาตุกรรมฐาน ใหเ รารูเราเหน็ กไ็ ด ในเมอื่ เปน เชน นน้ั กจ็ ะสามารถทาํ สตสิ ัมปชัญญะของ
เราดีข้นึ แลวเมอื่ สตสิ ัมปชญั ญะของเราดขี น้ึ แลว จิตก็จะสงบ รวมตวั สคู วามเปน หน่งึ ซึ่ง
เรียกวา อปั ปนาสมาธิ
เรือ่ งปญ หา อปั ปนาสมาธนิ น้ั บางทา นอาจจะเขาใจวา อปั ปนาสมาธิ คอื ความ
เปนหนง่ึ ของจติ หรอื เอกัคคตาจิต ไมสามารถทจี่ ะเกิดความรูความเห็นอะไรขึน้ ได จรงิ อยผู ู
ปฏบิ ัติในขัน้ ตน จะเปน การบริกรรมภาวนากต็ าม หรอื จะเปน การพจิ ารณาอะไรก็ตาม เม่ือจิต
สงบลงไปนง่ิ อยใู นความเปน หนงึ่ ซง่ึ เรยี กวา เอกัคคตา ในชว งตนๆนี้ จติ อาจจะไมส ามารถ
บันดาลใหเ กิดความรู ความเห็นขนึ้ มาได แตถ าหากวา ทานผูนน้ั เคยพิจารณากรรมฐานอยาง
ใดอยางหนงึ่ จนชํานชิ าํ นาญ ดว ยการนอ มนึกคิดแลว เมือ่ จิตนิง่ ไปเปนอปั ปนาสมาธิ จิตก็จะ
สามารถบนั ดาลใหเกดิ ความรู ความเหน็ ในภูมจิ ติ ภมู ธิ รรมขนึ้ มาได ดังนนั้ เราจงึ สามารถแบง
ขั้นของอัปปนาสมาธิได 2 ตอน
ตอนแรกจติ สงบน่ิงลงไปเปน หนง่ึ อยใู นอัปปนาสมาธิ ถา อยเู ปน สมาธใิ นขนั้ ฌาน
จะไมสามารถเกดิ ความรคู วามเหน็ อะไรขน้ึ มา เพราะจติ อยใู นฌานยอ มเพง อยูใ นจดุ ๆเดียว แต
ถา หากวาจิตท่ีเคยพจิ ารณาวปิ ส สนากรรมฐานมาแลวก็ดี เคยพิจารณาธาตกุ รรมฐานมาแลวก็
ดี เมือ่ จิตสงบน่งิ ลงไปเปน หนง่ึ แลว จะมลี กั ษณะคลา ยๆกบั จติ ถอนตวั ออกจากราง แลวก็สง
กระแสมารูเ รอื่ งของรา งกาย จติ จะมองเหน็ กายในลกั ษณะตา งๆ จะเปนนง่ั อยู หรอื นอนอยกู ็
ตาม เมือ่ เปน เชนน้นั จติ กจ็ ะสงบนงิ่ เฉยสวา งอยู และกายท่ีมองเหน็ อยใู นความรสู กึ ของจติ นนั้
ก็จะแสดงกิรยิ าเปลีย่ นแปลงไปในลักษณะตา งๆ ถา หากวา ทานผนู น้ั พิจารณาอสภุ กรรมฐาน
มาจนชํานชิ าํ นาญ ดว ยการนอ มนกึ จิตกจ็ ะสามารถรเู รื่องอสภุ กรรมฐานโดยอตั โนมัติ โดยท่ี
กายท่มี องเหน็ อยูนนั้ จะแสดงอาการขนึ้ อดื แลวก็มนี ํ้าเหลืองไหล เน้ือหนงั หลุดออกไปเปน ชิ้นๆ
แลวยงั เหลอื แตโ ครงกระดูก ในท่สี ดุ โครงกระดูกกจ็ ะแหลกละเอยี ดลงไป เปน จลุ ไป แลวก็
หายไปในทส่ี ดุ เหลอื แตค วามวา ง
ในเมือ่ จิตวา แลว จิตกจ็ ะสามารถกอตัว รเู รอื่ งของโครงกระดูก ซึ่งจะมา
ประสานกันเปน โครงกระดกู แลว กจ็ ะเกดิ มีเนื้อมหี นงั กลบั คืนมาอยใู นสภาพเปน รา งสมบูรณ
อยอู ยา งเกา จะมอี าการเปน ไป กลับไปกลบั มาอยอู ยางนน้ั จนกวา จิตจะถอนออกมาจาก
สมาธิ และในขณะที่จิตรูเหน็ นน้ั จะมลี ักษณะคลายๆกบั วา รูเ หน็ ดวยทางจิตอยา งเดียว ไมไ ด
เกยี่ วขอ งกบั ประสาทสว นกาย คือไมไดเกย่ี วของกับประสาทสว นตา เปนความรู คามเหน็ ของ
จิตลว นๆ
แตถ าหากทา นผูเคยพจิ ารณาธาตุกรรมาฐาน ก็จะมองเหน็ รางกายนแี้ หละละลาย
ลงเปนดนิ เปน นาํ้ เปน ลม เปน ไฟ อยา งละเอยี ดถถี่ ว น แลว กจ็ ะหายไป กลายเปน ความวา ง
ถา หากทา นผูเคยพิจารณาวปิ สสนากรรมฐาน เชน พจิ ารณา รปู เวทนา สัญญา
สังขาร วิญญาณ วา เปน ของไมเทยี่ ง เปนทุกข เปน อนตั ตา เม่ือจติ สงบนิง่ ลงไปแลว แลว จิตก็
จะมนี มิ ิตอะไรขึน้ มาซง่ึ สุดแลวแตจิตจะปรุงขึน้ มา แตค วามปรงุ แตงในขนั้ นี้ จิตกบั สง่ิ ท่ีรเู หน็ นน้ั
คลา ยกบั วา ไมม คี วามสมั พนั ธกนั เลย ในตอนน้ีจิตกับสง่ิ ที่รแู ยกกันออกเปน คนละสว น สง่ิ ทรี่ ู
นั้นก็แยกอยูส ว นหนงึ่ ตวั ผูร กู ค็ อื จติ นน้ั ก็อยูสว นหนึง่ และสว นความเปลย่ี นแปลงท่ีมนั จะแสดง
ไปในลกั ษณะแหงพระไตรลกั ษณคือ อนจิ จงั ทุกขัง อนตั ตานนั้ กจ็ ะมอี นั แสดงไปเอง ถา หาก
ทานผฟู ง อาจจะมคี วามสงสยั วา การแสดงอยา งนน้ั ใครเปนผูแสดง กจ็ ติ นั้นแหละเปน ผูปรุง
แตงขึน้ มา เปน ตัวปญ ญาความรู ในเมือ่ จิตปรุงแตงข้นึ มาดว ยความรเู ทาเอาทนั ดว ยความไม
ยดึ มนั่ ถอื ม่นั ในสง่ิ ที่รู จติ ก็รสู กึ วา คลา ยๆกบั วาสงิ่ ท่ีรูอยอู ีกสว นหนง่ึ และตวั ผรู ูคือจติ นน้ั แยก
เอกเทศเปน สว นหนงึ่ ในตอนนเ้ี รียกวา จิตกับอารมณส ามารถแยกออกจากกันคนละสว นก็ได
อันน้ีคือลกั ษณะปรากฏการณทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ภายในจิตของผูปฏบิ ัติ เริม่ ตน แตบ ริกรรมภาวนา
หรือในขน้ั พิจารณาอสภุ กรรมฐาน ธาตกุ รรมฐาน หรือพจิ ารณาพระไตรลักษณใ นขัน้ อนจิ จงั
ทกุ ขงั อนตั ตา ซ่งึ เรยี กวา ขน้ั วิปส สนา ขอใหทา นนกั ปฏิบตั ิทั้งหลายพงึ ทาํ ความเขา ใจดังท่ี
กลาวมาแลวนี้
ถาหากสมมตวิ า เราจะไมพจิ ารณาอะไรละ เปน เพียงแคว า เราจะบริกรรมภาวนา
ใหจติ สงบอยา งเดยี วเทา นน้ั แลว จติ ของเราสามารถท่ีจะกาวขน้ึ สภู มู วิ ิปสสนาไดห รอื ไม อันน้ี
ขอตอบวา สามารถทจ่ี ะกาวข้ึนสูภ ูมวิ ปิ สสนาได โดยทผ่ี บู ริกรรมภาวนาทาํ จติ ใหส งบน่งิ ลงไป
เริม่ ตนจากอุปจารสมาธิ จนกระทง่ั ถึงอัปปนาสมาธิๆ ในลกั ษณะทจี่ ติ นงิ่ อยูในจดุ เดยี ว ไมมีสง่ิ
ท่รี ูปรากฏขึ้นในจติ มีการสงบนง่ิ มีลกั ษณะน่งิ และสวา งไสวอยูในความรูสึกอยา งเดยี ว ความรู
อน่ื ๆไมเ กิดขนึ้ เมื่อเปนเชน นัน้ วปิ ส สนากรรมฐานเกิดขึ้นไดอ ยา งไร วปิ สสนากรรมฐานจะ
เกดิ ขน้ึ ไดต อ เม่ือจติ ถอนออกจากความเปน เชน นนั้ แลว มาเกดิ ความรสู กึ นึกคดิ ขน้ึ มา ผปู ฏบิ ัติ
ท่ีฉลาดกฉ็ วยโอกาสกาํ หนดความคดิ นนั้ จิตคิดอะไรข้นึ มากก็ าํ หนดรู คิดอะไรขึ้นมากก็ ําหนดรู
เพียงแตร วู า จติ มคี วามคิดอยางเดยี วเทา นนั้ รแู ลวกไ็ มต อ งไปชว ยจิตคดิ อะไรเพิ่มเติม หรอื
วพิ ากษว ิจารณ เปน แตเพยี งวา สง่ิ ใดเกดิ ข้ึนกร็ ูๆๆอยอู ยางนนั้ และส่งิ ใดดับไปกร็ ู เกดิ ข้ึนแลว
มันกเ็ ปน ทกุ ข เกดิ มาแลว กเ็ ปนอนัตตา อะไรทาํ นองนั้น ไมตองไปนึกคดิ ในขณะนั้น ถาหากเรา
นึกคดิ แลว สมาธิมนั จะถอนขน้ึ มาอีก เราจะไมม ีสมาธคิ วบคมุ จติ ของเราใหจ ดจอ ดคู วามคิดที่
เกดิ ขนึ้ นน้ั ได เพราะฉะนนั้ ตอนน้ีใหน ักปฏบิ ตั พิ งึ ระวงั ใหด ี เมอ่ื ออกจากสมาธใิ นข้นั บรกิ รรม
ภาวนา ถา จติ สงบนง่ิ เปน อัปปนาสมาธแิ ลว เมอ่ื จิตถอนออกจากสมาธิ อยา ดว นออกจากสมาธิ
ทันทีทนั ใด ใหต ามกําหนดรูความคดิ ของตวั เองเรือ่ ยไป จนกวา จะถงึ เวลาอนั สมควร จงึ คอย
เลกิ หรือจงึ คอยออกจากทน่ี งั่ สมาธิ
ในเม่ือออกจากทนี่ ัง่ สมาธแิ ลว มิใชวา เราจะหยดุ กําหนดรูจิต หรือรูอ ารมณท ี่เกิด
ข้นึ กับจิตในทนั ทที นั ใดกห็ าไม เราจําเปน จะตอ งกาํ หนดรคู วามรูสึกนกึ คิดของเราอยู
ตลอดเวลา แมแตย นื เดนิ นง่ั นอน กนิ ด่มื ทํา พดู คดิ เรากใ็ หตัง้ สติ กําหนดรอู าการ
เคล่ือนไหวไปมาของ กาย วาจา และใจของเราอยูตลอดเวลา การตามรู ตามเห็น ความ
เคลื่อนไหว กาย หรอื การพดู การนกึ การคดิ ดว ยความมสี ติสมั ปชญั ญะจดจอ อยูนนั้ แหละ คอื
การปฏบิ ตั ิธรรม แบบท่ีเรยี กวา สามารถใหจ ติ เกิดความรคู วามฉลาดข้ึนมาได
6. วธิ ีฝก สมาธิในชีวิตประจําวนั
คนเราทกุ คนนเ้ี ปนอยดู ว ยการทํางาน เราจะทาํ งานทง้ั เวลาหลบั ทัง้ เวลาตนื่ เวลา
ต่ืนเราทาํ งานทุกสง่ิ ทุกอยา งดวยความตง้ั ใจ แตเวลานอนหลบั เราทาํ งานโดยอตั โนมตั ิ จติ ของ
เราก็ยงั ตอ งคดิ หวั ใจกย็ ังเตน ปอดกย็ งั สูดลมหายใจ อนั นีค้ ือการทาํ งาน เพราะฉะนน้ั ชวี ิตก็
คือการทาํ งาน งานกค็ อื ชวี ติ และสงิ่ ทงั้ หลายเหลานั้น ถา เรามาพูดถงึ วา สิง่ เหลา นนั้ คือธรรม
และเปนธรรมไดอ ยางไร
ในขอท่ีวา ธรรมะ คือ ชวี ติ ชวี ิตก็คอื ธรรมะ อะไรทาํ นองน้ี ท่เี รียกวาธรรมะ ก็
เพราะเหตุวา ทุกสง่ิ ทกุ อยา งน้ี มันเปน เครอ่ื งรขู องจติ เปน เครอื่ งระลกึ ของสติ และเปน พนื้ ฐาน
ท่ีเปนเหตุใหเรารวู า ทุกสง่ิ ทกุ อยา งนี้ มนั มอี ยู มคี วามเปลยี่ นแปลงและแสดงความจริ งให
ปรากฏตลอดเวลา แมแตล มหายใจของเรานม้ี นั กแ็ สดงความจริ งใหป รากฏอยตู ลอดเวลา คือ
การสูดลมออก สูดลมเขา ความจรงิ มนั กป็ รากฏคอื เราตองมชี วี ิตอยู ถาเราหยดุ หายใจเมอ่ื ไร
หยุดสูดลมออก ลมเขา เมอื่ ไร เมื่อนัน้ ก็หมายถงึ ความส้นิ สูญแหง ชวี ิต คือ ตายนน่ั เอง
เพราะฉะนน้ั ในคาํ ตอบปญหาขอทวี่ า ธรรมะคืออะไร ธรรมะคอื ชวี ิต นยี้ อมเปน สิง่ ที่ไมผิด
แนนอน
อีกนยั หนึง่ การทเี่ รามาศึกษาธรรมะนี้ ชอ่ื วา ศกึ ษาใหร คู วามจรงิ ของชวี ิต เราควร
จะไดท ราบคําวา สภาวธรรม สภาวธรรมคือ สง่ิ ทมี่ ีอยู เปน อยใู นโลกนที้ ้งั หมด หรอื ทุกสงิ่ ทกุ
อยางท่มี ีอยใู นจกั รวาลนี้ ตงั้ แตอณู ปรมาณู หรอื มวลสารทเี่ กาะกุมกนั เปน กอนใหญโตหา
ประมาณมิได สิง่ ทง้ั หลายเหลานีค้ อื ธรรมะดา นสภาวธรรม ธรรมะดานสภาวธรรมนี้ กย็ อ มมี
ปรากฏการณแ สดงความจรงิ ใหเ รารอู ยตู ลอดเวลา แตวาเราสามารถกาํ หนดรทู ันหรอื เปลา
เพราะทุกสงิ่ ทกุ อยางมีปรากฏการณข ้นึ ทรงตัวอยู แลวกส็ ลายตวั อนั นี้คือกฎธรรมชาตทิ ่เี รา
จะตองศกึ ษาใหรู
ภายในตัวของเราน้ี เรากม็ กี ายกับใจ กายกบั ใจน้ี ในเมอ่ื มคี วามสัมพนั ธอ ยูตราบ
ใด เราก็ยงั มชี วี ิตเปน อยูตราบนน้ั เมื่อมีกาย มใี จแลว เราตองมีสวนประกอบคือ ตา หู จมกู ลน้ิ
กาย และใจ ซ่ึงตา หู จมูก ลนิ้ กาย และใจ บางครัง้ พระพุทธเจา ทานกว็ า อนิ ทรยี 6 บางทกี ็
วา ประตู (ทวาร) ซง่ึ สดุ แลวแตโวหารของพระองคทา นจะรับสง่ั มาเปนประการใด ทนี ถี้ ามงุ ถึง
ความเปน ใหญก ็เรยี กวา อนิ ทรีย 6 มี ตา หู จมกู ลนิ้ กาย และใจ กต็ า งมคี วามเปน ใหญใ น
หนา ที่ของเขาแตล ะอยางๆจะกา วกายกนั ไมได ไมเหมอื นมนษุ ยเ ราธรรมดาๆ ซึ่งบางทีอาจจะ
กา วกายหนา ที่ของกนั และกันได
ตา หู จมกู ลน้ิ กาย และใจ เขามหี นา ทเี่ ฉพาะตัว ถา หจู ะอุตริไปดูแทนตา เชิญ
เลย ไมมที าง ทนี ต้ี าจะทาํ หนาทอ่ี ตุ รมิ าทาํ แทนหู กไ็ มมที างทาํ ได เพราะอาศยั เหตุนี้
พระพทุ ธเจา จงึ สมมติบัญญตั ิวา อนั น้ี อินทรีย คอื ความเปนใหญเ ฉพาะตวั ในบางครง้ั ทา นก็
กลา ววา มนั กเ็ ปนประตู ในเมื่อสิง่ นนั้ เปน ประตู ตา หู จมูก ลน้ิ กาย และใจ ทเี่ รียกวา ประตู
เพราะมสี ง่ิ ผา นออก ผา นเขา รูปผา นเขา มาทางตา เสยี งผา นเขา มาทางหู กลนิ่ ผา นเขามาทาง
จมกู รสผา นเขา มาทางลนิ้ สมั ผสั ผานเขามาทางกาย ธรรมารมณผ า นเขา มาทางจติ ใจ
ส่ิงทง่ั หลายทผี่ า นเขามาน้ี ถาเรากําหนดใหม นั ดีๆแลว ทนี ีเ้ รารวู ามนั ผา นออก
ผา นเขาอยูน้ี ใครเปนผูรู ก็จิตใจของเรานนั่ เองแหละเปนผรู ู สง่ิ ทรี่ ูทงั้ หลายเหลา นน้ั กเ็ ปน
สภาวธรรม กาย ใจ เปน สภาวธรรม ตา หู จมกู ลน้ิ กาย และใจ ก็เปนสภาวธรรม สง่ิ ทีผ่ า นเขา
มาทาง ตา หู จมกู ลิ้น กาย และใจ กเ็ ปน สภาวธรรม ในทส่ี ุดแมวา ใจผรู ูก เ็ ปนสภาวธรรมอกี
สงิ่ ท่เี ปน สภาวธรรมนน้ั หมายถงึ สงิ่ ทม่ี ีอยู เปนอยู ดงั ทป่ี รากฏใหเ รารเู ห็นกันอยูน้ี
เมือ่ สิ่งเหลานีเ้ ปน สภาวธรรม สิ่งเหลา นกี้ เ็ ปนเครอ่ื งรขู องจิต เปนเครอื่ งระลกึ ของ
สติ นกั ปฏบิ ตั ธิ รรม นกั ศึกษาธรรมเอาใจมารูกับสงิ่ เหลาน้ี ทําสติกับสงิ่ เหลา นีต้ ลอดเวลา เราก็
ไดช่อื วา มกี ารปฏิบตั ธิ รรมอยตู ลอดเวลา มาตอนน้ี มาพดู ถงึ เร่อื งการปฏิบัติธรรม อยากจะขอ
ตดั เร่ืองราววธิ กี ารปฏิบตั ธิ รรม ซง่ึ เราเคยไดยนิ ไดฟ งมามากตอ มากแลว เชน บรกิ รรมภาวนา
บาง หรือการพจิ ารณาอะไรซ่ึงเก่ยี วกับรางกาย สงั ขารบางซงึ่ เปน สวนภายใน อยากจะ
ตีความหมายแหง สภาวธรรมใหม นั กวา งๆออกไป เพอื่ ที่เราจะไดม ที างปฏิบัตธิ รรมให
กวางขวางออกไปยง่ิ กวาท่ีเราไดเ คยไดย ิน ไดฟง มา เขาใจวา สงิ่ ใดท่เี ราสามารถรดู วยจติ หรอื
สงิ่ ใดท่ีเราสมั ผสั ดว ย ตา หู จมูก ล้นิ กาย และใจ ดังท่ีกลา วมาแลว นน้ั เขา ใจวา จะเปนอารมณ
เปนเครื่องรูของจิต เปน เคร่อื งระลกึ ของสตไิ ด ในเมอ่ื เปน เชน น้นั เรากค็ วรจะนาํ เอาเปน อารมณ
ปฏิบตั กิ รรมฐานได
ถา อยา งสมมติวา ใครสักทา นหนง่ึ อาจจะถามขึ้นมาวา ขาพเจา เรยี นมาทางหมอ
มีความรทู างแพทย จะเอาวิชาทางแพทยม าเปน อารมณภาวนากรรมฐานนี้ ไมต อ งเอาพทุ โธ
หรือ ยุบหนอ พองหนอ จะใชไ ดไหม คําตอบก็คือ ได ทําไมจงึ ตองได เพราะวิชาหมอ วลิ ชา
แพทยท ี่เราเรยี นมานน้ั มนั ผา นเขา มาทางตา หู จมกู ลิ้น กาย และใจ ในเม่อื ความรอู นั ใดท่ี
ผานเขา มาทาง ตา หู จมกู ล้ิน กาย และใจ กาย และใจ เปน สภาวธรรม สิง่ ทกี่ ายรู ใจรู หรอื
สมั ผสั รูน้ัน กเ็ ปนสภาวธรรม มันเปนสง่ิ ทเี่ ราจะตองวติ ก เอามาเปน อารมณ ปฏิบตั ิกรรมฐานได
แมว า ใครจะเรยี นมาในศาสตรไ หน อยา งไรมากต็ าม จะเปน วทิ ยาศาสตร แพทยศาสตร
นติ ิศาสตร หรอื ศาสตรอ ะไรก็แลวแต เรานกึ วติ กเอาหวั ขอวชิ าการทเ่ี ราเรียนมานัน้ แลว เอามา
เปน เครือ่ งพิจารณาของจติ ซ่งึ เปน วิชาทีเ่ ราเรยี นมารมู ากอ นแลวมนั คลอ งตวั งา ยดี เชน อยา ง
เราอาจจะนกึ วา วชิ าแพทยค อื อะไร มคี วามสาํ คญั กบั ชีวิตของเราอยา งไร เวลาเราจะรกั ษา
คนไข จะรกั ษาอยา งไร วางแผนอยา งไร อะไรทาํ นองนี้ ซงึ่ เรายกเปน หวั ขอมาตงั้ เปน ปญหา
แลว คดิ คิดดวยความมีสตสิ ัมปชัญญะ คิดจนกระทงั่ จติ ของเรามันสงบ เพราะการคดิ อนั นน้ั
จะเปนเร่อื งอะไรก็ได เราบรกิ รรมภาวนา พทุ โธๆๆ พทุ โธคอื ความคิดเหมอื นกนั ยบุ หนอ พอง
หนอ คอื ความคดิ เหมือนกัน สมั มาอรหงั คอื ความคดิ เหมอื นกนั แตถ าเราจะเอาเร่อื งความคดิ ท่ี
เราเรียนมานี้ เอาวิชาทเ่ี ราเรยี นมาทกุ อยา งมาเปน ความคิดน้ี มนั กเ็ ปน ความคดิ ในเมอ่ื ส่ิงนน้ั
เปน ความคิด สิ่งนนั้ ก็เปนเคร่ืองรขู องจิต เครื่องระลกึ ของสติ ทาํ ไมเราจะเอามาเปนอารมณ
กรรมฐานไมได บางทที านอาจจะสงสยั วา สง่ิ เหลา น้ไี มม คี าํ วา ธรรมะ เจือปนอยเู ลย แลว เรา
จะเอามาเปน อารมณกรรมฐานไดอยา งไร
ในสมัยท่ีอาตมาเปน สามเณรนอ ย เรียนธรรมบทแปลภาษาบาลี เคยแปลพบเรอ่ื ง
หนงึ่ วา ชางไมน ั่งถากไมอ ยู อาการถากไมเปนอารมณกรรมฐาน ปลงปญ ญาลงสพู ระไตร
ลักษณ พจิ ารณา อนจิ จงั ทกุ ขงั อนตั ตา ไดส าํ เร็จพระอรหันตเหมอื นกนั การถากไมม คี าํ วา
ธรรมะ เจอื ปนอยูดวยไหม
มีอกี คนหนง่ึ นง่ั ทอหกู อยู กม็ าพจิ ารณาชวี ิตวั เองเปรยี บเทียบกบั การทอหูก การ
ทอหกู นีม้ นั หดสัน้ เขา ไปเรื่อยฉนั ใด ชวี ติ ของเรากส็ น้ั เขาไปทกุ ทๆี แลว ก็ไดค วามสลดสังเวชได
สาํ เรจ็ พระอรหนั ต การทอหกู มคี าํ วา ธรรมะ หรอื เปลา
มที า นผหู นง่ึ เดนิ ทางไปเห็นพยบั แดดเดอื นเมษามนั รอ น มองเหน็ พยบั แดดเกิด
ความระยิบระยบั ขึ้นมา ก็ไปปลงปญญาวา ออ พยบั แดดนมี้ ันก็เปล่ยี นแปลงอยา งนีน้ ะ จิตก็ได
ความสงั เวช กส็ ําเร็จพระอรหันต พยับแดดมีคาํ วา ธรรมะ เจือปนอยดู ว ยหรอื เปลา
ทน่ี าํ เรื่องตา งๆมาเลาใหทา นทงั่ หลายฟงน้ี อาตมาภาพอยากจะแกไขขอ สงสัย
ของใจบรรดานกั ศกึ ษาธรรมะทงั้ หลาย เชน อยา งบางทีวา สมถะ กบั วิปส สนา นม้ี นี ัยตา งกนั
อยา งไร เมื่อตะก้ีนกี้ ็ไดยินคาํ ถาม คาํ ตอบในเทป คําวา สมถะ กับวิปส สนา มีความแตกตางกนั
อยา งไร ถา จะใหค วามตอบตรงตามความหมายกนั จรงิ ๆ สมถะ และวปิ ส สนา ตางกนั แต
วธิ กี าร แตจดุ มุง หมายกค็ อื ความสงบ ทานจะสงั เกตดขู อเท็จจริง เทา ท่ีทา นปฏิบตั ิผา นมาก็ได
ถา อยากจะรูข อ เทจ็ จริงท่ีเราไมตองสงสยั ใหส ลัดแบบทง้ิ เอาไวก อน การปฏิบัตสิ มถกรรมฐาน
ตามความเขาใจโดยทั่วไปคอื บริกรรมภาวนาและการเพง กสณิ หรือนึกอยสู งิ่ ใดสงิ่ หนง่ึ ซ่งึ เปน
เพียงสิ่งเดยี ว หรอื นกึ ถึงลมหายใจ หรอื นกึ ถงึ โครงกระดูกเปนตน แลว เปน การนกึ อยูเฉพาะใน
วงจาํ กดั เฉพาะส่งิ หนงึ่ ๆ เชน อยางนกึ พทุ โธๆๆก็นกึ อยทู ่ีพทุ โธ อนั นี้เปน วิธกี ารปฏิบตั แิ บบ
สมถะ แตถา ทา นผใู ดมคี วามคดิ มาก สามารถทจ่ี ะคิดมากๆ วติ กถงึ วชิ าความรทู ่เี รยี นมา อยาง
ที่เสนอแนะไปแลวเมอื่ สกั ครนู ี้ เชน อยา งเรียนวชิ าวทิ ยาศาสตรม า กม็ านกึ ถงึ หวั ขอ วชิ า
วิทยาศาสตรแลว ก็ต้ังคําถามตัวเอง ตอบตวั เองไปเรือ่ ยวา วทิ ยาศาสตรคืออะไร ในเมือ่ ตอบไป
ไดแลว กเ็ กย่ี วขอ งกับชวี ติ มนุษยอยางไร ตอบไปขอไหน เพราะอะไรๆๆ ถามตวั เอง ตอบตัวเอง
เรอ่ื ยไป หรอื เราจะนกึ นอมเอารา งกายของเรามาวิตกขน้ึ มาวา รา งกายของเรานี้ ประกอบดวย
ขันธ 5 รูป เวทนา สัญญา สงั ขาร วิญญาณ แลว กม็ าใชค วามคิดวา รปู รปู ไมเทยี่ ง อนจิ จงั
ทุกขัง อนัตตา เกยี่ วกบั เร่ือง รูป เวทนา สญั ญา สงั ขาร วิญญาณ เร่อื ยไป การปฏบิ ตั แิ บบใช
ความคิดพิจารณาเพอ่ื ใหเ กดิ ปญญาเรียกวา วิปส สนากรรมฐาน หรือปฏิบัติแบบวปิ ส สนา
กรรมฐาน
ถาจะจาํ กดั ความใหม นั เขา ใจอยางชัดเจนกค็ ือวา
บรกิ รรมภาวนา คือ ปฏิบตั แิ บบสมถะ
การปฏบิ ัตดิ วยการใชปญ ญาคน คิดพจิ ารณาเปนเรอ่ื ง เปนราว เพื่อเปนอบุ ายให
จิตสงบ เปน การปฏิบตั ิแบบวปิ ส สนา
ท้งั สองอยางนแ้ี หละ การนกึ อยูสง่ิ ๆเดยี วกด็ ี หรอื การพิจารณาเปน เร่อื งเปนราวก็ดี
มุงสจู ุดแหง ความสงบ ตง้ั มนั่ ของจิตในแนวแหงสมาธิ เพราะทั้งสองอยางน้ี ถา ปฏบิ ตั แิ ลว จะ
ทาํ ใหจติ สงบเหมอื นกัน ไมเ ช่ือทดลองดูก็ได เพราะฉะนน้ั ขอแตกตา งกนั นี้ แตกตา งกันเฉพาะ
วิธกี าร
แตถ า จะถามวา การปฏบิ ัติดว ยบริกรรมภาวนาน้ี กบั การใชส ตปิ ญ ญาพจิ ารณา
เมอ่ื ผลเกดิ ข้ึนแลว จะมนี ยั แตกตางกนั บา งไหม อันนี้มขี อแตกตา งกนั อยูบ าง การบรกิ รรม
ภาวนา บางทจี ิตสงบลงไปแลว ก็ไปน่ิงติดอยูทส่ี มถกรรมฐาน ทีท่ า นวาบรกิ รรมภาวนาน้ไี ดแค
สมถกรรมฐาน ถกู ตองตามท่ีทา นวา สว นมากจะเปน อยางนน้ั แตถ า หากวา ผทู ใี่ ชส ตปิ ญ ญา
เรมิ่ ตน พิจารณาเปนเร่ืองเปนราวไมตองบรกิ รรมภาวนา เมอื่ จิตสงบลงทําใหเกดิ มปี ติ มี
ความสขุ และมีสมาธิอยา งเดยี วกับบรกิ รรมภาวนา ผทู ่ใี ชค วามคดิ น้นั ในเมอื่ มสี มาธิเกิดข้นึ
แลว จติ จะเดนิ วปิ ส สนาไดเร็วกวา ผูทบ่ี รกิ รรมภาวนา เพราะฉะนนั้ 2 อยางนอี้ ยา ขอ งใจ ใครจะ
บรกิ รรมภาวนาก็ได จะใชส ตปิ ญญาพจิ ารณากไ็ ด แตว า ขอเตือนเอาไวอ ีกอยา งหนง่ึ อันนเี้ ปน
ประสบการณ ออกจะเปน เร่อื งนอกตาํ ราสกั หนอยหนง่ึ
การทาํ สมาธิ การปฏบิ ตั ิสมาธติ อ งพยายามใหส มั พนั ธก ับงานและชวี ติ ประจําวนั
ท่เี ราทาํ อยใู นปจ จุบัน เชน อยา งสมมตวิ า ทานขับรถภาวนา พทุ โธ ในขณะทข่ี บั รถภาวนา พทุ
โธ ถาตา งวาจติ สงบลงไป แลว มันไปอยกู บั พุทโธ ไมสนใจกบั การขับรถ ทานลองหลบั ตานกึ ดูซิ
วา อะไรจะเกดิ ขึน้ อยา งนอ ยก็ตอ งขบั รถไปอยางไมม จี ุดหมายปลายทาง ถา รายไปหนอยรถ
สวนมากๆ บางทอี าจจะชนเกดิ อุบตั ิเหตุ อันน้ลี องพจิ ารณาดู เปน ประสบการณท ไี่ ดย ินไดฟ ง
และเคยไดพ บเหน็ มาแลวดว ยตนเอง เพราะฉะน้นั การทาํ สมาธนิ ้ี ถาพยายามทาํ สมาธิ ฝก
สมาธิใหมันมคี วามสัมพันธก บั สถานการณและสง่ิ แวดลอม อันเปน เรือ่ งจรงิ ของชวี ติ ประจําวนั
ไดจ ะดีท่สี ดุ เพราะทกุ สง่ิ ทกุ อยางกไ็ ดก ลา วแลววา ทกุ ส่งิ ทุกอยา งมนั เปน สภาวธรรม เปน
เคร่อื งรขู องจิต การปฏบิ ตั กิ บั ส่งิ เหลา นี้ เราทาํ สติรูอยา งเดยี ว เร่อื งพิธีรีตองนนั้ ตดั ออกไว
เสียกอ น ถา เราจะทําใหเ ปน พธิ ีนน้ั เอาไวทาํ ตอนเชา ตอนเยน็ ท่ีเรามไี หวพระสวดมนต
ประจาํ วนั แตถาเราจะทาํ ในขณะนี้ ขณะน้ที า นฟง เทศน ทา นอาจจะทาํ สติกับการฟง เทศน
เอาเสียงเปนเคร่ืองรขู องจิต เครื่องระลึกของสติ ถา ทา นกาํ หนดจดจอ ฟงอยู แมว าทา นจะจาํ
คําพดู ไมไดท กุ คํา ทานอาจจะมคี วามรูสกึ เกดิ ข้ึนมาวา เสยี งนม้ี ันกม็ สี ูงๆต่าํ ๆ มหี นกั มเี บา
แลว มสี นั้ มยี าว ประเด๋ียวทา นกร็ ู อนิจจัง ทกุ ขัง อนัตตา ขึน้ มาดว ยการกําหนดรปู จ จุบนั หรอื
แมในทสี่ ุดทา นอาจจะกําหนดรูค วามเปน อยูในปจจบุ นั ของทาน ทา นนงั่ นานๆแลวมนั ปวดหลงั
นง่ั นานๆแลวมนั เมอื่ ย นัง่ นานๆแลว มนั งว ง ในเม่อื รูส กึ ตวั ขนึ้ มามีสตแิ ลว ทา นอาจจะไดรูธรรม
ขึน้ มาวา ทกุ สงิ่ ทกุ อยางมนั กเ็ ปน อยา งนแ้ี หละ ยอมมกี ารเปลย่ี นแปลงยกั ยา ยอยตู ลอดเวลา
พอเขามาในหอ งนีต้ อนแรกกอ็ ากาศเยน็ เฉียบเพราะฤทธ์ขิ องแอร หนกั ๆเขาความอบอา วมัน
เกิดข้ึน จากกลิน่ ไอของกนั และกัน บางทอี าจจะเกิดความรอ น
ทนี ี้บางทพี ระท่พี ดู ท่ีเทศนอยนู ้ี ตอนแรกกค็ วามรสู ึกวา นาฟง ฟง ไป ฟง มา มัน
เหนด็ เหน่ือย อาจจะเกิดราํ คาญขึน้ มากไ็ ด ส่ิงทง้ั หลายเหลานีค้ อื เหตุการณป จ จบุ ันทมี่ นั จะ
เกิดขนึ้ สอ แสดงใหเรารธู รรมะ วา ทกุ ส่งิ ทกุ อยางมคี วามเปล่ยี นแปลงอยตู ลอดเวลา
เพราะฉะนนั้ การทเี่ ราจะทาํ สมาธิใหมีความสัมพนั ธก ับชวี ติ ประจําวนั ของเราทีเ่ ปนอยูใน
ปจจบุ นั น้ี ใหม นั ใกลท ส่ี ดุ อยา ใหม นั หา งกนั
ในมหาสตปิ ฏฐาน ทา นก็ใหก ําหนด ยนื เดนิ นง่ั นอน กนิ ดื่ม ทาํ พดู และคดิ ทาํ
สติอยางเดยี ว ทนี ี้ ในสง่ิ อน่ื ๆท่เี ราทําอยู เวลาเราตองการใชความคดิ เก่ยี วกับงาน เราก็เอา
เรื่องงานมาคดิ ทําสตคิ ดิ ใหม นั จดจอ ลงใหม ันชัดๆ เวลาทาํ ๆสติอยกู บั งาน เวลาเขยี นหนงั สือก็
ทาํ สติอยกู บั สงิ่ นน้ั ทาํ อะไรก็ทําสตกิ บั ส่ิงนั้น ทาํ สติอยา งเดยี ว อนั นค้ี ือการปฏบิ ัติสมาธเิ พ่ือให
เกิดพลงั จิตมคี วามสัมพันธก ับชีวติ ประจาํ วันกบั งานทีเ่ ราทาํ อยู โดยเอาเรอื่ งของชวี ติ ประจาํ วัน
เปนเคร่ืองรขู องจิต เปน เคร่ืองระลกึ ของสติ
เพราะฉะนน้ั จงึ ใครท ่ีจะขอประมวลหลักการท่จี ะพงึ ยดึ เปนแบบฉบบั ในการ
ปฏบิ ตั ไิ ว 3 อยา ง
1. บรกิ รรมภาวนา อยา งน้เี ราปฏิบัตมิ าแลว อะไรกไ็ ด
2. การใชสติปญญาพจิ ารณา โดยวติ กเอาความรทู ี่เราเรยี นมา หรอื ถา หารใครรู
เรอ่ื งกาย เร่ืองใจมากๆ เรอ่ื งอภิธรรมมากๆ จะวติ กเอาอภิธรรมมาเปนเคร่อื งรู
ของจติ เครอ่ื งระลึกของสตกิ ไ็ ด ถาทานผูใ ดไมคลองตอ เรือ่ งของธรรมะ ก็เอา
วชิ าการท่เี ราเรยี นมา ทเ่ี รารมู าที่คลองๆแลว นนั้ มาเปน อารมณพ จิ ารณาใน
เบอื้ งตน มนั จะชวยใหการพจิ ารณาของเราคลองตวั ขน้ึ อันนี้เปน ข้ันแหง การ
พจิ ารณา จะเอาอะไรมาเปน อารมณกไ็ ด
3. การกาํ หนดรโู ดยท่ีเราตงั้ ใจกาํ หนดรูลงทจ่ี ติ ทําจติ ใหว า งอยูชวั่ ขณะหนงึ่ โดย
ธรรมดาของจติ เม่อื เราตัง้ ใจกาํ หนดลง เราจะเกิดความวา ง ในเวลาเมื่อเกิด
ความวางขึน้ มาแลว เราก็กาํ หนดดูทีค่ วามวา ง ในเมอื่ จิตวา งอยูสักพักหนง่ึ
ความคิดยอมเกดิ ขนึ้ เม่อื ความคิดเกดิ ขน้ึ ทาํ สติตามรูค วามคิดนน้ั เพียงแต
สักวารู อยา ไปชวยมนั คดิ ความคิดอะไรเกิดขึ้นกําหนดรู ความคดิ อะไร
เกิดขน้ึ กาํ หนดรู ยกตัวอยา งเชน คิดถึงสแี ดง กเ็ พยี งรวู า สแี ดง ไมต อ งไปคดิ วา
สีแดงคอื อะไร ถา หากวาจิตมันคิดไปโดยอตั โนมัติของมัน เราทําสตติ ามรูอ ยู
ทกุ ระยะ อยา เผลอ ในทาํ นองนี้ จะเปน อบุ ายทาํ ใหจ ติ ของเรารูเทา ทันอารมณ
สติตวั นจี้ ะกลายเปน มหาสติ
ถาสตมิ นั กลายเปนมหาสติ จะสามารถประคบั ประคองจิตใหดาํ รงอยูใ นสภาพ
ปกตไิ มหวนั่ ไหวตอ อารมณไ ดงา ย เมอ่ื สตติ วั น้เี ปน มหาสติแลว เพม่ิ พลงั ขึ้นดว ยการฝก ฝนอบรม
กลายเปน สตนิ นทรีย เม่ือสติตัวนีก้ ลายเปนสตนิ นทรียแ ลว พอกระทบอะไรข้ึนมา จิตจะคน ควา
พิจารณาไปเองโดยอัตโนมัตโิ ดยท่ีเราไมไดต งั้ ใจ
เม่ือสติตัวนกี้ ลายเปน สตนิ นทรยี เปน ใหญในอารมณท ง้ั ปวง ซง่ึ มีลกั ษณะคลายๆ
กับวา จติ ของเราสามารถเหนย่ี วเอาอารมณมาเปน เครือ่ งมือเครื่องใชไ ด หรอื เอากิเลสมาเปน
เคร่อื งมอื เครื่องใชไ ด เพราะ สติตวั นี้เปน ใหญยอมมีอาํ นาจเหนืออารมณ และสามารถใชอารมณ
ใหเ กิดประโยชนไ ด เมื่อเปน เชน นี้ สตติ ัวน้จี ะกลายเปน สติวนิ โย ในเมอ่ื สตติ ัวนี้กลายเปน สติ
วินโย สมาธสิ ตปิ ญญาของผูปฏิบัติมีสมรรถภาพดยี งิ่ ขึน้ ทานผนู ้ันจะไมม กี ารหลับ ยนื เดนิ นง่ั
นอน กนิ ดื่ม ทํา พดู และคิดตลอด 24 ชว่ั โมง สตสิ ัมปชญั ญะเปน สายสมั พันธสบื ตอ กนั
ตลอดเวลา แมห ลบั ลงไปแลวจะรสู กึ วา ตวั เองนอนไมห ลับ เพราะสตไิ มข าดตอน สตติ วั รหู รอื สติ
ตวั รสู ํานกึ หรอื สติเปน ตัวการ ซ่งึ เปน สตวิ นิ โยน้ี มนั จะคอยจดจออยูทจ่ี ิตตลอดเวลา พออะไรเขา
มาพลบั๊ มันจะฉกเหมือนงเู หา ฉกเหย่ืออยา งนน้ั ถา สง่ิ ใดทีม่ ันยังไมรูแจง เหน็ จรงิ มันจะยดึ เอา
มาแลว กพ็ ิจาณา คน ควา จนรูความจรงิ ถามนั รูแลว กส็ ัมผสั รแู ลวมันนงิ่ เวลาเราจะทาํ งานทาํ การ
ส่ิงหนึง่ สง่ิ ใด สตติ ัวนมี้ นั จะคลายๆวา ตวั รูป รากฏอยใู นทา มกลางแหงทรวงอก สวนทส่ี งกระแส
ออกไปทํางาน มนั กท็ าํ งานของมันอยูตลอดเวลา ในเมอื่ เปน เชน นน้ั เราสามารถจะเอาพลงั แหง
สมาธไิ ปใชในงานทกุ ประเภทได
การทาํ สมาธิอนั ใดทําใหท า นเบ่อื ตอ โลก ตอ ครอบครวั มนั ยงั ไมถกู ตอ งหรอก ถา
ทาํ สมาธมิ สี ตปิ ญญารแู จงเห็นจรงิ ดีแลว ตอ งสามารถเอาพลงั ของสมาธิไปสนบั สนนุ งานการท่ี
เราทาํ อยไู ด นักศึกษาก็ตองเอาพลังแหงสมาธิไปสนบั สนนุ การศกึ ษา เคยใหคาํ แนะนาํ แก
นักศึกษาที่กาํ ลังเรียนอยู วา วันแตล ะวนั ๆไปเรยี นหนงั สอื วนั นี้อาจารยท านสอนอะไรมา พอกลับ
มาถงึ ทพ่ี กั พอเสรจ็ ธุระแลว ใหว ติ กถงึ วิชาทีเ่ ราเรียนมาในวนั นน้ั มาคดิ ทบทวน เปน การทบทวน
ความจาํ คิดไป คดิ มา นกึ ไป นกึ มา อยอู ยางนน้ั ดว ยความตัง้ ใจ ผลปรากฏวา ทาํ ใหน ักศึกษา
ท้ังหลายทมี่ คี วามสนใจปฏบิ ตั ิอยา งน้ีมสี มาธแิ ลว กส็ ามารเรียนหนงั สือเกง สามารถที่จะเอาสมาธิ
ไปสนบั สนนุ การศกึ ษาและงานการที่เราทาํ อยู บางทานถงึ กบั เอาพลงั สมาธิไปชว ยสรา ง
เครื่องมือวทิ ยาศาสตรขน้ึ มาก็ได อนั นถ้ี า หากมนี กั ศึกษามาฟง อยูน้ี ลองพิจารณาดู ลองปฏิบัตดิ ู
วันหนง่ึ ไปเรยี นอะไรมา วิตกถงึ ความรอู นั นั้น คนควา พจิ ารณาเปน การทวนความจาํ
ทนี ี้ อยา งพอ บานแมเ รอื นทงั้ หลาย ถาทา นผูใ ดเกดิ มีปญ หาครอบครัว เชน อยา ง
พอ บานแมบ านไมคอยจะลงรอยกัน มมี ตขิ ัดแยง อยู ก็ใหพ ยายามตัง้ ปญหาถามตัวเองวา เรามี
ความบกพรองอะไร ยกตวั อยางเชน บางครั้งทา นอาจจะเผลอไปเทยี่ วดกึ ดื่นเทยี่ งคนื กลบั มา
แมบ า นโมโหบดิ หเู อา ทานอยาเพิ่งไปโกรธ ใหตัง้ ปญหาถามตัวเองกอนวา เราผดิ อะไร ถา เรามีสติ
ยับยัง้ ถามตวั เองสักพกั หนง่ึ เราจะไดค วามรู ดวยความรสู ึกวาเราผดิ เพราะเราไปเทยี่ วดึกเกินไป
อันนเ้ี ปน ตัวอยา งอนั หนงึ่ สาํ หรบั การแกป ญ หาครอบครวั และชวี ติ ประจาํ วนั การปฏบิ ตั ิธรรมนี้
มใิ ชวา เราตอ งากรความรูค วามเหน็ มาคยุ อวดกนั ใหเ สียเวลา เราตอ งการธรรมะอนั ทีส่ ามารถจะ
มาแกไ ขปญ หาชวี ิตประจาํ วนั ได สามารถแกป ญหาหวั ใจได สามารถแกไ ขปญหางานการได
สามารถใชพ ลงั สมาธิไปสนบั สนนุ กจิ การงานทเ่ี ราทาํ อยูไดท กุ ประเภท จงึ จะชอื่ วา เปน การฝก
สมาธิแลว ไดผลคุมคาแกการเสียเวลา
บันทกึ ทา ยเลม
หนงั สอื สัมมาสมาธิ เลม น้ี ถูกจัดทาํ ขนึ้ เพือ่ ชวยการเผยแพรห ลักการปฏบิ ตั ธิ รรม
ของทานเจา คณุ พระภาวนาพศิ าลเถร (หลวงพอ พธุ ฐานิโย) ทที่ านไดมีเมตตาอนุเคราะหแ ก
คณะผูมจี ิตศรทั ธาในการศึกษาและปฏิบัติธรรม โดยพระคุณทา นไดโปรดเดินทางไปแสดงธรรม
ณ สถานที่ตา งๆ ซงึ่ คณะศษิ ยไดบันทกึ เทปไว และไดร วบรวมจัดพิมพเ ปนหนงั สอื เรอ่ื งธรรม
ปฏบิ ัติ และตอบปญ หาการปฏบิ ตั ธิ รรม ซ่งึ เลม คอ นขา งจะใหญ คณะผจู ดั ทําจงึ ไดตัดตอน เอา
บางตอนของหนงั สอื ธรรมปฏบิ ตั แิ ละตอบปญ หาการปฏบิ ัติธรรมออกมา เพ่ือจะไดป ระหยดั และ
ทําใหก ารเผยแพรเปน ไปไดอยางกวา งขวาง
หนงั สอื นจ้ี ะเปน คมู อื แกน กั ปฏิบตั ใิ หมเปนอยางดี จะชว ยใหไดแนวทางการปฏบิ ตั ิ
ธรรมอันเปน สมั มาสมาธิ และจะชวยทาํ ใหท า นผอู า นมคี วามมน่ั ใจในการปฏิบัตดิ วยตนเองมาก
ย่งิ ข้ึน