ผลกรรบมทใเสนรชมิ า: ติหนา
เรื่องชาติกอน ชาตหิ นา นรก-สวรรค มีจรงิ หรอื ไม เปน คํา
ถามท่ีคนสนใจกนั มากและเปนขอกังวลคางใจของคนทวั่ ไป เพราะ
เปนความลับของชวี ิตทอ่ี ยใู นอวชิ ชา จงึ เห็นควรกลาวสรุปแทรกไว
ที่น้ีเล็กนอย เฉพาะแงวา มีจรงิ หรือไม พิสูจนไดอยางไร
๑. ตามคําสอนในพทุ ธศาสนา เม่อื วา ตามหลักฐานใน
คัมภีรแ ละแปลความตามตวั อักษรก็ตอบไดวา ส่งิ เหลา น้มี ี
๒. การพิสูจนเรื่องนไ้ี มมีทส่ี นิ้ สดุ ไมอาจแสดงใหเ ห็น
ประจักษแกผูไมร ู ไมวา ในทางบวกหรอื ในทางลบ คอื ไมวา ในแงม ี
หรือในแงไ มม ี เปนไปไดเ พยี งขัน้ เช่ือวา มี หรอื เชอื่ วาไมมี เพราะท้ัง
ผูเชอื่ และผูไมเ ชื่อ หรือผูพ ยายามพิสูจนว ามแี ละผูพ ยายามพสิ จู น
วาไมม ี ตา งก็ไมรูทีม่ าทไ่ี ปแหง ชีวิต ไมวาของตนหรอื ผูอ ่นื ตางก็มดื
ตออดีต รูไกลออกไปไมถ ึงแมเพยี งการเกิดคราวนีข้ องตนเอง แม
แตชีวิตตนเองที่เปนอยูขณะน้ีก็ไมรูและมองไมเห็นอนาคตแมเ พียง
วา พรงุ น้จี ะเปนอยางไร
๓. ถา จะพิสจู น หลกั มวี า สง่ิ ทีเ่ หน็ ตองดูดวยตา สิ่งท่ีได
ยิน ตองฟง ดวยหู สิง่ ที่ล้ิม ตองชิมดวยล้นิ เปนตน สง่ิ ที่เหน็ ถงึ จะใช
สิบหูและสิบล้นิ รวมกนั กพ็ สิ จู นไ มได หรอื ส่งิ ทีไ่ ดยนิ จะใชสิบตากับ
สิบจมกู รวมกัน กพ็ ิสจู นไ มได หรือสิง่ ทีเ่ หน็ สงิ่ ทไ่ี ดย นิ แตตาง
ระดับคลื่น ตา งความถี่ ก็ไมร ูกัน บางอยา งทีแ่ มวมองเหน็ สบิ ตา
คนรวมกนั ก็มองไมเห็น บางอยา งทค่ี า งคาวไดยนิ สิบหคู นรวมกัน
๕๐ นรก-สวรรคใ นพระไตรปฎก
ก็ไมไดยิน เปนตน ในแงท ีห่ นง่ึ การตายการเกิดเปน ประสบการณ
ของชีวิตโดยตรง หรอื แคบลงมาเปน ปรากฏการณข องจิต ซง่ึ ตอง
พิสูจนดวยชวี ติ หรือจิตเอง การพิสูจนจ ึงควรเปนไปดังน้ี
ก) พสิ จู นด ว ยจติ ทานใหตอ งใชจ ติ ทีเ่ ปน สมาธแิ นว แน
ถึงที่ แตถาไมย อมทําตามวธิ ีนี้ หรอื กลัววาท่วี า เห็นใน
สมาธิ อาจเปนการเอานมิ ติ หลอกตวั เอง กเ็ ลอ่ื นสวู ธิ ี
ตอ ไป
ข) พสิ ูจนด วยชวี ติ ต้ังแตเ กิดมาคราวนี้ คนที่อยูย งั ไม
เคยมใี ครตาย ดังน้ัน จะรูวาเกดิ หรอื ไม ตองพสิ ูจน
ดวยการตายของใครของคนน้นั แตวธิ นี ้ีไมป รากฏวามี
ใครกลาทดลอง
ค) เมอื่ ไมยอมพิสจู น ก็ไดเ พยี งข้ันแสดงหลักฐานพยาน
และช้แี จงเหตผุ ล เชน หาตัวอยางคนระลึกชาติไดแ ละ
สอบสวนกรณตี างๆ เชนนน้ั หรือแสดงเหตุผลโดยหา
ความจรงิ อ่นื มาเปรยี บเทยี บ อยา งเรอ่ื งวิสยั แหงการ
เห็น การไดยนิ ทีข่ ึ้นตอ ระดบั คลื่นและความถี่ เปน ตน
ดังไดก ลาวแลว ชวยใหเ หน็ วานาเชอ่ื เช่อื บาง หรอื เชอ่ื
มากขึ้น เปนตน ซงึ่ รวมอยูในขัน้ ของความเช่ือเทา นน้ั
๔. ไมวา ใครจะเช่อื หรอื ไมเชื่อ หรอื จะพยายามพสิ จู นใหกนั
และกันดไู ดแคไหนกต็ าม สง่ิ ที่หลีกเล่ียงไมไ ด ไมมใี ครหนพี น ทกุ
คนตองเกี่ยวของ และเปนทีส่ บื ตอออกไปของชีวติ ขา งหนา ท่ีเชือ่
หรือไมเชอ่ื วามีนัน้ ดว ย กค็ ือ ชีวิตขณะน้ี ทมี่ ีอยแู ลวน้ี ที่จะตอ ง
ปฏิบตั ติ อมนั อยา งใดอยางหน่ึง
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๕๑
เมอ่ื เปน เชน น้ี สง่ิ ทคี่ วรเอาใจใสใ หม ากจงึ ไดแ กช วี ติ ปจ จบุ นั
และสําหรับพระพุทธศาสนาในฐานะที่เปนศาสนาแหงการปฏิบัติ
สิ่งที่เปน จดุ สนใจกวา และเปน ทส่ี นใจแท จึงไดแ กก ารปฏบิ ัตติ อ
ชีวิตท่ีเปน อยูน ้ี วา จะดําเนินชีวติ ทก่ี าํ ลังเปน ไปอยนู ีใ้ หด ไี ดอ ยา งไร
จะใชชีวิตทมี่ ีอยแู ลว นี้อยางไร เพ่ือใหเปน ชวี ติ ทเ่ี ปนอยอู ยางดี และ
เพื่อใหช วี ิตขางหนาถา มีก็ม่นั ใจไดว า จะสบื ตอออกไปเปน ชีวิตทดี่ ี
งามดว ย ดงั น้นั สิ่งท่ีควรกลา วถงึ จึงไดแกข อ สงั เกตและขอ เสนอ
แนะในทางปฏบิ ตั ดิ ังตอ ไปน้ี
• บาลชี นั้ เดมิ คอื พระสตู รทง้ั หลาย กลา วบรรยายเรอื่ งชาตกิ อ น
ชาติหนา นรก-สวรรค ไวน อ ยนกั ๑ โดยมากทานเพยี งเอย ถึงหรือ
กลาวถึงเทา น้นั แสดงถึงอัตราสว นของการใหความสนใจแกเ รื่องนี้
วามีเพียงเล็กนอ ย ในเมือ่ เทียบกบั คําสอนเกี่ยวกบั การดําเนินชีวติ
ในโลก หรือขอ ปฏิบัติจําพวกศีล สมาธิ ปญญา
• บาลเี มอ่ื กลา วถงึ ผลรา ยของกรรมชวั่ และอานสิ งสข องกรรมดี
ถากลาวถงึ การไปเกดิ ในนรกหรอื สวรรค มกั กลาวไวต อทา ยผลที่
จะประสบในชวี ติ น้ี โดยกลาวถงึ ผลในชวี ติ น้ี ๔-๕-๑๐ ขอ แลว จงึ
จบลงดว ยคาํ วา “เมอื่ กายแตกทาํ ลาย ภายหลงั มรณะ ยอมเขา ถึงอบาย
ทคุ ติ วนิ บิ าต นรก” หรอื “เขา ถงึ สคุ ติ โลกสวรรค” ๒ ขอสังเกตในเรอ่ื ง
นี้มี ๒ อยา ง คอื ประการแรก ทานถือผลในชีวติ ปจจุบนั เปน สําคัญ
และแยกแยะอยางชี้ชดั เปน อยา งๆ ไป สว นผลหลงั ตาย กลา วเพยี ง
ปดทา ยไวใ หครบรายการ ประการท่สี อง การตรสั ถึงผลดผี ลราย
เหลานั้น เปนไปในลกั ษณะแสดงขอเท็จจรงิ เกี่ยวกบั ความเปน ไป
ตามเหตปุ จจยั คือ เปนผลท่ีจะเกิดขน้ึ เองตามเหตุ ไมตองวอนหวงั
๕๒ นรก-สวรรคในพระไตรปฎก
เปนเรือ่ งของการรไู วใหเ กดิ ความม่นั ใจเทา น้นั ถึงไมต ้ังความ
ปรารถนา กย็ อ มเปนไปเชน นัน้
• สําหรับคนทไี่ มเชอื่ ในเม่อื ยังไดเ พียงแคเ ชอ่ื คอื เช่ือวาไมมี ยงั
ไมรแู จงประจกั ษจรงิ ยอ มไมอาจปฏเิ สธความสงสัยในสวนลกึ แหง
จิตใจของตนไดโดยเดด็ ขาด คนเหลานี้ เม่อื เรีย่ วแรง ความมวั เมา
ในวัยหนุมสาวเสอ่ื มไปแลว ถูกชราครอบงํา ความหวาดหว่ันตอ
โลกหนา กม็ ักไดช อ งแสดงตวั ซง่ึ เมอ่ื ไมไดเตรียมความดีไว กจ็ ะมี
ทุกขมาก ดังนัน้ เพ่ือความมั่นใจ ถงึ คนทไ่ี มเ ชอ่ื กค็ วรทาํ ดีไว จะมี
หรอื วาไมม ี ก็มน่ั ใจและโลงใจ
• สาํ หรบั คนท่เี ชอ่ื
ก) พึงใหความเช่อื นน้ั อิงหลักแหงความเปนเหตปุ จจัย
อยางแทจ รงิ คือ ใหมองผลในชาตหิ นาวาสบื ตอไปจากคณุ ภาพ
ของจิตใจทีไ่ ดส รา งข้ึนไวแ ลว ในชาติน้ี แลว เนน ทก่ี ารทํากรรมดใี น
ปจจุบัน เพอ่ื สรา งเสริมคุณภาพจติ คณุ ภาพชวี ติ ทีด่ งี าม เพือ่ ให
ชีวิตสืบตอ ไปขา งหนา เปน ชวี ิตทด่ี ีงามดวย
การเนนในแงน ้ี จะทําใหการเกีย่ วของกบั ชาติหนาหรอื
ความหวังผลชาติหนาเปนไปในรูปของความม่ันใจโดยอาศัย
ปจจุบันเปนฐาน และการหวังผลชาตหิ นานนั้ จะย่ิงทําใหเอาใจใส
ใหความสําคัญแกชวี ติ ที่เปนอยใู นปจจบุ นั มากข้ึน ไมเ สียหลกั ที่วา
ถึงจะยุงเกี่ยวกับชาตหิ นาอยา งไร กอ็ ยา ใหส ําคญั กวา ชาติที่เปนอยู
ขณะนี้ คืออยา ใหเ สียการกระทําในปจจุบัน และจะไดไ มเ นนการ
ทํากรรมดแี บบเปนการลงทนุ เพ่อื แสวงหาผลกาํ ไร
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๕๓
ข) ความเชอื่ ตอชาตหิ นา นนั้ ควรชวยใหเ ลกิ หรือใหบรรเทา
การพ่ึงพาอาศัยอํานาจดลบันดาลหรือสิ่งลึกลับภายนอกลงดวย
เพราะการเชื่อชาติหนาหมายถึงการเช่ือกรรมดีท่ีตนกระทําและ
การที่จะตอ งกา วหนาเจริญสูงข้นึ ในสงั สารวฏั นน้ั สวนการรอหวงั
พ่ึงอํานาจภายนอก ยอมเปน การทาํ ตวั ใหออ นแอลง และเปนการ
กดตัวเองใหถอยจมลงหรอื ลา หลงั หางออกไปในสังสารวฏั หากผู
ใดถลําตัวหวงั พึ่งอํานาจเหลาน้ันไปบา งแลว ก็ควรรีบถอยตวั ออก
มาสรางเรย่ี วแรงกาํ ลังของตนเองขน้ึ ใหมโ ดยเร็ว
• สาํ หรบั ผูเ ช่อื หรอื ไมเ ชอื่ ก็ตาม จะตองพยายามกา วไปหรอื
ไดรับการสอนใหกาวไปถงึ ขน้ั เวน กรรมชั่ว ทํากรรมดี โดยไมต อง
ข้ึนตอ ความเชอ่ื หรือความไมเชอ่ื นั้นเลย คือทําดไี ดโ ดยไมตอ งหวัง
ผลชาติหนา หรือถงึ แมไ มเชื่อวา มีชาตหิ นา ก็จะไมท าํ ช่ัว ผลขนั้ น้ี
ทําใหเกิดข้นึ ไดโ ดย
๑) ฝกอบรมกุศลฉันทะ หรือธรรมฉันทะ ใหก ลาแขง็ คอื
ทําใหเ กิดความใฝธรรม รักความดงี าม ตองการความประณตี หมด
จด มงุ ใหทกุ ส่ิงทุกอยา งบรรลอุ ดุ มสภาวะของมนั ๓
๒) สรา งความใฝร ักในปติสขุ อันประณตี ลกึ ซง้ึ ภายใน และ
ใหความใฝปต สิ ุขประณตี หรือการไดป ระสบปต สิ ขุ ประณีตนนั้ เปน
เครื่องปอ งกันการทําชั่วและหนุนการทาํ ดีโดยตวั ของมนั เอง ทั้งนี้
เพราะการท่จี ะไดปติสขุ ประณีตน้นั ยอมมเี งื่อนไขอยูในตัววาตอ ง
เวนทุจรติ ประกอบสจุ ริต และการไดปต ิสุขประณตี นัน้ แลว ก็จะ
เปนแรงหนวงเหน่ียวไมใหหลงใหลกามถงึ ขน้ั ท่จี ะประกอบกรรมชัว่
รายได อยางไรก็ตาม สําหรับปติสขุ ประณตี ข้ันโลกยี อาจตอง
๕๔ นรก-สวรรคในพระไตรปฎก
ระมัดระวังบางท่ีจะไมใหติดเพลินมากเกินไปจนเสียงานหรือหยุด
ความกาวหนา ๔
๓) ฝกอบรมจิตปญญาใหเจริญถึงขั้นท่ีจะเปนอยูดวย
ปญญาหรอื ดําเนินชีวติ ดว ยปญญา คือ มีความรเู ทาทนั สภาวะ
ของโลกและชีวติ หรอื รูธรรมดาแหง สังขาร พอทีจ่ ะทําจิตใจใหเปน
อิสระไดบา งพอสมควร ไมห ลงใหลติดอามิสหรือกามวตั ถุถึงกบั จะ
ทํากรรมชั่วรา ย มองชีวติ จติ ใจของมนุษยอ ืน่ สตั วอ ื่นดวยความเขา
ใจ หยั่งเห็นทุกขส ขุ และความตองการของเขา พอที่จะทาํ ใหค ิดการ
ในทางที่เก้อื กูลชวยเหลือดวยกรณุ า ใจไมโนมนอ มไปในทางท่ีจะ
เบยี ดเบยี นผอู นื่
ขอ นน้ี บั เปน ขน้ั แหง การดาํ เนนิ ชวี ติ ของทา นผไู ดเ ขา ถงึ โลกตุ ตร-
ธรรม ซึง่ มีโลกุตตรสัมมาทิฏฐเิ กดิ ขนึ้ แลว หรืออยา งนอยกเ็ ปน ขัน้
ของผูดําเนนิ ชวี ติ ตามแนวปฏิบตั ิเพอ่ื เขาถึงโลกุตตรธรรมนั้น
ถาแมยงั ไมถ ึงข้ันทีจ่ ะเปนอยดู ว ยปญ ญาอยา งแทจ รงิ ก็
เปนอยูด วยศรัทธาท่เี ปนบพุ ภาคของปญญาน้ัน คือ ศรทั ธาที่
ประกอบดว ยปญญาและเปน ไปเพอื่ ปญ ญา ซึ่งเชื่อในวิถีทางแหง
การดําเนินชีวติ ดวยปญ ญา ม่นั ใจในชีวิตทเ่ี ปนอสิ ระดวยปญญา
นั้นวา เปนชวี ิตท่ีดีงามประเสรฐิ สุด และพยายามดําเนนิ ปฏปิ ทา
แหงการเปนอยดู วยปญ ญาทป่ี ระกอบดวยกรุณานนั้ ดว ยตนเอง๕
ความจรงิ หลกั ปฏิบัตทิ ั้งสามขอนเ้ี นอ่ื งถึงกัน ใชป ระกอบ
เสรมิ กนั ได โดยเฉพาะขอ ท่ี ๑) ตองใชใ นการทาํ สง่ิ ดงี ามทุกอยาง
จึงเปน ที่อาศัยของขอ ๒) และ ๓) ดวย
ถาปฏบิ ัติไดตามหลักสามขอ นี้ ความเช่ือเร่ืองผลกรรมใน
ชีวิตหนา ก็จะเปน เพียงสว นชวยเสริมความมน่ั ใจในการเวน ชว่ั -ทํา
พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๕๕
ดีใหม ่นั คงแนนแฟนยิ่งข้ึนสําหรับบางคน แตไมถึงกับเปนตัวตัดสนิ
เด็ดขาดวา ถา เขาจะไมไ ดรับผลนัน้ ในชาตหิ นา แลว เขาจะไมยอม
ทําความดีเลย
ถาออ นแอเกนิ ไป ไมสามารถฝก คนหรอื ฝก ตนใหป ฏิบตั ิ
ตามหลักสามขอ นี้ได การใชความเชอื่ ตอผลกรรมชาตหิ นาเปนเหตุ
จูงใจใหเ วน ช่ัวทาํ ดี ก็ยังดีกวาปลอ ยใหด าํ เนินชีวิตกันอยา งหลง
ใหลในการเสพเสวยกามวตั ถุ มงุ แตแสวงหาอามิสมาปรนเปรอตน
ซ่ึงมีแตจะทําใหการเบียดเบียนและความช่ัวรายนานาระบาดแพร
หลาย นาํ ชวี ิตและสงั คมไปสหู ายนะถายเดียว และถึงอยา งไร
ความเชื่อผลกรรมชาติหนา กจ็ ดั เขาในโลกยี สมั มาทิฏฐซิ งึ่ เปนจุด
เชื่อมตอใหกาวหนาไปในทางดีงามงา ยขนึ้
เม่ือทําความเขา ใจกนั อยางนแี้ ลว ก็ขอนําพุทธพจนแ หง
สําคัญท่ีกลาวถึงผลกรรมซึง่ สบื เน่ืองจากปจจุบันไปถึงภพหนาตาม
ที่ปรากฏในจูฬกัมมวิภังคสตู ร มาแสดงไว สรุปใจความไดด งั นี้๖
“ดูกรมาณพ สัตวท้งั หลายมีกรรมเปน ของตน เปน
ทายาทแหง กรรม มีกรรมเปนท่ีกาํ เนดิ มกี รรมเปน เผา
พันธุ มกี รรมเปน ที่พึ่งอาศยั กรรมยอ มจําแนกสตั วทง้ั
หลายใหท รามและประณตี ”
๑. ก. สตรีหรอื บรุ ษุ ผมู ักทําปาณาติบาต เปน คนเหย้ี มโหด
หมกมุน อยูในการประหัตประหาร ไรเ มตตาการณุ ย ดวยกรรมนัน้
ซึ่งถือปฏบิ ัตพิ รง่ั พรอ มถงึ ทแี่ ลว ตายไป ยอมเขาถงึ อบาย ทคุ ติ
วินิบาต นรก หรอื มฉิ ะน้นั หากมาสูค วามเปน มนุษย จะเกิด ณ ท่ี
ใดๆ ในภายหลงั กจ็ ะเปนคนมีอายสุ ้นั
๕๖ นรก-สวรรคในพระไตรปฎ ก
ข. สตรหี รอื บุรุษผูละเวน ปาณาติบาต มเี มตตาการุณย มกั
เก้ือกลู แกสรรพสัตว ดวยกรรมนนั้ ซึ่งถอื ปฏิบตั พิ ร่งั พรอ มถึงท่ีแลว
ตายไป ยอ มเขาถึงสคุ ติ โลกสวรรค หรือมฉิ ะนั้น หากมาสคู วาม
เปน มนษุ ย จะเกิด ณ ท่ใี ดๆ ในภายหลงั ก็จะเปน คนมีอายยุ ืน
๒. ก. สตรหี รอื บุรุษผูมีนิสัยชอบเบียดเบยี นทาํ รายสัตวท ้งั
หลาย ดวยมอื ไม ศสั ตรา ดว ยกรรมนน้ั ซึ่งถอื ปฏิบตั ิพร่ังพรอมถงึ ที่
แลว ตายไป ยอมเขาถึงอบาย ทคุ ติ วนิ ิบาต นรก หรอื มิฉะนั้น หาก
มาสูความเปนมนษุ ย จะเกิด ณ ที่ใดๆ ในภายหลงั ก็จะเปน คนมโี รค
มาก (ขี้โรค)
ข. สตรหี รือบรุ ษุ ผูไ มม ีนสิ ยั ชอบเบียดเบียนทํารายสตั วท้ัง
หลาย ดว ยกรรมนัน้ ซ่ึงถือปฏบิ ัตพิ ร่งั พรอมถึงท่แี ลว ตายไป ยอม
เขา ถงึ สคุ ติ โลกสวรรค หรอื มฉิ ะนัน้ หากมาสูค วามเปน มนุษย จะ
เกิด ณ ทีใ่ ดๆ ในภายหลัง ก็จะเปน คนมีโรคนอย (มีสุขภาพดี)
๓. ก. สตรีหรือบุรุษผูเ ปนคนมกั โกรธ เคยี ดแคน งาย ใครวา
กลา วนิดหนอยก็ขัดใจพลุงพลา น พยาบาท แสดงความข้ึงเคียดให
ปรากฏ ดว ยกรรมน้นั ซึ่งถอื ปฏิบัตพิ รงั่ พรอ มถงึ ท่ีแลว ตายไป ยอม
เขาถึงอบาย ทุคติ วนิ ิบาต นรก หรอื มฉิ ะนั้น หากมาสคู วามเปน
มนุษย จะเกิด ณ ทใ่ี ดๆ ในภายหลัง กจ็ ะเปน คนมผี วิ พรรณทราม
(ไมสวยไมง าม)
ข. สตรีหรอื บรุ ษุ ผไู มมกั โกรธ ดว ยกรรมนัน้ ซงึ่ ถอื ปฏิบัติ
พรั่งพรอมถงึ ทีแ่ ลว ตายไป ยอมเขาถึงสุคติ โลกสวรรค หรือมิ
ฉะนั้น หากมาสคู วามเปน มนุษย จะเกดิ ณ ท่ใี ดๆ ในภายหลัง กจ็ ะ
เปนคนนาเลือ่ มใส (มรี ปู รางทา ทางชวนใจนยิ ม)
พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๕๗
๔. ก. สตรีหรือบรุ ุษผมู ใี จริษยา คนอนื่ ไดลาภไดรับความ
เคารพนบั ถือกราบไหวบ ชู า ก็ไมสบายใจ ทนไมได ดวยกรรมน้ัน
ซ่ึงถือปฏิบัติพรั่งพรอมถึงทีแ่ ลว ตายไป ยอ มเขา ถึงอบาย ทุคติ
วินิบาต นรก หรอื มฉิ ะนั้น หากมาสูความเปน มนษุ ย จะเกดิ ณ ท่ี
ใดๆ ในภายหลงั กจ็ ะเปน คนมศี กั ดานอย (ตา่ํ ตอ ยดอ ยอาํ นาจ)
ข. สตรหี รือบรุ ษุ ผไู มมใี จรษิ ยา ดวยกรรมนัน้ ซงึ่ ถือปฏิบัติ
พรั่งพรอ มถึงท่ีแลว ตายไป ยอ มเขาถงึ สุคติ โลกสวรรค หรือมิ
ฉะนั้น หากมาสูความเปนมนษุ ย จะเกดิ ณ ทใ่ี ดๆ ในภายหลงั กจ็ ะ
เปนคนมศี ักดามาก (มีเดช มอี าํ นาจมาก)
๕. ก. สตรหี รอื บรุ ษุ ผไู มบ ําเพญ็ ทาน ไมใหป น ขา ว นาํ้ ผา
นุงหม เปนตน ดว ยกรรมนั้น ซ่งึ ถอื ปฏบิ ัติพร่ังพรอมถงึ ที่แลว ตาย
ไป ยอ มเขา ถึงอบาย ทคุ ติ วินิบาต นรก หรือมิฉะนั้น หากมาสูความ
เปนมนษุ ย จะเกิด ณ ท่ีใดๆ ในภายหลัง ก็จะเปนคนมีโภคะนอ ย
ข. สตรีหรอื บุรุษผบู ําเพ็ญทาน ใหปน ขาว น้ํา ผานุง หม
เปนตน ดว ยกรรมนัน้ ซง่ึ ถือปฏิบัติพร่ังพรอมถึงทแ่ี ลว ตายไป ยอม
เขา ถึงสคุ ติ โลกสวรรค หรือมฉิ ะนนั้ หากมาสคู วามเปน มนุษย จะ
เกิด ณ ท่ใี ดๆ ในภายหลงั ก็จะเปน คนมีโภคะมาก
๖. ก. สตรหี รอื บุรษุ ผเู ปน คนแขง็ กระดาง เยอหยงิ่ ชอบดูถูก
คน ไมเ คารพนบั ถือ กราบไหว แสดงความเออ้ื เฟอ แกผทู ส่ี มควรได
รับการปฏิบัตเิ ชนน้นั ดว ยกรรมนัน้ ซึ่งถอื ปฏิบตั ิพร่งั พรอ มถึงที่
แลว ตายไป ยอมเขา ถึงอบาย ทุคติ วนิ ิบาต นรก หรือมฉิ ะนนั้ หาก
มาสคู วามเปนมนษุ ย จะเกิด ณ ท่ใี ดๆ ในภายหลงั กจ็ ะเปน คนมี
ตระกลู ต่าํ
๕๘ นรก-สวรรคในพระไตรปฎ ก
ข. สตรหี รอื บุรษุ ผูไมเ ปนคนแข็งกระดา ง ไมเ ยอ หย่ิง แสดง
ความเคารพนับถอื กราบไหว เอ้ือเฟอแกผ สู มควรไดรับการปฏิบตั ิ
เชนนัน้ ดวยกรรมน้ัน ซึง่ ถอื ปฏบิ ัตพิ ร่ังพรอมถงึ ที่แลว ตายไป ยอ ม
เขา ถงึ สคุ ติ โลกสวรรค หรอื มิฉะน้ัน หากมาสูความเปน มนษุ ย จะ
เกิด ณ ท่ใี ดๆ ในภายหลงั กจ็ ะเปน คนมีตระกลู สงู
๗. ก. สตรีหรือบุรุษผูไมเ ขา หา ไมส อบถามสมณะหรือ
พราหมณ วาอะไรดี อะไรชว่ั อะไรมโี ทษ ไมมีโทษ อะไรควร
ปฏิบัติ ไมค วรปฏิบตั ิ อะไรเมื่อทาํ จะเปน ไปเพอ่ื โทษทกุ ข อะไร
เม่ือทาํ จะเปนไปเพือ่ ประโยชนสุขช่วั กาลนาน ดวยกรรมนนั้ ซง่ึ ถือ
ปฏิบัติพรงั่ พรอมถึงทแ่ี ลว ตายไป ยอมเขา ถงึ อบาย ทุคติ วินบิ าต
นรก หรือมิฉะนัน้ หากมาสคู วามเปนมนุษย จะเกดิ ณ ทีใ่ ดๆ ใน
ภายหลัง ก็จะเปน คนทรามปญ ญา
ข. สตรีหรือบรุ ษุ ผูรจู ักเขา หาสอบถามสมณะหรือพราหมณ
วาอะไรดี อะไรช่วั เปนตน ดว ยกรรมนน้ั ซ่งึ ถือปฏบิ ัตพิ รงั่ พรอมถงึ
ทแี่ ลว ตายไป ยอ มเขา ถงึ สคุ ติ โลกสวรรค หรอื มฉิ ะนน้ั หากมาสู
ความเปน มนษุ ย จะเกดิ ณ ทใี่ ดๆ ในภายหลงั กจ็ ะเปน คนมปี ญ ญามาก
จะเห็นไดว า ในสตู รนี้ แมจ ะกลา วถงึ ผลท่จี ะประสบในชีวิต
ขางหนา แตก ็เนนทีก่ ารกระทําในปจ จบุ นั โดยเฉพาะการกระทําท่ี
มีลักษณะเปนความประพฤตปิ ฏบิ ตั อิ ยา งเปนประจํา เปน สว นแหง
การดําเนินชีวิตชนดิ ทจ่ี ะสรา งสมคณุ ภาพของจิตใจ ปรุงแตง
ลักษณะนสิ ยั และบคุ ลิกภาพได และเปนเหตุปจจัยโดยตรงแกผล
จําเพาะแตล ะอยาง
ท้ังน้ี ไมใชเ ปน อานสิ งสเฟอ ชนดิ ทว่ี า ทํากรรมดอี ะไรคร้งั
เดียว เชน ใหท านครั้งหน่งึ ก็มีผลมากมายไมม ีขอบเขต จะหวงั เปน
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๕๙
อะไร ปรารถนาไดอ ะไร ก็ไดก็เปน อยา งนัน้ หมด ซงึ่ ถาเนนกนั นกั ก็
จะทําใหค นมุงแตจะทาํ บญุ กรรม แบบฝากเงินในธนาคารเฉยไวไป
รอรับดอกเบ้ีย หรอื แบบคนเลนลอตเตอรี่ ทีล่ งทุนทหี นง่ึ หวังผล
กําไรมหาศาล แลว เลยไมใ สใ จกรรมดีชนิดทเ่ี ปน ความประพฤติ
ปฏิบัติท่ัวไป และการดําเนนิ ชีวิตดีงามประจําวนั อยางทต่ี รสั ไวใน
สตู รนี้๗
รวมความวา สาระของจูฬกมั มวภิ ังคสตู รน้ี ก็ยงั คงยนื หลัก
การสําคญั ทว่ี า การนกึ ถงึ ผลกรรมที่จะไดประสบในชีวิตภพหนา
พึงเปนไปในลักษณะของความม่ันใจท่ีอาศัยกรรมคือคุณภาพจิต
ใจและคณุ ภาพแหง ความประพฤติ ทต่ี นมอี ยใู นปจจบุ ันน้ีเอง และ
การไดร ับผลหา งไกลเบ้อื งหนา นั้น มีลกั ษณะทส่ี ืบทอดตอ เนอื่ ง
ออกไปอยางมคี วามสมั พันธก นั ไดตามแนวทางแหง เหตปุ จจัย
หลักสําหรับวนิ จิ ฉยั ในเร่ืองนี้ อาจพูดอยางสนั้ ๆ ไดแ นว
หนึ่งวา ความเช่ือทถี่ ูกตอ งเกยี่ วกับผลกรรมในชาตหิ นา จะตอ ง
เปนความเชื่อที่มีลักษณะชวยเสริมธรรมฉันทะใหเขมแข็งแนน แฟน
ยิ่งข้ึน หากความเชื่อเกย่ี วกับผลกรรมในชาติหนา อยา งใด ไมชวย
เสริมธรรมฉันทะ แตก ลับเปนไปในทางสงเสรมิ โลภะหรือตณั หา
ถายเดียว ก็พึงเขาใจวา ความเชื่ออยางนั้น เปน ความเช่อื ท่ีคลาด
เคลื่อน และควรไดรบั การแกไ ข
คัดจากหนงั สอื พุทธธรรม ฉบับปรับปรงุ และขยายความ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
จดั พมิ พ พ.ศ. ๒๕๒๙ หนา ๑๙๘–๒๐๔
เชงิ อรรถ
๑ พระสตู รตอ กนั ๒ สตู ร คอื พาลปณ ฑติ สตู รและเทวทตู สตู ร เปน ทมี่ าสาํ คญั ของวรรณคดี
เกย่ี วกบั นรก สวรรค สมยั ตอ มา (ม.อ.ุ๑๔/๔๖๗–๕๐๓/๓๑๑–๓๓๓ และ ๕๐๔–๕๒๕/๓๓๔–
๓๔๖), เอย ช่ือนรก ๓ ขุม (ม.มู.๑๒/๕๖๕/๖๐๘); การไปเกดิ ในเทวโลกและอายุเทวดา
(เชน อง.ฺ จตุกกฺ .๒๑/๑๒๓/๑๖๙; อง.ฺ ตกิ .ฺ ๒๐/๕๑๐/๒๖๙, ๒๗๓; อง.ฺ อฏ ก.๒๓/๑๒๓-
๕/๒๕๗–๒๖๗; ๔๙/๖๓, ๖๖; ๑๒๕-๖/๒๔๓-๘; อภิ.วิ.๓๕/๑๑๐๓-๗/๕๖๖–๕๗๒)
และพึงดเู ร่อื ง วิญญาณฏั ฐติ ิ ๗ และสัตตาวาส ๙ (เชน ที.ปา.๑๑/๓๓๕/๒๖๕;
๓๕๓/๒๗๗; ๔๓๕/๓๑๑; ๔๕๗/ ๓๒๙; อง.ฺ สตฺตก.๒๓/๔๑/๔๑; ๒๒๘/๔๑๓)
๒ เชน อง.ฺ ปฺจก.๒๒/๒๑๑-๗/๒๘๑-๔; ๓๔/๔๑; อง.ฺ เอกาทสก.๒๔/๒๒๒/๓๗๐
๓ ดู พุทธธรรม บทที่ ๑๔ “ปญหาเกยี่ วกับแรงจงู ใจ”
๔ ดู พุทธธรรม บทท่ี ๑๕ “ความสุข”
๕ ศรทั ธาที่ออกผลเชน น้ัน ตองอาศัยความเชือ่ มนั่ ในทา นซึง่ เปนผนู ําแหง การ
ดําเนินชีวิตอสิ ระดวยปญญา คอื พระพุทธเจา เชอื่ มั่นในคาํ สอนของพระ
องค คือ พระธรรม เช่ือมั่นในชุมชนผปู ระพฤติปฏิบัติตามคาํ สอนนั้นและ
ประสบความสาํ เรจ็ ในการมีชีวิตทเ่ี ปนอิสระเชนนั้นดวย คอื พระสงฆ รวม
เรียกวา ศรทั ธาม่ันคงในพระรัตนตรยั ดู พุทธธรรม บทที่ ๑๑ “ชีวิตและคุณ
ธรรมพืน้ ฐานของอารยชน”
๖ เรยี กอกี อยางวา สภุ สูตร, ม.อุ.๑๔/๕๗๙–๕๙๗/๓๗๖–๓๘๕
๗ เน้อื หาของสูตรนี้ เปน การตอบปญหาของสุภมาณพ ซ่ึงเปน คนวรรณะ
พราหมณ การทพี่ ระพทุ ธเจา ตรัสตอบแกสุภมาณพอยา งน้ี มองในแงส มั พันธ
กับศาสนาพราหมณ มีขอ สังเกตอยางนอ ย ๒ ประการ คอื ประการแรก เปน
การแยงตอ คําสอนของพราหมณทว่ี า พรหมเปนผสู รางผบู นั ดาลชวี ติ มนุษย
และทกุ ส่ิงทุกอยาง โดยใหม องอยา งใหมว า การกระทําของคนน่ันเอง เปน
เครือ่ งสรางสรรคป รุงแตงชวี ิตของมนุษย ประการทีส่ อง ตามพธิ กี รรมของ
พราหมณ เชน การบูชายัญ ผปู ระกอบพธิ แี ละถวายทกั ษิณาแกพราหมณ จะ
ไดรับผลานิสงสมากมายมหาศาลชนิดที่จะมองไมเห็นความสัมพันธโดยทาง
เหตุปจจัยกับส่ิงทกี่ ระทํานน้ั เลย การตรัสผลของกรรมตามแนวแหง สตู รน้ี
เปนการสรางความเขาใจอยา งใหมใ นแงน น้ั ดวย
โปรยปกหลัง หนังสือ นรก-สวรรคในพระไตรปฎก
“…สาํ หรบั คําถามวา นรก-สวรรคห ลงั จากตายในพระไตร
ปฎ กมีไหม? เมอ่ื ถอื ตามตัวอกั ษรก็เปนอันวา ม…ี ”
มนุษยเ รานน้ั ทุกคน ถา วาดว ยใจจรงิ แลว ยอมมีเยอื่ ใยตอ
ชีวิตของตน ทกุ คนรกั ชวี ติ ของตน เราตอ งการใหชวี ิตของเราเปน
ชีวิตท่ีดีงาม เราตอ งการใหชีวิตของเราเปน ชีวิตท่บี ริสทุ ธ์ิ ถาเราได
พัฒนาจิตใจของเราใหส ูงขึ้น จนลกั ษณะนเี้ ดนชัดข้นึ เราก็ไมต อ ง
ไปนึกถึงผลตอบแทนขา งหนามากมาย
เวลาน้ีการสอนเร่ืองนรก-สวรรคมาติดกันอยูตรงนี้ คือ
มาตดิ เร่ืองคิดพสิ ูจนนรก-สวรรคว า มีจริงหรอื ไมจ รงิ จะไปเปนนัก
ปรัชญา เลยไมต องทาํ อะไร รอจนกวาฉันจะรวู า นรก-สวรรคมี
หรือไมมี ฉันจึงจะทําไดถูก ถาอยา งน้กี ็ไมตองทําแลว ตลอดชวี ติ น้ี
ตายกอ น เพราะนักปรชั ญาตายมาหลายชั่วอายุคนแลว ในระยะหา
พันปน้ีนักปรชั ญาตายไปกีค่ น และทีไ่ มใชนักปรัชญาคอยฟงนกั
ปรัชญาสอนอกี เทาไรกไ็ มร ู กเ็ ลยไมไ ดเ รอ่ื ง พวกเหลาน้ชี ีวิตเปน
หมันไปเสยี มาก