The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อิทธิฤทธิ์ที่น่าปรารถนา พระอาจารย์ญาณธมฺโม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-05-26 23:05:45

อิทธิฤทธิ์ที่น่าปรารถนา พระอาจารย์ญาณธมฺโม

อิทธิฤทธิ์ที่น่าปรารถนา พระอาจารย์ญาณธมฺโม

Keywords: อิทธิฤทธิ์ที่น่าปรารถนา พระอาจารย์ญาณธมฺโม

อทิ ธฤิ​ ทธิ์​ที่น​ ่า​ปรารถนา​

พิมพแ์ จกเป็นธรรมบรรณาการด้วยศรทั ธาของญาติโยม
หากท่านไมไ่ ดใ้ ชป้ ระโยชนจ์ ากหนงั สอื นี้แล้ว

โปรดมอบใหก้ บั ผูอ้ นื่ ทีจ่ ะไดใ้ ช้ จะเป็นบุญเป็นกศุ ลอยา่ งยงิ่

อ​ ิทธ​ิฤทธท​ิ์ ​ีน่ ่า​ปรารถนา และ หัดยม้ิ ในใจ



พ​ ระ​อา​จาร​ย​ญ์ าณธ​ มฺโม​





พ​ ิมพ​แ์ จกเ​ป็นธ​ รรม​ทาน​


ส​ งวนล​ ขิ สทิ ธ์​ิ ​ห้ามค​ ดั ​ลอก​ต​ ัดตอน​​หรือน​ ำไ​ปพ​ มิ พจ์​ ำหน่าย​
ห​ ากท​ ่านใ​ ด​ประสงคจ​์ ะ​พมิ พ์​แจก​เปน็ ธ​ รรม​ทาน​​โปรด​ตดิ ตอ่ ​
​โรงเรยี น​ทอส​ ี เพ่อื กองทุนส่อื ธรรมะ​
​๑๐๒๓/​๔​ ๖​​ซอยป​ รีด​ีพนม​ยงค​์ ​๔๑​
ส​ ุขมุ วทิ ​​๗๑​เ​ขต​วัฒนา​​กทม​.​​๑๐๑๑๐​
โ​ทร​.​๐​ ​-๒​ ๗๑๓-​๓​ ๖๗๔​
​www​.​thawsischool​.​com​

พ​ ิมพค​์ ร้ัง​ท​่ี ​๑​​ :​ สิงหาคม ​พ.​​ศ.​​​๒๕๕๑​
​ ​จำนวน​​๑๐,๐๐๐​​เล่ม​
ผ​ ​้ถู อดเ​ทปธ​ รรมเ​ทศนา​​: คุณสุภาวดี จันทรทัต ณ อยุธยา​
ภ​ าพ​ปก​ : วาดจากภาพถ่ายในหนงั สอื BUDDHIST HIMALAYAS
(by Matthieu Ricard, Olivier and Danielle Fo..llmi)
โดย พรี ​พฒั น์​​ตติยบ​ ุญ​สูง​​(​ครู​ย้ง)​​
ร​ ูปเลม่ ​: เพื่อนธรรมเพ่อื นทำ​
​จ​ ดั ​ทำ​โดย​ :​ โรงเรยี น​ทอส​ ​ี

​ดำเนินก​ าร​พิมพ​์โดย​บ​ ริษทั ​​คิว​​พริน้ ท​์ ​แมเนจเ​ม้น​ท์​จ​ ำกัด​​
​โทร.​​​๐-​๒​ ๘๐๐​-๒​ ๒๙๒,​​​๐๘-​​๔๙๑๓-​๘​ ๖๐๐​​โทร​สาร.​​๐​ ​-๒​ ๘๐๐-​​๓๖๔๙

คำนำ

พระอาจารย์ญาณธมฺโม เจ้าอาวาสสำนักสงฆ์
รัตนวัน ตำบลห้วยปลากั้ง อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัด
นครราชสีมา เมตตารับนิมนต์มาเย่ียมคณะผู้บริหาร
คณะครู ผู้ปกครอง และเด็กนักเรียนโรงเรียนทอสีและ
ได้แสดงธรรมในหัวข้อเรื่อง “อิทธิฤทธิ์ที่น่าปรารถนา”
และ “หดั ยมิ้ ในใจ” ระหวา่ งวนั ที่ ๑๗-๑๘ มกราคม ๒๕๕๑
หลังจากท่ีได้จัดเตรียมร่างต้นฉบับเสร็จ ได้กราบขอ
อนุญาตพระอาจารย์เพ่ือจัดพิมพ์เผยแผ่เป็นธรรมทาน
ซ่ึงพระอาจารย์เมตตาอนุญาต และได้ตรวจแก้ต้นฉบับ
ใหเ้ ป็นที่เรียบร้อย
เน่ืองในมงคลวารแห่งวันคล้ายวันเกิดครบ ๕๓ ปี
ของพระอาจารย์ญาณธมโฺ ม ในวนั ที่ ๒๗ กนั ยายน ๒๕๕๑
คณะลกู ศษิ ยจ์ งึ เหน็ เปน็ โอกาสอนั ดที จี่ ะไดจ้ ดั พมิ พห์ นงั สอื

เลม่ นแี้ จกเปน็ ธรรมทาน เพอื่ บชู าพระคณุ ของพระอาจารย์
ทเ่ี มตตาอบรมสงั่ สอนบรรดาลกู ศษิ ยต์ ลอดมา ขออาราธนา
คณุ พระศรรี ตั นตรยั อภบิ าลอวยชยั ใหพ้ ระอาจารยม์ สี ขุ ภาพ
พลานามยั แขง็ แรงสมบรู ณ์ เปยี่ มดว้ ยพลงั และใหล้ กู ศษิ ย์
มีโอกาสได้รับการอบรมสั่งสอนจากท่านเพื่อให้เจริญ
ในธรรม มีความเกษมศานต์ยืนนานสืบไป
คณะศิษยานศุ ษิ ย์
สิงหาคม ๒๕๕๑

อทิ ธิ​ฤทธิ์​ท่ีน​ ่าป​ รารถนา :


อิทธิ​ฤทธิ์​ที่​น่า​ปรารถนา

​ ​วัน​นี้​เป็น​โอกาส​ดี​สำหรับ​อาตมา​ท่ี​ได้​มา​เยี่ยม​
โรงเรียน​ทอ​สี​อีก​ครั้ง​หน่ึง ​อาตมา​ภาพ​ตั้งใจ​พา​น้อง​สาว​
มา​เย่ียม​ด้วย​ ​ ​เพราะ​น้อง​สาว​เป็น​ครู​ใหญ่​อยู่​ที่​ประเทศ​
ออสเตรเลีย​ ​เป็น​ชาว​พุทธ​ ​มี​ความ​สนใจ​เร่ือง​การ​ศึกษา​
ระบบพ​ ุทธ อาตมา​ได​้เลา่ ​เรื่อง​โรงเรยี นท​ อส​ ​ใี หฟ​้ งั ​​​ดังน​ ั้น​
ใน​ช่วง​ท่​ีเขาไ​ด้​พัก​ร้อน​ จึง​มาเ​ย่ยี ม​เมอื งไ​ทย​​เ​มอื่ เ​ขา​รว​ู้ า่ ​
ม​ีโรงเรยี นท​ ่​ีใชร​้ ะบบ​พทุ ธใ​ นก​ รุงเทพฯ​​​ก​็เกดิ ​มค​ี วาม​สนใจ​​
มีค​ วาม​ตัง้ ใจท​ ​่ีจะม​ าด​ ​ูงาน​​​มาศ​ ึกษาจ​ ากค​ ณะ​ครู​​
​ ​น้อง​สาว​มี​เจตนา​ที่​จะ​ทำ​โรงเรียน​ระบบ​พุทธ​ที่​
ประเทศ​ออสเตรเลีย​ ​ ​แต่​ใน​ช่วง​น้ี​สิ่ง​แวดล้อม​ยังไม่​พร้อม​
ประการ​หนึ่ง​ ​ ​ครู​ที่​เป็น​ชาว​พุทธ​ยัง​มี​ไม่​เพียง​พอ​ ​ ​และ​ยัง​
ไมม่ ต​ี วั อยา่ ง​​ย​ งั ไ​มม่ ร​ี ะบบ​​เ​มอ่ื ม​ าถ​ งึ เ​มอื งไ​ทยก​ เ​็ หน็ ว​ า่ เ​รา​
มโ​ี รงเรยี นท​ เ​่ี ปน็ ต​ วั อยา่ ง ​ม​ ก​ี ารพ​ ฒั นาร​ ะบบก​ ารศ​ กึ ษาท​ ใ​่ี ช​้

๖ : พระอาจารย์ญาณธมฺโม

หลกั พ​ ทุ ธท​ ไ​ี่ ดใ​้ ชง​้ านม​ าแ​ ลว้ ถ​ งึ ​๙​ ​ป​ ​ี ​ยง่ิ ท​ ำใหเ​้ ขาส​ นใจท​ จ​่ี ะ​
มา​ดู​มาก​ขึ้น​​​อาตมา​เอง​ก็ส​ นใจท​ ี่จ​ ะก​ ลับม​ าเ​ยี่ยม​​​ในวนั น​ ้​ี
ก็​มี​ธรรมะ​บาง​อย่าง​บาง​ข้อ​ที่​จะ​มอบ​ให้​คณะ​ครู​และ​ผู้​
ปกครอง​​
​ ​ก่อน​ที่​อาตมา​เดิน​ขึ้น​มา​ถึง​ตึก​หลัง​น้ี​ได้​เปิด​หนังสือ​
เลม่ ห​ นง่ึ ​​เปน็ เ​รอ่ื งศ​ าสนาพ​ ทุ ธใ​นแ​ ถบภ​ เ​ู ขาห​ มิ า​ ลยั ​ป​ ระเทศ​
ทิเบต​ภูฏาน​เ​นปาล​และร​ ฐั ​ลาด​ ัก (Ladakh)​​ของ​ประเทศ​
อินเดีย​ หนังสือ​มี​รูปภาพ​สวยงาม​มาก​​​มี​ภาพ​ๆ​หนึ่ง​ท่ี​
ติดตา​ตดิ ใจอ​ าตมา​​​ที่​รู้สกึ ว​ า่ เ​ป็น​สัญลกั ษณข​์ อง​โรงเรยี น​
ทอ​สีไ​ด้​​ค​ อื ​เป็นภ​ าพข​ อง​องค์​ทะไล​​ลามะ​​ผู้นำพ​ ทุ ธ​ศาสนา​
ทเิ บต​ใ​ นภ​ าพน​ น้ั ม​ เ​ี ดก็ ผ​ ชู้ ายค​ นห​ นง่ึ ​​อ​ ายป​ุ ระมาณ​๕​ ​ข​ วบ​
เขา​อธิบาย​ว่า​เด็ก​คน​น้ี​ระลึก​ชาติ​ได้​ ​ ​ใน​อดีต​ชาติ​ ​เป็น​ครู​
เ​ปน็ อ​ าจารยข​์ องอ​ งคท​์ ะไล​ล​ ามะ​​แ​ ละไ​ดม​้ รณภาพไ​ปแ​ ลว้ ​
๕​ป​ ี​​​และก​ ลบั ม​ าเ​กิด​ใหม​่ ​​
​ ​เมื่อ​องค์​ทะไล​ ลามะ​ได้​พบ​เด็ก​คน​น้ี​ ด้วย​ความ​รู้
ของทา่ น ท​ ่านรู้ว่าเด็กคนน้ีเป็นอาจารยเ์ ก่าของ​ทา่ น​​​เปน็ ​
อาจารย์ที่สอนท้ังภาษา ทั้งศาสนา ​แต่​อาจารย์​ท่านยัง
ไม่​ได้​นิพพาน​ ​ ​ส่วน​เด็ก​เอง​ก็​ระลึก​ชาติ​ได้​ด้วย​ว่า​เคย​
เป็น​อาจารย์​ของ​องค์​ทะไล​ ​ลามะ​ใน​อดีต​ชาติ​ ​ใน​ภาพ​
น้ัน​เป็น​ภาพ​ที่​ทะไล​ ​ลามะ​กำลัง​จะ​จับ​ศีรษะ​ของ​เด็ก​

อทิ ธ​ฤิ ทธิ​์ท่ีน​ ่า​ปรารถนา : ๗

๕​ ขวบ​ ด้วย​เมตตา​และ​ความ​เคารพ​ ​เพราะ​ว่า​เด็ก​คน​นี้​
เป็น​เด็ก​เล็ก​ๆ​ ​ก็​ยัง​มี​อุปนิสัย​ของ​เด็ก​ ​แต่​ดวง​จิต​ของ​เด็ก
ก​ เ​็ ปน็ ค​ ร​ู ​เ​ปน็ อ​ าจารยเ​์ กา่ ข​ องท​ า่ น​​ภ​ าพน​ น้ั ม​ นั จ​ บั ใจอ​ าตมา​
ใน​สอง​ประเดน็ ​​​
​ ​ประเดน็ ห​ นง่ึ คอื ​​ท​ า่ น​ ทะไล​ล​ ามะเ​หน็ ว​ า่ เ​ปน็ เ​ดก็ เ​ลก็ ​
แต่​ทา่ นก​ ​ม็ ​ีความ​เคารพ​​​เพราะเคย​เปน็ ​คร​ูเป็นอ​ าจารย์เ​ก่า​
แต่ย​ ัง​เป็นเ​ดก็ อ​ ย่​ูในช​ าติ​นี้ ท่ี​มคี​ วามร​ ู้สกึ แ​ บบเ​ดก็ ​​​ทา่ นม​ี
ความร​ สู้ กึ เ​มตตา เอน็ ดเ​ู ดก็ ค​ นน​ นั้ ไ​มใ​่ หเ​้ ดก็ กลวั ท​ า่ น​​เ​พราะ​
ท่าน​เป็น​ผู้ใหญ่​ ​ ​แต่​ขณะ​เดียวกัน​ท่าน​มี​ความ​เคารพ​ต่อ​
เด็ก​คน​นั้นเ​พราะแมร้​ า่ งกายเ​ปน็ ​เด็ก ​แต่จ​ ิตใจ​เป็นด​ วงจ​ ิต​
ท​่ีเวยี นว​ ่ายต​ าย​เกิดใ​ นว​ ัฏจักร​​ว​ ฏั ​สงสาร​​​และม​ คี​ ุณธ​ รรม​
ท่ี​เคย​เป็น​ครู​เป็น​อาจารย์​ของ​ท่าน​ ​ ​ท่าน​ก​็เลย​จับ​ท​ี่ใบหน้า​
และศ​ รี ษะข​ อง​เดก็ ​​​
​ ​ประเพณข​ี องช​ าวท​ เิ บต​เ​วลาพ​ ระเ​จอก​ นั ​​แ​ ลว้ เ​คารพ​
กนั ​ถ​ อื วา่ ม​ สี ตป​ิ ญั ญาท​ น่ี า่ น​ บั ถอื ​​แ​ ทนทจ​ี่ ะย​ กมอื ไ​หวอ​้ ยา่ ง​
เดยี ว เ​ขาจ​ ะม​ ป​ี ระเพณเ​ี อาศ​ รี ษะม​ าคอ่ ยๆ ช​ นก​ นั ​ค​ อื จ​ ะเ​อา​
ศีรษะ​ส่วน​ข้าง​บน​ ​ ​มา​สัมผัส​กับ​ครู​อาจารย์​หรือ​ลูก​ศิษย์​
​ถ้า​เห็น​ว่า​ครู​อาจารย์​นั้น​เป็น​ผู้​มี​ปัญญา ​เป็น​ผู้​มี​ความ​
เฉลยี วฉ​ ลาด​​มเ​ี มตตา​ม​ คี​ ุณธ​ รรม​ เมอื่ ​เราเ​อาศ​ รี ษะ​มาช​ น​
กนั เราจะชนอย่างออ่ นโยน​​​

๘ : พระอาจารยญ์ าณธมฺโม

​ ​ถ้า​ถือว่า​คน​น้ี​เป็น​อาจารย์​ของ​เรา​ ​ ​เรา​จะ​ชนศีรษะ​
แรงไ​มไ่​ด​้ ​ต​ อ้ ง​ชนพ​ อดี​​ต​ ้อง​มสี​ ต​ิในก​ าร​ชน​ศรี ษะ​​ต​ ้อง​มี​
ความ​เคารพ​ ​ต้อง​มี​ความ​อ่อนน้อม​ ​แต่ละ​องค์​ต้อง​ตั้งใจ​
ชน​ศีรษะ​แบบ​พอดี​ ​ ​เม่ือ​เรา​ชน​ศีรษะ​แล้ว​ ​ ​เขา​จะ​ถือว่า​น่ี​
เป็นการ​เคารพ​สต​ปิ ัญญาข​ อง​แต่ละ​องค​์ท​มี่ ​คี วามร​ ู​้ ​​ เม่ือ​
ลกู ศ​ ิษยช​์ นศ​ ีรษะ​ของ​อาจารย​์ ​​ และ​อาจารย์​ชนศ​ ีรษะ​ของ​
ลูก​ศิษย์​ ​เขา​ถือว่า​เป็น​สัญลักษณ์​การ​มอบ​หมายความ​รู้​
ก​ ารม​ อบค​ วามร​ จ​ู้ ากอ​ าจารยถ​์ งึ ล​ กู ศ​ ษิ ย​์ ล​ กู ศ​ ษิ ยก​์ เ​็ อาศ​ รี ษะ​
มาช​ น​ของ​อาจารย์​​เป็นการร​ บั ส​ ติ​ปัญญา​ของ​อาจารย์ท่จี ะ
เอา​ไปใ​ ช​้ใน​ชวี ติ น​ ี้​​แ​ ละ​ชี​วติ ​ตอ่ ๆ​ ไ​ป​​​
​ รูปภาพ​ใน​หนังสือ​เล่ม​น้ัน ก็​จับใจ​อาตมา​ ​ ​เพราะ​
รู้สึกว่าพวกครูในโรงเรียนทอสี​กำลังเอาศีรษะมาชน​
กับลูกศิษย์​​ เราจะชนศีรษะแบบไหน ​เรากำลังจะเอา​
ความรู้ของตนมามอบให้กับเด็กที่อยู่ในการดูแลของ
เรา​เม่ือเราเอาความรู้ให้เด็กท่ีเข้ามาใน​โรงเรียน​น้ี​ ​ ​เรา​ก็​
ต้อง​มี​ความ​เห็น​ว่า​เด๋ียว​นี้​แม้ว่าเขา​เป็น​เด็ก​อยู่​ ​ ​เป็น​เด็ก​
ดว้ ย​กาย​​แ​ ต​่ใน​อดีตช​ าติ​น้นั ​​​อาจ​จะ​เปน็ ​คร​ู ​เ​ป็นอ​ าจารย์​
ของ​เรา​ก็ได​้ ​​และ​เรา​กไ็ ด​้รบั ​ความ​รู้​จาก​ท่าน​​​และ​เดย๋ี ว​น้ี​
ในช​ าตน​ิ เ​ี้ ราม​ หี นา้ ท​ ม​่ี อบห​ มายความร​ น​ู้ นั้ ต​ อ่ ไ​ป​​โ​ดยค​ วาม​
เคารพค​ วาม​รท​ู้ เ่ี​รา​ได้​รับ​จากผ​ รู้​ มู้​ า​กอ่ น​​เ​ช่น​​พระพุทธเจา้ ​

อิทธิ​ฤทธ​์ทิ น่ี​ ่าป​ รารถนา : ๙

เปน็ ​ศาสดา​ของเ​รา เราก​ ไ็ ดร้​ บั ​ความ​รอู้​ นั ​ประเสรฐิ จ​ ากท​ ่าน​​
เรา​ก็​จะ​มอบ​ความ​รู้​นี้​ให้​เด็ก เพื่อ​ให้​เขา​มี​พื้น​ฐานและ​เส้น​
ทางใน​ชีวติ ​​ท​ ด​ี่ ​ีงาม​​ท่​ีสมบรู ณแ​์ บบ​​​เพอื่ ​จะใ​ ช้​แก้ป​ ญั หา​
ใน​ชวี ติ ​ได​้และ​เป็น​กระแส​ธรรม​ท​ ​ี่เรา​มอบ​หมาย​กัน​เพือ่ ​จะ​
ให้​เขา​ม​ีทางท​ ่ีจ​ ะพ​ ้น​จาก​ทุกข​ไ์ ดด้​ ว้ ย​​​
​ อนั น​ เ​้ี ปน็ ส​ ง่ิ ท​ เ​่ี ราใ​ นฐ​ านะท​ เ​ี่ ปน็ ค​ รไ​ู ดม​้ อบใ​ หล​้ กู ศ​ ษิ ย​์
ที่​อย​ใู่ น​การด​ ูแล​ของ​เรา​ล​ ูก​ศษิ ยน​์ ัน้ ม​ ฐ​ี านะใน​ปัจจุบัน​เป็น​
เด็ก​อยู่​ ​แต่​ดวง​จิต​เป็น​ผู้ใหญ่​ ​ดวง​จิต​ก็​เวียน​ว่าย​อยู่​ใน​
วัฏจักร​ ​ ​วัฏ​สงสาร​นาน​แสน​นาน​ ​ พวก​เรา​เคย​เกี่ยวข้อง​
กันมา​นาน​แสน​นาน​ ​ ​ปัจจุบัน​เรา​กำลังทำ​หน้าท่ี​เป็น​ครู​
ให้​แก่​ลูก​หลาน​​​และ​เด็ก​ท่ี​เข้า​มา​ใน​โรงเรียน​ของ​เรา ​​ใน​
อนาคต​เรา​ไม่รู้​ ​ ​เรา​อาจ​จะ​เป็น​เด็ก​ท่ี​รับ​ความ​รู้​จาก​ผู้ใหญ่​
ทเ​่ี คยเ​ป็นล​ ูกศ​ ษิ ยข์​ องเ​รา​ก็ได​้ ​
​ ​รูปภาพ​ขององค์ทะไล ลามะ​มี​ความ​หมายถึง​การ​
มอบส​ ตป​ิ ญั ญา​​ม​ อบค​ วามร​ ซ​ู้ ง่ึ กนั และก​ นั ​​เ​ราค​ วรจะต​ งั้ ใจ​
ท่​ีจะศ​ ึกษา​ลกู ศ​ ษิ ยห​์ รือ​เดก็ ​ๆ ท​ อ่ี​ ย​ู่ในการ​ ดแ​ู ล​ของเ​รา​ วา่ ​
เขาม​ อ​ี ปุ นสิ ยั แ​ บบไ​หน​​เ​พราะห​ นา้ ทข​่ี องค​ รป​ู ระการห​ นง่ึ ​
คือ​ศึกษา​เร่ือง​นักเรียน ​ไม่ใช่​ศึกษา​เร่ือง​วิชา​ความ​รู้​
ของเ​ราอ​ ยา่ งเ​ดยี ว​​เ​ราม​ ว​ี ชิ าข​ องเ​รา​​อ​ าจจ​ ะเ​ปน็ ค​ รท​ู ส​่ี อน​
วิทยาศาสตร​์ ​​หรอื ​วชิ​ า​อ่ืน​ๆ​อนั ​น้ันก​ ​็เป็น​ความ​รข​ู้ อง​เรา​​​

๑๐ : พระอาจารยญ์ าณธมโฺ ม

​ แต่​ความ​รู้​อีก​อย่าง​หน่ึง​ท่ี​เรา​จะ​ต้อง​ศึกษา​คือเรื่อง
ของ​เด็กแ​ ต่ละ​คน​ทอ่ี​ ยู่​ในห​ ้องเรียน​ของเ​รา​​​เดก็ ​แต่ละค​ น​มี​
อปุ นสิ ัย มจี​ ริต​แบบ​ไหน​​​ม​ ส​ี ตป​ิ ญั ญาร​ ะดบั ไหน ​ม​ ี​ความ​
ชอบแ​ ละค​ วามไ​มช​่ อบล​ กั ษณะอ​ ยา่ งไร​​เ​พราะว​ า่ เ​ปา้ ห​ มาย​
ของค​ รคู อื ใ​หเ​้ ดก็ เ​พม่ิ ข​ ยายค​ วามร​ ข​ู้ องต​ น​ก​ อ่ นจ​ ะร​ บั ความร​ู้
ใด​ก็​ต้อง​มี​ความ​ไว้​วางใจ​ครูเสีย​ก่อน​ ​ ​เมื่อ​เด็ก​มี​ความ​ไว้​
วางใจใ​ น​ครแู ลว้ ​​แ​ ละ​เรา​ร​ู้อุปนิสัย​ของเ​ขา​​เ​ราส​ ามารถ​ท​่ี
จะ​ทำใหเ้​ขา​เพิ่มสตปิ​ ัญญา​​​เพ่มิ วิชาค​ วาม​ร​ู้ ​​ใน​สิ่งท​ ี​่เขา​ยงั ​
ไม่รู้​​ค​ ือ​ขยาย​ความ​รเู​้ ขาใหม้ ากขึ้น ​​
​ เปรียบเทียบทางพุทธศาสนากับคำว่าศรัทธา
ศรัทธา​ใน​ภาษา​บาลี ​แปลว่าความเชื่อที่มีลักษณะ
การให้จิตกระโดดไปข้างหน้า ​คือจิตใจ​กล้าทำ​​
กล้า​ก้าว​กระโดด​ใน​ส่ิง​ที่ควร​ทำ​ ​เช่น​ ​คนท่ี​ไม่​เคย​
ถือศีล​ เกิด​ศรัทธา​เ​กิด​ความ​เช่ือ​ม​ ี​ความ​มั่นใจ​ว่า​น่ี​ถูก
น่ี​ดี​ ​จึงกล้ารักษา​ กล้า​ละ​ส่ิง​ท่ี​ไม่​ควร​ทำ​ท้ังทาง​กาย
และว​ าจา​​คน​ทไ่​ี ม​เ่ คย​นัง่ ส​ มาธิกเ​็ กิดศ​ รัทธา ​​คือ​จติ ใจกลา้ ​
ทำ​ใน​สงิ่ ท​ ี​ไ่ ม่​เคย​ทำม​ า​ก่อน​กล้า​ทำ​ในส​ ิ่งท​ ่ที ำไดย้ าก​​กลา้ ​
ลองท​ ำ​​น่ี​แหละค​ ือ​จติ ใจท​ ก่ี​ ลา้ ​ทำ​​มคี​ วามกลา้ ท่ีจะท​ ำ​ใน​
ส่ิง​ทยี​่ ัง​ไม่​เคยท​ ำม​ า​ก่อน​​เกิด​จาก​ศรทั ธา​
​ ในก​ ารส​ อนเ​ดก็ เ​ราต​ อ้ งท​ ำใหเ​้ ขาก​ ลา้ ท​ ำใ​นส​ งิ่ ท​ ​่ี

อิทธฤิ​ ทธท์​ิ นี่​ ่าป​ รารถนา : ๑๑

ควรท​ ำ​​เ​พอ่ื จ​ ะไ​ดข​้ ยายค​ วามร​ ​ู้ ​เพราะส​ ว่ นม​ ากม​ นษุ ยท​์ งั้ ​
หลายก​ ช​็ อบอ​ ยู่​ในข​ อบเขต​ของค​ วาม​เคยชนิ ​ ​เ​คยชินแ​ บบ​
ไหน​ก​็จะ​ทำ​แบบ​น้ัน​​​เคย​ฝึกแ​ บบ​ไหนก​ ท​็ ำต​ าม​นัน้ ​​แ​ ต่​เม่อื ​
เราเ​กิดศ​ รทั ธา​​​เกิดความก​ ล้า​ทจ่ี​ ะ​ทำใ​ น​ส่งิ ท​ เี่​ป็นป​ ระโยชน​์
เราก​ ต​็ อ้ งท​ ำใ​นส​ งิ่ ท​ ไ​ี่ มเ​่ คยชนิ ​​ก​ ารก​ ลา้ ท​ จ​ี่ ะท​ ำใ​นส​ งิ่ ท​ ไ​่ี มเ​่ คย​
ทำม​ าก​ ่อน​​ไ​ม่ช​ ิน​มาก​ ่อน​​​ก็ต​ ้อง​อาศัย​ความไ​ว้ว​ างใจ​​​ไว้​
วางใจผ​ ู​้อ่นื ​​ผสู้​ อน​​ครู​​อาจารย์​​​
​ ยก​ตัวอย่าง​เช่น​​เด็ก​ที่​ไม่​เคย​ข่ี​จักรยาน​​ตอน​แรก​ก็​
กลวั ​ไมก​่ ลา้ ข​ นึ้ จ​ กั รยานเ​พราะก​ ลวั ล​ ม้ ตอ้ งอ​ าศยั ผ​ ป​ู้ กครอง​
หรือ​ผู้ใหญ่​ช่วย​ประคอง​จับจักรยาน​ไว้​ ​และให้กำลังใจ​
คอย​สนับสนุน​ให้​ข้ึน​เพ่ือ​จะ​ได้​ข่ี​จักรยานต่อไป​ ​และ​คอย​
ระมดั ระวงั ประคองไ​มใ​่ หเ​้ ขาลม้ ​​ถ​ า้ ล​ ม้ แ​ ลว้ ห​ มดก​ ำลงั ใ​ จไ​ด​้
ตอ้ งสนบั สนนุ ใ​หข​้ นึ้ ใ​หม​่เ​พราะบ​ างค​ รง้ั ล​ ม้ ​​ก​ เ​็ จบ็ ​​เ​จบ็ ก​ ท​็ กุ ข​์
ทุกขก​์ ก​็ ลัว​​ไ​ม​่กล้า​ขนึ้ อ​ ีก​​​ไมก่​ ล้า​ทำ​อกี ​​ผปู้​ กครอง​หรือ​คร​ู
อาจารย​์ ​จ​ งึ ต​ อ้ งเ​ปน็ ผ​ ท​ู้ ใ​ี่ หอ​้ บุ าย​​ใ​หค​้ วามร​ใ​ู้ นก​ ารข​ จ​ี่ กั รยาน​
และ​ให้​กำลัง​ใจ​ด้วย​ ​ ​ให้การ​สนับสนุน​ ​ ​ให้​เขา​พ้น​จาก​
ความเ​กรงก​ ลัว​​​ความไ​มเ​่ คยชิน​​​จนถงึ ข​ ั้น​ท​่ีเขา​เกดิ ค​ วาม
เ​คยชนิ ข​ น้ึ ม​ า​​ม​ ค​ี วามส​ ามารถใ​ นก​ ารข​ จ​ี่ กั รยานน​ น้ั ไ​ด​้ ​ตอ้ ง​
อาศัยก​ าร​ให​้ศรัทธา​​​ใหก​้ ำลงั ​ใจ​​​และการ​สนับสนุน​​​​
​ อนั น​ แ​้ี หละเ​ปน็ ว​ ชิ าอ​ นั สำคญั ข​ องค​ ร​ู ​ก​ ารใ​ หก​้ ำลงั ใ​ จ​

๑๒ : พระอาจารย์ญาณธมโฺ ม

การให้​ความ​เชอื่ ​ในค​ วาม​สามารถของ​ตน​​​กลา้ ท​ ำ​ในส​ ิ่ง​ท่ี​
ควร​ทำ​เ​ช่น ก​ ลา้ อ​ า่ นห​ นงั สอื ​​กล้า​เขียน​ตัว​หนงั สอื ​กล้า​พดู ​
ตอ่ ห​ นา้ ผ​ อ​ู้ น่ื ​​ส​ งิ่ เ​หลา่ น​ ล​้ี ว้ นต​ อ้ งอ​ าศยั ค​ วามส​ นบั สนนุ ​​ก​ าร​
ชกั จงู เ​ขาใ​หเ​้ ขาก​ ลา้ ท​ ำ ​เชน่ ​อาจารยเ​์ คยไ​ปอ​ ยก​ู่ บั หลวงพ​ อ่ ช​ า
​ท​ ่าน​เป็น​ผู้​ที่​จะ​ให้​พระ​เณร​กล้า​ทำ​ใน​ส่ิง​ที่​ไม่​เคย​ทำ​มา​
ก่อน​บาง​คร้ัง​ท่าน​จะ​สนับสนุน​ บางคร้ังท่านก็บังคับ​ ​ให้​
ทำ​ส่ิง​ท่ี​ไม่​เคย​ทำ​มา​ก่อน​ ​เช่น ​พระ​ใหม่​ บาง​ครั้ง​ท่าน​จะ​
บังคับ​ให้​ข้ึน​ธรรม​าสน์​เทศน์​ ​ ​เรา​ไม่​เคย​เทศน์​ ​ ​ท่าน​ก็​จะ​
สนบั สนนุ ใ​ ห​ก้ ำลงั ​ใจ​​ใหพ​้ ูด​ พูดเ​ลก็ น​ อ้ ย​​พ​ ูด​ให้​คน​อ่ืน​ฟงั ​
​ท่าน​จะ​ใหเ​้ ราท​ ำ​ในส​ ่งิ ​ทไี​่ ม​่อยาก​ทำ​​ท​ ำ​ใน​สง่ิ ​ที่ก​ ลัว​
กลวั จ​ ะพ​ ดู ผ​ ิด​​​กลัวจ​ ะ​เทศน​์ไมไ่​ด้​​ก​ ลวั ก​ ารส​ อน​คน​อื่น​​​ยัง​
รส​ู้ กึ ไมพ​่ รอ้ ม​ท​ า่ นจ​ ะส​ นบั สนนุ ใ​ หท​้ ำ​​ใ​ หล​้ องด​ ​ู ​แ​ ละเ​มอื่ เ​รา​
ทำ​ไปแ​ ลว้ ​​​ท่านจ​ ะใ​ ห้ก​ ำลงั ​ใจ​​จ​ นก​ ระทัง่ เ​รา​เกดิ ​ความช​ นิ ​
เกดิ ค​ วามช​ ำนช​ิ ำนาญ​​ท​ ำใหเ​้ กดิ เ​ปน็ ค​ วามส​ ามารถ​​เ​พราะ​
เรา​ได้​เคยทำแล้ว​ ​ ​ท่าน​จะ​ไม่​ตามใจ​ลูก​ศิษย์​ตลอด​เวลา​​
บาง​ครั้ง​ตามใจ​ ​ ​แต่​บาง​คร้ัง​ก็​ทำให้​ลูก​ศิษย์​ต้อง​ตาม​ท่าน​
น่ี​เป็น​ความ​สามารถ​ของ​ท่าน​ท่ี​จะ​รู้จัก​กำลัง​ใจ​และ​ความ​
สามารถ​ของ​ลูก​ศิษย์​ ​พยายาม​ให้​ลูก​ศิษย์​เจริญ​ก้าวหน้า​
ใน​ส่ิง​ท่ี​ยัง​ไม่​สามารถ​ทำ​ ​พยายาม​ให้​มี​ความ​สามารถ​ที่​จะ​
ทำได้​​​อนั ​นก​้ี ​เ็ ปน็ ​ลกั ษณะข​ อง​ครทู​ ่ี​มสี​ ต​ิปญั ญา​​

อทิ ธิ​ฤทธ​ทิ์ ี​น่ ่าป​ รารถนา : ๑๓

​ วัน​นี้​อาตมา​ได้​ถาม​น้อง​สาว​ว่า​ใน​ฐานะ​ท่ี​เคย​เป็น​
อาจารย์​ใหญ่​ใน​โรงเรียน​ ​ควร​จะ​สอน​ครู​ท้ัง​หลาย​อย่างไร​​
เขาตอบวา่ ​ค​ วรใ​หค​้ รม​ู ค​ี วามค​ ดิ เ​หน็ ว​ า่ ส​ งิ่ ท​ ไ​่ี ดท​้ ำด​ แี ลว้ ​
ว่ามันดี​ ​เ​พราะ​ส่วน​มาก​ครู​ท้ัง​หลาย​จะ​มี​การ​วางแผน​
สำหรบั ว​ นั ต​ อ่ ไ​ป​​ส​ ำหรบั อ​ นาคตข​ า้ งห​ นา้ ​เ​ชน่ ​ว​ นั น​ เ​ี้ ราส​ อน​
เสร็จ​แล้ว​ ​นัก​ศึกษา​จะ​กลับ​บ้าน​ ​เรา​ต้อง​วางแผน​ว่า​พรุ่ง​น้ี​
จะ​ทำ​อะไร ​ม​ โี​ปรแกรมอ​ ะไร​​ม​ีวชิ า​อะไรท​ ​่ีจะต​ ้อง​สอน​เ​รา​
จะพยายาม​คิด​เรื่อง​อนาคต​ตลอด​ ​บาง​ครั้ง​เรา​ไม่​คิดว่า​
ความ​สำเร็จ​ของ​เรา​มัน​ถึง​ไหน​แล้ว​ ​ ​เรา​ได้​ทำ​อะไร​ให้​
สมบูรณ์​ถึง​ระดับ​ไหน​แล้ว​ ​เร่ือง​การทบทวนก็สำคัญ​มาก​
เพราะ​ส่วน​มาก​เรา​จะ​มอง​ว่า​ ควร​จะ​ทำ​อะไร​ต่อ​ ​เรา​ไม่​ได้​
มองว​ า่ ส​ งิ่ ​ท่ี​เราท​ ำ​แลว้ ​ม​ ันสำเรจ็ ด​ีแล้ว​
​ เช่น ​โรงเรียนทอสีเปิดสอนระบบพุทธ ๙ ปีแล้ว
เราต้องมองว่าส่ิงท่ีเราได้ทำอยู่มันก็ดีแล้ว ท่ีครูได้
สอนวันน้ีท่ีสมบูรณ์​ที่บริบูรณ์ก็ดีอยู่แล้ว เราต้องพัก​
อยู่​กับปัจจุบัน​ ให้​เกิด​ความ​พอใจ​ใน​ส่ิง​ท่ีได้ทำไปแล้ว
ถ้า​หากว่า​เรา​ไม่​เกิด​ความ​พอใจ​กับ​ส่ิง​ที่​ได้​ทำ​ไป​แล้ว​ ​จิต​ก็​
จะ​ตง้ั อ​ ยู​่ใน​อปุ าทาน​ความ​หวงั ​​ความ​อยากไ​ด​้ในส​ ิ่ง​ท​ี่ยงั ​
ไม่เ​กดิ ข​ ้นึ ​แ​ ละ​ไมต​่ ั้ง​อย่​ูใน​ความพ​ อใจ​กบั ​ส่งิ ท​ ​ีเ่ กดิ ​ขน้ึ ​​​
​ ถา้ ห​ ากเ​ราภ​ าวนาว​ า่ ด​ แี ลว้ ​​พ​ อใจแ​ ลว้ ใ​นส​ ง่ิ ท​ ไ​่ี ด​้

๑๔ : พระอาจารย์ญาณธมฺโม

ทำข​ น้ึ ม​ าใ​นว​ นั น​ ​้ี ​เ​ราจ​ ะเ​กดิ ค​ วามเ​อบิ อ​ มิ่ ​ค​ วามส​ บายใจ​
เช่น​​เม่ือ​คืน​น้ี​เรา​ได​้สวด​มนต​์ไหว​้พระ​ ​บท​สุดท้าย​เรา​ก็ได้​
สวดอ​ ทุ ศิ บ​ ญุ ก​ ศุ ล​​เ​มอื่ เ​ราอ​ ทุ ศิ บ​ ญุ ก​ ศุ ล​​เ​ราต​ อ้ งม​ ค​ี วามร​ สู้ กึ ​
วา่ เ​ราม​ บ​ี ญุ ​เ​ราไ​ดท​้ ำความด​ ไ​ี ว​้ ​เราพ​ อใจใ​ นค​ วามด​ ที ไ​่ี ดท​้ ำ​
ใน​วนั ​นี้​​​โดย​การม​ อบ​ความร​ ู้​​ว​ ิชา​ของ​เรา​ให้เด็ก ​แ​ ละเ​ราก​ ​็
ตอ้ งม​ ค​ี วามร​ สู้ กึ ว​ า่ พ​ อใจใ​ นค​ วามด​ ​ี ​ใ​ นบ​ ญุ ก​ ศุ ลท​ ต​ี่ นเองไ​ด​้
ทำ​​แ​ ละ​พอใจ​ในบ​ ุญ​กุศล​ท่​คี รอู​ ื่น​ๆไ​ด​ท้ ำ​ร​ วม​ทง้ั ​เจ้าห​ น้าที่​
ทช​่ี ว่ ยง​ านโ​รงเรยี นข​ องเ​รา​​แ​ ละเ​ราพ​ อใจใ​ นค​ วามต​ ง้ั ใจข​ อง​
ผู้​ปกครอง​ ​พ่อ​แม่​ของ​เด็ก​ท่ี​มี​ความ​ต้ังใจ​ดี​ ​ ​หวัง​ดี​ต่อ​ลูก
ต​ อ่ ​หลาน​​เ​รา​มค​ี วามพ​ อใจในบุญ​​
​เมอ่ื เ​ราม​ ค​ี วามร​ สู้ กึ ว​ า่ พ​ อใจแ​ ลว้ ​​จติ เ​ปน็ บ​ ญุ ​จ​ ติ เ​ปน็ ​
กุศล​ ​ ​เกิด​ปีติ​สุข​ขึ้น​มา​ ​ ​เอิบ​อิ่ม​ด้วย​ความ​ซาบซ้ึง​ปล้ืม​ใจ​
ใน​ความ​ดี​ท่ี​ตนเอง​ทำ และ​ที่​ผู้​อ่ืน​ทำ เม่ือเราเกิด
ความเอิบอ่ิมภูมิใจในความดีที่ตนเอง​และผู้อื่นทำ
เราจะมีสมบัติท่ีจะมอบให้ผู้อ่ืนได้​ เพราะเรามี
กุศลเจตนาท่ีจะแบ่งความดีที่​ได้​ทำ​ ความดีที่
เราพอใจ​เอบิ อิม่ สบายใจแลว้ ยกความดนี ัน้ ใ​ หแ​้ บ่งส​ ่วน​
บุญ​กุศลต​ อ่ ​ครตู​ อ่ ​อาจารย​์ ญ​ าตสิ นิทมติ ร​สหาย​​แ​ ล้วก​ ​็ม​ี
ความ​ซาบซ้ึง​ใน​จิตใจ​ ​ ​ว่าเรา​มี​ความ​ดี​ท่ี​จะ​แบ่ง​ให้​ผู้​อื่น​ได้​
​ ถ้า​หากว่า​เรา​ไม่​ระลึก​ถึง​ความ​สำเร็จ​ของ​ตน​ที่​ได้​

อิทธิฤ​ ทธท​ิ์ ​่ีนา่ ป​ รารถนา : ๑๕

ทำใ​ น​วนั น​ ​้ี ​​เหมอื น​เราไ​มค่​ ดิ ถึง​สมบตั ท​ิ ี่​เรา​จะแ​ บ่งใ​ ห​้ผอู้​ น่ื ​
เมอ่ื เ​ราจ​ ะแ​ บง่ ส​ มบตั ข​ิ องเ​ราใ​หผ​้ อ​ู้ น่ื แ​ ลว้ ​​เ​ราก​ จ​็ ะต​ อ้ งส​ ำนกึ ​
และ​คิด​ว่า​ ​เรา​มี​อะไร​บ้าง​ใน​มือ​ของ​เรา​ท่ี​จะ​ให้​ผู้​อ่ืน​ ที่​จะ​
เสีย​สละ​แก่​ผู้​อ่ืน​ ​ที่​จะ​ทำบุญ​ทำ​ทาน​ให้​ผู้​อื่น​ ​เรา​จะ​ต้อง​
สำนึก​ก่อน​ว่า​เรา​มี​อะไร​บ้าง ​ใน​วัน​น้ี​เรา​ควร​จะ​สำนึก​ว่า
เรา​ได้​ทำความ​ดี​อะไร​บ้าง​ และ​ควร​จะ​สำนึก​ทุก​วัน​ก่อน​
เรา​แบ่ง​ส่วน​บุญ​กุศล​ว่า​ ​เรา​ได้​ทำ​อะไร​บ้าง​ใน​วัน​น้ี
​ท่ี​เป็น​ประโยชน์​ใน​โรงเรียน​ของ​เรา​ ​ใน​สังคม​ของ​เรา​
ในโ​ลกข​ อง​เรา เรา​ได​้เสียส​ ละอ​ ะไรบ​ ้าง​​ทบทวนระลกึ ถ​ งึ ​
สิ่ง​เหล่า​น้ัน​ ​ ​และ​เกิด​ความ​ซาบซ้ึง​ปลื้ม​ใจ​ใน​การกระทำ​ที่​
สำเร็จ​ของ​ตน​​มันส​ ำเรจ็ แ​ ลว้ ​เรา​ได้​ทำไ​ป​แลว้ ​​​
​ จรงิ อ​ ย​ู่ เ​ราท​ ำด​ ก​ี วา่ น​ ไ​ี้ ด​้ ​เ​ราพ​ ฒั นาต​ นเองใ​ หด​้ กี วา่ น​ ​้ี
ได​้ ​​แตว​่ า่ ที่​ทำไ​ป​แลว้ ​​​มนั ส​ ำเรจ็ แ​ ลว้ ​​​เปน็ ส​ มบัตท​ิ าง​จติ ใจ​
ของเ​รา​​​เป็นบ​ ญุ ​เป็น​กศุ ล​ทเ​่ี ราม​ ​ีความพ​ อใจ​ในก​ าร​กระทำ​
และ​ได้​อุทิศ​ความ​ดี​น้ัน​เพื่อ​ให้​ผู้​อื่น​มี​ความ​สุข​ความ​เจริญ​
ดว้ ย​​เ​ราต​ อ้ งร​ ะลกึ ถ​ งึ ส​ งิ่ ท​ ด​ี่ ง​ี ามท​ ไ​่ี ดท​้ ำไ​ว​้ เ​พอื่ จ​ ะไ​ดใ​้ ห​้
กำลงั ใ​จ​ต่อต​ นเอง​​​ท่จ​ี ะท​ ำความด​ ​ีต่อ​ไป​​แ​ ละใ​ห้การ​
สนับสนนุ ผ​ ู้อ​ นื่ ​ในก​ ารท​ ำความ​ดข​ี องเ​ขา​ดว้ ย​​​นแ่​ี หละ​
เป็นห​ นา้ ทข​ี่ อง​เรา​​​
​​ ​ในวันนี้อาจารย์ก็ไม่มีอะไรมากที่จะมอบให้คณะ

๑๖ : พระอาจารยญ์ าณธมฺโม

ครูและผู้ปกครอง​ นอกจากการให้การสนับสนุนให้
กำลังใจ ให้เรารู้จักวิธี​การ​เอา​ศีรษะ​ของ​เรา​ท่ี​เต็ม​ไป​
ด้วย​ความ​รู้​มา​สัมผัส​ศีรษะ​ของ​เด็ก​ที่​อยู่​ใน​การ​ดูแล​
ของเ​รา ​โ​ดยก​ ารม​ อบส​ ตป​ิ ญั ญาข​ องเ​รา ​ ม​ อบค​ วามร​ู้
ความเ​มตตา​ค​ วามช​ ว่ ยเ​หลอื ​ค​ วามเ​อน็ ดต​ู อ่ เ​ดก็ น​ น้ั ​ใ​ห​้
เรา​คิด​ว่า​เด็ก​คน​น้ัน​อาจ​จะ​เคย​เป็น​ครู เปน็ ​อาจารยข์ อง​เรา​
เรา​ก​เ็ ลย​มอบ​ดว้ ย​ความ​เคารพ​ใน​ดวง​จติ ​​ดวง​วิญญาณน้ัน
และ​เรา​ก็​ร​วู้ ่า​เดย๋ี วน​ ้ีเ​รา​เป็นครูเ​ขา ตอ่ ​ไปเ​ขา​อาจ​จะเปน็ คร​ู
ของ​เรา​เ​ราไ​ด​เ้ อา​ความ​รทู้​ ี​อ่ ยู่​ในโ​ลกน​ ้​ี มอบใ​ หแ​้ ก่ก​ ัน​ เพอื่ ​
เพิม่ ​ความร​ ​ู้ เ​พมิ่ พ​ ระธ​ รรมใ​ น​โลก​น้ี​​​
​ ​เรา​จะมอบหลักธรรมให้นักศึกษาเพ่ือพ้นจากทุกข์
ได้ อัน​น้ี​จะ​เป็น​ภาพ​ที่​ควร​ติด​อยู่​ใน​ใจ​ของ​เรา​ใน​การ​ทำ​
หน้าท่ี​ ​ข​ อ​ให้​กำลัง​ใจ​สนับสนุน​การ​สร้าง​ศรัทธา​ใน​การ
กระทำของเราว่า​ มันดีแล้ว​ มันถูกแล้ว​ ​ท่ีเราทำมัน​
ก​็สมบรู ณแ์ ล้ว​เ​พราะเ​ราไ​ด้​ทำใหส้​ ำเรจ็ ​ถงึ จดุ นี้​ ท​ ี่​จะ​ต้อง​
ทำ​ต่อ​ไป​เรา​ก็​เอา​ไว้​สำหรับ​วัน​ข้าง​หน้า​ ​ท​ ี่​จะ​พัฒนา​ให้​
เจริญ​​ที่​ต้อง​แก้ไข​​เร่ือง​นั้น​เอา​ไว้​วัน​ข้าง​หน้า​ วัน​นี้​เรา​ได้​
สอน​เขา​จน​เหนื่อย​แล้ว​ ​ต้อง​ให้​กำลัง​ใจ​ตนเอง​ว่า​ ​ดี​แล้ว​ๆ​
ถ้าเราได้ให้กำลังใจตัวเองเรื่องการสอนทุกวันว่า
ดีแล้วๆ ​เราก็จะได้กลับบ้านด้วย​หน้าตา​ย้ิม​แย้ม

อิทธฤ​ิ ทธทิ​์ น​่ี า่ ป​ รารถนา : ๑๗

แจม่ ใส เ​บกิ บ​ าน​ไม​เ่ หน่อื ย​เกนิ ​ไป​มก​ี ำลัง​ใจ ​เวลา
กลับ​บ้าน​ เจอพ​ ่อ​แม ่ ​เจอ​สามี​ภรรยา​​เ​จอล​ ูกข​ อง​
ตนเอง ​ให้​มี​ความ​รู้สึก​ว่า​มี​กำลัง​ใจ​จาก​การ​ทำงาน​ท่ี​
เรียก​ว่า​สัมมา​ชี​โว​ ​ ​การ​เล้ียง​ชีวิต​ที่​ชอบ​ที่​ดี​ท่ี​งาม​ที่​
สมบูรณ์​​​
​ ใน​วันน​ ี​้ได้ใ​ หข้​ อ้ คดิ ​ธ​ รรมะเ​ล็ก​ๆ​น้อย​ๆ​เพื่อ​จะเ​ปน็
ค​ติ กำลงั ใ​ จ​ใน​ชวี ิต​ของเ​รา​ ​และใ​ นโ​รงเรยี นข​ อง​เรา​​ขอ​ให้
ทุก​คนมี​ความ​สุข​ ​ความ​เจริญ​ ​ความก้าวหน้า​ใน​คุณ​ธรรม
ท้งั ​หลาย ตอน​น้ีจ​ ะ​เปิดโ​อกาส​ถา้ ​มคี​ ำถาม​ตอ่ ไ​ป ​


๑๒ : พระอาจารย์ญาณธมโฺ ม

อิทธฤิ​ ทธ์ิ​ท​่นี ่าป​ รารถนา : ๑๙

​ ถาม​ :​ กราบ​นมสั การพ​ ระอ​ าจารย​์ ​​อยากจ​ ะ​ทราบ​
ว่า​พระ​อาจารย์​มี​หลัก​ใน​การ​เป็น​ครู​อย่างไร​ ​ สำหรับ​
ตัวพระอาจารย์เ​อง เ​มือ่ ​สมยั ท​ พ​ี่ ระอ​ าจารย​์เป็นเ​จ้าอ​ าวาส​
วัด​ป่าน​ านาชาต​ิ ​​หรอื ท​ ี่​สำนกั สงฆร​์ ัตนว​ นั ​
​ ตอบ​ : มี​ครั้ง​หน่ึง​อาจารย์​มา​เทศน์​ท่ี​กรุงเทพฯ​
ท่ี​บริษัท​ประกัน​ชีวิต​​ มี​การ​ประชุม​จาก​ผู้​ขาย​ประกันชีวิต
จาก​ทั่ว​โลก​ท้ังหมด​สัก​ ๔๐๐​ ​กว่า​คน​ ​เมื่อ​เทศน์​เสร็จแล้ว​
มี​ชาว​ต่าง​ชาติ​คน​หน่ึง​มา​ถาม​อาจารย์​เหมือน​กัน​ว่า
เมื่ออาจารย์เป็นผู้สอน อาจารย์​จะ​รู้​ได้​อย่างไรว่า
ท่าน​มี​ผล​ใน​การ​สอน​คน​อ่ืน​มาก​น้อย​แค่​ไหน ท่าน
จะประเมิน​ผลอ​ย่าง​ไร​ ​ ​อาจารย์​ได้​ตอบ​ไป​ว่า​เรา​มี​วิธีใน​
การ​ประเมิน​ผล​ของ​ตนเอง​ ​โดย​พิจารณา​ว่า​ถ้า​ตอน
​กลาง​คืน​ก่อน​จะ​หลับ​ ​และ​ได้​กราบ​ไหว้​พระ​เสร็จ​แล้ว​
อุทิศ​บุญ​กุศล​แล้ว​ ​ก็​สำนึก​ระลึก​ถึง​การ​กระทำ​ของ​ตน​
ใน​วัน​ที่​ผ่าน​ไป​ว่า​ ​เรา​ได้​ทำให้​ดี​ที่สุด​ไหม​ ​ลูก​ศิษย์​ท่ี​อยู่
ในวัด​ของ​เรา​ได้​มี​ความ​พยายาม​ให้​ดี​ที่สุด​ตามความ
สามารถ​ของ​ตนห​ รือย​ ัง​​​
​ ถ้า​เรา​มี​ความ​รู้สึก​ว่า​ทั้ง​ตนเอง​และ​ลูก​ศิษย์
​ได้​มี​ความพยายาม​ใน​วัน​นี้​อย่าง​ดี​ท่ีสุด​ตามความ​สามารถ​
ของตน ​ ​เ​รา​มี​ความ​พอใจ​แล้ว​ในการ​กระทำ​ ​จะ​ให้​มัน

๒๐ : พระอาจารย์ญาณธมโฺ ม

ดี​กว่า​น้ี​ไม่​ได้​ ​มันดี​ที่สุดที่​ทำ​ ​ที่​ต้ังใจ​ทำ​ อัน​นี้​แหละ​เป็น​
วิธี​การ​ประเมิน​ผล​ที่​รู้สึก​ว่า​น่า​จะ​เอา​เป็น​หลัก​ใน​ชีวิต​
ของ​ตน​ว่า​ ​ใน​ฐานะ​ที่​เป็น​ครู​ ​หรือ​ฐานะ​ท่ี​เป็น​มนุษย์​ ​ ใน​
ฐานะ​ท่ี​เป็น​ชาว​พุทธ​ ​เ​รา​ได้​ทำ​ดี​ที่สุด​แล้วหรือ​ยัง​ ใน​
วัน​นี้​ตาม​ความ​สามารถ​ของ​ตน​​ ​แต่​ไม่ใช่​หมาย​ถึงว่า​
ด​ีท่ีสดุ ​คือ​ไม่มี​ความ​ผดิ ​พลาด ​​บาง​คร้ัง​ก​็มคี วามผดิ พลาด​
เหมอื น​กนั ​​​แต​เ่ ราไ​ด้​พยายาม​ใหด้​ ที​ ่ีสุด​​​
​ ถาม​ : ​ อย่าง​กรณี​ที่​ลูก​ศิษย์​ท่ี​มี​ความ​แตก​ต่าง​
กัน​มาก​ ​อย่าง​กรณี​ท่ี​วัด​อาจ​จะ​แตก​ต่าง​กัน​ด้วย​เชื้อ​ชาติ​
แตกต่าง​กัน​ด้วย​อายุ​ต่างๆ​ ​แตก​ต่าง​กัน​ด้วย​การ​ศึกษา​
ท่าน​มี​แนวทาง​ใน​การ​ปฏิบัติ​ต่อ​ลูก​ศิษย์​ท่ี​แตก​ต่าง​กัน​หรือ​
ไม่​ อย่างไร​
​ตอบ : ​ที่​วัด​ป่า​นานาชาติ​​พระ​ท่ีมา​อยู่​ที่​นั่น​​​หรือ​
ญาติโยม​ที่มา​ร่วม​กัน​ปฏิบัติ​ธรรม​มา​จาก​ท่ัว​โลก​ ​ ​มี​
ท้ังหมด​ ​๒๐​ ​กว่า​ชาติ​ ​ ​วัฒนธรรม​ไม่​เหมือน​กัน​ ​ ​ภาษา​​
การ​ศึกษา​ ​ความ​รู้​ไม่​เหมือน​กัน​ ​ ​แต่​จะ​ใกล้​เคียง​กัน​ท่ี​เป้า​
หมาย​ใน​ชีวิต​ ​ ​คือ​อยาก​จะ​ศึกษา​หลัก​พุทธ​ศาสนา​ ​ ​และ​
มคี​ วามเ​ช่อื ​ม่ัน ใ​ นพ​ ระพุทธ ​พระ​ธรรม​ พ​ ระ​สงฆ​์ ​​และ​
มี​ความเ​สยี ส​ ละ​ ตอ่ ธ​ รรม​วนิ ยั อ​ นั ​เดยี วกนั ​​เมอ่ื เ​รา​มหี​ ลัก​
อย่าง​นี้​เป็น​หัวใจในการสอน ​การอบรมลูกศิษย์ที่มีอดีต​

อิทธ​ฤิ ทธท​์ิ ​่นี ่า​ปรารถนา : ๒๑

มภี มู หิ ลงั ทห่ี ลากหลาย​​บางค​ นเ​รยี กว​ ดั น​ านาชาตว​ิ า่ เ​ปน็ ว​ ดั ​
นานาจ​ ติ ต​ งั ​ เ​พราะท​ กุ ค​ นกน​็ านาจ​ ติ ต​ งั ม​ าจ​ ากห​ ลากห​ ลาย​
ประสบการณไ​์ มเ​่ หมอื นก​ นั ​​แ​ ตว​่ า่ แ​ กน่ ส​ ารข​ องวดั ​แ​ กน่ ส​ าร​
ของ​พระ อ​ ันเ​ดียวกันท​ ่ี​จะ​ศกึ ษาธ​ รรมว​ ินยั ​ ใ​ หเ​้ ป็นจ​ ดุ ​ท่​จี ะ​
ทำใหบ้​ รรลธ​ุ รรม​ได​้ ​​
​ ​เหมือน​ท่ี​โรงเรียน​ของ​เรา​ ​เด็ก​ๆ​ มา​จาก​ครอบครัว​
ต่าง​กัน​ ​มี​ประสบการณ์​หลาก​หลาย​ ​ ​บ้าน​เด็ก​แต่ละ​คน​ก็​
นานา​จิต​ตัง​เหมือน​กัน​ ​ ​แต่​ว่า​แก่น​สาร​ของ​โรงเรียน​ท่ี​จะ​
ใช้​หลัก​พุทธ​ใน​การ​สอน​ให้​เขา​มี​ความ​รู้​ทาง​โลก​ ​เพื่อ​จะ​
เล้ียงช​ วี ิตไ​ด้​​ให้​เขาม​ คี​ วาม​รทู้​ าง​ธรรม​​ท​ ​ีจ่ ะเ​กิด​สตปิ​ ัญญา​
ดับ​ทุกข์​ได้​ ​ใ​ ห้​เป็น​มนุษย์​ที่​มี​คุณ​ธรรม​ ​นี่​เป็น​หลัก​ของ​
โรงเรียนเ​รา​​น​ ​่แี หละถ​ ือว่าโ​ชคด​ ​ี ​​
​ นอ้ งส​ าวอ​ าตมาไดพ​้ ดู เ​ลน่ ว​ า่ เ​ขาอ​ จิ ฉาครเ​ู รา​เ​ขาเ​ปน็ ​
ครู​ใหญ่​ใน​โรงเรียน​ท่ี​ออสเตรเลีย​ก็​ไม่มี​เป้า​หมาย​ลักษณะ​
อย่าง​น้ี​ ​ ​ใน​โรงเรียน​ของ​รัฐ​ ​ครู​ก็​มี​หลาย​เป้า​หมาย​ ​ ​เด็ก​มี​
ความ​รสู้ กึ ​​​ความน​ ึกคดิ ห​ ลายอ​ ย่าง​​น​ านาจ​ ิต​ตัง​​แ​ ตไ​่ มม่ ​ี
เป้า​หมาย​ใน​การส​ อน​​​เพราะไม่มี​เปา้ ห​ มายใ​ นช​ ีวติ ​​​ส่วน​
มาก​เป้า​หมาย​ใน​การ​สอน​ใน​โรงเรียน​ต่าง​ประเทศ​ ​หรือ​
โรงเรียน​ใน​ประเทศ​ไทย​เรา​ ​เพื่อ​ให้​เด็ก​จบ​สอบ​ได้​ ​สอบ​
ผ่าน​ได้​ ​ก็​ถือว่า​ทำ​หน้าท่ี​แล้ว​ ​ ​เรียน​เข้า​ประถม​ ​ ​เข้า​ถึง​

๒๒: พระอาจารยญ์ าณธมฺโม

มหาวทิ ยาลยั ​​​จบ​เป็น​ดอกเตอร​์ ​​เปน็ ​อนั วา่ ​จบ​การ​ศกึ ษา​​​
​ แต่​ใน​โรงเรียน​ของ​เรา​ ​ ​มัน​ทวน​กระแส​ของ​โลก​อยู่​
ในขอ้ ห​ นง่ึ ท​ ว​ี่ า่ ​​โ​รงเรยี นน​ ม​ี้ เ​ี ปา้ ห​ มายท​ ล​่ี กึ ก​ วา่ โ​รงเรยี น​
ทว่ั ไป​​​ม​ีเปา้ ​หมาย​ทจ​ี่ ะใ​ห้​วิชาค​ วามร​ ู้​เร่ือง​ชีวติ ​​ท​ จ​ี่ ะ​
ทำให้​ชีวิต​มี​ความ​สุข​ที่​ไม่มี​โทษ​ต่อ​เด็ก​ท้ัง​หลาย​ มี
เ​ป้า​หมาย​ท่​จี ะใ​ห​ว้ ิชาค​ วาม​ร​ู้ทจ่ี​ ะเ​ล้ียงช​ วี ิตไ​ด้​​​และ​มี​
เปา้ ห​ มายอ​ นั ย​ ง่ิ ใ​หญท​่ จ​่ี ะใ​หเ​้ ดก็ แ​ ตล่ ะค​ นพ​ ฒั นาค​ วาม​
สามารถท​ จ​่ี ะม​ ค​ี วามส​ ขุ ใ​นช​ วี ติ ท​ ไ​่ี มม่ โ​ี ทษ​​ส​ ามารถล​ ะ​
ทกุ ข์ไ​ด้​​นั่นเ​ปน็ เ​ป้าห​ มายใ​ หญข​่ องเ​รา​​เราใ​ ชเ​้ ป้าห​ มายน​ ั้น​
เปน็ ว​ ธิ ท​ี จ​ี่ ะส​ อน​​แ​ ละเ​ปน็ ส​ ง่ิ ท​ ท​ี่ ำใหเ​้ ราม​ ก​ี ำลงั ใ​ จ​​ม​ พ​ี ลงั ใ​ น​
การ​สอน​​ทำให้​เราม​ ​จี ดุ ​มุง่ ​หมายป​ ลาย​ทาง​เดียวกนั ​​​เ​ราจ​ ึง​
มก​ี ำลัง​เพ่อื ก​ ารเ​ดินท​ างก​ ัน​ได​้ ​​
​ หลวง​พ่อ​ชา​ท่าน​เปรียบ​เทียบ​เหมือน​ตะขาบ​มี​ขา​
หลาย​ขา​ ​ ​แต่​เม่ือขา​มี​ความ​สามัคคี​ ​ ​มัน​ก็ไป​ได้​ ​ ​ถ้า​มี​ขา​
ข้าง​หน่ึง​ที่​ไม่​สามัคคี​ ​คง​ยุ่ง​เหมือน​กัน​ ​ ​แต่​เมื่อ​มี​ความ​
สามัคค​ี ​พ​ รอ้ ม​เพรียง​กัน​​ต​ ะขาบ​มนั ​ไปไ​ด​้ ​​เพราะข​ า​มัน​
สามคั ค​ีพร้อมก​ ัน​​ก​ ​เ็ หมือนเ​รา​​​เราม​ เ​ี ปา้ ห​ มายเ​ดยี วกัน​​​จงึ ​
เปน็ ​กำลงั ​​​เป็นค​ วาม​สามคั ค​ที จี่​ ะท​ ำใหเ​้ ด็กม​ คี​ วาม​รู​้ความ​
สามารถท​ าง​โลก​​​และท​ าง​ธรรมด​ ว้ ย​ม​ ี​วิชา​ท่​จี ะแ​ กป้​ ัญหา​
ใน​ชีวติ ​เขาไ​ด​้

อทิ ธ​ิฤทธท์ิ​ ​่ีน่าป​ รารถนา :๒๓

​ ครง้ั ​หน่งึ ​​​มีค​ นม​ า​ถามห​ ลวงพ​ ่อ​ชา​วา่ ​อทิ ธฤิ​ ทธ ​์ิ
ทั้ง​หลาย​ ​อัน​ไหน​ดี​ท่ีสุด​ ​น่า​ปรารถนา​ท่ีสุด​ ​​เพราะ​
อิทธ​ิฤทธมิ​์ ัน​มีห​ ลายอ​ ย่าง​​ผ​ ้​ูฝึก​สมาธเิ​หาะไ​ด้​ เดนิ ​บนน​ ำ้ ​
ได้​​ท​ ะลุ​กำแพง​ได้​​ร​ ้​วู าระ​จติ ​ของผ​ ​ู้อนื่ ไ​ด้​​พ​ วกค​ ร​อู ยาก​จะ​
รู้​วาระ​จติ ข​ อง​ลกู ​ศิษย์​ไหม​​​สมอง​แตกแ​ น่​​ข​ นาด​เราไ​ด้ยิน​
เสียงเ​ขา​พดู ​​​เหน็ ก​ ารก​ ระทำ​​ก​ ​็เหนื่อย​มากพ​ อแลว้ ​​​ถ้าร​ ​ู้
ความ​คดิ ข​ องเ​ขาอ​ ีก​​​ยง่ิ ไ​ป​กนั ใ​ หญ่​​​ถ้า​ไม่​เปน็ พ​ ระอ​ รห​ ัน​ต​์
หวั แ​ ตกแ​ น​่ ​อทิ ธฤ​ิ ทธม​ิ์ ห​ี ลายอ​ ยา่ ง​แ​ ตม​่ อ​ี ทิ ธฤ​ิ ทธป​์ิ ระเภท​
หนง่ึ ท​ ห​่ี ลวงพ​ อ่ ช​ าท​ า่ นต​ อบว​ า่ ​​นา่ ป​ รารถนา​​แ​ ละเ​ปน็ ​
ประโยชนม​์ ากค​ อื ก​ ารร​ จ​ู้ ติ ​และรอู้ ปุ นสิ ยั ของผ​ อ​ู้ นื่ ​​แ​ ละ​
สามารถ​สอน​ธรรมะ​ท่ี​ตรง​อุปนิสัย​ของ​เขา ​ นี่​แห​ละ​
เป็น​อิทธิ​ฤทธิ์​อภินิหาร​ท่ี​ทำให้​ครู​อาจารย์​มี​กำลัง​มาก​​
มีพ​ ลงั ​มาก​​​มีผ​ ลม​ าก​ในก​ าร​สอน​​​
​ สำหรบั ​พวก​เรา​​เ​ราจ​ ะเ​จริญค​ วามสามารถประเภท​
นี​้ไดอ้​ ย่างไร​​ก​ ต็​ อ้ ง​เรียนร​ ู้​​โ​ดยม​ ี​สติ​และ​สมาธ​ิ ​​ตง้ั ใจม​ ่นั ​ใน​
การ​ศึกษา​เดก็ ๆ​ท่ี​เป็นล​ กู ​ศษิ ย์​​ว​ ่า​เดก็ ​คน​นมี​้ ี​จรติ ​นิสยั แ​ บบ​
ไหน​​เ​ขา​มค​ี วามช​ อบและไม​ช่ อบ​อะไร​​​เมื่อเ​ราม​ คี​ วาม​รู้​ใน​
ลกั ษณะน​ นั้ ​​​เราก​ ็เ​อา​มาใ​ ชใ​้ นก​ ารม​ อบ​ความร​ ​ู้ให​เ้ ขา​​อ​ ัน​น้ี​
จะเ​รยี กวา่ อ​ ทิ ธฤ​ิ ทธข​ิ์ องค​ รกู ไ็ ด​้ ​เ​ปน็ อ​ ภนิ หิ ารแ​ บบหนงึ่ ของ​
คร​ูท่​ที ำให​้เดก็ เ​ กิด​ความอ​ ศั จรรยข​์ ้นึ ​มา​​เ​กดิ ค​ วาม​สามารถ​

๒๔ : พระอาจารยญ์ าณธมโฺ ม

ข้นึ ม​ าท​ ่​ีเหนือ​ความส​ ามารถป​ กตธ​ิ รรมดาข​ องเ​ขา​​ค​ รู​ท​ี่เกง่ ​
จะ​มี​ความสามารถ​แบบ​นี้​ ​เพราะ​เป็น​ผู้​ศึกษา​เด็ก​ ​ ​เรียน​รู้​
เรอื่ ง​เดก็ ​​​เรียนร​ ู้​เรอ่ื ง​จติ ​​แ​ ละ​มจี ิตวิทยาท​ ี่​จะ​ทำให้​เด็ก​ทำ​
สง่ิ ท​ ่ี​ครตู​ ้องการใ​ หส้​ อน​​​ใหเ​้ รียน​​​ใหเ​้ กดิ ​ความ​เข้าใจ​​​
​อยากให้พวกครู​และ​ผู้​ปกครอง​เจริญอิทธิ​ฤทธิ์​
อภินิหารความสามารถแบบน้ี​ ​ ​ไม่​ต้อง​เหาะ​ออก​จาก​
หนา้ ตา่ งตกึ แ​ ตใ​่ หม้ ส​ี ตป​ิ ญั ญาใ​นก​ ารศ​ กึ ษาล​ กู ศ​ ษิ ยข​์ องเ​รา​
ว่า​เขาช​ อบและไ​มช่​ อบ​อะไร​ ​เ​ขาส​ นใจอ​ ะไร​​ เ​รา​จะใ​ ห​้เขา​
เกดิ ค​ วามเ​ขา้ ใจใ​นว​ ชิ าข​ องเ​ราท​ อ​ี่ ยากจ​ ะม​ อบใ​ หเ​้ ขาด​ ว้ ยว​ ธิ ​ี
ไหน​​​อภินิหารน​ เ​้ี ป็นอ​ ภินิหารท​ ม่ี​ ผ​ี ลม​ าก​​ม​ ี​อานสิ งส​์มาก​
ครู​และ​อาจารย์​ท้ัง​หลาย​ท่ี​มี​อภินิหาร​น้ี​สามารถ​ท่ี​จะ​สอน​
ลูก​ศิษย์​ได้​มาก​ ​เป็น​เหตุ​ท่ี​พระพุทธเจ้า​ ​เม่ือ​เวลา​ลูก​ศิษย์​
มา​หา​ท​ ่านท​ รงส​ อนไ​มก​่ คี​่ ำ​ล​ กู ​ศษิ ย์​บรรลุ​เป็นพ​ ระ​อร​หนั ​ต​์
​เพราะ​พระองค์​รู้​อุปนิสัย​ของ​ลูก​ศิษย์​ ​เขา​ชอบ​แบบ​ไหน​มี​
อคต​ิ ​ความล​ ำเอยี งแ​ บบไ​หน​มจ​ี รติ ป​ ระเภทใ​ด​เปน็ แบบโ​ทสะ​
โมหะ​ ​หรือ​โลภ​ะ​ ท่าน​จะ​สอน​ธรรมะ​อัน​ไหน​ท่ี​เหมาะ​สม​
กับเ​ขา​​ท​ ่​ีทำให้​เขา​สนใจ​​​และ​ตรัสรธู้​ รรมไ​ด​้ ​​
​ เราอ​ ยโ​ู่ รงเรยี นพ​ ทุ ธเ​ราก​ ต​็ อ้ งศ​ กึ ษาจ​ ากพ​ ระพทุ ธเจา้ ​
ตอ้ งศ​ กึ ษาจ​ ดจอ้ งด​ ว​ู า่ ล​ กู ศ​ ษิ ยค​์ นน​ ม​้ี จ​ี รติ แ​ บบไ​หน​​อ​ าตมา​
อยู่​วัด​ป่า​นานาชาติ​ ​ ​ก็​ต้อง​ศึกษา​ลูก​ศิษย์​ว่า​ ​ ​ถ้า​เรา​สอน​

อทิ ธิ​ฤทธท​์ิ ี่​น่าป​ รารถนา : ๒๕

แบบ​น​้ี ล​ กู ศ​ ษิ ย์ม​ ปี​ ฏิกิริยาอ​ ย่างไร​เ​ชน่ ​​อาตมา​จะส​ อน​ชาว
​ต่าง​ชาติ​เหมือน​พระ​อีสาน​สอน​พระ​อีสาน​ก็​ไม่​ได้​ ​ ​เป็น​
วิชา​ที่​ตรง​กัน​ข้าม​ ​เช่น​ หลวง​พ่อ​ชา​ท่าน​เคย​ดุ​ว่า​ลูก​ศิษย์​
ตรง​ๆ​​​เวลาท​ า่ นส​ อน​พระ​อสี านท​ ่าน​ดุเพราะทา่ นก็สบายๆ
ย่ิง​ดุ​เขา​ย่ิง​เคารพ​ แต่​เวลา​ท่าน​สอน​พระต่างชาติจะต่าง​
กัน​มาก ท่าน​จะ​ย้ิม​แย้ม​แจ่มใส​เบิกบาน ​ใจดี เพราะว่า
พระต่างชาติจะเครียด ถ้า​เห็น​รูปภาพ​หลวง​พ่อ​ชา​เวลา
​เขา​ถ่าย​ภาพ​ท่ี​อยู่​ที่วัด​หนอง​ป่า​พง​ ​ท​ ่าน​จะ​น่ัง​ขรึมทำ
สมาธิ​​หน้าข​ รึม​เลย​ แ​ ตเ​่ วลา​เราเ​หน็ ​ภาพตอนท่านไป​ตา่ ง​
ประเทศ​ ​หน้า​ยิ้ม​แย้ม​แจ่มใส​เบิก​บาน​​​คือ​ท่าน​รู้​ว่า​เร่ือง​
แบบ​น​้เี ปน็ จ​ ติ วทิ ยา​​ท่านฉ​ ลาด​มาก​​​
​ ตอน​ที่​อา​จาร​ย์ป​ภาก​โรที​่เป็น​พระ​อุปัฏฐาก​ของ​
หลวง​พ่อ​ชา ​พา​ท่าน​ไป​ประเทศ​สหรัฐอเมริกา​ ​ ​เม่ือ​ท่าน​
ไป​ถึง​สหรัฐฯ​แ​ ตก​่ อ่ นห​ ลวงพ​ อ่ ​ชาไ​ม​่เคยด​ ูโ​ทรทศั น​์ ​พ​ อ​ไป​
ถึง​สหรัฐฯ​ ​ท่าน​ให้​พระ​เปิด​โทรทัศน์​ ​ท่าน​น่ัง​ดู​หนัง​ฝรั่ง​อยู่​
พกั หนง่ึ บอกว​ า่ ย​ งั ไ​มอ​่ ยากจ​ ะพ​ บญ​ าตโิ ยม ​ไ​มอ​่ ยากไ​ปไ​หน​
ทา่ นน​ ง่ั ด​ ห​ู นงั ฝ​ รงั่ ​ทา่ นฟ​ งั ไ​มร่ เ​ู้ รอ่ื ง​ไ​มเ​่ ขา้ ใจ​แ​ ตท​่ า่ นน​ งั่ จ​ อ้ ง​
อยอ​ู่ ยา่ งน​ น้ั ​พ​ ระล​ กู ศ​ ษิ ยก​์ ง​็ งเ​หมอื นก​ นั ว​ า่ ​​เ​อ!​ ห​ ลวงพ​ อ่ ม​ า​
เย่ียมต​ ่างป​ ระเทศ​​ม​ าเ​ยยี่ ม​ครู​​​มา​สอน​ชาว​ต่าง​ชาต​ิ ​หรือ​
ทา่ นม​ าน​ งั่ ด​ ห​ู นงั ฝ​ รง่ั ห​ รอื เ​ปลา่ ห​ นอ​​ด​ ไ​ู ปด​ ม​ู า​​กป​็ ดิ ​ไมด่ อู กี ​

๒๖ : พระอาจารย์ญาณธมฺโม

เอา​ละ่ ​ต​ อน​นี้ไ​ป​เรียกญ​ าตโิ ยม​เข้าม​ า​พบไ​ดแ้ ลว้ ​​​
​ ท่าน​ใช้​เวลา​ศึกษา​ฝร่ังจาก​โทรทัศน์​ ​ หลัง​จากนั้น​
ท่าน​ใช้​วิธี​การ​สอน​ ท่าน​ได้​วิชา​ความ​รู้​จาก​หนัง​ท่ี​ท่าน​ดู​
สว่ น​มาก​หนงั ต​ า่ งๆ​มนั ​จะเ​ปน็ การ​แสดง​อารมณ์​ต่างๆ​​คอื ​
เรา​ดู​หนงั ​ส่วน​มาก​​มัน​โอ​เวอร​์ตลอด​​​เวลา​ร้องไห้​ก็​ร้อง​ไห​้
โอเ​วอร​์ ​เ​วลาโ​กรธก​ โ​็ กรธโ​อเวอร​์ ​ท​ ำอ​ ะไรโ​อเ​วอรเ​์ กนิ ต​ ลอด​
มนั จ​ งึ ท​ ำใหน​้ า่ ส​ นใจ​​ ท​ เ​่ี ราไ​ปต​ ดิ ห​ นงั เ​พราะม​ นั โ​อเ​วอรเ​์ กนิ ​
มัน​รกั ๆ​ ​โอ​เวอรเ​์ กนิ ​​​มนั ​เกล​ ียดๆ​โอ​เวอร​เ์ กิน​​​มนั ​เกนิ ไ​ป​​​
​ หลวง​พ่อ​ชา​ท่าน​เอา​ความ​เกิน​ไป​ของ​เขา​ ​เป็นการ​
เรียน​รู้​อุปนิสัย​ของ​ชาว​ต่าง​ชาติ​ เม่ือ​ท่าน​เรียน​รู้​จาก​
การดู​หนัง​ ​ท่าน​เอา​ไป​สอน​ก็ได้​ผล​จริง​ๆ​ ​น่ี​แหละ​เรียก​ว่า
ห​ ลวง​พ่อ​ไป​เมอื ง​นอก​​​ทา่ น​ไม​่ได​้คิด​วา่ ​​ผ​ ม​ร​ู้หมด​แลว้ ​วา่ ​
เขา​เป็น​อย่างไร​ ​แต่​ท่าน​ศึกษา​ดู​เขา​ก่อน​ ​ ​ว่า​ญาติโยม​ท่ี​นี่​
จะต​ อ้ งส​ อนแ​ บบไ​หน​เ​รยี กว​ า่ ผ​ ใู้ ชส​้ ตป​ิ ญั ญาเ​รยี นร​ ล​ู้ กู ศ​ ษิ ย​์
ก่อน​ ​และ​ระบบ​ใน​การ​ระงับ​ความ​โอ​เวอร์​ ​ความ​เกิน​เลย​
ของ​ชาว​ต่าง​ชาติ​ ​ ​น่ี​แหละ​คือ​ความ​ชาญ​ฉลาด​ของ​ครูบา​
อาจารย​์ ​แสดง​ถึง​ความ​สามารถข​ อง​คร​ู อ​ าจารย์​​สม​ชอื่ ​วา่ ​
เปน็ อ​ าจารย​์ ​ไ​มใ่ ชว​่ า่ ท​ า่ นค​ ดิ ว​ า่ ร​ ห​ู้ มดแ​ ลว้ ​​ท​ า่ นศ​ กึ ษาก​ อ่ น​
จงึ ม​ าส​ อนไ​ด้ ​พ​ วกเ​ราก​ ต​็ อ้ งศ​ กึ ษาล​ กู ศ​ ษิ ยข​์ องเ​ราเ​พอ่ื จ​ ะไ​ด​้
มี​อบุ ายใ​ น​การส​ อน​ทไ่ี​ด​้ผล​ตอ่ ไ​ป​​

๒๑

::พพรระะออาาจจาารรยยญ์ ญ์ าาณณธธมมโฺ โฺมม

หัด​ยมิ้ ​ใน​ใจ :

หดั ​ยม้ิ ใ​น​ใจ​



​ ​ตอ่ จ​ ากน​ ไ​้ี ปใ​หเ​้ ตรยี มต​ วั ฟ​ งั อ​ าจารย​์​ต​ อนเ​ชา้ อ​ าจารย​์
จะพ​ ดู ว​ า่ ​Good​m​ orning คำว​ า่ ​Good​m​ orning​เ​ปน็ ภ​ าษา​
องั กฤษ​​​สวัสดต​ี อน​เช้าท​ ุก​คน​​A​ re​​​you​​h​ appy?​ ​​​เขา้ ใจ​
ไหม​​ม​ ค​ี วามส​ ขุ ไ​หม​​A​ re​​y​ ou​​h​ appy?​ ​​​ว​ นั น​ ท​้ี กุ ค​ นไ​ดเ้ ขา้ ​
มา​ใน​โรงเรยี น​ของ​เรา​​เ​พ่อื ​พบ​กัลยาณมิตร​​ก​ ลั ยาณมิตร
ค​ อื ใ​คร​​ค​ อื ค​ ร​ู อ​ าจารย​์ ​เ​ปน็ ก​ ลั ยาณมติ ร​​เ​พอ่ื นใ​นห​ อ้ งเรยี น​
เป็น​กัลยาณมิตร​ ​ ​กัลยาณมิตร​หมาย​ถึงว่า​เป็น​เพื่อน​ท่ี​ดี​​
เป็น​ผ​ทู้ ่​ใี ห​้ความ​ร้​ู ​เ​ป็น​มติ ร​​เ​ปน็ ​ผมู้​ เ​ี มตตา​​​กรุณาต​ ่อ​เรา​​​
​ ใน​วัน​น้ี​อาจารย์​ได้​เอา​ธรรมะ​มา​ให้​เรา​ ​เพ่ือ​จะ​ได้​
มี​ข้อคิด​ท่ี​ดี​ใน​วัน​น้ี​ ​เพื่อ​ให้​มี​ความ​สุข​ ​ความ​สบาย ให้​
จิตใจ​ของ​เรามี​ความ​ยิ้ม​แย้ม​อยู่​ภายใน​ใจ​ของเรา​ ​เคย​
ยิ้ม​ใน​ใจ​ไหม​ ​เวลา​เรา​ย้ิม​ข้าง​นอก​ ​ต้อง​ย้ิมในจิตใจก่อน​
ถ้า​จิตใจ​เบิก​บาน​ ​จิตใจ​สบาย​ ​จิตใจ​มี​ความ​สุข ทำให้

๓๐ : พระอาจารยญ์ าณธมโฺ ม

หน้าตา​ของ​เรา​ย้ิม​แย้ม​แจ่มใส​เบิก​บาน ถ้า​จิตใจ​ไม่สบาย​​
ไม่มค​ี วามส​ ุข​​หงุดหงิด​​​ทำใหห้​ นา้ ตาเ​ศร้าห​ มอง เรา​ต้อง​
ทำให้​จิตใจ​เบิก​บาน​ ​ จิตใจ​สบาย​ ​จิตใจ​มี​ความ​สุ​ขมา​กๆ
จะ​ทำให้เ​รา​มี​ความส​ ขุ ​​ความส​ บาย​ภายนอก​ดว้ ย​​
​ เคย​ได้ยิน​ไหม​​ภาษิต​ที่​ว่า​​สวรรค์​อยู่​ใน​อก​​นรก​อยู่​
ใน​ใจ​ของ​เรา​ ​คือ​ถ้า​เรา​คิด​อะไร​ไม่​ดี​ ​ทำให้​ทุกข์​ ​ทำให้​ไม่​
สบาย ​ถ​ า้ เ​ราค​ ดิ อ​ ะไรท​ ด​ี่ ก​ี ท​็ ำใหส​้ บาย​เ​หมอื นเ​ราขนึ้ ส​ วรรค​์
พวก​เรา​เคยเ​หน็ ก​ าร์ตนู ไ​หม​ เ​รื่องซ​ ามูไร​​​รู้จกั ซามไู ร​ไหม​​
ซามูไร​คือ​อะไร​​​ซามูไร​เป็น​ทหาร​ญี่ปุ่น​สมัย​ก่อน​ ​เคย​เห็น​
ไหม​​เ​ดีย๋ วจ​ ะเ​ลา่ ​นิทานเ​ร่อื ง​ซามูไรใ​ จโ​หด​ให้ฟ​ ัง​​
​ ​สมยั ​ก่อน​​ม​ ซ​ี ามูไรค​ นห​ น่งึ ​​เปน็ ​ซามไู รร​ ะดบั พ​ ลเอก​
ท่าน​เป็น​หัวหน้า​ทหาร​คุม​ซามูไร​ ​ ​ซามูไร​เขา​ต้อง​มี​อะไร​
เขา​ต้อง​มี​ดาบ​ยาวๆ​​​และ​ต้อง​มี​มีด​ด้วย​​​มีด​สั้น​ ​ซามูไร​
ใจโหดค​ นน​ ้​ี ​​เคย​เขา้ ไปใ​ น​สนามรบ​​เคยส​ ู้​​​เคยฟ​ นั ​​​เคยแ​ ทง​
กนั ​ต​ อนแ​ กต​่ วั เ​รม่ิ ส​ งสยั ว​ า่ ​​นรกม​ จ​ี รงิ ​ส​ วรรคม​์ จ​ี รงิ ห​ รอื เ​ปลา่ ​
เพราะเ​รม่ิ ก​ ลวั ​​ถ​ า้ ต​ ายแ​ ลว้ เ​ราท​ ำบาปเ​ยอะ​​อ​ าจจ​ ะไ​ปน​ รก​
ถา้ เ​ราท​ ำบญุ ม​ าก​​​อาจจ​ ะม​ โ​ี อกาสข​ นึ้ ส​ วรรค​์ ​ซามไู รใ​ จโ​หด​
เรม่ิ ​สงสัย​น​ รก​มจี​ ริง​​สวรรคม์​ ี​จริงห​ รอื ไ​ม​่ ​ต​ ดั สินใ​ จจ​ ะ​ไป​
หา​หลวง​พอ่ ​ท่ว​ี ัด​​ไป​ถาม​หลวง​พอ่ ​วา่ นร​ ก​ม​จี รงิ ​ไหม​​สวรรค​์
มจ​ี ริงไ​หม​​​วนั น​ ้ันซ​ ามูไรก​ ไ​็ ป​ถึง​วัด​​​

หัดย​ ม้ิ ใ​น​ใจ : ๓๑

​ เวลา​คน​เข้า​มา​ใน​วัด​​​เข้า​มา​ใน​โบสถ์​​ต้อง​ทำ​อะไร​
ตอ้ งถ​ อดร​ องเทา้ ​ท​ กุ ค​ นถ​ อดร​ องเทา้ ​ถ​ อดห​ มวก​แ​ ละต​ อ้ งเอา​
อาวธุ ​ท่​ีอย​ูใ่ น​ตัวอ​ อกม​ า​​เช่น​​เวลา​คนเ​ขา้ ไปใ​ นโ​บสถส์​ มัย​น้ี​
ถ้า​ตำรวจ​ทหาร​เข้าไป​ใน​โบสถ์​ท่ี​วัด​ของ​อาจารย์​ ​ ​เขา​ถอด​
รอง​เท้าบทู๊ ​​​แล้วก​ ็​ถอด​หมวก​​​และเ​อา​อาวุธไ​วข้​ า้ งน​ อก​​
​ซามูไร​ใจ​โหด​คน​น้ี​เข้าไป​หา​หลวง​พ่อ​ที่​วัด​ ​แต่​เวลา​
เข้า​ใน​โบสถ์​ไม่​ได้​ถอด​รองเท้า​ ​ไม่​ถอด​หมวก​ ​และ​ไม่​ถอด​
อาวุธ​ดาบ​กับ​มีด​ไว้​ ​ เตรียม​พร้อม​ตลอด​เวลา​ท่ี​จะ​เป็น​
นักต่อสู้​ ​คน​ที่​เข้าไป​ใน​วัด​ ปกติ​ต้อง​กราบ​ครูบา​อาจารย์​​
เหมอื นเ​ราท​ ไ​ี่ ดก​้ ราบอ​ าจารยเ​์ มอ่ื ก​ น​ี้ ​ี้ ​แสดงค​ วามเ​คารพ แต​่
ซามไู รใ​จโ​หดเ​หน็ ห​ ลวงพ​ อ่ แ​ ลว้ ไ​มย​่ อมก​ ราบ​ ก​ ลบั พ​ ดู ข​ นึ้ ม​ า​
ทันที​ว่าห​ ลวง​พ่อ​​น​ รกม​ จ​ี รงิ ไ​หม​​ส​ วรรคม​์ ​จี รงิ ​หรอื เปลา่ ​​​
​ หลวง​พ่อ​เป็น​พระ​เซน​ ​ ​ท่าน​เป็น​ผู้​มี​สติ​ปัญญา​​
ท่าน​มอง​ดู​ซามูไร​ใจ​โหด​ท่ี​ยัง​ถือ​ดาบ​ถือ​มีด​อยู่​ ​ท่าน​พูด​
ว่าใครเป็น​ผู้​ถาม​​​ซามูไร​บอก​ว่า​​​ฉัน​เอง ​​ฉัน​เป็น​ซามูไร​​
เป็น​ทหาร​เอก​ของ​พระ​จักรพรรดิ​ ​ ​หลวง​พ่อ​จึง​ถาม​ว่า​เป็น​
ทหารซ​ ามไู รไ​ดย​้ งั ไ​ง​​ห​ นา้ ตาข​ ร​ี้ า้ ยอ​ ยา่ งน​ ​ี้ ​อ​ า้ ว​​ม​ าว​ า่ ซ​ ามไู ร​
ซามูไร​กเ​็ ลยโ​กรธ​​จับ​ดาบไ​ว​้ ​หลวง​พ่อบ​ อก​วา่ ​​​ซามูไร​จะ​
ทำ​อะไร​ ​ ​ดาบ​น้ัน​ตัด​อะไร​ไม่​ได้​ ​ ​แม้แต่​แตงโม​ก็​ตัด​ไม่​ได้​​
ซามไู ร​ย่งิ โ​มโห​​ดงึ ​ดาบอ​ อก​จะต​ ัดห​ วั ห​ ลวง​พอ่ ​​ใจโ​หด​จรงิ ​ๆ​

๓๒ : พระอาจารย์ญาณธมฺโม

จะต​ ดั ห​ วั ห​ ลวงพ​ อ่ เ​ลย​​​เพราะโ​กรธท​ ห​่ี ลวงพ​ อ่ ว​ า่ ด​ าบม​ นั ไ​ม​่
คม​​​ตัด​แตงโม​ไมไ​่ ด​้ ​กเ​็ ลย​จะส​ บั ​หวั ห​ ลวง​พ่อแ​ ทน​​​
​ หลวง​พ่อ​ช้ี​หน้า​ซามูไร​ ​บ​ อก​ว่า​เด๋ียว​น้ี​ซามูไร​
อยู่ใน​นรก​แล้ว​ ​ซามูไร​ก็​เกิด​ความ​รู้สึก​ ​ใ​ ช่​ ​เ​รา​อยู่​บ่อ
น​รก​แล้ว​​​เพราะ​จิตใจ​กำลัง​ร้อน​เป็น​ไฟ​​จิตใจ​โกรธ​ ​โมโห​
ไมพ​่ อใจห​ ลวงพ​ อ่ ​​ความโ​กรธ​ค​ วามโ​มโห​ทำใหใ​้ จรอ้ นเปน็
ไฟ​​​กำลงั ​เป็น​ทุกข​์ ​ก​็เลย​เอา​ดาบ​วาง​ลง​​ลงมือ​กราบเทา้
หลวง​พ่อ​ ​ ​หลวง​พ่อ​จึง​บอก​ซามูไร​ว่า​เด๋ียว​น้ี​เข้า​ถึง​ประตู
สวรรคแ​์ ลว้ ​​เ​พราะม​ ค​ี วามอ​ อ่ นนอ้ ม​​ม​ ค​ี วามย​ นิ ดท​ี จ​่ี ะก​ ราบ​
ไหว้​บูชา​ผู้​ที่​ควร​กราบ​ไหว้​บูชา​ ​ซามูไร​เกิด​ความ​เข้าใจ​ว่า​​
นรกค​ อื อ​ ะไร​​ส​ วรรคค​์ อื อ​ ะไร​​น​ รกอ​ ยท​ู่ ไี่ หน​​ส​ วรรคอ​์ ยท​ู่ ไี่ หน​
​พวก​เรา​ฟัง​แล้ว​เข้าใจ​ไหม​ ​ ​นรก​อยู่​ท่ีไหน​ ​ ​อยู่​ท่ี​ใจ​​
สวรรค​์อย​ู่ท่ไี หน​​เ​วลา​เราโ​กรธ​​​เวลาโ​มโห​​เ​วลาห​ งดุ หงิด​
แสดงว​ า่ ต​ กน​ รก​​เ​วลาเ​ราม​ ค​ี วามอ​ อ่ นนอ้ ม​​ม​ ก​ี ารก​ ราบไ​หว​้
มี​เมตตา​​​ใจเ​ราข​ น้ึ ส​ วรรคแ​์ ล้ว​เ​ราต​ ้อง​จำไ​ว้​​​เวลาเ​ราอ​ ยู​ท่ ี่​
โรงเรียน​​ม​ ีน​รก​ไหม​​ท​ โี่​รงเรยี นท​ อ​สี​​ม​ ี​​อ​ ยท​ู่ ่ีไหน​​อ​ ย​ู่ที่น​ ​่ี
ม​ีสวรรค์​ไหม​​ท​ ​ี่โรงเรียนท​ อส​ ​ี ​​ม​ี ​​อย​ู่ทีไ่ หน​​​อยู​่ทน่​ี ​่ี ​อยูก่​ ับ​
เราต​ ลอดเ​วลา​เ​วลาเ​ราเ​หน็ ต​ นเอง​​ไ​มส​่ บายใจ​​ไ​มย​่ ม้ิ ใ​ นใ​ จ​
ตอ้ งเ​ตอื นด​ ว้ ยส​ ตว​ิ า่ ​​ร​ ะวงั บ​ อ่ นร​ ก​​เ​หมอื นซ​ ามไู ร​​แ​ ละเ​วลา​
เกดิ ค​ วามเ​มตตา​​ค​ วามย​ มิ้ แ​ ยม้ แ​ จม่ ใสเ​บกิ บ​ าน​​ต​ อ้ งเ​ตอื น​

หัดย​ ม้ิ ​ในใ​จ : ๓๓

ตวั ​เองด​ ้วย​สติ​ว่า​​เ​รา​ขนึ้ ส​ วรรคแ​์ ลว้ ​​ข​ ้ึน​สวรรค์​แลว้ ​​​ดแี ลว้ ​
เหมือน​ซามูไร​ ​ต้ังใจ​ว่า​เรา​จะ​ไม่​เป็น​ซามูไร​ใจ​โหด​ ​ ​เรา​จะ​
เปน็ ​ซามูไรใ​ จดี​​​ซามูไรใ​ จพ​ ระใ​ ช​ไ่ หม​​​ซามไู ร​ใจ​พระ​ทำให​้
ใจย​ ิ้ม​แยม้ แ​ จ่มใสเ​บิก​บาน​
​ ​วัน​นี้​ อาจารย์​เล่า​นิทาน​เรื่อง​ซามูไร​ให้​ฟัง​ ​ขอ​ให้​
เด็ก​ๆ​จดจำ​ไว้​​ นรกอยู่กับเรา ​สวรรค์อยู่​กับ​เรา
ความ​ดี​อยู่​กับ​เรา ความ​ทุกข์​อยู่​กับ​เรา​ วันนี้​เรา
​ได้​ทำบุญ​แล้ว​ ได้ไหว้พระ​สวด​มนต์​ ​ฟัง​เทศน์​ ​ฟัง​ธรรม​
อัน​นี้​แหละ​เรียกว่าขึ้นสวรรค์​แล้ว​ ดี​สำหรับ​ทุก​คน
อาจารย์​จะ​จบ​การ​เทศน์โดยการให้​พร​ ให้​ทุก​คน​ต้ังใจ​
รับ​พร​ ​เพ่ือ​ขึ้น​สวรรค์​ ​เป็น​ซามูไรตัว​น้อย​ขึ้น​สวรรค์​
ตั้งใจต​ ่อ​ไป​​ ​ ​

พระอ​ าจ​ าร​ย​์ญาณธ​ มโฺ ม​
ประวตั ​ิ ​ชอื่ เ​ดมิ ​ฟ​ ลิ ล​ ปิ ​จ​ อหน์ ​โ​รเบริ ต์ ​เ​กดิ ท​ เ​่ี มอื ง​ อเดเ​ลด​

ประเทศ​ออสเตรเลยี ​​เดมิ เ​ป็นอ​ าจารย​์สอนว​ ชิ า​
ชวี วทิ ยา​แ​ ตเ​่ พราะค​ วามบ​ งั เอญิ ไ​ดร​้ จู้ กั พ​ ระพทุ ธ​
ศาสนา​ ​ ​ แล้ว​เกิด​ความ​สนใจ​และ​เลื่อม​ใส​ใน​
พระ​พุทธ​ศาสนา​เป็น​อย่าง​มาก​ ​จึง​ได้​ถวาย​
​ตัว​เป็น​ผ้า​ขาว​ที่​วัด​ป่า​พุทธ​ธรรม​ ​เมือง​ซิดนีย์​
ประเทศ​ออสเตรเลยี ​
​พ​.​ศ​.​๒​ ๕๒๑​ ​เดนิ ท​ างเ​ขา้ ม​ าใ​นป​ ระเทศไ​ทยเ​ปน็ ค​ รง้ั แ​ รก​โ​ดยม​ ​ี
ความต​ ้ังใจ​มาบ​ วชใ​ น​พระพทุ ธศ​ าสนา​ต​ าม​คำ​
แนะนำ​ของ​พระ​อาจารย์​ขันติ​พาโล​ ​เจ้า​อาวาส​
วัด​ป่า​พุทธ​ธรรม​ใน​ขณะ​นั้น​ ​โดย​ได้​บรรพชา​
เป็น​สามเณร​กับ​สมเด็จ​พระ​ญาณ​สังวร​ ​ที่​วัด​
บวรนเิ วศนว​์ หิ าร​จ​ ากน​ นั้ เ​ดนิ ท​ างไ​ปป​ ฏบิ ตั ธ​ิ รรม​
กับ​พระ​อาจารย์​ฟัก​ ​สัน​ติ​ธัมโม​ ​ท่ี​วัด​เขา​น้อย​​
(ส​ าม​ผาน​)​​จงั หวัดจ​ ันทบุร​ี ​​

พ​ .​ศ​ .​​๒​ ๕๒๓​ ​อุปสมบท​และ​จำ​พรรษา​ที่​วัด​หนอง​ป่า​พง​
​จังหวัด​อุบลราชธานี​ ​โดย​มี​พระ​โพธิ​ญาณ​เถร​
​ (​หลวง​พ่อ​ชา​ ​สุภ​ัท​โท​)​ ​เป็น​พระ​อุป​ัชฌาย์​
​หลัง​จาก​นั้น​ได้​ธุดงค์​และ​จำ​พรรษาตาม​วัด
​ สาขา​ของวัด​หนอง​ป่า​พง​​เป็น​เวลา​​๕​​ปี​​และ​
ธดุ งค​์วิเวกไ​ป​ทางภ​ าคเ​หนอื ​เป็นเ​วลา​หลาย​ปี​
พ​ ​.​ศ.​​​๒๕๓๗​ ​ได้​เดิน​ทาง​ไป​ปฏิบัติ​ศาสน​กิจ​ ​และ​เผยแผ่​
พระพุทธ​ศาสนา​ให้​แก่​ชาว​ต่าง​ประเทศ​ที่​
สนใจ​ ​โดย​ได้​รับ​มอบ​หมาย​ให้​ทำ​หน้าที่​
​เ​ป​ ​็น​ ​ร​ ​อ​ ​ง​ ​เ​ ​จ​ ​้า​ ​อ​ ​า​ ​ว​ ​า​ ​ส​ ​ท​ ่​ีว​ ั​ด​ ​ป​ ่​า​ ​โ​ ​พ​ ​ธ​ ิ​ญ​ ​า​ ​ณ​ ​​เมอื ง​
เพิร์ธ​​ประเทศ​ออสเตรเลีย​​เป็นร​ ะยะ​เวลา​๘​ ​​ปี​
พ​ .​​ศ​.​​๒๕๔๕ -​​ เป็น​เจ้าอ​ าวาสว​ ัดป​ า่ ​นานาชาต​ิ ​ จังหวดั ​อ​ บุ ล-
๒๕๕๐ ราชธานี​
ปจั จบุ นั ​​ เปน็ เจา้ ​อาวาสสำนักสงฆ์รัตนวนั


Click to View FlipBook Version