The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อิทธิปาฏิหาริย์เทวดา ป.อ. ปยุตโต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-18 19:12:23

อิทธิปาฏิหาริย์เทวดา ป.อ. ปยุตโต

อิทธิปาฏิหาริย์เทวดา ป.อ. ปยุตโต

Keywords: อิทธิปาฏิหาริย์เทวดา,ป.อ. ปยุตโต

๕๐ เร่ืองเหนือสามญั วิสัย

หลน จากสมาชิกภาพในชุมชนพทุ ธ ถอยกลบั ไปอยนู อกชุมชน
อารยะ (นากลัววาจะไดเ ปนกันมาเสยี อยา งนห้ี ลายครงั้ แลว)
ดงั น้ัน คําวา "เดนิ หนา" จึงเปนขอ เตอื นสาํ นกึ สําคัญท่จี ะตอ งมา
ดว ยกันเสมอกบั ความสํานึกในทาทีทีเ่ ปนขอบเขตของการปฏิบตั ิ๕๙

เมือ่ ใดเดินทางกา วหนาถึงขนั้ ท่ี ๓ เมอ่ื นน้ั จึงจะปลอดภยั
แท เพราะไดเ ขา อยูในชุมชนอารยะเปนโสดาบันขึ้นไป ไมม ีการ
ถอยหลงั หรือลงั เลใดๆ อกี มีแตจะเดนิ หนาอยา งเดยี ว เพราะ
เขา ถงึ ความหมายของพระรัตนตรัย ม่นั ใจในความเปน ไปตาม
เหตุผล จนมีศรทั ธาท่ไี มหว่ันไหว ไมตองอา งองิ ปจจยั ภายนอก ไม
วาสิ่งศักดส์ิ ิทธิ์หรือเทวฤทธิใ์ ดๆ และไมมกี ิเลสรนุ แรงพอที่จะใหทํา
ความชวั่ รายหรือใหเ กดิ ปญหาใหญๆ เปน ปมในใจท่ีจะตองระบาย
กับท้งั รจู ักความสขุ อันประณีตซง่ึ เกิดจากความสขุ สงบผอ งใส
ภายในแลว จึงมีความเขม แขง็ ม่ันคงในจริยธรรมอยา งแทจ ริง
ภาวะทีม่ คี ณุ ธรรมมีความสขุ และเปน อิสระ ซ่ึงอทิ ธิพลภายนอกไม
อาจมาครอบงาํ ชักจูงไดเพียงเทานี้ เปน ความประเสริฐเพยี งพอที่
เทพเจาเหลาเทวดาจะบูชานบไหว๖๐ และพอที่จะใหช ีวิตของผูน น้ั
เปน อุดมมงคลคือมงคลอนั สูงสุดอยูแ ลวในตัว

มนษุ ยเปนยอดแหงสตั วทีฝ่ กได เรยี กอยางสมยั ใหมวา มี
ศกั ยภาพสงู สามารถฝกไดท้ังทางกาย ทางจติ และทางปญญา ให
วเิ ศษ ทําอะไรๆ ไดประณีตวจิ ติ รพิสดารแสนอัศจรรย อยา งแทบไม
นา เปนไปได๖๑ การมัวเพลนิ หวังผลจากฤทธานุภาพและเทวานุ
ภาพดลบนั ดาล ก็คือการตกอยใู นความประมาท ละเลยปลอ ยให

อทิ ธปิ าฏหิ ารยิ - เทวดา ๕๑

ศกั ยภาพของตนสญู ไปเสยี เปลา และจะไมร ูจกั เตบิ โตในอริยมรรคา
สวนผูใ ดไมประมาทไมร รี อ เรง ฝก ฝนตนไมห ยดุ ยง้ั ผนู น้ั แหละจะ
ไดท ัง้ อิทธฤิ ทธ์แิ ละเทวฤทธ์ิ และจะบรรลสุ ง่ิ เลศิ ล้าํ ที่ท้ังฤทธานุภาพ
และเทวานุภาพไมอ าจอาํ นวยใหไ ด

๕๒ เรอ่ื งเหนือสามญั วสิ ยั

บันทกึ พิเศษทายบท

สําหรับผูสนใจเชิงวชิ าการ

บันทึกที่ ๑ :

อิทธปิ าฏิหารยิ ในคมั ภีร

การแสดงอิทธิปาฏิหาริยข องพระพทุ ธเจา เทาทพี่ บใน
พระไตรปฎกคอื

● ทรมานหัวหนาชฎิลช่ืออุรุเวลกัสสป (ทรมาน มาจาก ทม
นะ แปลวา ฝก คอื ทําใหหมดทฏิ ฐิมานะ หนั มายอมรับถอื ปฏิบัติ
ส่ิงที่ถกู ตอง ไมใ ชทาํ ใหเจ็บปวด) -วนิ ย.๔/๓๗-๕๑/๔๕-๖๐;

● ทรมานพกพรหม - ม.มู.๑๒/๕๕๑-๕/๕๙๐-๗; ส.ํ ส.๑๕/
๕๖๖/๒๐๘;

● ทรมานพรหมอกี องคห นง่ึ -สํ.ส.๑๕/๕๗๓/๒๑๑;
● แกค วามเหน็ ของสนุ กั ขัตต และแกคาํ ทา ของอเจลกช่ือ
ปาฏกิ บตุ ร -ที.ปา.๑๑/๔-๑๒/๖-๒๙;
● ทรมานโจรองคลุ ิมาล -ม.ม.๑๓/๕๒๔/๔๗๙;

อิทธปิ าฏหิ ารยิ - เทวดา ๕๓

● ทาํ ใหพระภกิ ษพุ วกหนงึ่ ประหว่ันใจแลวมาเฝาเพอื่
พระองคจ ะตรสั สอน - ส.ํ ข.๑๗/๑๖๗/๑๑๗;

● ทาํ ใหจาํ เพาะบางคนเห็นมหาบรุ ุษลักษณะในทเ่ี รนลบั -
ที.ส.ี ๙/๑๗๐/๑๓๖; ๑๗๕/๑๓๙; ม.ม.๑๓/๕๘๗/๕๓๑; ๖๐๘/
๕๕๓ = ข.ุ สุ.๒๕/๓๗๖/๔๔๓;

● แผเมตตาใหชา งรายนาฬาคีรีมีอาการเชอ่ื ง (ไมใช
อิทธิปาฏหิ าริยโดยตรง) - วนิ ย.๗/๓๗๘/๑๘๙;

● ผจญอาฬวกยักษ (ไมใชแ สดงฤทธิโ์ ดยตรง) -ส.ํ ส.๑๕/
๘๓๘/๓๑๔; ขุ.ส.ุ ๒๕/๓๑๐/๓๕๙;

● เรือ่ งทมี่ าในอรรถกถาเชน ยมกปาฏิหาริย แกคาํ ทาของ
พวกเดียรตถีย -ที. อ.๑/๗๗; ธ.อ.๖/๖๒; ชา.อ.๖/๒๓๑; (ทั้งน้ีอิง
บาลีใน ขุ.ปฏ.ิ ๓๑/๐/๔; ๒๘๔/๑๘๒ และ วินย.๗/๓๑/๑๔);

● ทรงนาํ พระภกิ ษุใหม ๕๐๐ รปู เทยี่ วชมธรรมชาติในปา
หมิ พานตแ กความคดิ ถึงคูรกั คูครอง - ชา.อ.๘/๓๓๕; เปนตน

การแสดงอทิ ธิปาฏิหาริยข องพระสาวกทีพ่ บในบาลี คือ

● พระปณ โฑลภารทั วาช แกคําทา เหาะขน้ึ ไปเอาบาตรบน
ยอดไผ (ตนบญั ญตั ิไมใหภกิ ษแุ สดงอทิ ธปิ าฏิหารยิ แกชาวบา น) -
วนิ ย.๗/๓๑/๑๔;

● พระมหาโมคคลั ลานปราบมาร - ม.ม.ู ๑๒/๕๕๙/๖๐๑;
● พระปลนิ ทวจั ฉะนําบตุ รของอุปฐากกลับคนื จากโจร -
วนิ ย.๑/๑๗๓/๑๒๕;

๕๔ เรอ่ื งเหนือสามญั วิสัย

● พระปลนิ ทวัจฉะอธษิ ฐานวงั พระเจาพิมพสิ ารเปนทอง
เพื่อชวยแกช าวบานจากขอหาโจรกรรม - วนิ ย.๒/๑๓๙/๑๑๙-
๑๒๑;

● พระทัพพมัลลบตุ รใชน้ิวเปนประทปี สองทางนําพระภกิ ษุ
ทงั้ หลายไปยังเสนาสนะตางๆ -วนิ ย.๑/๕๔๑/๓๖๙; ๖/๕๙๓/๓๐๖;

● พระสาคตะใชฤ ทธ์ิใหช าวบา นเห็น ทําใหต องแสดงฤทธิ์
ใหชาวบา นดูตอ พระพักตรเพือ่ ใหช าวบาน ใจ สงบพรอมท่ีจะฟง
ธรรม - วินย.๕/๑/๓;

● พระสาคตะปราบนาคของชฎลิ (ตน บัญญัติหามภกิ ษดุ ืม่
สรุ า) วินย.๒/๕๗๕/๓๘๓;

● พระเทวทัตทําใหเจาชายอชาตศตั รเู ลอ่ื มใส - วนิ ย.๗/
๓๔๙/๑๖๔;

● พระสารีบตุ รและพระมหาโมคคลั ลานก ลับใจหมูภกิ ษุ
ศษิ ยพ ระเทวทตั ดวยอนสุ าสนีปาฏิหาริยท่คี วบดว ยอิทธิปาฏหิ ารยิ 
และอาเทศนาปาฏิหาริย -วินย. ๗/๓๙๔/๑๙๘;

● พระมหกะบนั ดาลใหม ลี มเย็น แดดออ น และฝน ชวย
พระเถระท่ีกาํ ลงั เดนิ ยามรอนจดั จติ ตคฤหบดเี ห็นจึงขอใหท าํ ฤทธ์ิ
ใหดู และทานไดบ นั ดาลใหเกดิ ไฟ - สํ.สฬ.๑๘/๕๕๖/๓๕๗;

● พระมหาโมคคัลลานบ ันดาลใหเวชยันตปราสาท
สัน่ สะเทือนเพ่ือเตอื นสาํ นกึ ใหพ ระอนิ ทรไมมัวเมาประมาท ม.มู.
๑๒/๔๓๗ /๔๖๘;

อิทธิปาฏหิ ารยิ - เทวดา ๕๕

● พระมหาโมคคัลลานบันดาลใหมิคารมาตุปราสาท
สน่ั สะเทือนเพ่อื เตอื นสาํ นึกของพวกภิกษผุ จู ัดจานฟุงเฟอ - ส.ํ ม.
๑๙/ ๑๑๕๕/๓๔๖;

● พระอภภิ สู าวกของพระสขิ ีพุทธเจาแสดงธรรมโดยไมใ ห
คนเห็นตวั ใหเสยี งไดยินไปไดพันโลกธาตุ - สํ.ส.๑๕/๖๑๖/๒๒๙;
อง.ฺ ติก.๒๐/๕๒๐/๒๙๑; ขุ.ปฏิ.๓๑/๖๘๖/๕๙๖;

สวนเรอ่ื งทเี่ ลาในอรรถกถามีมากมาย เชน
● พระจุลลบันถกบนั ดาลใหเ ห็นตวั ทานเปน พันองค - อง.ฺ อ.
๑/๒๒๘,๒๓๕; ธ.อ.๒/๗๔; วิสทุ ฺธิ.๒/๒๑๙ (อิงบาลี ข.ุ ปฏิ. ๓๑/
๖๘๕/๕๙๒);
● พระมหาโมคคัลลานท รมานนันโทปนันทนาคราช -ชา.อ.
๗/๓๕๖; วิสุทธฺ ิ.๒/๒๓๓;
● พระปุณณะชว ยพอ คา ชาวเรอื จากการทํารายของ
อมนุษย - ม.อ.๓/๗๓๑-๔ (เพม่ิ ความจากปุณโณวาทสตู ร, ม.อุ.
๑๔/๗๖๔/๔๘๕ และมีเรือ่ งพระพุทธเจา เสดจ็ สุนาปรันตชนบท
เปน ทีม่ าของพระพทุ ธบาท ๒ แหง);
● สามเณรสงั กิจจะชว ยภกิ ษุ ๓๐ รูปโดยอาสาใหโจรจับตวั
ไปบชู ายัญแทน และกลับใจโจรไดหมด - ธ.อ.๔/๑๑๑;
● สุมนสามเณรปราบพญานาค - ธ.อ.๘/๘๙;
● พระสนุ ทรสมุทรเหาะหนีหญิงนางโลม - ธ.อ.๘/๑๕๒;ฯลฯ

เร่ืองฤทธิ์ของคนอนื่ มีมาในบาลบี า งบางแหง เชน

๕๖ เร่ืองเหนอื สามญั วสิ ยั

● พรหมสมั มาทิฏฐิทรมานพรหมมิจฉาทฏิ ฐิ - ส.ํ ส.๑๕/
๕๘๖/๒๑๕;

● ฤาษีชอ่ื โรหิตัสสะมฤี ทธ์ิเหนิ เวหาดว ยคามเร็วดงั วายา งเทา
เดยี วก็ขามมหาสมุทรไปแลว เหาะไปตลอด ๑๐๐ ปไมหยุดเลย กไ็ ม
ถงึ ทสี่ ุดโลก ตายเสยี กอ น - ส.ํ ส.๑๕/๒๙๗/๘๘; อง.ฺ จตกุ ฺก.๒๑/๔๕/๖๑;

● พระอนิ ทรแ ปลงเปนชา งหกู มาถวายบิณฑบาตแกพระ
มหากสั สป - ขุ.อ.๒๕/๘๐/๑๕๕;

สวนในอรรถกถามเี รอื่ งมากมาย โดยมากเปนการกระทํา
ของเทวดา ยักษ วิทยาธร ฤาษี ดาบสตางๆ ผูมีบทบาทมากทาน
หนึ่งคอื พระอนิ ทร ซ่ึงมกั แปลงกายบา ง ไมแ ปลงกายบา ง ลงมา
ชวยคนดีบาง ทดสอบความดขี องคนดีบา ง ดงั เชน แปลงเปนหนูมา
กัดเชอื กรดั ครรภป ลอมของนางจิญจมาณวิกา - ธ.อ.๖/๔๕; ชา.อ.
๖/๑๓๐; อิติ.อ.๑๑๓ และพบไดท่ัวๆ ไปในอรรถกถาชาดก ;

นอกจากน้ันมกี ลาวถงึ เปน กลาง มิใชเปน เหตกุ ารณเฉพาะครงั้

เฉพาะคราว เชน
● เปน เหตุหนึ่งของแผน ดินไหว - ที.ม.๑๐/๙๘/๑๒๖;
● แสดงความสาํ คัญของมโนกรรม - ม.ม.๑๓/๗๐/๖๓;
● เหตุใหอธิษฐานตนไมเ ปนดินกไ็ ด เปนนาํ้ ก็ได เปนตน -

อง.ฺ ฉกกฺ .๒๒/๓๑๔/๓๘๐ ;
● กลา วถงึ คนทเ่ี ปนโลกาธิปไตยเรงปฏิบตั ธิ รรม เพราะกลวั

วา สมณพรหมณแ ละเทวดาผูมีฤทธจ์ิ ะลวงรูจ ติ ของตน - อง.ฺ ติก.
๒๐/๔๗๙/๑๘๘

อิทธปิ าฏหิ ารยิ - เทวดา ๕๗

บนั ทกึ ท่ี ๒ :

การชวยและการแกลง ของพระอินทร

การชว ยเหลือของพระอนิ ทรนัน้ ดูเหมือนจะมิใชเ กิดจาก
เพยี งคณุ ธรรมเทานน้ั แตแทบจะถอื เปน หนาที่ทีเดียวเพราะมี
ขอ กําหนดกํากับอยูดวย คอื การท่อี าสนรอ นเปนสัญญาณเตือน
เรือ่ งอาสนรอนน้กี ็นาจะเปนหลกั ฐานอยา งหนึ่งทแ่ี สดงถงึ ชวงตอ
ของความเปลีย่ นแปลงจากการถูกบีบค้ันดวยแรงตบะหรือการ
บาํ เพญ็ พรตแบบเกา หันมาเนนในแงท ี่คุณธรรมความดขี องคน
เปนแรงเรง เราแทน และพระอนิ ทรใ นระยะชวงตอนี้ ก็ยงั เกย่ี วของ
กบั พลังบบี บังคับที่เกดิ จากตบะแบบเกาอยดู วย ในสถานการณ
บบี บงั คบั แบบเกาน้นั การปฏบิ ัติของพระอนิ ทรกม็ ักจะเปนไปใน
รูปของการแขง ขนั ชิงชยั ชงิ อาํ นาจกับมนษุ ยแบบโลกๆ ทตี่ ดิ มากบั
ระบบเกา เชน พยายามหาทางทาํ ลายตบะของมนษุ ยเ ปน ตน ซ่งึ
เห็นไดชดั วา ไมใ ชว ธิ ีการแหงคุณธรรมตามคติของพระพุทธศาสนา
(เชน โลมสกสั สปชาดก, ชา.อ.๕/๓๘๐; อลัมพสุ าชาดก, ชา.อ.๗/
๓๙๖; นฬินกิ าชาดก, ชา.อ.๘/๑) สว นเรื่องทเ่ี ขา สูคติของ
พระพุทธศาสนามากบา งนอยบา งมีมากมายหลายเร่ืองเชน ใน

● มหาสุวราชชาดก, ชา.อ.๕/๓๕๑;
● กัณหชาดก, ชา.อ.๕/๔๒๙;
● อกติ ติชาดก, ชา.อ.๖/๑๙๗;

๕๘ เรื่องเหนอื สามัญวิสยั

● สุรจุ ชิ าดก, ชา.อ.๖/๓๐๕;
● สีวริ าชชาดก, ชา.อ.๗/๓๗;
● สมั พุลาชาดก, ชา.อ.๗/๓๐๒;
● กสุ ชาดก, ชา.อ.๘/๑๓๓;
● เตมยิ ชาดก, ชา.อ.๙/๒;
● เวสนั ดรชาดก, ชา.อ.๑๐/๔๕๙;
● เร่อื งพระจกั ขบุ าล, ธ.อ.๑/๑๖;
● เรื่องสามเณร, ธ.อ.๘/๑๒๙ ฯลฯ
อนึ่ง พงึ สงั เกตดวยวา ตามเรอื่ งในชาดกเหลา น้ี เม่ือพระ
อินทรจ ะชวยนั้น มใิ ชจะชวยงายๆ โดยมากมกั จะมีบททดลองกอ น
เพอ่ื ทดสอบวามนษุ ยที่ทําดีนั้น มีความแนว แนม ั่นคงในความดีนนั้
แทจริงหรอื ไม อกี เร่อื งหน่งึ ทถ่ี ือวา แสดงคตพิ ทุ ธศาสนาอยา งสําคัญ
จดั เขา ในทศชาติ คอื มหาชนกชาดก ตามเรอ่ื งวา เม่ือเรอื แตกกลาง
ทะเล คนท้ังหลายหวาดกลัว รองไหว อนไหเทวดาตางๆ พระ
โพธิสตั วผูเ ดยี ว ไมร อ งไห ไมครํ่าครวญ ไมวอนไหวเ ทวดา คิดการ
ตา งๆ ตามเหตผุ ล และเพยี รพยายามสดุ กาํ ลงั ในทส่ี ุดมณเิ มขลา
เทพธดิ ารกั ษาสมุทรมาชว ยเองตามหนาทขี่ องเทวดา (ชา.อ.๙/ ๕๙)
อน่งึ นอกจากตรวจดูเองแลว พระอนิ ทรยังมีทา วโลกบาล
เปน ผูช วย คอยสง บริวารมาตรวจดคู วามประพฤติของชาวโลกไป
รายงานใหท ราบดว ย (อง.ฺ ตกิ .๒๐/๔๗๖/๑๘๐; อง.ฺ อ.๒/๑๕๖).

อทิ ธปิ าฏิหารยิ - เทวดา ๕๙

บันทกึ ที่ ๓ :

สจั กริ ิยา ทางออกท่ดี สี ําหรบั ผยู ังหวงั อาํ นาจดลบนั ดาล

สาํ หรบั ชาวพุทธในระยะพัฒนาขั้นตน ผูย งั หวง หรือยงั มี
เย่ือใยทต่ี ัดไมค อ ยขาดในเรือ่ งแรงดลบันดาลหรืออาํ นาจอัศจรรย
ตางๆ ประเพณพี ุทธแตเ ดิมมายงั มวี ิธปี ฏบิ ัติที่เปนทางออกใหอ ีก
อยางหนึง่ คือ "สจั กิริยา" แปลวา การกระทาํ สัจจะ หมายถึงการ
อางพลังสัจจะหรอื การอา งเอาความจริงเปน พลังบันดาล คอื ยก
เอาคุณธรรมท่ตี นไดประพฤตปิ ฏิบตั บิ ําเพ็ญมาหรอื มอี ยูตามความ
จรงิ หรอื แมแตสภาพของตนเองทีเ่ ปนอยูจรงิ ในเวลานัน้ ขึ้นมาอาง
เปน พลังอํานาจสาํ หรับขจัดปด เปาภยันตรายท่ีไดป ระสบในเม่ือ
หมดทางแกไ ขอยา งอ่นื วธิ ีการน้ไี มก ระทบระเทือนเสียหายตอ
ความเพียรพยายาม และไมเ ปน การขอรองวิงวอนตออํานาจดล
บันดาลจากภายนอกอยางใดๆ ตรงขาม กลับเปนการเสริมยาํ้
ความม่ันใจในคณุ ธรรมและความเพยี รพยายามของตน และทําให
มกี าํ ลงั ใจเขม แขง็ ยง่ิ ข้ึน อกี ทง้ั ไมต อ งยงุ เกยี่ วกับวัตถหุ รือพิธีที่จะ
เปนชองทางใหขยายกลายรูปฟน เผือออกไปได

สัจกิริยาพบบอยในคัมภีรพทุ ธศาสนารุนอรรถกถาเฉพาะ
อยางยิง่ ชาดก นบั เปนวิธีปฏิบัติที่ใกลจะถึงความเปนพุทธอยาง
แทจ รงิ ดังหลักฐาน (หลายเร่ืองมลี กั ษณะนา จะเหลอื เชื่อ แตคง
เปนธรรมดาของวรรณคดี);

๖๐ เรื่องเหนือสามัญวสิ ยั

● พิสจู นค วามเปน ลูก ชา.อ./๑/๒๐๖;
● ทําใหต นออ กลวง เพ่อื ชว ยฝูงลิงใหดื่มนาํ้ ไดโ ดยปลอดภยั
- ชา.อ.๑/๒๕๙, ม.อ.๓/๑๖๙;
● ลูกนกขอใหตนพน ภยั ไฟปา ชา.อ.๑/๓๑๙;
● ชว ยใหชนะสกา - ชา.อ.๒/๘๗;
● ใหเ ด็กหายจากพิษงู - ชา.อ.๕/๔๖๐;
● ใหเ รือพน ภัยจากทะเลรา ย ชา.อ.๖/๗๓;
● ใหประดานกพนจากที่กักขงั - ชา.อ.๖/๓๓๖;
● บริจาคพระเนตรแลว กลับมีพระเนตรขน้ึ ใหม - ชา.อ.๗/
๔๘ (อา งใน มลิ นิ ทฺ . ๑๗๐);
● ใหผูไปสละชีวติ แทนบดิ าปลอดภยั (มแี งอ ิงเทวดาบาง) -
ชา.อ.๗/๒๑๒;
● อางความซอ่ื สตั ยต อสามี ทําใหส ามีหายจากโรคเร้ือน -
ชา.อ.๗/๓๑๑;
● พระมเหสีขอใหมโี อรส - ชา.อ. ๙/๒;
● ใหพ นจากการจองจาํ เพราะถกู ใสความ - ชา.อ.๙/๕๔;
● ใหลูกหายจากพิษลกู ศร - ชา.อ. ๙/๑๕๒;
● ใหสวามที ่กี ําลังจะถูกบูชายญั พนภยั - ชา.อ.๑๐/๑๓๓;
● นางโสเภณใี หแมคงคาไหลกลบั - มิลนิ ฺท.๑๗๓;
● พระเจา อโศกของก่งิ มหาโพธโิ ดยไมต อ งตดั - วินย.อ.๑/
๙๕;

อิทธิปาฏิหารยิ - เทวดา ๖๑

● ใหพนจากการถกู ลงโทษใหช า งเหยียบในกรณีถูกใส
ความวา เปน โจร - ที.อ.๒/๔๑๒; (แต ชา.อ.๑/๓๐๑ วา เปน
อานภุ าพแหง เมตตา) ;

● ลูกอา งใจจรงิ ของแมใ หพนภยั ควายปาไล - ม.อ.๑/๒๗๖;
ส.ํ อ.๒/๑๘๖; สงฺคณี อ. ๑๘๔;

● องคลุ มิ าลประสงคค วามสวัสดีแกหญงิ ครรภแ ก - ม.อ.๓/
๓๑๓ (อางบาลี ม.ม.๑๓/ ๕๓๑/๔๘๕) ;

● ราชามหากปั ปนะขามแมน้าํ ดวยมา - สํ.อ.๒/๒๙๙;
อง.ฺ อ.๑/๓๔๘;

● พระราชเทวีทําอยางมหากัปปนะ - ธ.อ.๔/๔๙๑;
● เสี่ยงดอกไมไปบูชาและนิมนตพระพุทธเจา - องฺ.อ.๑/
๒๘๘;
● ใหล กู หายจากพษิ งู - อง.ฺ อ.๒/๑๗๖;
● ทาํ ใหส ามีหายปวย อง.ฺ อ.๓/๑๑๗ (แตบ าลวี าหาย
เพราะฟง โอวาทของภรรยา - อง.ฺ ฉกฺก.๒๒/๒๘๗/๓๓๒);
● เสย่ี งทายวามที ักขิไณยบคุ คลหรอื ไม - อง.ฺ อ.๓/๓๔๑;
มขี อทค่ี วรเสนอไวช วยกันพจิ ารณาอยางหนง่ึ วา บางที
ประเพณกี ารทําสัจกิริยา อาจเปนเครอ่ื งแสดงอยางหนง่ึ วา
จรยิ ธรรมยังมั่นคงแข็งแรงอยใู นสงั คมหรือไม การเสื่อมไปของ
ประเพณสี ัจกิรยิ าอาจแสดงถงึ ความเสื่อมถอยออนแอลงในทาง
จริ ยธรรม เพราะในเมอื่ ไมมีคณุ ธรรมที่จะตอ งใหเ กดิ ความม่นั ใจวา
ตนเอง ก็ตองหนั กลับไปอางและวิงวอนสิ่งศกั ดส์ิ ิทธ์ิมเี ทวฤทธเ์ิ ปน

๖๒ เรอ่ื งเหนือสามัญวสิ ัย

ตน คงเปนดวยเหตนุ ี้การกระทําตามระบบเดิม เชน การบนบาน
การวงิ วอน การสาปแชง การสบถสาบานผสมสาป (การสบถ
สาบานตามความหมายเดิมลว นๆ เปนเพียงคาํ มั่น แตทีท่ ํากันมาก
มีการอา งส่งิ ศกั ดสิ์ ทิ ธมิ์ าสาปแชงดวยวา ถา ทําหรือไมท าํ อยา งนัน้
ขอใหประสบผลรา ยอยา งนน้ั ๆ) จึงยนื ยงและแพรห ลายกวา.

อิทธปิ าฏิหาริย- เทวดา ๖๓

บันทกึ ที่ ๔ :

พระพุทธ เปนมนุษยหรอื เทวดา

คตพิ ระพุทธศาสนาเก่ยี วกบั เทวดานี้ เมอื่ ปฏบิ ัติใหถกู ตอง
ดวยความเขาใจ กท็ ําใหชาวพุทธอยูรว มกันไดดวยดีกบั ผูท่ียังนบั
ถือเทพเจา พรอ มท้ังสามารถรักษาหลกั การของตนไวไ ดดว ย
อยางไรก็ตาม บางทา นสังเกตวา ทาทเี ชนน้ีทําใหพระพทุ ธศาสนา
เสียเปรียบ เพราะคนทัว่ ไปมีความโนม เอยี งในทางที่จะไมม ่ันใจ
ตนเอง และครานท่ีจะคิดเหตผุ ล จึงมกั ถูกดึงลงไปสูลทั ธิไหวว อน
สง่ิ ศักดส์ิ ทิ ธิข์ อฤทธ์ิดลบนั ดาลไดงาย ขอ นีอ้ าจเปนจดุ ออนที่
พิจารณากนั ไปไดต างๆ แตปญหานา จะอยูท่ีวา เราไดย กเอา
ขอบเขตท่ีทา นวางไวข ้ึนมาปฏบิ ตั ิกันหรอื เปลา และคอยย้ําความ
เขาใจทถ่ี ูกตองกันไวห รอื ไม ยิ่งถา รูตวั วา มจี ดุ ออนอยแู ลว กค็ วรจะ
ยิ่งระมัดระวังรักษาหลกั การใหแข็งขนั ยิง่ ข้ึน มองอยา งหนึ่ง
เหมือนกับพูดวา ชาวพุทธฝายชาวบานจะไปนับถือกราบไหวยก
ยอ ง (แตไมใ ชออ นวอนหรือมัว่ สมุ ) เทพเจากับเขาอยางไรก็ได แต
อยานบั ถือใหสงู กวา ความสามารถของมนุษยทตี่ นมีอยูก ็แลว กัน
เทวดาจะสงู เทา ใดก็ได แตที่สงู สดุ น้ันคือมนษุ ย คอื ทา นผูเ ปน
ศาสดาของเทวะและมนุษยท้งั หลาย หรอื ถาไมค ลองใจท่ีจะนกึ ถึง
ภาพเทพเจาที่ตนเคยเคารพเทดิ ทนู มากราบไหวม นุษย ก็อาจจะ
มองมนษุ ยผสู งู สดุ ใหมอีกแนวหน่งึ วา เปน ผไู ดพ ฒั นาตนจนถึง
ภาวะสูงสุดพน ไปแลวทง้ั จากความเปนเทพเจาและความเปน

๖๔ เร่ืองเหนอื สามญั วิสัย

มนษุ ย โดยขอใหพิจารณาพุทธพจนดังตอ ไปนี้ (ขอ ความมลี ักษณะ
เลนถอ ยคาํ จึงแปลรักษาสํานวนเพือ่ ผูศึกษามีโอกาสพิจารณา)

ครง้ั หนึ่ง เมื่อพระพทุ ธเจากาํ ลงั เสดจ็ พุทธดําเนนิ ทางไกล
พราหมณผหู น่ึงไดเ ดนิ ทางไกลทางเดยี วกับพระองค มองเห็นรูป
จกั รท่ีรอยพระบาทแลวมีความอศั จรรยใจ ครั้นพระองคเสดจ็ ลงไป
ประทบั นัง่ พกั ท่ีโคนไมต นหน่งึ ขางทาง พราหมณเดินตามรอยพระ
บาทมา มองเห็นพุทธลักษณาการที่ประทับน่ังสงบลึกซึ้งนาเลื่อมใส
ยิ่งนัก จึงเขาไปเฝา แลวทูลถามวา "ทานผูเจริญคงจกั เปนเทพเจา"
พระพุทธเจา ตรสั ตอบวา "แนะพราหมณ เทพเจาเราก็จกั ไมเปน"
ทลู ถามตอ ไปวา "ทานผูเจริญคงจักเปน คนธรรพ" ตรสั ตอบวา
"คนธรรพเราก็จกั ไมเปน" "ทา นผเู จริญคงจักเปนยักษ" "ยกั ษเ ราก็
จักไมเ ปน" "ทานผูเจรญิ คงจกั เปน มนษุ ย" "มนษุ ยเ ราก็จักไมเ ปน"
ทูลถามวา "เมอ่ื ถามวา ทานผูเจริญคงจกั เปนเทพ ทา นกก็ ลา ววา
เทพเรากจ็ ักไมเปน เม่ือถามวา ทานผูเจริญคงจกั เปน คนธรรพ…
เปน ยักษ…เปน มนุษย ทานก็กลาววา จกั ไมเปน เมอื่ เชนน้ันทานผู
เจริญจะเปนใครกันเลา" ตรัสตอบวา "นแี่ นะพราหมณ อาสวะเหลา
ใดท่ีเมือ่ ยงั ละไมไดจ ะเปนเหตใุ หเ ราเปนเทพเจา.เปน คนธรรพ ...
เปน ยักษ...เปนมนุษย อาสวะเหลา น้ันเราละไดแ ลว ถอนรากเสีย
แลวหมดส้ิน ไมมที างเกิดขึ้นไดอกี ตอไป เปรียบเหมอื นดอกอบุ ล
ดอกปทุม ดอกบณุ ฑรกิ เกิดในน้าํ เจริญในนาํ้ แตต ั้งอยูพนนา้ํ ไม
ถูกนํ้าฉาบตดิ ฉนั ใด เราก็ฉันนั้นเหมอื นกนั เกิดในโลก เติบโตข้ึน
ในโลก แตเปนอยูเหนอื โลก ไมต ิดกลั้วดว ยโลก ฉันนั้น; นีแ่ นะ
พราหมณ จงถือเราวา เปน ‘พทุ ธ’ เถดิ " (อง.ฺ จตุกกฺ .๒๑/๓๖/๔๘)

อิทธิปาฏิหารยิ - เทวดา ๖๕

เชิงอรรถ

๑ น โสเธนฺติ มจจฺ ํ อวิตณิ ฺณกงฺขํ (ข.ุ ส.ุ ๒๕/๓๑๕/๓๗๔)
๒ หลักขอน้ี รวมอยูในเกณฑว นิ จิ ฉยั ความหมายและคณุ คา ของ

พุทธธรรม ซ่ึงเปนอกี บทหนึ่งตา งหากในหนงั สอื พทุ ธธรรมฉบับ
สมบูรณ
๓ ที.ปา.๑๑/๒-๓/๓-๔; พึงเทียบกบั พุทธพจนทแ่ี สดงสง่ิ ที่ทรง
พยากรณแ ละไมทรงพยากรณ ใน ม.ม.๑๓/๑๕๐-๑๕๒/๑๔๗-
๑๕๓ ดวย
๔ ขุ.สุ.๒๕/๓๑๕/๓๗๔ (คาํ วา การบําเพ็ญพรตหมายจะเปน
เทวดาน้ัน แปลตาม สุตฺต.อ.๒/๖๖ รูปศพั ทเปน อมรา ถา แปล
ตามรปู ศัพท ก็ไดความเพียงวา เทวดาทง้ั หลาย กด็ ี)
๕ คําชแี้ จงเกยี่ วกบั อิทธปิ าฏิหาริย ในฐานะเปนอภิญญา พรอ ม
ท้ังหลักฐานอางองิ ท้งั หลาย ไดแสดงไวแ ลวอยา งมากมายใน
ตอนกอน ๆ
๖ ที.สี.๙/๓๓๙-๓๔๒/๒๗๓-๖; ที.ปา.๑๑/๒๒๘/๒๓๒; องฺ.ตกิ .
๒๐/๕๐๐/๒๑๗; ขุ.ปฏ.ิ ๓๑/๗๑๘-๗๒๑/๖๑๖-๘
๗ ดู เกวฏั ฏสูตร, ที.ส.ี ๙/๓๓๘-๓๕๐/๒๗๓-๒๘๓
๘ ดู อง.ฺ ติก.๒๐/๕๐๐/๒๑๗-๒๒๐
๙ ที.ปา.๑๑/๙๐/๑๒๒; อธบิ ายใน ขุ.ปฏ.ิ ๓๑/๖๙๐/๕๙๙
๑๐ ดู วตั ถปุ ระสงคของการปฏิบตั ิเชน นี้ใน อง.ฺ ปฺจก.๒๒/๑๔๔ /
๑๘๙; ฤทธิ์ประเภทน้ีเปนพวกเมตตาเจโตวมิ ุตติ ซง่ึ ถึงข้ันเปน
สุภวิโมกข เกิดจากเจริญโพชฌงคประกอบดวยเมตตาก็ได (ส

๖๖ เรอ่ื งเหนือสามญั วสิ ัย

.ม.๑๙/๕๙๗/๑๖๔); เปนผลของการเจรญิ สติปฏ ฐาน ๔ ก็ได
(ส.ม.๑๙/๑๒๕๓-๑๒๖๒/๓๗๖-๙); เปนผลของการเจริญ
สมาธกิ ไ็ ด (ส. ม.๑๙/๑๓๓๒-๖/๔๐๑-๓); บางแหง เรยี กผปู ฏบิ ัติ
ไดเ ชน น้ีวา อริยชนผูเ จริญอนิ ทรียแลว (ม.อ.ุ ๑๔/๘๖๓/๕๔๖)
๑๑ วินย.๗/๓๓/๑๖; อรรถกถาอธบิ ายวา ทรงหามแตวิกุพพนฤทธ์ิ
(ฤทธผิ์ นั แผก คือเปลย่ี นจากรูปรา งปกติ เชน แปลงตัวเปน
ตา งๆ เนรมิตใหเห็นส่ิงตา ง ๆ พดู แตไ มใ หเหน็ ตัว ใหเ ห็นตัว
ทอ นเดียว เปนตน ) ไมหา มอธษิ ฐานฤทธิ์ (เชน อธษิ ฐานตวั เปน
หลายคน เดินน้ํา ดําดนิ เปน ตน ) ดู วนิ ย.อ.๓/๓๓๗ แต
คําอธิบายนีด้ ูไมน า นิยม
๑๒ ขุ.ปฏ.ิ ๓๑/๗๑๘-๗๒๒/๖๑๖-๖๒๐
๑๓ อง.ฺ ตกิ .๒๐/๕๘๔/๓๗๕; อง.ฺ ทสก.๒๔/๒๑๗/๓๕๓
๑๔ อิทธมิ ทะ (เปนพวกเดียวกับเมาความรู เมาศลี เมาฌาน เปน
ตน) ดู อภ.ิ วิ.๓๕/๘๔๙/๔๖๘)
๑๕ วิสทุ ธ.ิ ๑/๑๑๒,๑๒๒
๑๖ แตอ ยา ลมื วา การตัง้ ใจใชความประพฤตศิ ลี และวัตรเปน เคร่อื ง
ชักจูงผูกหมูชนไวก ับตน เพื่อผลในทางช่ือเสยี ง ความยกยอ ง
สรรเสรญิ หรือลาภ ก็เปน ส่งิ ทพี่ ระพุทธเจาทรงติเตยี นมาก
เชนเดียวกัน
๑๗ ของขลงั สิง่ ศกั ด์สิ ทิ ธ์ิ อาํ นาจลึกลบั น้ัน รวมถึงส่ิงทีท่ านเรียกวา
ติรจั ฉานวชิ าบางอยา งดว ย (ตริ จั ฉานวชิ า คือ วิชาที่ขวางตอ
ทางสวรรคนิพพาน หรอื วชิ าภายนอกท่ไี มเขากบั จุดหมายของ
พระศาสนา โดยมากเปนวชิ าจําพวกการทาํ นายทายทกั และ

อิทธปิ าฏหิ ารยิ - เทวดา ๖๗

การรักษาโรคตา ง ๆ ซ่ึงจะจัดเปนความบกพรอ งเสยี หายใน
ดา นศลี หากภกิ ษุนาํ มาใชเปน เครือ่ งมอื หาเล้ยี งชพี หรอื หาลาภ
สักการะ ติรัจฉานวชิ า เปนคนละอยา งกันกับอทิ ธิปาฏิหาริย,
ติรัจฉานวชิ า มาใน ที.ส.ี ๙/๑๙-๒๕/๑๑-๑๕ และกลา วซา้ํ ไวอ กี
หลายสตู รในพระไตรปฎกเลม ๙ นน้ั , มีสกิ ขาบทหามเรียนหา ม
สอนใน วินย.๓/๓๒๒/๑๗๗; ๗/๑๘๔/๗๑ อธบิ ายใน ที.อ.๑/
๑๒๑; นิทฺ.อ.๒/๑๑๗ เปนตน )
๑๘ อยาลมื วา หลักพง่ึ ตนเอง เปนตัวของตัวเอง นี้ ทา นใหส มดุลย
ดว ยหลกั การเคารพ หรือคารวธรรม ทก่ี ลา วแลว ในตอนกอ น
และพึงสงั เกตวา ผูเปนอิสระแลว อยางแทจ ริง กลับเปน ผเู ชอื่
ฟง คําส่งั มวี นิ ัยอยางย่งิ (การเชอื่ ฟงกับความเชื่อทเี่ รยี กวา
ศรทั ธามีแงตางกัน การเช่ือฟง หรอื ปฏบิ ตั ิตามคําสั่งอยา งมวี นิ ยั
นั้นเกิดจากศรทั ธาอยา งหนง่ึ เกดิ จากปญ ญาอยางหน่งึ พระ
อรหนั ตป ฏิบัติตามคาํ สง่ั รกั ษาระเบียบวนิ ยั ดวยปญญา).
๑๙ อทิ ธิปาฏหิ าริยใ นคมั ภีร ดู บนั ทึกพเิ ศษทายบท
๒๐ อามสิ ฤทธ์ิ (ความสาํ เร็จหรอื ความรงุ เรืองทางวัตถุ, วตั ถุรุงเรอื ง
หรอื วัตถเุ ปนแรงบนั ดาล) และ ธรรมฤทธ์ิ (ความสําเรจ็ หรือ
ความรุงเรอื งแหงธรรม, ธรรมรุงเรือง หรือธรรมเปนแรงบนั ดาล)
มาใน อง.ฺ ทกุ .๒๐/๔๐๓/๑๑๗; อนึง่ ความมรี ูปโฉมงาม
ผิวพรรณผุดผอง ความมีอายยุ ืน ความมีสขุ ภาพดี ความมี
เสนห ผ ูคนชอบชมอยูใกล กเ็ รยี กวาเปนฤทธเ์ิ ชนกัน (ดู ที.ม.
๑๐/๑๗๑/ ๒๐๔; ม.อ.ุ ๑๔/๔๙๖/๓๓๐)

๖๘ เร่ืองเหนอื สามญั วิสัย

๒๑ ที.ส.ี ๙/๓๔๓/๒๗๗ และ ส.ส.๑๕/๒๙๗/๘๘; อง.ฺ จตกุ กฺ .๒๑/
๔๕/๖๑ (เคยอางแลวทงั้ สองเร่ือง)

๒๒ วนิ ย.๗/๓๕๐/๑๖๔ (เคยอา งแลว); อยางไรกด็ ี ถาความคดิ ราย
รุนแรงขึ้น ฤทธิก์ ็เส่อื มได เพราะฤทธิต์ องอาศยั ฌานสมาบัติ
เปนฐาน และผูจ ะเขา ฌานสมาบัตไิ ด ตองทาํ จติ ใหบริสุทธผ์ิ อง
ใส ปราศจากนิวรณ.

๒๓ คําวา เทวดา หรอื เทพ ใชคลมุ ถึงพรหมทั้งหลายดวย โดย
แบงเปนเทวดาชนั้ กามาวจร (ผยู งั เกยี่ วของกับกาม บางที
เรียกวา ฉกามาพจรสวรรค หรอื สวรรคชั้นที่ยงั เกี่ยวของกบั
กาม ๖ ช้ัน คอื จาตุมหาราชกิ า ดาวดงึ ส ยามา ดสุ ิต
นมิ มานรดี และ ปรนิมมติ วสวตั ดี) ตอจากนั้นมีเทพชนั้ รปู าว
จร (รูปพรหม) ๑๖ ช้นั และสงู สดุ มเี ทพช้ันอรปู าวจร (อรูป
พรหม) (ดู สงคฺ ห.๒๙ เปน ตน )

๒๔ ดู อง.ฺ นวก.๒๓/๒๒๕/๔๐๙
๒๕ ขุ.อิต.ิ ๒๕/๒๖๑-๒/๒๘๙-๒๙๐.
๒๖ อง.ฺ อฏ ก.๒๓/๑๑๙/๒๒๙
๒๗ ดู เคา อง.ฺ อ.๓/๓๔๕
๒๘ อบายภูมิ มี ๔ คอื นรก ดริ จั ฉาน เปรต และอสุรกาย (ขุ.อติ .ิ

๒๕/๒๗๓/๓๐๑ เปน ตน).
๒๙ ใน อง.ฺ อฏ ก.๒๓/๑๖๑/๓๑๔ มพี ุทธพจนวา ตอ เมอ่ื

พระพทุ ธเจาทรงมีอธเิ ทวญาณทสั สนะครบ ๘ ปริวฏั ฏ (รอบท้ัง
๘ ดานคอื ๑. จําโอภาสได ๒. เหน็ รูปทั้งหลาย ๓. สนทนากัน
ไดก บั เทวดาเหลา นั้น ๔. รูวา เทวดาเหลานน้ั มาจากเทพนิกาย

อิทธิปาฏหิ ารยิ - เทวดา ๖๙

ไหน ๕. รูว า เทวดาเหลานัน้ จตุ ิจากที่นี้ไปเกิดท่ีน้ันดวยวิบาก
ของกรรมใด ๖. รูวา เทวดาเหลาน้ันมีอาหารอยา งไร เสวยสขุ
ทุกขอ ยางไร ๆ ๗. รวู าเทวดาเหลาน้ันมอี ายุยืนยาวเทา ใด ๘.
รวู าพระองคเคยอยูรว มกับเทวดาเหลาน้ันหรือไม) จึงจะทรง
ปฏญิ าณไดวาทรงบรรลุแลวซ่ึงอนุตรสมั มาสัมโพธญิ าณ, อธิ
เทวญาณทสั สนะนน้ี าจะแปลวา ญาณทสั สนะของพระผู
เหนอื กวาเทพ หรือญาณทสั สนะท่ีทาํ ใหทรงเปนผูเหนอื กวา
เทพ (เทยี บคําแปลกับ ขุ.จู.๓๐/๖๕๔/๓๑๒; นิทฺ.อ.๒/๓๒๘
สุตฺต.อ.๒/๕๓๐) เพราะทาํ ใหทรงรูจกั เทวดาดีย่ิงกวาทีพ่ วก
เทวดารจู กั ตนเอง (เชน พระพรหมไมรอู ายุของตน จงึ เขา ใจ
ตนเองผิดวา ไมเ กดิ ไมตาย) อธิเทวญาณทัสสนะน้ี เปน สวนหนึ่ง
ของทพิ ยจกั ษุ (ดู ม.อ. ๓/๓๐๕) จงึ เปนคุณสมบตั จิ ําเปน อยาง
หนง่ึ สาํ หรับความเปนสัมมาสมั พุทธะ เชน เดียวกับตถาคตพล
ญาณขออ่ืน ๆ แตไ มจ าํ เปนสาํ หรับการบรรลุอรหตั ตผลหรือ
นิพพาน (แตเดิมมาตัง้ แตก อ นพทุ ธกาล ความนับถือเทวดา
เปนของสามญั และฝงรากลกึ ดงั นนั้ การจะแสดงความ
ประเสรฐิ ของมนุษยไดก็ตองใหเ หน็ วามนุษยสามารถจะทําตน
ใหเหนือกวา เทวดาไดอยา งไร).
๓๐ ส. ส.๑๕/๕๘๖/๒๑๕
๓๑ ม.ม.ู ๑๒/๔๓๗/๔๖๘
๓๒ สํ.ส.๑๕/๘๖๔/๓๒๒
๓๓ โลกมนุษยไ มสะอาดมกี ลิ่นเปน ทร่ี ังเกียจแกเ ทวดา (ดู ที.ม.๑๐/
๓๐๖/๓๖๒; ขุทฺทก.อ.๑๒๙; สตุ ตฺ .อ.๒/๘๖)

๗๐ เรอ่ื งเหนอื สามัญวสิ ัย

๓๔ ขุ.ชา.๒๗/๕๐๕/๑๒๘; ชา.อ.๔/๒๒๗-๒๓๔
๓๕ ธ.อ.๕/๑๐; ชา.อ.๑/๓๓๙
๓๖ ดู เรอ่ื งพระโกณฑธาน, อง.ฺ อ.๑/๒๘๔; ธ.อ.๕/๔๗
๓๗ เชน ขุททก.อ.๒๖๑; สุตฺต.อ.๑/๒๔๖; ธ.อ.๒/๑๒๘
๓๘ เชน ปพภารวาสตี สิ สเถรวัตถ,ุ ธ.อ.๘/๑๒๓
๓๙ ไดก ลาวขางตน แลว วาจะพูดไปตามเร่ืองราวในคัมภีร ไมแ ปล

ความหมายทางนามธรรม
๔๐ เขตอาํ นาจของมาร เรยี กวา มารไธย (มารเธยฺย); ดู ม.อ.๑/

๔๕; สตุ ฺต.อ.๑/๕๔
๔๑ ดู ชา.อ.๑/๑๑๓; พุทธ.อ.๕๒๑
๔๒ ดู ม.มู.๑๒/๕๕๖/๕๙๗
๔๓ อง.ฺ จตกุ ฺก.๒๑/๑๕/๒๒
๔๔ ดู ข.ุ อิต.ิ ๒๕/๒๖๐/๒๘๘; ขุ.เถร.๒๖/๓๗๙/๓๕๙; ขุ.เถรี.๒๖/

๔๗๑/๔๘๙
๔๕ การชวยและการแกลง ของพระอนิ ทร ดู บันทกึ พิเศษทา ยบท
๔๖ เทียบกบั สภาพปจจุบัน นา สังเกตวา มนุษยใ นบัดนี้ดูเหมอื นจะ

หนกั ในการออ นวอนมาก ถาเพียรพยายามกอ นจึงออ นวอนก็
พอทําเนา แตทม่ี มี าก กลับเปน วา ตนไมไดพ ากเพียรอะไร กไ็ ป
บวงสรวงออ นวอนเทวดา สว นเทวดาเลา ก็รอการออนวอนกอ น
จงึ มา และใครออนวอนก็มาชวยคนน้ัน ไมตอ งคาํ นงึ วา เขาทํา
ดหี รอื ไม ที่จะทดลองทดสอบความดีกอ นเปนอันไมต องพูดถึง
ถาเปนอยางน้ี ลองมาทายกันวาเทวดาท่ีลงมาจะเปน เทวดา
แบบไหน นาเกรงไหมวา เทวดาใฝลาภ และเทวดาสวมรอยจะ

อทิ ธปิ าฏหิ ารยิ - เทวดา ๗๑

มากันมาก หรือไมก ็เทวดาใจออน ท่ีมวั มาขลุกขลยุ กบั มนุษย

จนพาเสียไปดว ยกัน
๔๗ ถา จะใหถูกแท ควรวา "การเพียรพยายามทําดี เปน คณุ ธรรม

ของมนษุ ย การชวยเหลือคนทําดเี ปนคุณธรรมของสวรรค" แต

ใชค ําวาหนาที่ เพราะฟงงายและกําชับการปฏิบัตมิ ากกวา
๔๘ มีขอ สังเกตวา ชาวไทยพุทธสมัยเกา ที่เช่อื ผีสางเทวดา เม่ือจะ

ทําการใดที่อาจกระทบกระเทือนเทวดา เขาพูดวาใหบอกกลาว

เทวดาหรอื บอกกลาวพระภูมิเจาที่ ขอน้ีอาจเปนหลักฐานอยาง

หนึ่งท่ีแสดงถึงการปรับตัวเขาสูแนวทางของพระพุทธศาสนา

เปลยี่ นจากการเซนสรวงสงั เวยอยางพราหมณ แตการ

บวงสรวงบนบาน กลบั มาเฟอ งฟใู หมใ นสมัยปจ จุบัน ทง้ั นี้

นาจะเปนเพราะวา ในเม่อื คนไมเขา ใจทาทีแบบพุทธตอเทวดา

ก็จึงมแี ตคน ๒ พวกเถยี งกันอยูคอื พวกวา เทวดามี กับพวกวา

เทวดาไมม ี จะเถยี งกันอยางไรก็ตาม พวกทเ่ี ชอื่ วามีกย็ งั มีอยู

และท่มี ากก็คือพวกทร่ี ะแวงไวก อนวามี พวกทวี่ ามีและระแวง

วา มี ก็ไมรูวิธปี ฏิบตั อิ ยา งอนื่ นอกจากการบวงสรวงออ นวอน

ดงั นั้น ทง้ั ท่ีมกี ารดุวาใหเลิกบวงสรวงออนวอนเทวดา แตก าร

บวงสรวงออนวอนบนบานน้ัน กก็ ลบั ยิง่ แพรหลายงอกงาม

ยิง่ ข้ึน ขอสังเกตน้จี ะเปน จรงิ หรือไมขอใหผ มู ีโอกาสชว ยกัน

คนควา มาบอกกนั ตอไป.
๔๙ คาํ วาส่งิ ศกั ด์ิสทิ ธ์ิ นาจะเปนคําทค่ี ลมุ เครอื และกวางเกินไป ใน

บรรดาส่งิ ของจําพวกน้ี สว นท่ีพอจะอางพทุ ธานญุ าตไดค งจะมี

แตม งคลอยา งเดยี ว ดงั นั้น ในวงการพทุ ธนา จะจาํ กดั ไมใชคํา

๗๒ เร่ืองเหนือสามญั วิสยั

วา สง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ ใชแตคาํ วามงคล เพ่อื ขดี วงใหแ คบเขา และงาย
แกก ารตะลอ มเขา สธู รรม (แตม งคลเอง เดี๋ยวน้ี ก็ใชกันพรา).
๕๐ อง.ฺ ปฺจก.๒๒/๑๗๕/๒๓๐
๕๑ วนิ ย.๗/๑๒๐-๔/๔๖-๕๐; ม.ม.๑๓/๔๘๖/๔๔๐; อรรถกถา
(วนิ ย.อ.๓/๓๔๕; ม.อ.๓/๒๙๙; ธ.อ.๖/๓) ขยายความวา
เจา ชายโพธไิ มทรงมโี อรสหรอื ธิดา ไดท รงใหป ลู าดผา ครง้ั นน้ั
โดยต้ังความปรารถนาวาถา จะทรงไดโ อรสก็ขอใหพระพทุ ธ
องคทรงเหยียบผา นั้น พระพทุ ธเจา ทรงทราบวา เจาชายจะไมม ี
โอรสธิดาจึงไมทรงเหยยี บ และไดทรงบัญญตั ิสกิ ขาบทหาม
ภกิ ษุทัง้ หลายเหยียบผืนผา เพราะทรงประสงคจะอนเุ คราะห
ภกิ ษุสงฆในภายหลงั เพราะในพุทธกาลมีภิกษทุ ่ีรจู ิตผูอ่นื อยู
มาก ภกิ ษเุ หลาน้ันยอ มเหยยี บหรือไมเหยียบไดต รงตาม
ความคิดของชาวบานเจาของผา น้นั แตนานไปภกิ ษุหลงั
พทุ ธกาลทําไปโดยไมรไู มเ ขาใจ ชาวบานก็จะติเตียนเอาวา พระ
สมัยนีไ้ มเกงเหมอื นอยางสมยั กอน จงึ ทรงบัญญัตสิ กิ ขาบทไว
เปนการชวยคมุ ครองภิกษรุ นุ หลังท้ังหลาย และอธิบายตอไป
วา ในกรณีทีห่ ญิงแทงไปแลว หรือมีครรภแก เขาขอเพือ่ เปน
มงคลจงึ เหยียบได ถาพิจารณาตามแนวของอรรถกถา อาจ
มองเหน็ ความตอ ไปวา กรณขี องเจาชายโพธิเปนการบนบาน
ขอลกู จงึ ทรงบัญญตั ิไมใ หเ หยียบ สวนกรณีของหญงิ แทงบตุ ร
เปน การขอเพ่ือเปนสริ มิ งคลเทานั้น จึงทรงอนญุ าตใหเ หยียบ
อยา งไรก็ดี ถาไมด อู รรถกถา พจิ ารณาอยา งพ้นื ๆ ตามเรอ่ื งใน
บาลี จะสันนษิ ฐานความไดใหมท ดี่ ูจะสมเหตผุ ลอยูมากวา ที่

อทิ ธิปาฏิหารยิ - เทวดา ๗๓

ไมทรงเหยียบผา ท่ีวงั ของเจาชายโพธิ กเ็ พราะทรงรักษา
มรรยาท พระองคเ สด็จมาถึงยงั ไมไ ดลา งพระบาท จึงไมทรง
เหยยี บ เพราะไมประสงคจ ะใหผ าเปอนสกปรก (มอี นุบัญญตั ิ
ตอไปดวยวา ถาภกิ ษลุ างเทาแลว อนุญาตใหเหยยี บได) สว น
กรณีของหญิงนนั้ ทรงยกเวนให เพราะเขาขอรองเองโดยมี
เหตุผลวา ตองการมงคล.
๕๒ มงคล เปนคนละอยางกันกบั เร่อื งอทิ ธิปาฏหิ าริย แตนํามารวม
ไวในทน่ี ี้ดว ย เพราะเม่อื พดู ในทางปฏิบตั ิแลวกม็ ีขอ พจิ ารณา
คลายคลึงกนั เชน ในแงผลดผี ลเสยี และการวางทาทีทีถ่ ูกตอง
เปนตน; แตวาโดยความหมาย อิทธปิ าฏิหาริยเปนเรอื่ งของ
ความสามารถพิเศษของตัวผูทาํ อิทธิปาฏหิ าริยเอง สว นมงคล
มีที่มมี าไดห ลายแง เชน อาจเชอ่ื วาบคุ คลหรือสิ่งที่ใหมงคลนี้ มี
ความศักดสิ์ ิทธิอ์ ทิ ธานุภาพหรอื อํานาจพเิ ศษเปนของตนเองก็
ได อาจเชื่อวา บคุ คลหรอื สิ่งนนั้ เปนสือ่ หรอื ทางผานของอาํ นาจ
ศักด์ิสิทธ์ทิ เ่ี รนลับอยตู า งหากก็ได หรืออาจเชื่ออยา งประณตี
ขึ้นมาอีกวา บคุ คลหรือสิง่ น้ันทรงไวซ งึ่ คณุ ธรรมความดงี าม
ความสุข ความบริสุทธิ์ จึงเกดิ เปนความศักดิ์สทิ ธิห์ รือเปน
มงคลขึ้นมาในตัวเอง อยา งทีช่ าวบานจํานวนมากเชอ่ื ตอ
พระสงฆเ ปนตน ก็ได; มงคลน้ีมสี วนไปเกย่ี วขอ งอยูในเร่ือง
ติรจั ฉานวชิ าไมนอ ย (ติรจั ฉานวชิ าเปนคนละเรื่องกนั กับ
อิทธิปาฏหิ าริย) เพราะคนเห็นตริ ัจฉานวิชาบางอยางเปน
แหลง ทีม่ าของมงคล ติรัจฉานวชิ านัน้ ถาภิกษุใชเปนเครอื่ ง

๗๔ เรื่องเหนอื สามัญวิสยั

เล้ยี งชพี แสวงหาลาภ กเ็ ปนมจิ ฉาชีพ จดั เปนความบกพรอง
ดา นศลี (โดยมากรวมอยูใ นเรื่องมหาศีล)
๕๓ ปราชญสมยั ใหมบ างทานเห็นวา ความโอนออ นผอ นตาม
(permissive) จนเกินไป เปนลกั ษณะอยา งหน่ึงของ
พระพุทธศาสนา และลกั ษณะน้ีนบั วาเปนจุดออนสาํ คัญของ
พระพทุ ธศาสนาดว ย ในขอนี้ ผเู ขยี นขอแสดงความเห็นวา
ความโอนออนผอ นตามโดยไมวางหลักและขอบเขตของตนไว
เปน จุดยืนที่แนนอน จึงจะเปนจุดออนทเี่ สียหาย แตพ ทุ ธ
ศาสนามจี ดุ ยืนที่แนนอน เชนในเรื่องสงิ่ เหนอื สามญั วิสยั น้ี ก็จะ
มองเหน็ หลักการและขอบเขตท่เี ปนจุดยืนไดช ดั เจน ปญหาอยู
ทวี่ า เราเขาใจจุดยืนของพทุ ธศาสนากันดีหรือไม อกี ประการ
หนึ่ง ความโอนออ นผอนตามน้ัน ถงึ จะมจี ดุ ยืน กย็ ังมีผลเสียอยู
บาง แตกระนน้ั ผลดีทไ่ี ดจากเหตผุ ลแงอ น่ื เชนท่ีวิจารณไวใ น
หนา แรกของตอนนี้ กน็ ับวามากพอคมุ ได.
๕๔ เชน อง.ฺ จตุกฺก.๒๑/๖๑/๘๙; อง.ฺ ปจฺ ก.๒๒/๔๑/๔๙
๕๕ วนิ ย.๕/๗๓/๙๒; ที.ม.๑๐/๘๔/๑๐๕; ขุ.อ.ุ ๒๕/๑๗๓/๒๒๑ (มี
ขอสังเกตสําคญั ๒ อยา ง สําหรับบาลีตอนนคี้ อื ๑. เปนพุทธ
พจนท ี่ตรัสแกพราหมณ คอื พวกท่ีนิยมลัทธบิ ชู ายัญเซน สรวง
เทพเจามาแตเดมิ ๒. ความเช่อื สมัยนั้นมีวา เมอ่ื มนุษยส ราง
สถานทีส่ ําคัญ ๆ สาํ หรบั กจิ การของพวกตน เทวดาท้ังหลายก็
เขา สถิตครองท่ีน้ัน ๆ กันเองตามฐานะของตน ๆ ไมม กี ารสราง
ท่ีอยตู า งหากใหเทวดา ไมมพี ธิ ีอัญเชิญอยางใด ๆ).
๕๖ ดู มงคลสูตร, ขุ.ขุ.๒๕/๕/๓; ขุ.ส.ุ ๒๕/๓๑๗/๓๗๖

อทิ ธิปาฏิหารยิ - เทวดา ๗๕

๕๗ สภาพปญ หาอยางหน่ึงในปจจบุ ันก็คอื พระทีเ่ กงทางอนศุ าสนี
ก็มักไมเ ออ้ื เฟอ เอ็นดูแกพ ระพวกอนื่ ที่ยังอาศยั สิง่ จูงลอ ฝา ย
พระพวกอนื่ น้ันกม็ ักไมใสใ จในอนศุ าสนีชนดิ นําออกบา ง
เสียเลย หรอื ไมก ม็ วั เพลนิ หมนุ วนอยูท่เี ดิมอยา งเดียวไมยอม
เดินหนา (พวกท่ีเหน็ แกลาภ ไมต องพดู ถึง) เมือ่ เปนเชนนี้ จุด
บรรจบประสานจงึ ไมมี พาใหช าวบา นสับสนหรือถึงกับแตก
สามัคคีดูถกู หยามเหยียดและขง้ึ เคยี ดตอ กัน

๕๘ เทวตาพลี (มาใน อง.ฺ จตุกกฺ .๒๑/๖๑/๘๙ และ อง.ฺ ปฺจก.๒๒ /
๔๑/๔๙ ซ่ึงเคยอา งแลว ) เปน พลอี ยางหนึง่ ในพลี ๕ ที่
พระพุทธเจา ทรงเห็นชอบใหคฤหสั ถก ระทํา อีก ๔ คือ ญาตพิ ลี
- สงเคราะหญาติ อติถิพลี - ตอ นรับแขก บุพเปตพลี - ทาํ บุญ
อุทศิ ใหผ ลู ว งลับ ราชพลี - บาํ รุงราชการ เชน เสียภาษี "พล"ี น้ี
เปนคําหนึ่งในบรรดาคําเดิมของศาสนาพราหมณนอยคาํ ท่ี
พระพุทธเจาทรงยอมใหผ า นเขามาในพระพุทธศาสนา หรือ
พระพุทธศาสนายอมรับเขามาใช โดยเกือบมิไดเปลี่ยน
ความหมายเลย (คําอ่นื ท่นี าํ มาใชแตเปลย่ี นความหมายใหม
ทีเดยี ว เชน ยัญ ตบะ เปนตน) ท้งั น้ี เพราะพลีแตเ ดิมมามี
ความหมายเปน การสละใหเพ่ือเกอ้ื กลู หรอื บาํ รุงเลีย้ งอยดู วย
แลว (รวมกับความหมายวาบูชา) พลใี นศาสนาพราหมณนั้น
เขาใหแกเ ทวดา ผี คน ตลอดถึงนก และสตั วอ ืน่ ๆ สง่ิ ทีใ่ หเปน
พลี ไดแ กอาหาร เชน ขาว และเปรยี ง เปนตน ตลอดจนดอกไม
นํ้าหอม ธูป ไมจันทน หมาก เคร่อื งเทศ เปนตน; ในรตนสูตร
(ขุ.๒๕/๗/๕; ขุ.ส.ุ ๒๕/๓๑๔/๓๖๗) มขี อความแนะนําเชงิ สอน

๗๖ เร่อื งเหนือสามญั วิสยั

หรือเชิงชวนเทวดาใหส รางเมตตาคมุ ครองรักษาหมูมนษุ ย ซง่ึ
ทําพลีใหทง้ั กลางวนั กลางคืน อรรถกถาขยายความใหเ ห็นวา
การแผสว นบุญให หรือใหมสี ว นรวมในการทาํ ความดี (ปตติ-
ทาน) ก็เปนความหมาย (แบบพุทธ) อยางหนึง่ ของพลี และท่ี
บาลีแนะนาํ อยางน้นั หมายความวา พวกมนุษยมอี ุปการะแก
พวกเทวดา เทวดา (ผไู ดรับพล)ี จงึ ควรมคี วามกตัญู ชว ย
คุมครองรกั ษาพวกมนษุ ย (ขุททฺ ก.อ.๑๘๕; สตุ ฺต.อ.๒/๑๓)
๕๙ สจั กริ ิยา ทางออกทด่ี ีสาํ หรับผูย ังหวังอาํ นาจดลบันดาล ดู
บันทึกพเิ ศษทา ยบท
๖๐ พระพุทธ เปนมนุษยหรือเทวดา ดู บนั ทึกพเิ ศษทา ยบท
๖๑ พงึ สงั เกตวา ศพั ทธ รรมท่ีหมายถงึ การฝก ฝนอบรม มีมากมาย
เชน ทมะ ภาวนา วินย (-วินีต) สกิ ขา เปน ตน แตนาเสียดายวา
ในสมัยตอ ๆ มา ความหมายของบางคํา ไดแปรเปล่ียนจากเดิม
ผดิ ไปไกล

ประเด็นที่ ๑

สรุปหลักการสําคญั ของพระพุทธศาสนาคอื อะไร

หลักการสาํ คัญของพระพทุ ธศาสนากค็ ือ การที่เราตอ งทาํ

กรรมดว ยความเพยี รพยายาม และจะตองฝก ฝนพฒั นาตนเพื่อจะ

ทํากรรมใหด ียิง่ ๆ ขึ้นไป แทนท่จี ะคดิ วา เราจะขอใหใ ครชว ย เราจะ

ไปออนวอนเทพเจาองคไหนใหทําใหเ รา ก็หันมาถามตัวเองนี่แหละ

วา เราจะตอ งทาํ อะไร และเราจะตอ งแกไขปรับปรุงตวั เราอยางไร

เพอ่ื ใหก ารกระทาํ ของเราไดผ ลดีย่ิงข้นึ นี้คือหลกั การของ

พระพทุ ธศาสนา

ทีถ่ ามวาจะตองทําอะไร ก็คอื หลักกรรม และทถ่ี ามวาเรา

จะตองแกไขปรับปรงุ พัฒนาตัวเราอยางไร ก็คอื หลกั สกิ ขา นน่ั เอง

ย่ิงกวาน้ัน ในกระบวนการท่เี ราจะตอ งทาํ กรรมดว ยความ
เพียรพยายาม และมกี ารศกึ ษาฝกฝนพัฒนาตนตลอดเวลานี้ ทาน
ยงั ยํา้ ดว ยหลักอัปปมาทะอกี วา จะตองมคี วามไมป ระมาท จะตอง
ใชเ วลาแตล ะขณะทผ่ี า นไปใหเปนประโยชนที่สุด จะตอ งเรงรดั ทํา
ความเพยี รจะผัดเพี้ยนไมไ ด จะทอดท้งิ ปลอยปละละเลยไมได อัน
น้หี ลกั พระพทุ ธศาสนายา้ํ ในเร่อื งท่ีวา จะตองทําความเพยี รพยายาม
ตลอดเวลา ถาเราปฏบิ ตั ิตามหลักสกิ ขา และมีความไมป ระมาท
อยูเสมอแลว เรากจ็ ะเปน บุคคลท่ีมคี วามเพียรพยายามในการ

๗๘ เรือ่ งเหนอื สามญั วิสยั

สรา งสรรค มกี ารแกไ ขปรับปรุงตัวพัฒนาตนเองอยูเสมอ กาวข้ึนสู
หลักพึง่ ตนได และดาํ เนินชีวติ ดว ยปญ ญา ซ่งึ เปนลักษณะชีวิตของ
ชาวพุทธ

ชาวพุทธทราบดีอยูแลววา ในพระพทุ ธศาสนานีไ้ มมกี าร
บงั คับ ศรทั ธาตองประกอบดว ยปญญา ไมใชเกดิ จากการบังคับ
ไมม กี ารบังคับใหเ ชือ่ หรือใหน ับถอื ไมมเี ทพเจามาหามมาสง่ั เม่อื
ไมม ใี ครมาบังคบั เราใหทําหรือไมใหท าํ ไมม ใี ครมาลงโทษหรือให
รางวัล การทีจ่ ะทาํ อะไรใหถกู ตองดงี าม หรอื การที่จะปฏิบตั ติ าม
ธรรม จึงอยูทต่ี ัวเราเอง จะตอ งมจี ิตสาํ นึกในการศึกษา คอื การท่ี
ระลึกตระหนักอยเู สมอวา เราจะตองเรยี นรูฝกฝนพฒั นาตนใหมี
ชวี ิตท่ดี ีงามยิ่งขน้ึ ไป ดว ยความรับผิดชอบตอ ธรรมคือกฎธรรมชาติ
แหงความเปน ไปตามเหตุปจ จัย ถาขาดจิตสํานึกในสิกขานเ้ี สียแลว
ก็หมดพลงั กาว ชาวพุทธกย็ อมรว งหลนหลดุ ออกไปจากธรรมสู
เทพและไสยโดยงา ย คอื ตกไปจากพระพุทธศาสนานั่นเอง

ทีนก้ี ็หันมาดูวา ตามสภาพปจจุบันเราไดเปน อยางนน้ั
หรอื ไม ถาเราเปนชาวพุทธจริง เรากจ็ ะเรยี กรอ งการกระทําของ
ตวั เอง เราจะไมถา ยโอนภาระไปใหก ับสิง่ ภายนอก ไมมัวรอใหส ่งิ
ภายนอกมาสรางผลที่ตองการใหด วยการออนวอน พระพุทธเจาได
ดงึ เรามาแลว จากเทพมาสูธรรม มาสหู ลักกรรม มาสูห ลักสกิ ขา
มาสคู วามไมประมาท และมาสกู ารพึ่งตนได อนั นเี้ ปนหลักการท่ี
เสนอใหใ ชสํารวจ

อิทธปิ าฏหิ าริย- เทวดา ๗๙

ประเด็นที่ ๒

เหตใุ ดพระพทุ ธเจาจึงทรงรับเกยี จอิทธปิ าฏหิ ารยิ 

และอาเทศนาปาฏิหาริย

คดิ ดงู า ยๆ ถา พระพุทธเจาทรงใชอิทธิปาฏิหาริย คน
ทั้งหลายก็จะช่ืนชมความเกง กลา สามารถของพระองค ซ่ึงเขาเอง
ทําอยางน้ันไมได เม่ือเขาทาํ ไมได เขากต็ องพึ่งพาอาศยั ขึ้นตอ
พระองคเรือ่ ยไป เมอื่ เขาคอยรอพง่ึ พาอาศัย เขาก็ปลอยเวลาเสยี
ไป ไมไ ดทาํ ส่ิงท่คี วรทํา และโดยเฉพาะที่สําคญั คอื ไมไดพฒั นา
ตนเอง เวลาผานไป เคยเปนอยา งไร ก็เปน อยอู ยา งน้นั

นอกจากน้ัน เขาไมสามารถรูวาฤทธ์ินน้ั เกิดไดอยา งไร
ทา นผูน้ันทําฤทธิ์ไดอ ยางไร เขากอ็ ยกู ับความหลงเรอื่ ยไป และจงึ
เปน ทางของการหลอกลวง คนอื่นท่ีเปนนกั เลนกลก็ไดช องตรงน้ี
และควรสงั เกตดวยวา คนจาํ นวนมากท่ีเขา มาทางนี้ จะมสี ติฉกุ ใจ
ฉกุ คิดนอ ยลงๆ เมื่อเพลนิ หมกมุนไป ก็ย่ิงไมใชป ญญา เห็น
แปลกๆ แผลงๆ ดูนา อัศจรรย กเ็ ชื่อก็นับถือ กต็ น่ื กันไป ยงิ่ โนม ไป
ในทางที่จะสรางนิสัยเหน็ แกง าย ไมใ ชป ญญาแกปญ หา ขาด
ความคดิ วิจยั ถกู หลอกลวง และลมุ หลงไดง า ย เม่ือเปนกันอยา งน้ี
ทั้งบุคคลและสังคมก็ย่งิ หมกจม ไมพ ฒั นา

๘๐ เรอ่ื งเหนอื สามญั วสิ ยั

พระพุทธเจาสอนคนใหพ งึ่ ตนได ใหเ ขาพฒั นาตนเองจน
เปน อสิ ระ ไมตอ งขึน้ ตอ พระองค คนท่ีชอบอทิ ธิปาฏหิ าริยจะตอง
มาขึน้ กับผแู สดงฤทธิ์เรอื่ ยไป ไมรจู กั พงึ่ ตนเอง ไมพ ัฒนา ไมเปน
อิสระ แตถา ใชอ นสุ าสนีปาฏิหาริยก็ทาํ ใหเขาเกิดปญ ญารูเห็น
ความจรงิ ดวยตนเอง และทําสิ่งน้ันๆ ไดด วยตวั เขาเอง แลวเขาก็
เปน อิสระ เขาพึ่งตนเองได

แมแตถาใครชอบอทิ ธปิ าฏิหารยิ  พระพทุ ธศาสนาก็สอนให
เขาทาํ อิทธิปาฏิหาริยน้ันใหไดดวยตนเอง ไมใ ชไ ปหวงั พง่ึ อทิ ธิ-
ปาฏิหาริยข องคนอนื่ อยางไรก็ตาม พระพุทธเจาตองการใหคนมี
ปญ ญาเหน็ ความจรงิ อทิ ธปิ าฏหิ าริยไมเ ปนเครอ่ื งหมายท่ีจะวัด
ความเปนพระอรหนั ต คนทีม่ อี ิทธปิ าฏิหาริยจ ะเรียกไดแคว า เปน
ผวู ิเศษ ความเปนผูว ิเศษไมทาํ ใหเกิดปญญารธู รรม ไมท าํ ใหหมด
กิเลสหรือหมดความทกุ ขไ ด

หันมาดูสภาพในเมืองไทยปจจุบันนี้ เรากาํ ลงั จะเอาเรอื่ ง
อิทธิปาฏหิ าริย หรือความเปน ผวู ิเศษมาเปนเคร่ืองวดั ความเปน
พระอรยิ ะไปแลว เพราะฉะน้นั จึงเปนสภาพทีจ่ ะตองมาตรวจสอบ
ทบทวนกนั

อทิ ธิปาฏิหาริย- เทวดา ๘๑

ประเดน็ ท่ี ๓

พระสมัยกอ นกใ็ หของขลงั วัตถมุ งคล พระสมยั นีก้ ็ให

ตางกนั อยางไร และสรปุ แลวคนไทยนบั ถือ

พระพุทธศาสนาเปน หลัก หรือไสยศาสตรเ ปน หลกั

เรอ่ื งการทําของขลงั ส่ิงศักดส์ิ ทิ ธิ์ใหแ กชาวบาน หลายทา น
พจิ ารณาแลวก็บอกวา พระเกาๆ สมัยกอนกเ็ ปนเหมือนกันนี่ ทาน
กใ็ หเหมอื นกัน กเ็ ลยตอ งขอโอกาสพูดวา ไมเ หมือนกัน

พระสมยั เกาของเราก็มกี ารใหของขลงั เหมือนกัน มพี ระที่
เรานับถือวาศักด์สิ ทิ ธ์ิ อาจจะเรียกวาเกงทางไสยศาสตรก ็ได ทา น
มีเวทมนตอะไรตา งๆ แตความนับถือสมัยกอนพรอมท้งั พฤติกรรม
ของพระสงฆเ หลานั้นกับสมยั น้ี ไมเ หมือนกนั ถอยหลงั ไปแคส ัก
๔๐-๕๐ ปเ ทานนั้ จะตา งจากสมัยนี้

จะขอเลา เรอ่ื งตวั บุคคลมาเปน ตัวอยา งกแ็ ลวกัน ตัวอยา ง
นขี้ อนาํ เรื่องหลวงพอ ของกระผมเองมาเลา คอื หลวงพอ วัดบาน
กราง

วดั บา นกรางนนั้ เปนวดั หน่ึงทีม่ ีชือ่ ในเรอ่ื งพระขลงั หลาย
ทา นรจู กั พระขุนแผนวัดบานกราง หลวงพอวดั บานกรางทีผ่ มจะ
เลาน้ีเปนอุปชฌายตอนกระผมบวชเณร ถาทานอยูบดั น้ีกอ็ ายุเกิน

๘๒ เร่ืองเหนือสามญั วสิ ยั

รอยไปแลว แตท านถงึ มรณภาพไปแลวเมอ่ื อายุประมาณ ๙๐ ป
ทา นเปนที่นับถอื อยางกวางขวางวาเปนผูท่ขี ลงั มาก ชาวบานมี
เรื่องเดือดเน้ือรอนใจ ถกู ผเี ขา ถกู ทาํ คณุ ไสย ก็มาหาทา น ทา นก็
ชวยแกไ ขให

หลวงพอ วดั บานกรางเปนทีน่ บั ถือมาก จนกระทงั่ วา เวลา

ทานจะทําอะไร คนกพ็ รอมเพรียงกันมาใหแรงงานเต็มท่ี

แมกระทัง่ จะยายวัด คือยา ยเสนาสนะอาคารทัง้ วัดไปตง้ั ในทใ่ี หม

กไ็ มต อ งรอื้ ออก แตใ ชก ําลงั คนมอื เปลา ยกกุฏแิ ละหอสวดมนตเ ปน

ตนเดินไปวางในทีท่ ่ีตอ งการ เชน ยกหอสวดมนตใ หญ ญาตโิ ยมก็

ใหช า งมาตัดเสาไว แลวก็เอาไมไผขันขนาบเสา และผูกเพิ่มใน

ระหวางใหถ่ีพอใหคนลงไปยนื ยกไมไผช อ งละคน พอถึงวันนดั

ประชาชนก็มาเตม็ หมด เมือ่ พรอมกันแลวก็ใหสญั ญาณ คน

จาํ นวนพันก็ยกหอสวดมนต ยกหอระฆงั ยกกฏุ ไิ ปท้ังหลัง เดินไป

เลยเหมือนหอสวดมนตและกุฏเิ ปนตนเดนิ ได กส็ ําเร็จ นี่กเ็ พราะ

ความเชอ่ื ความศรทั ธา

ทีน้ีท่วี าทานมชี อ่ื ในเรอ่ื งขลังนั้น จริยาวตั รของทานเปน
อยา งไร ปรากฏวา ในชวี ิตประจําวัน ทา นไมเคยพดู ถงึ เร่อื งส่งิ
ศักดิ์สทิ ธข์ิ องขลงั เลย มนตคาถาไมเคยพดู ถึง สิ่งทท่ี านทาํ คืออะไร
คือสอนธรรมะ สอนชาวบานวาควรจะประพฤติตัวอยางไร ดําเนิน
ชีวิตอยางไร ทาํ มาหากินอยา งไร อยูรว มกนั อยา งไร สอนลูกศิษย
ฝายพระสงฆว า ควรจะตง้ั ตนอยใู นธรรมวินยั อยางไร สิ่งท่ที า นทําก็

อทิ ธปิ าฏิหารยิ - เทวดา ๘๓

คอื การสอนธรรมะ แตเ วลามีชาวบา นหรอื ลูกศิษยคนไหนเกิด
เหตุราย ผีเขา ถูกทําคณุ ไสย อยา งทวี่ าเม่อื ก้ี มาหาทา น ทานกท็ ํา
ใหเฉพาะตวั เฉพาะราย แกไ ขบําบดั ปดเปา ใหเ ขาพน จากภยั
อันตรายเหลานั้นไปได ก็จบเทาน้ัน

อันนเ้ี ปนส่ิงท่ีนาสงั เกต ขอเลา ตออีกนดิ หนง่ึ ของดขี อง
ทา นเชนพระเครอื่ งน่ี อยาวาแตจะเอาปจ จยั ไปถวายเลย ไปขอก็
ไมให ถา ทานจะให ทา นใหเอง ทา นพิจารณา กค็ งเหมอื นกับพระ
โบราณท้งั หลาย เวลาลูกศิษยเติบโตเปนผใู หญขึน้ มา จะยายถ่ิน
ฐาน ไปทาํ มาหาเล้ยี งชีพ ถา เปน คนดีทานพิจารณาแลว ทา นก็
เรียกมาเฉพาะตัวแลวกบ็ อกวา เธอนะเปนคนดี ตอนน้ีเธอจะไป
อยใู นถิ่นฐานอน่ื ฉนั จะใหของดีไวค ุมครอง เอานะพระองคน เ้ี อา
ไปรักษาไว แลว ขอใหประพฤตติ ัวใหดี ตัง้ ใจขยันหมัน่ เพียรทาํ มา
หากินโดยสจุ ริต ดําเนินชวี ติ อยใู นศีลในธรรม จงทําความดีอยา ง
น้ีๆ อยา ทาํ ความชั่วอยา งน้ันๆ กาํ กับศีลธรรมไปเสร็จ

ของดนี ้นั เม่อื ลูกศษิ ยรับไปแลว ก็เก็บไวเ ปน ของสําคัญ
เพราะอุปช ฌายอ าจารยใหมา เกบ็ รักษาไวอยา งดีจนกระทั่งถึงรุน
ลกู ตัวเองแกแลวหรือลกู โตแลวก็มอบใหลกู แลวก็จะกํากับและ
กําชับแบบเดียวกัน เชน วา พระน้อี ุปชฌายของพอใหม า (หรือปู
ใหม า) พอเคารพบูชาเก็บรักษาไวอยางดีทีส่ ุด เวลานี้ลกู โตแลว
พอ จะใหล กู ไวค มุ ครองตวั ขอใหต ั้งใจประพฤตดิ ี ต้ังใจทํามาหากิน
และเก็บรักษาพระนีไ้ วใ หดี จากน้ันลูกก็มอบใหลกู ของลกู ตอไปอกี

๘๔ เรื่องเหนอื สามัญวสิ ยั

พระหรอื ของดีนั้น กจ็ ะสบื ทอดกันไป ท้ังเปนของท่ีหาไดยาก และ
สบื สายไปในวงศตระกูล

เทาที่เลามาน้ีทําใหมองเห็นความหมายอยางไรบา ง แลว
ลองนาํ มาเทียบกบั สมยั ปจจบุ นั สิง่ ทตี่ อ งการพดู ในที่นีก้ ็คือ เราจะ
เหน็ วา การนับถอื สิ่งศกั ดส์ิ ิทธข์ิ องขลังสมัยกอ นน้นั ยงั มี
พระพุทธศาสนาเปน หลกั ตัวแกนที่ปรากฏเดนชดั ก็คือธรรมะ หรือ
คาํ สอนศลี ธรรม การทําความดี เวน จากความช่วั อันนี้เปนหลัก
สว นของขลังไสยศาสตรเปนของที่พวงอยแู อบอยู และเปน สอ่ื หรือ
เปนสะพานทอดเปดทางใหแกธรรม ลกั ษณะสาํ คัญที่ควรสังเกต
๓ ประการ คอื

ประการที่หน่ึง ของขลงั สงิ่ ศักดิ์สิทธแิ์ ละไสยศาสตรเหลานี้
พระสมยั กอ นทานรูไว มไี ว และใหเพื่ออะไร ขอใชคาํ วามีไว
สําหรบั ปด ชองความหวน่ั ใจ

พทุ ธศาสนกิ ชนชาวบานทั้งหลายนี้ โดยท่วั ไปก็เปนปุถชุ น
สภาพจติ ของปุถุชนยอ มมีจุดออนอยางหนึ่งคอื ความไมม ่ันใจ
เกยี่ วกบั ความเปนไปในชีวิต ความท่ยี งั หวาดในอํานาจเรน ลับที่
มองไมเห็น ถึงแมม าเปน พุทธศาสนิกชนและเชื่อในคาํ สอนของ
พระพุทธเจา แลว กย็ ังอดหวาดกงั วลไมได มาหาหลวงพอทานสอน
ธรรมะให ตวั เองฟง แลวในใจกย็ งั หว่ันอยนู ั่นแหละ เวลาเกิด
เหตุการณร ายๆ ขน้ึ มากย็ ังหว งยงั หวาดอยวู า จะมอี ะไรเรนลบั ที่
บนั ดาล มีเทพเจา หรือผสี างกล่ันแกลง หรืออาจถูกผนู น้ั ผนู ี้ทาํ คุณ

อทิ ธิปาฏหิ าริย- เทวดา ๘๕

ไสยให เพราะฉะนัน้ กก็ งั วลไมสบายใจ ทีน้ถี ามาหาพระแลว พระ
ไดแตสอนเอาๆ ใหธรรมะไป ตัวเองกเ็ ชือ่ ตามนน้ั แตความหวั่นใจ
หรือความหวาดกย็ งั มอี ยู ไมแนใจเต็มท่ี กลับไปบานแลว คดิ
กลับไปกลบั มา ดไี มดีก็นึกขึ้นวา เอ! เราเอาอะไรประกนั ตวั
ปลอดภัยไวก อนดกี วา ก็เลยดอดไปหาหมอผี ไปหาหมอ
ไสยศาสตร

พอไปหาแลว หมอผหี รอื หมอไสยศาสตรก อ็ าจเรียกรอง
เงนิ ทองมาก และบางทีเรอ่ื งไมห ยุดแคน ้ัน หมอผไี สยศาสตร
อาจจะบอกใหทาํ อะไรตอ อะไรตอ ไปอกี ดีไมดกี ็ชักจงู ออกจากพระ
ศาสนาไปหลงตดิ ในเร่อื งอยา งนัน้ หรืออาจจะใหท ําสงิ่ ทเ่ี ปนเร่อื ง
เลวรา ยทเี่ ปนเรอื่ งของกเิ ลสโลภะ โทสะ เชนบอกวา คนน้ีเขาทํา
เธอมานะ ตองแกแคน ตองทําอยางน้ันอยา งนี้ กไ็ ปกันใหญ

เพราะฉะนน้ั พระของเราจึงตองมีไวบ าง บางองคต อ งเปน
ผูทเ่ี กงกวาพวกหมอผคี ณุ ไสยเหลา น้ัน แกทาํ ไดฉ ันก็ทําได แตฉัน
ทาํ ในแงดอี ยา งเดยี ว เปนเร่ืองคุณอยางเดียว แกไขอยา งเดยี ว แก
ทํามาฉนั แกไ ด ใหเ กง กวา พวกผไี สยเหลานนั้ ตามแนวทีว่ ามฤี ทธ์ิ
ไวปราบฤทธิ์ เพราะฉะน้ัน มเี รอ่ื งอะไร พอมาทีพ่ ระแลวทา นปด
ชองใหเ สร็จ มาแลวสบายใจไมตอ งไปหาหมอผีอีก ก็หมดเร่อื งกัน
ไป แลวยงั สอนธรรมหรือหลกั ศีลธรรมขมวดทายไปดวย จึงเปน
การปด ชอ งความหว่ันใจใหแกพทุ ธศาสนกิ ชน แตท านใชแ คเปน
เครื่องปด ชอ งความหว่นั ใจเทาน้ัน เขา ทํานองคติที่วาเอาฤทธ์ิ
ปราบฤทธิ์ ปราบเสร็จแลวกเ็ อาธรรมให เพราะฉะนัน้ เร่ืองผสี าง

๘๖ เร่ืองเหนอื สามัญวสิ ยั

คุณไสยจึงไมสามารถเกล่ือนกลาดดาษดาไปแนนอน เพราะวา ตวั
หลักยงั คุมอยู คอื ธรรมวินยั ไดแกหลักคาํ สอนของพระพุทธเจา
เปน ตัวหลกั เปนตัวปรากฏเดน

อนึง่ ยังมเี หตผุ ลสําคัญที่พระของเราสมยั กอนตอ งใชว ธิ นี ้ี
และการท่ีเรอ่ื งเหลานยี้ งั มีอยู ท้งั ทค่ี นไทยแทบทงั้ หมดนบั ถือ
พระพุทธศาสนา

เหตุผลแรกก็คือ ความเช่อื ผีสางสงิ่ ศกั ดส์ิ ิทธแิ์ ละการนบั ถอื
ศาสนาพราหมณน้ัน มีอยูในสังคมไทยกอนพระพุทธศาสนาจะเขา
มาดว ยซํ้าไป ความเช่ือเหลาน้ียังไมห มดไป กอ็ ยูคูกนั มากบั
พระพุทธศาสนา

เหตุผลใหญขอตอ ไปกค็ อื พระพุทธศาสนาไมม ีการบงั คบั
ศรัทธา ไมใ ชกาํ ลังหรอื วิธีการบบี บงั คับคนใหเขาเปลีย่ นความนับ
ถือ พระพุทธศาสนาเปนศาสนาแหง ปญญา และปญญาเปนส่งิ ท่ี
บังคับยดั เยยี ดใสใหก นั ไมได ตอ งคอ ยๆ สอนคอ ยๆ แนะนํากันไป
พระสงฆจ งึ ตองยอมรบั คนเหลาน้ีตามที่เขาเปนอยูแลวเขาไปส่ัง
สอนแนะนําเขาดว ยเมตตากรุณา คอ ยๆ ชว ยใหเขาพฒั นา
กําลังใจและปญญาขน้ึ มา เมอ่ื เขาพัฒนาข้ึน เขาก็จะละเลกิ ความ
เชื่อถอื เหลานั้นไปไดเอง

ขอ สําคญั อยูทพ่ี ระจะตองยอมเหนอ่ื ยยอมอดทน มีเมตตา
กรุณา ต้งั ใจคอยใหธรรม ไมล ะท้ิงหนาทธ่ี รรมทานนี้ ในระหวา ง
นนั้ ก็คอยปด ชอ งความหวั่นใจใหเขาไปตามความจําเปน พระบาง

อทิ ธิปาฏหิ ารยิ - เทวดา ๘๗

องคอาจจะสอนเกงจริงจนทําใหคนจาํ นวนมากมีกาํ ลังใจเขา ถงึ
ปญญา ชนิดขามพนส่งิ เหลา นไ้ี ปไดทีเดยี วเลย แตในหมชู าวบาน
ก็ยังจะมคี นที่ออนกาํ ลงั ใจออนปญญา ทีต่ อ งปด ชอ งหว่ันใจอยูนั่น
แหละ เรอื่ งฤทธ์เิ ดชกจ็ งึ ยังมอี ยู เพยี งแตว าตัวพระเองจะตอ งไม
เสียหลัก ฤทธิเ์ ดชจะตอ งถูกมองเปน เร่ืองเบ็ดเตล็ด และตองเปน
เคร่ืองสื่อธรรมจะใหเดน ข้ึนมาบังธรรมไมไ ดเ ปนอันขาด

ประการท่ีสอง ก็คอื พระเครอื่ งของขลังวตั ถมุ งคลเหลาน้ัน
สมยั กอนไมมรี าคา ไมม คี าเปนเงินทอง จะใหกใ็ หยากอยางทีว่ า
เชน ใหตอเมอื่ เหน็ วาประพฤตดิ ี แลว ก็ใหเ ปลาๆ ขอ นม้ี าเทยี บกบั
ปจ จุบันจะเห็นวา เปนอยางไร ปจ จุบันนีม้ ีราคาเปน เงนิ เปนทอง
จนบางทีจะกลายเปนสนิ คา

ประการท่ีสาม ก็คือ เปน ส่งิ เรียกรองขอกําหนดทาง
ศีลธรรม เวลาจะใหทา นจะบอกวา เธอตอ งเวนความชว่ั อันนน้ั
ตองเวนความช่ัวอนั นี้ ตองประพฤติปฏบิ ัตติ วั ใหด อี ยางนนั้ ๆ พระ
จึงจะคมุ ครอง

เม่อื ประมาณ ๕๐ ปมาแลว ทีอ่ ําเภอศรีประจันต มที าน
ขุนผูหนงึ่ เกง มากในการปราบโจร ชอื่ ขนุ ศรปี ระจนั ตรักษา เลอ่ื งลอื
กันวา ทานขุนมขี องดหี นงั เหนยี วอยยู งคงกระพนั

วันหนง่ึ ทานขุนศรฯี ไปปราบโจรแตถูกยิงตาย อา ว! ทําไม
ละ ชาวบา นลอื กันแซด วา ตอนนั้นไมท ราบเกดิ อะไรขน้ึ ทา นขุนศรีฯ

๘๘ เรือ่ งเหนอื สามญั วิสยั

โกรธโจรขึ้นมาก็เผลอไปดาแมโจร พอดา แมโจรปบ โจรยงิ มาปง

เดยี ว ตายเลย เขาบอกวาอยางนั้น อันนีเ้ ปนตวั อยาง

ความเชอ่ื ในของขลังสง่ิ ศกั ดิส์ ทิ ธต์ิ อ งมากับคุณธรรมความ

ดี ตองเรยี กรองศลี ธรรม เวลานี้เปนอยา งไร ไมม ีการเรียกรอ ง

ศีลธรรม มแี ตเ รยี กรองโชคลาภอยา งเดียว ตอ งการโชคลาภก็เอา

เงินไปเชา/ซือ้ เอามา เปนอันวาแคน ้ีก็จะไดโชคลาภ ก็หมดเร่ืองกัน

ศีลธรรมไมต องประพฤติ กลายเปนสิ่งศักดิ์สทิ ธ์ิทซ่ี ื้อไดดว ยเงิน

แลว แถมไมมีคุณคา ทางศีลธรรมจริยธรรม ตรงกนั ขามกับ

สมยั กอ นหมดเลย วิปริตผันแปรกันไป

ประการตอ ไป วตั ถุมงคลเหลาน้ี สมยั กอนเปนของหายาก
พรอ มกบั พวงเอาคณุ คา อยางสูงทางจติ ใจไวกับตวั ดวยแตม าสมยั
น้ี กลายเปนของหางายเกล่อื นกลาด มนั ตรงขามกับสมยั กอน
สมยั กอนน้ัน กวาจะไดท ีแสนยาก ครูอาจารยทา นตอ งเหน็ วา เรา
ประพฤตดิ ีและถึงโอกาสที่สมควรจึงให นอกจากน้นั ยงั มีคณุ คา
ความหมายสําคัญอกี คอื เปนเครือ่ งผกู พนั ทางจิตใจ หนงึ่ ผกู พัน
บุคคลทมี่ ขี องดนี ้ันไวกับพระพทุ ธศาสนา ใหระลึกถึงพระพทุ ธเจา
และคาํ สอนของพระองค แตไ มแคนั้น สอง เวลานึกถงึ พระที่อยูที่
คอตวั เองก็ระลึกรตู ระหนกั แกใ จวา พระองคนีห้ ลวงพอ พระ
อปุ ช ฌายใ ห นกึ ถึงพระอปุ ชฌายอาจารยและคาํ สงั่ ฝากของทาน
ตอมาลกู ศิษยคนน้โี ตมคี รอบครัวแกลงมอบใหลกู ใหหลาน
ลกู หลานเวลานกึ ถึงพระท่ีหอยคออยกู ็นกึ ถงึ พระพุทธเจา ดวย นึก
ถึงปยู า ตายายดว ย เปน เครื่องผกู พันกับบรรพบุรุษของตน พรอม

อทิ ธิปาฏิหาริย- เทวดา ๘๙

ท้งั นํา้ ใจและคณุ ธรรมท่ีทานส่ังสอนมา ท้ังหมดน้ีไปดว ยกันหมด
เลย แตป จจุบันคณุ คา เหลา นี้กําลังจะหมดไปหายไป เวลานี้
ความหมายอะไรเหลา น้ีแทบจะไมเหลอื อยูเ ลย

เพราะฉะนนั้ แมวา สมัยกอนกม็ ีของขลังพระเครอื่ งเปนตน

แตของขลังสงิ่ ศักดิ์สิทธิ์ทมี่ ีอยูใ นปจ จุบันน้กี ็ไมเ หมอื นกันแลวกับท่ี

มใี นสมยั กอ น มนั วิปลาสคลาดเคล่ือนออกไปแลว เพราะฉะน้นั ถา

เราจะมสี ิ่งเหลา นี้ กค็ วรจะมใี หถูกตอ ง ใหไ ดหลกั ของโบราณ อยา

ไปดูถกู คนโบราณวาไมไ ดความ นึกวาทา นก็มีของขลังสิ่งศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ

ไสยศาสตร แตท จี่ รงิ เราแพทา นแนนอน ทานมีหลัก แตเ ราไมม ี

หลกั เลย เราไมสามารถและไมคิดจะใชสิ่งเหลา นี้มาเปนสอ่ื นําเขา

สูธรรม ฝา ยหนง่ึ กค็ ดิ จะหาลาภ อีกฝา ยหนงึ่ กห็ วงั จะไดโชคลาภ

อยใู ตครอบงาํ ของระบบผลประโยชนก ันหมด

ถา หากวาส่ิงศกั ดิส์ ิทธ์ขิ องขลังเหลาน้ียังเปนเครอ่ื ง

เรียกรองขอ กําหนดทางศลี ธรรมอยู มนั ก็ยงั มคี ณุ คาทาง

พระพทุ ธศาสนาอยู นอกจากนั้นยังเปนสอื่ นาํ หรือโยงเราเขาสู

ธรรมะดวย โดยเฉพาะในเวลาท่ีทา นใหของดีและทานถอื เปน

โอกาสทจี่ ะสง่ั สอนธรรมนั้น คนที่จะเอาของดจี ะตง้ั ใจฟง ธรรมที่

ทา นสอนอยางจริงจงั เพราะฉะนนั้ ถา เราจะใชส ิ่งเหลา น้ีก็ควร

จะตอ งใชใ หถกู ตอง

ทว่ี ามานเี้ ปน เร่อื งท่ขี อนํามาเลาใหเหน็ วา สภาพความคลาด
เคลอื่ น ทงั้ จากหลักการของพระพทุ ธศาสนา ท้ังจากประเพณีนยิ ม

๙๐ เร่อื งเหนอื สามญั วสิ ัย

ในสงั คมไทยของเราเอง ไดเ ปน ไปถึงขนาดไหนแลว มันจึงทําให
สงั คมของเราวิปรติ ผนั แปรไป

เรือ่ งทพ่ี ดู ในตอนนี้ เปน การใหช ว ยกันพจิ ารณาตอบ
คาํ ถามวา “เวลานี้ คนไทยนบั ถอื พระพุทธศาสนาเปนหลัก หรือ
นบั ถอื ไสยศาสตรเ ปนหลัก” ซงึ่ รวมท้งั คําถามวา “สมยั กอนกม็ ีของ
ขลงั สมยั น้กี ม็ ขี องขลงั ตางกนั อยา งไร?” ไดพูดมายดื ยาว
เน่ืองจากเปน เร่อื งสําคญั จึงขอสรปุ ไวดวย

ถา คนไทยนับถอื พระพทุ ธศาสนาเปนหลกั ไสยศาสตรเ ปน
เพยี งสิ่งพว งแฝงมา สงั คมจะมพี ฤตกิ ารณดังน้ี

๑. ความนับถอื หลักการของพระพทุ ธศาสนา และการ
สอนธรรมจะปรากฏเดนเปนพื้น สวนของขลงั ส่ิงศักดส์ิ ทิ ธ์ิ เทพไสย
จะมีเพยี งพว งแฝงหรือแอบอยู และใชเ พียงเปนเคร่อื งปดชอง
ความหว่ันใจ ทํานองคตเิ อาฤทธ์ิไวป ราบฤทธิ์

๒. การใหหรือการปฏิบตั ิเก่ยี วกับของขลังเปนตนนัน้ จะเนน
ท่กี ารกาํ กับขอปฏบิ ตั ทิ างศลี ธรรม หรือใชเ ปน สือ่ สกู ารสอนธรรม

๓. ของขลังเปน ตน เปน ของใหเ ปลา ไมม ีราคา เพราะเปน
ส่ือคณุ คา ทางนามธรรม

๔. เปน ของใหย าก และหายาก ไมเ กลือ่ นกลาด และ
ผนวกอยูกับคุณคาทางจิตใจ เชนโยงไปถึงบรรพบรุ ุษบรุ พการี

อิทธปิ าฏหิ าริย- เทวดา ๙๑

ถา พฤติการณเ ปน ไปในทางตรงขามจากนี้ ก็แสดงวา คน
ไทยนบั ถือไสยศาสตรเ ปน หลกั พุทธศาสนาเปน เพียงสง่ิ ประกอบ
เลือนลางอยู คอื

๑. การเชื่อถือปฏบิ ัตทิ างไสยศาสตรแ ละการหวงั พึ่ง
อํานาจลลี้ ับปรากฏเดนเปนพน้ื ในสงั คม ชาวพทุ ธไมรูหลกั การของ
พระพทุ ธศาสนา การสอนธรรมเพยี งแอบๆ อยู

๒. ของขลงั สง่ิ ศกั ด์ิสิทธิเ์ ปน เร่ืองของการสนองกิเลส ใน
การหาผลประโยชน ความกลวั ภัย และการแกงแยง ด้ินรนตอสกู นั
ของมนษุ ยปุถุชน ไมเ ปนส่อื ดงึ คนขึน้ สูคุณธรรมความดงี าม และ
การพฒั นาชีวิตของตน ไมมกี ารกํากับศีลธรรม

๓. เปน ของมีราคา หรือมงุ ที่เงนิ ทอง ของตอบแทน
แมก ระท่ังเปนการซื้อขาย

๔. เปนของหางา ย มีเกลื่อนกลาด จนอาจกลายเปน
ความศักดิ์สิทธท์ิ ่ีซอ้ื ไดดว ยเงนิ ดอยคณุ คา ทางจติ ใจ

อกี เรือ่ งหนง่ึ การทตี่ องยอมรับความจรงิ วา ความเชอื่ ถือ
เกี่ยวกบั อํานาจลลี้ บั และหวงั พง่ึ สิง่ ศักด์สิ ิทธิ์เทพไสยเหลาน้ีจะมอี ยู
ตอ ไป เพยี งแตใหเ ปนส่งิ แฝงแอบอยหู รือเปน เรอ่ื งเบ็ดเตลด็ โดยให
พระพทุ ธศาสนาเปนหลักอยู ก็ควรพอใจ ขอนีม้ ีเหตุผลสําคญั คอื

๑. เปนนิสัยของปถุ ชุ น เมื่อมชี ีวิตอยูภายใตส ภาพแวดลอม
และความเปนไปที่ตนเองไมรูท่วั ถึงและบังคบั ไมได มคี วามเขมแข็ง

๙๒ เร่ืองเหนือสามัญวิสยั

และปญ ญาไมพอ ยังมีความหวาดหวั่นตอ สิ่งที่ไมร ูแ ละไมอ าจ
คาดหมาย จึงมคี วามโนมเอียงทจี่ ะหวังพ่งึ อาํ นาจเรน ลับภายนอก
จะพนไปไดม ากหรือนอ ย ก็อยทู ฝ่ี ายธรรมจะทาํ หนาที่ไดเพียงใด

๒. ความเชือ่ ผีสางสิ่งศกั ดส์ิ ิทธิ์และลทั ธพิ ราหมณม อี ยู
กอนพระพทุ ธศาสนาเขามา และอยใู นสังคมไทยคูเคียงมากับ
พระพุทธศาสนา จนถึงปจจบุ นั เปน ความจรงิ ตามสภาพ
ประวตั ิศาสตรและวฒั นธรรม

๓. หลกั การของพระพุทธศาสนาไมมีการบังคบั ศรัทธา ไม
ใชกาํ ลงั หรอื วิธบี ีบบงั คบั โดยถือตามหลกั ธรรมชาติของมนุษยวา
ปญญาเปนส่ิงยดั เยยี ดใสใหกันไมได จงึ ตองยอมรบั เขาตามท่ีเขา
เปนอยู แลวเขาไปชวยเหลือแนะนําสงั่ สอนดว ยเมตตากรณุ าให
เขาพัฒนาข้นึ มา

อิทธิปาฏิหารยิ - เทวดา ๙๓

ประเด็นที่ ๔

สรปุ การนบั ถืออํานาจดลบันดาลภายนอก
ตา งจากการนับถอื พระพุทธศาสนาโดยสาระสําคญั อยางไร

การนับถืออํานาจเรน ลับดลบันดาลแบบนนั้ ทําใหคนหวัง
พึ่งสิง่ ภายนอก ไมเพียรพยายามทาํ การดวยตนเอง มวั แตคิดออน
วอนเอาอกเอาใจส่งิ ศกั ดิส์ ิทธิ์ หรือรอคอยฤทธเิ์ ดชของคนอื่น
ตวั เองไมม ีอะไรดีข้นึ ไมว าจะเปนสติปญญาหรอื ความสามารถ
หรอื คณุ ธรรมความดี มีแตจมลงถอยลง เลยไมไดฝ ก ฝนพฒั นาตน
อยางดีก็ไดแ คเ ขา หลักท่ีวา ศาสนาชวยเปนที่พ่ึงท่ียดึ เหนย่ี วจิตใจ
เอาพอปลอบใจอุนใจ

แตพ ระพุทธศาสนาไมใชมไี วเ พียงเปนที่พง่ึ ท่ียึดเหน่ียว
จิตใจ ถา เปน เชนน้ัน พระพทุ ธศาสนาก็ไมตอ งเกิดขึน้ เพราะ
อนิ เดียกอ นพุทธกาล เขามที ่พี ่งึ ทีย่ ึดเหนีย่ วจิตใจอยแู ลว และมมี า
นานแลว แตทพ่ี ระพุทธศาสนาตอ งเกิดข้นึ ก็เพราะปญหาจากทพ่ี ่ึง
ทยี่ ึดเหนี่ยวจิตใจน่ีแหละ

ท่ีวาศาสนาเปนท่พี ึ่งที่ยึดเหนีย่ วจิตใจนนั้ จะตองถามตอไป
วา ยดึ เหนี่ยวแบบดึงลง หรือยดึ เหนีย่ วแลว ดงึ ข้ึน ศาสนาส่ิง
ศกั ดิ์สทิ ธิ์ฤทธานภุ าพอะไรๆ น้ัน เมอื่ เชอื่ ถอื หวังพ่งึ แลว ถา เปน

๙๔ เรื่องเหนอื สามัญวิสยั

อยางทว่ี าเมื่อกกี้ ็คือดึงลง ทําใหห ลงใหลหมกจมอยใู นโลภ โกรธ
หลง คนอินเดียกอนพุทธกาลมวั แตอ อนวอนเซนสรวงบูชายญั คิด
แตขอและรอคอยเทพเจา ดลบันดาล คิดวา จะใหเ ทวดาองคไ หน
ชว ย แทนท่ีจะถามตัวเองวา เราจะตองทําอะไร และเราจะตอ ง
แกไ ขปรบั ปรุงตวั เราและพัฒนาการกระทําของเราอยางไร เลยไม
ไปไหน

พระพุทธเจา มาทรงส่ังสอน ประกาศศาสนาชนดิ เปนท่ีพ่ึงที่
ยึดเหน่ยี วแบบดึงข้ึน คือ เมื่อเขานับถือหรอื เช่ือแลว กจ็ ะใหก าํ ลงั
และแสงสวาง นาํ เขาข้นึ พนออกมาจากความมืด ความหลง และ
ปวงกิเลส ใหเ ขาฝก ฝนพัฒนาตน มีคุณธรรมมากข้ึน มีปญ ญามาก
ขึน้ ชวยกนั เองในหมมู นุษยไดด ีขึ้น จนมนุษยพ ึ่งตนเองได มี
อสิ รภาพ และสรา งโลกทีเ่ ปน อัพยาปชฌะ แปลวาไมมีการ
เบยี ดเบียน คอื รมเย็นมสี ันตสิ ุข

พระพุทธเจา เปน บคุ คลแบบอยา งแหงมนษุ ยที่ไดพ ฒั นา
คือไดฝก ตนเตม็ ทแี่ ลว จนกระทัง่ ไดเปน พทุ ธะ เราต้ังเอาพระองคไว
เปน ตนแบบ สําหรับระลึกแลว จะไดเ ตอื นใจเรา

ทาํ ไมพระพทุ ธเจาจงึ เปนองคแ รกในพระรัตนตรยั เพราะวา
เม่ือระลึกถงึ พระพทุ ธเจา ก็เตอื นใจเราทนั ที ใหร ะลึกถึงความเปน
มนษุ ยของเราที่เราก็มีเหมือนกบั พระพุทธเจา หลักศรัทธาใน
พระพทุ ธศาสนาขอ แรกคอื ตถาคตโพธิสทธฺ า แปลวา ความ
ศรัทธาเชอื่ ในพระปญญาตรัสรูของตถาคต แปลอีกทีหนง่ึ วา ความ

อทิ ธิปาฏหิ ารยิ - เทวดา ๙๕

เชอื่ ในปญญาท่ที ําใหมนษุ ยต รัสรกู ลายเปนพุทธะ ก็คือเชื่อใน
ศกั ยภาพของมนุษยนน่ั เอง

เม่อื มนุษยเชื่อในศักยภาพของตนเองแลว ระลกึ ถึง
พระพุทธเจา กต็ น่ื ตัวข้ึนมาและเกดิ ความม่ันใจในศักยภาพของตน
ที่เปนมนุษยน้ัน พรอมกนั นั้นก็เกดิ ความสํานึกตระหนักในหนาที่
ของเราข้ึนมาวาเราจะตอ งสิกขาฝก ฝนพฒั นาตน ย่ิงกวานั้นเรายัง
ไดป ฏิปทาของพระพุทธเจาและพระโพธสิ ัตวมาเปน กาํ ลงั ใจในการ
ฝก ตนนั้น และยงั แถมไดว ธิ ีปฏิบัตติ ลอดจนประสบการณข อง
พระพุทธเจาท่พี ระองคป ฏบิ ตั ิมาแลว โดยเราไมต อ งลองผิดลองถกู
อกี เราไดเปรยี บกวา พระองคค ือเอาประโยชนจ ากความรูส ําเรจ็ รปู
ของพระองคม าเลย

ชาวพุทธตอ งเปน คนเขมแขง็ มีศรทั ธาชนิดทม่ี ัน่ ใจในศกั ย-
ภาพของความเปนมนษุ ยท ี่จะดีเลศิ ประเสริฐไดด วยการฝก และ
หวังผลจากการกระทํา พยายามพฒั นาตัวใหพง่ึ ตนได หลักการแหง
กรรมก็ดี สกิ ขากด็ ี ความไมประมาทกด็ ี ลว นทําใหเกิดความ
เขมแข็งท่ีจะกา วตอ ไปทง้ั นัน้ แลวยงั มีคตแิ หง การบําเพ็ญบารมีของ
พระโพธิสัตวมาหนนุ อีก พระพทุ ธเจาทรงเปนตัวอยางของบุคคลท่ี
มีความเขมแขง็ เรื่องราวตา งๆ ของพระพุทธเจาและพระโพธิสตั วท ่ี
มอี ยมู ากมายน้นั ลว นเปนเร่อื งของการบาํ เพ็ญเพียร และการ
พยายามแกปญหาดว ยปญญา ทา นเลา เรอ่ื งเหลา นีไ้ ว กเ็ พอื่ ให
เปน เครื่องหนุนกําลังใจของชาวพุทธ ชาวพทุ ธจะตอ งมีความ
เขม แขง็ ในการทาํ ความดี สรางสรรคและพฒั นาตัวตอไป เหมอื น

๙๖ เร่อื งเหนอื สามัญวิสยั

อยา งพระโพธสิ ตั ว ไมใชคอยขอความชว ยเหลอื จากพระโพธสิ ตั ว
หรือเทพเจาท้ังหลาย

ชาวพทุ ธตอ งมนั่ ในธรรม คือในหลกั การแหง ความจรงิ ความ
ถูกตองดงี าม และความรูในธรรมดาของธรรมชาตทิ ่ีสิ่งท้ังหลาย
เปน ไปตามเหตปุ จจยั เม่อื ถกู ธรรมแลว กไ็ มห วน่ั ไหว แมตอ เทพเจา

หลกั การของพระพทุ ธศาสนาในเร่อื งน้ีชัดเจนมาก คือ
ธรรมสงู สุด แมพระพุทธศาสนาจะไมป ฏเิ สธเทวดา แตถือวา ธรรม
ตองเหนอื เทพ

ตามปกติชาวพุทธจะอยรู ว มกับสรรพสัตว รวมท้งั เทพเทวา
อยา งเพื่อนรว มโลก ดว ยเมตตามีไมตรีปรารถนาดตี อกัน ไมอ อน
วอนหวังผลประโยชนจ ากกัน ตางคนตางพฒั นาตนยง่ิ ขน้ึ ไป แตถา
มกี รณีขัดแยงกัน เกดิ ปญหาตอกัน ตองเอาธรรมตดั สนิ ถา มนุษย
ถูกธรรม เทพตอ งยอม ในคมั ภรี พ ุทธศาสนามเี รื่องราวเลาไวม าก
เพ่อื สนบั สนุนคตนิ ้ี ใหชาวพทุ ธเขมแขง็ ยืนหยัดอยูใ นธรรม

แมเ มอ่ื มนุษยมาอยูร ว มกัน ปกครองกันเอง กต็ องใหท ุกคน
ถอื ธรรมเปน ใหญ ทีเ่ รียกวา ธรรมาธปิ ไตย เวลาน้ีนากลวั วา คนใน
สงั คมโนม ไปทางทจี่ ะถือเงิน อามิส หรอื ผลประโยชนเปนใหญ
กลายเปนธนาธปิ ไตย ถาเปนอยา งนนั้ ประชาธิปไตยจะอยูไมได
เพราะระบอบประชาธิปไตยของสงั คมจะอยูไดดวยดี ตอเม่ือ
ประชาชนมีคุณสมบตั ิแหงธรรมาธิปไตย

การถอื ธรรมเปนใหญ ยกธรรมเปนมาตรฐานสงู สุด เปน
หลกั การใหญข องพระพทุ ธศาสนา

อิทธปิ าฏหิ าริย- เทวดา ๙๗

รวมแลว เมอ่ื เรานบั ถือพระพทุ ธเจาเปน องคพ ระรัตนตรยั
เราก็ไดประโยชนทเี ดียวถึง ๔ ประการ แลวการระลึกถึง
พระพทุ ธเจา ก็โยงเราเขาสูธรรมวา เธอจะฝก ฝนพฒั นาตนตาม
ธรรม ตอ งเขาถึงตัวความจริงในธรรมชาติ ตอ งปฏิบัตใิ หถกู ตอง
ตามกฎแหง ธรรมชาติ คือความเปนไปตามเหตุปจ จยั เปนอันวาเรา
จะตองปฏิบัติฝกตนตามธรรมน้นั ธรรมก็มาเปนหลักในการดาํ เนิน
ชวี ติ คือเปน สรณะของเรา ชวี ติ ของเรากก็ ลายเปนชีวติ แหงการ
ฝกฝนพฒั นา คอื เปน ชวี ติ แหง สกิ ขาเขาสูม รรคาแหงอรยิ ะ เพื่อเรา
จะไดทําตวั ใหเ ปนอยางพระอริยะท้งั หลายที่ทานไดฝก ฝนตาม
อยา งพระพทุ ธเจา จนไดเ ปนพยานแหงการตรัสรูของพระองคโ ดย
มารวมเปนสงฆ และเราก็มีหนาที่ตอ งสรางสงั ฆะคือสงฆอ นั นี้
ขึ้นมาดวย โดยการฝกฝนพัฒนาตนใหเขา ไปรวมในสังคมแหง
การศกึ ษาดวยการเปนเสกขชน ซ่ึงจะพัฒนายิ่งข้ึนไปสูจุดหมาย
แหงสันติสุขและอสิ รภาพท่ีสมบูรณใ นทสี่ ุด


Click to View FlipBook Version