The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สุภัททานุสรณ์ โดย หลวงพ่อชา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-05 21:40:46

สุภัททานุสรณ์ โดย หลวงพ่อชา

สุภัททานุสรณ์ โดย หลวงพ่อชา

Keywords: สุภัททานุสรณ์,หลวงพ่อชา

(คําแปลไทย)

อาจารยสเุ มโธกลาวตอบ

ทานอาจารยตองการใหอาตมาพูด แนนอน ทานอาจารยกําลัง
จะกลับประเทศไทย ช่ัวเวลาสองเดือนครึ่งท่ีผานมานี้นาภาคภูมิใจ
มาก อาตมาเปน ศิษยข องทานมากวาสิบปแ ลว และเปน เวลาสองเดอื น
ครึ่งท่ีอยูใกลชิดกับทานอาจารยท่ีน่ีในการจาริกสูตางประเทศ น้ีเปน
โอกาสแรกของทาน เปนครั้งแรกของการเยี่ยมเยียนนอกประเทศไทย
ของทาน และอาตมาคิดวาคงจะเปนประสบการณอันนาภาคภูมิของ
ทา นอาจารยชา ซ่ึงกพ็ อๆ กบั ตวั อาตมาเองและทานอาจารยเ ขมธัมโม
ดวย อาตมาไมเ คยคิดวา จะมาประเทศอังกฤษ ไดม าเหน็ สงิ่ ท่ีนา สนใจ
ที่นี่ดูคอนขางจะนาพิศวงสักหนอย ไมมีส่ิงใดที่นาพิศวงเหมือนเชนน้ี
เลยนบั แตท อ่ี าตมาจากตะวนั ตกไป ๑๓ หรอื ๑๔ ป ทผ่ี า นมาคนทง้ั หลาย
ไดค น หาหนทางของเขาทจ่ี ะเขา สธู รรมะ เขา สกู ารปฏบิ ตั ิ เขา สแู นวทาง
อันมีความสําคัญมากที่สุดสําหรับพวกเราท้ังหลายที่ควรกระทํา และ
ดังน้ันเดี๋ยวนี้ก็เปนโอกาสสําหรับพวกเราทั้งหลายผูซ่ึงไดมาดําเนินอยู
ในขอปฏิบัติแหงชนชาวตะวันออกแลว กอนหนาน้ีมันเปนไปไมได
อยางยิ่งเลยทีเดียววาจะมีพระภิกษุมาอยูในประเทศอังกฤษได แต
เดี๋ยวนี้มันไมใชเรื่องที่จะเปนไปไมไดเสียแลว มันเปนไปไดอยางดี
ทีเดียว มันเปนความจริงข้ึนมาจนได อาตมาอยูท่ีนี่รูสึกบันเทิงใจดี
อาตมามีความยินดีบันเทิงใจตอชีวิตในประเทศอังกฤษเปนอยางมาก
เรามีความมั่นใจและจริงใจในขอปฏิบัติแหงภาวะภิกษุของเรา ดังนั้น
จึงไมมีใครเลยในบรรดาพวกเราท่ีต้ังใจมาท่ีนี่ เพียงเพ่ือเปนการ
เดินทางมาทองเที่ยวหาความสนุกเพลิดเพลิน หรือหวังสิ่งอื่นใด

นอกเหนือไปจากที่จะใหการชวยเหลือในการสอนธรรมะ ดังน้ันจึง
เปนอันวาประชาชนในประเทศนี้จะไดมีโอกาสฝกหัดปฏิบัติและ
ไดยินไดฟงธรรมะ และบรรดาผูที่สนใจท่ีจะออกบวช บางทีโอกาส
ก็พอจะอํานวยใหไดในอนาคตที่จะต้ังวัดข้ึนหลายๆ แหงเพ่ือจะสอน
ฝกเหลาภิกษุพระสงฆและชีในประเทศอังกฤษและประเทศฝร่ังเศส
ดวยตนเองได ดังที่คุณก็ไดเห็นดวยตัวคุณเองแลววา ขณะนี้มันเปน
เวลาท่ีนาภาคภูมิใจท่ีพวกเราไดมาอยูที่นี่ เมื่อทันทีที่หมดกาลเวลา
แหงวัตถุนิยมนี้แลว ประชาชนผูคนในบรรดาประเทศเหลาน้ีก็จะหัน
กลับออกไปจากส่ิงน้ันๆ ไปสูส่ิงใดส่ิงหนึ่งท่ีประเสริฐกวาและดีกวา
ดังนั้นอาตมาก็ขอแสดงความซาบซึ้งใจตอคุณชารปและบรรดาสมาชิก
ของทรัสททั้งหลายตอการสนับสนุนใหไดโอกาสที่จะอยูในตะวันตก
อีกคร้ังหนึ่งน้ี และขอใหคุณท้ังหลายจงไดรับสิ่งท่ีดีท่ีสุดและขอเชิญ
คุณทุกๆ คนไดมาท่ีนี่และเปนผูมีสวนอยูดวยกับกิจการของวิหาร
แหงน้ี.

วรี ะพล / แปล

พระโพธิญาณเถร (ชา สภุ ทฺโท) / 253

รายชอื่ สาํ นกั สาขาโดยลาํ ดบั

ของ
วัดหนองปาพง จังหวัดอุบลราชธานี

สาขาในประเทศไทย
สาํ นกั งานใหญ – วดั หนองปา พง ตาํ บลโนนผง้ึ อ.วารนิ ชาํ ราบ จ.อบุ ลราชธานี
สาขาท่ี ๑ สาํ นกั อรญั ญวาสี (เกา นอ ย) ต. ธาตุ อ. วารนิ ชาํ ราบ

จ.อบุ ลราชธานี
สาขาท่ี ๒ วัดบึงเขาหลวง ต.กลางใหญ อ.เข่อื นใน จ.อบุ ลราชธานี
สาขาท่ี ๓ สาํ นักภูสวรรคด ินแดง ต.นํ้าออม อ.กนั ทรลกั ษ จ. ศรสี ะเกษ
สาขาท่ี ๔ สาํ นกั พทุ ธเจดยี  ต. หนองไฮ อ. วารนิ ชาํ ราบ จ.อบุ ลราชธานี
สาขาท่ี ๕ สาํ นักถาํ้ แสงเพชร ต.สรา งนกทา อ.อํานาจเจรญิ

จ.อุบลราชธานี
สาขาท่ี ๖ สํานกั กัททลวิ นาราม (สวนกลวย) ต.สังเมก็ อ.กนั ทรลักษ

จ.ศรีสะเกษ
สาขาท่ี ๗ สํานกั วเิ วกธรรมชาน ต.มว ง อ.มวงสามสิบ จ.อบุ ลราชธานี
สาขาที่ ๘ สาํ นกั วนโพธญิ าณ (เขอื่ นสริ นิ ธร) ต.ฝางคาํ อ.พบิ ลู มงั สาหาร

จ. อบุ ลราชธานี
สาขาที่ ๙ สํานกั สุภัททาวาส (โคกวน) ต.คําชะอี อ. คาํ ชะอี

จ.อบุ ลราชธานี
สาขาที่ ๑๐ สํานักไทรงาม ต.เดช อ. เดชอดุ ม จ.อบุ ลราชธานี
สาขาท่ี ๑๑ สาํ นกั โพธธิ รรม (แคม ป) ต.นาเจรญิ อ.เดชอดุ ม จ.อบุ ลราชธานี

254 / สุภทั ทานสุ รณ

สาขาท่ี ๑๒ สํานกั ขนั ติธรรม ต.หนองแวง อ.กันทรารมย จ.ศรีสะเกษ
สาขาท่ี ๑๓ สํานักศรีมงคล ต.โนนกาเลน็ อ.วารนิ ชําราบ จ.อุบลราชธานี
สาขาท่ี ๑๔ สาํ นักพนู สนิ วนาราม (แมม ลู ) ต.บุงหวาย อ.วารนิ ชําราบ

จ.อบุ ลราชธานี
สาขาท่ี ๑๕ สํานกั จงสบาย (ปาคอ ) ต.ยาง อ.นํา้ ยืน จ.อุบลราชธานี
สาขาท่ี ๑๖ สํานักรตั นะโพธิศรี (หนองหอย) ต.แกง อ.เดชอุดม

จ.อบุ ลราชธานี
สาขาที่ ๑๗ สํานกั โนนสวรรค ต.โซง อ.นํา้ ยืน จ.อบุ ลราชธานี
สาขาที่ ๑๘ สํานกั หนองแกว ต.หนองแกว อ.กนั ทรารมย จ.ศรสี ะเกษ
สาขาท่ี ๑๙ สํานกั นานาชาติ ต.บุงหวาย อ.วารนิ ชาํ ราบ จ.อุบลราชธานี
สาขาท่ี ๒๐ วดั บงึ ลัฏฐวิ ัน ต.ทาหลวง อ.ทาเรือ จ. พระนครศรีอยธุ ยา
สาขาท่ี ๒๑ สาํ นกั นา้ํ เกล้ยี ง กงิ่ อ.ขา วปุน จ.อบุ ลราชธานี
สาขาท่ี ๒๒ สาํ นักดงชยั ศรี ต.หว ย อ.พนานิคม จ.อุบลราชธานี
สาขาท่ี ๒๓ สํานกั จงั กาจิตร ต.ธาตุ อ. วารินชาํ ราบ จ.อุบลราชธานี
สาขาที่ ๒๔ สาํ นักโพธส์ิ ามตน (นกยูง) ต.เตย อ.มว งสามสบิ

จ.อุบลราชธานี
สาขาท่ี ๒๕ สํานักบานคาํ เกิง่ ต.เตย อ.มว งสามสิบ จ.อุบลราชธานี
สาขาที่ ๒๖ สาํ นกั บา นนาโพธิ์ ต.นาโพธ์ิ อ.พบิ ลู มงั สาหาร จ.อบุ ลราชธานี
สาขาท่ี ๒๗ สาํ นักหลกั แปดสิบ อ.อาํ นาจเจรญิ จ.อบุ ลราชธานี
สาขาที่ ๒๘ สํานกั พรหมประทาน (ธาตุนํ้าคํา) อ.โพนทอง จ.รอยเอ็ด
สาขาท่ี ๒๙ สาํ นกั พฒั นาวาส (ปลมื้ พฒั นา) ต.ไทยเจรญิ อ.ละหานทราย

จ.บุรรี ัมย

พระโพธิญาณเถร (ชา สภุ ทฺโท) / 255

สาขาที่ ๓๐ สาํ นกั อดุ มวารีบรรพต ต.บานโปงแดง อ.พาน จ.เชียงราย
สาขาท่ี ๓๑ สํานักอนิยตาวาส ต.นาเยีย อ.เดชอุดม จ.อุบลราชธานี
สาขาที่ ๓๒ สํานักศิลาแลง ต.ทงุ เทงิ อ.เดชอุดม จ.อุบลราชธานี
สาขาท่ี ๓๓ สํานกั สญุ ญตาวาส (โคกชาํ แระ) ต.หนองอมุ อ.เดชอุดม

จ.อุบลราชธานี

สาขาในภาคพืน้ ตะวนั ตก
สาขาท่ี ๑ สํานักธรรมประทปี เลขท่ี ๑๓๑ แฮมเวอรส ะตอ ค ฮิลล,

แฮมสะเตท, ลอนดอน เอ็นดบั บลิว ๓ ประเทศองั กฤษ
สาขาที่ ๒ โพธญิ าณาราม เลขท่ี ๖ เชอรแม็ง เดอ ปชู ารอ็ ง,

ตวกนอ็ ง ๐๗๓๐๐ ประเทศฝรั่งเศส

หมายเหตุ : จัดพิมพครั้งท่ี ๑ เมื่อปพ.ศ. ๒๕๒๑ วัดหนองปาพงมีสาขา
ท้ังในประเทศไทย และตางประเทศจํานวน ๓๕ สาขา

256 / สภุ ทั ทานสุ รณ

คาํ ปรารภของผจู ดั พิมพครั้งแรก

เม่ือวันอาสาฬหบูชา พ.ศ. ๒๕๑๙ กระผมและญาติมิตร
ท่ีเคารพไดรวมใจกันสรางหนังสือ สุภัททานุสรณ, ชุดโพธิ-
ญาณเถระ ซ่ึงรวมประวัติและขอธรรมของพระเดชพระคุณ
พระโพธญิ าณเถร ( หลวงพอ ชา สุภทฺโท ) เจาอาวาสวัดหนอง
ปาพง จังหวัดอุบลราชธานี แจกเปนบรรณาการแกผูสนใจ
ในธรรมและผูมีจิตเปนกุศลซึ่งไดบริจาคสมทบทุนสราง
พระอโุ บสถวัดหนองปา พง...

เกยี รตคิ ณุ ของพระคณุ เจา องคน เี้ ปน ทปี่ รากฏไปไมเ ฉพาะ
แตภายในประเทศเทาน้ัน แตยังแผไปยังตางประเทศท้ังทวีป
ยุโรปและทวีปอเมริกาจนมีชาวตางประเทศเลื่อมใสเขามาบวช
ในสํานักของทานหลายทานดวยกัน ตอมาเม่ือวันที่ ๕
พฤษภาคม ๒๕๒๐ ทานอาจารยท่ีเคารพไดรับนิมนตไปยัง
ประเทศอังกฤษเพ่ือเปนองคสักขีในการรับมอบที่ดินจาก
กรรมการและสมาชิกแหงทรัสทเพ่ือสังฆะประเทศอังกฤษ
ผูมีจิตศรัทธาอุทิศใหสรางวัดไทย พระคุณเจาไดบันทึก
เหตุการณตางๆ ระหวาการเดินทางไวอยางนาอาน ดังราย
ละเอียดปรากฏอยใู นหนังสือนีแ้ ลว ...

พระโพธญิ าณเถร (ชา สุภทฺโท) / 257

กระผมไดพ บของดกี ใ็ ครจ ะแจกจา ยของดชี นิ้ นไี้ ปทว่ั ๆ กนั
จงึ ไดช กั ชวนญาตมิ ติ รรว มใจกนั สรา งหนงั สอื เลม ทท่ี า นกาํ ลงั ถอื
อยนู ขี้ นึ้ เพอ่ื เปน บรรณาการ แกพ ทุ ธศาสนกิ ชนและศษิ ยานศุ ษิ ย
อยา งทเี่ คยปฏบิ ตั มิ า ทงั้ นน้ี อกจากเปน การประกาศความดขี อง
ทานแลวยังเปนการแสดงความกตัญูกตเวทีตอพระอาจารย
ผูเ ปนท่เี คารพสกั การะของพวกเราดวย

หนังสือเลมนี้สําเร็จข้ึนไดก็ดวยแรงศรัทธาของบรรดา
ญาติมิตรและทานที่เคารพ ประกอบกับความเมตตาของทาน
ปญญาเดชะ ผูชวยรวบรวมเอกสารตางๆ ท่ีเกี่ยวของ ฉะน้ัน
กระผมจึงขอกราบขอบพระคุณทุกๆ ทานที่ใหความรวมมือ
ดวยดี ขอเดชอํานาจแหงคุณพระศรีรัตนตรัยและกรรมดีท่ี
ทา นผมู พี ระคณุ ตลอดจนผอู า นไดบ าํ เพญ็ มาแลว จงประทานพร
และสงผลใหทานทั้งหลายมีความสุขความเจริญท้ังในปจจุบัน
และในอนาคต เทอญ

น.พ. อทุ ัย เจนพาณิชย และ ญาติมติ ร

หมายเหตุ : นายแพทยอ ทุ ยั เจนพาณชิ ย พรอ มดว ยญาตมิ ติ รจดั พมิ พ
แจกเปน ธรรมทานเนื่องในวันอาสาฬหบชู า ป. พ.ศ. ๒๕๒๑



พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) / 259

ระเบยี บการจดั การศาสนสมบัติ

อันเปนมรดกธรรมของพระโพธิญาณเถร
(ชา สุภทฺโท)

เนอ่ื งจาก พระเดชพระคณุ พระโพธญิ าณเถร (ชา สภุ ทโฺ ท)
ประสงคท จ่ี ะเผยแผพ ระธรรมคาํ สอนขององคส มเดจ็ พระสมั มา-
สัมพุทธเจา เพื่อเปนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติธรรมแก
สาธุชนทั่วไป และไมเห็นดวยอยางย่ิงกับการสรางรูปเหมือน
รปู หลอ และเหรียญของพระเดชพระคณุ ทานฯ อนั จะเปนการ
ทาํ ใหเ กดิ ความลุมหลง และศรัทธาอันเปน มจิ ฉาทิฎฐิ

เพื่อใหเปนไปตามเจตนารมณของพระเดชพระคุณ
พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) เจาอธิการเล่ียม ิตธมฺโม
เจาอาวาสวัดหนองปาพง จึงไดแตงตั้งคณะกรรมการฯ ขึ้น
ชุดหน่ึง เพื่อวางระเบียบการจัดการศาสนสมบัติ อันเปน
มรดกธรรมของพระเดชพระคณุ พระโพธญิ าณเณร (ชา สภุ ทโฺ ท)
ซึ่งตอไปนี้จะเรียกวา “คณะกรรมการฯ” ท่ีประชุมคณะกรรม
การฯ ไดม ีมติวางระเบยี บการจัดการเร่อื งดังกลาวไวด งั น้ี

260 / สุภัททานุสรณ

๑. รูปเหรียญ รูปพิมพ รูปอื่นๆ หรือวัตถุมงคลใดๆ ท่ี
ทําขึ้นเพ่ือใหมีลักษณะเหมือนหรือใชเปนสัญลักษณแทน หรือ
อา งถงึ พระโพธญิ าณเถร (ชา สภุ ทโฺ ท) หามทาํ ขึ้นโดยเดด็ ขาด

๒. รูปหลอ รูปปน รูปแกะสลัก หรือรูปอ่ืนใดทํานอง
เดียวกันนี้ ท่ีเหมือนองคจริงหรืออางถึงพระโพธิญาณเถร
(ชา สุภทฺโท) ใหทําไดเฉพาะวัดสาขาและตั้งประดิษฐานไวท่ี
วัดสาขาเทานั้น ในกรณีอ่ืนๆ หามจัดทําข้ึน เวนแตจะได
รับอนุญาตจากคณะกรรมการฯเปนกรณีไป โดยในการขอ
อนุญาตจะตองทําเปนหนังสือระบุขนาด จํานวน และสถานท่ี
ประดิษฐานไวอยางชดั เจน

๓. ภาพถายของพระโพธญิ าณเถร (ชา สุภทฺโท) รปู ภาพ
รูปดัดแปลง แผนภาพซ่ึงจัดทําโดยวิธีอื่นใดใหมีลักษณะเปน
ภาพพระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท)ตลอดจนสําเนาซ่ึงภาพ
ดังกลาวจะทําขึ้นใหมตองไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการฯ
เวนแตจะจัดทําขึ้นเปนจํานวนเล็กนอย เพื่อบูชาเปนสวนตัว
มิไดแจกจายตอ สาธารณะ

๔. คําสอนหรือคําเทศนาของพระโพธิญาณเถร (ชา
สภุ ทโฺ ท) ทบ่ี นั ทงึ ไวใ นรปู ของวดิ โี อเทป ภาพยนตร เทปคาสเซท
ซดี ี หรอื อปุ กรณอ ยา งอนื่ ทาํ นองเดยี วกนั หา มทาํ ซา้ํ ทาํ ขน้ึ ใหม

พระโพธิญาณเถร (ชา สภุ ทฺโท) / 261

หรือแปลเปน ภาษาอ่ืน หรอื ดัดแปลง ไมวาดวยวธิ ใี ดๆ เวนแต
จะไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการฯ เปนกรณีไป โดยการ
อนุญาตตองกําหนดจํานวนและอุปกรณที่ใชตลอดจนวิธีการ
เผยแผอยา งชัดเจน

๕. หนังสือคําสอนของพระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท)
หามจัดทําข้ึนใหม หรือทําสําเนาข้ึนใหม ทําซ้ํา หรือแปลเปน
ภาษาอ่ืน (ตนฉบับเปนภาษาไทย) หรือดัดแปลงไมวาดวยวิธี
ใดๆ เวนแตจะไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการฯ ทั้งนี้ไมวา
ทั้งหมดหรือบางสว น

การสรปุ ขอ ความจากหนงั สอื หรอื ดดั แปลง ตดั ตอ ขอ ความ
บางสวนของหนงั สือจะกระทํามไิ ดโ ดยเดด็ ขาด

๖. การเผยแผธรรมะหรือคําสอนของพระโพธิญาณเถร
(ชา สภุ ทโฺ ท) โดยใชเทคโนโลยีอืน่ ๆ เชน อินเตอรเนต เปน ตน
จะกระทํามิได เวนแตจ ะไดร บั อนุญาตจากคณะกรรมการ

๗. เมอ่ื ไดร บั อนญุ าตจากคณะกรรมการฯ ใหจ ดั ทาํ ขน้ึ ใหม
ทาํ ซ้ํา ทาํ สําเนา หรือเผยแผมรดกธรรมตามขอ ๒ -๖ ผูจดั ทํา
จะตองนําคําขออนุญาต และคําอนุญาตจากคณะกรรมการฯ
ใสไวในมรดกธรรมที่เกิดขึ้นใหมดวย สําหรับมรดกธรรมท่ี
ผูไดรับอนุญาตใหจัดทําขึ้น หากเปนหนังสือ เอกสาร หรือ

262 / สภุ ัททานสุ รณ

โดยใชเ ทคโนโลยอี นื่ ใดทใ่ี ชส าํ หรบั อา น ใหน าํ ระเบยี บนใี้ สไ วเ ปน
สวนหนึ่งของมรดกธรรมที่เกิดขึ้นใหมดวย ทั้งนี้ใหขึ้นอยูกับ
การพิจารณาความเหมาะสมของคณะกรรมการฯดว ย

๘. หากผูใดกระทําการฝาฝนระเบียบนี้ตามขอ ๑-๗
ที่เกิดข้ึนกอนวันท่ีออกระเบียบน้ี หรือที่จะเกิดข้ึนในกาล
ขา งหนา ใหพ จิ าณาแกป ญ หาดังนี้

๘.๑ ธรรมะหรือคําสอนที่แปลเปนภาษาอื่นแลวกอน
ออกระเบียบนี้ ใหรวบรวมและนํามาตรวจสอบความถูกตอง
ในการแปล หากพบความผดิ พลาดตอ งแกไ ข ใหเ รยี กผแู ปลและ
ผจู ัดทาํ มารับทราบและดําเนินการ หากไมส ามารถดําเนินการ
ใหเรียบรอ ยไดโ ดยดใี หดาํ เนนิ การตามขอ ๘.๒

๘.๒ การจดั การกับการฝาฝนตามขอ ๑ – ๗ รวมทง้ั
กรณีอ่ืนๆ ใหคณะกรรมการฯพิจารณาเปนกรณีไป โดย
พจิ ารณาถงึ เจตนาผกู ระทาํ ตลอดจนการใหค วามรว มมอื ในการ
แกปญหาของผูกระทํา หากมีความจําเปนใหคณะกรรมการฯ
มีอํานาจแตงตั้งบุคคล หรือคณะบุคคล เพ่ือดําเนินการกับ
ผูกระทําการละเมิดทั้งทางแพงและอาญา หรือดําเนินการ
อ่ืนใดตามท่ีคณะกรรมการฯ มอบหมาย โดยยึดหลักประนี-
ประนอมเพ่ือดํารงไวซึ่งเจตนารมณ และชื่อเสียงเกียรติคุณ

พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) / 263

ของพระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) และวัดหนองปาพงและ
สาขาเปนสําคญั

๙. การมอบหมายใหบุคคล หรือคณะบุคคล ดําเนิน
การตามขอ ๘.๒ คณะกรรมการฯจะตองกําหนดหลักเกณฑ
และขอบเขตในการดําเนินการใหแกผูรับมอบหมาย และหาก
ทําได ใหกําหนดในการดําเนินการและรายงานสรุปผลตอ
คณะกรรมการฯ ดวย

เจา อาวาสวดั หนองปา พงเปน ผรู กั ษาการตามระเบยี บการ
น้ี และมอี าํ นาจใหคําอนญุ าตไดในกรณีท่ีเหน็ สมควร

ระเบยี บนี้ออกเมือ่ วันท่ี ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๓

ลงช่อื
(เจาอธกิ ารเล่ยี ม ติ ธมโฺ ม)
เจาอาวาสวดั หนองปา พง

264 / สุภทั ทานุสรณ

ศนู ยเ ผยแผมรดกธรรม
พระโพธิญาณเถร(หลวงปูชา สุภทฺโท)

วดั หนองปาพง
ต.โนนผึ้ง อ.วารินชาํ ราบ จ.อุบลราชธานี ๓๔๑๙๐
โทรศพั ท ๐-๔๕๒๖-๗๕๖๓ โทรศพั ท/ โทรสาร ๐-๔๕๒๖-๘๐๘๔

www.ajahn-chah.org
www.watnongpahpong.org

สมทบทนุ เขากองทุนมรดกธรรมไดท ่ี

ธนาคารกรงุ เทพ สาขาวารนิ ชาํ ราบ
ช่ือบญั ชี “วดั หนองปา พง โครงการมรดกธรรม”
เลขที่ ๒๕๗-๔-๒๕๐๕๘๑ (บัญชสี ะสมทรพั ย)


Click to View FlipBook Version