The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บันทึกข้อธรรมของหลวงปู่มั่น โดย หลวงปู่หลุย จันทสาโร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-01 20:10:43

บันทึกข้อธรรมของหลวงปู่มั่น โดย หลวงปู่หลุย จันทสาโร

บันทึกข้อธรรมของหลวงปู่มั่น โดย หลวงปู่หลุย จันทสาโร

Keywords: บันทึกข้อธรรมของหลวงปู่มั่น

บนั ทกึ ขอ ธรรมของหลวงปูม่นั

บันทกึ โดย
หลวงปหู ลุย จนั ทสาโร

คาํ นาํ

บันทึกขอธรรมของหลวงปูมัน่ เลมนี้ ทําการบนั ทึกธรรม
โดยหลวงปูหลุย จนั ทสาโร เเละผูอา นขออนุญาตคดั ลอก,
เปน ทอ นหน่งึ จากหนังสือหลวงปูหลุย จันทสาโร วัดถ้าํ ผาบง้ิ
อําเภอวังสะพุง จงั หวัดเลย อยูในโครงการหนงั สือบรู พาจารย
เลม ๘ เริม่ ตั้งเเตหนา ๒๗๒ ถงึ หนา ๒๙๓ เรยี บเรยี งเเละ
จดั พมิ พ โดย รศ.ดร.ปฐม - รศ.ภัทรา นิคมานนท, เพือ่ เผย
เเผเ ปน ธรรมทานเทาน้ัน

ผอู านไดท ําการคัดลอกทกุ ถอ ยคาํ โดยไมม กี ารเเกไข
เปลี่ยนเเปลงท่ที ําใหค วามหมายตางไปจากตนฉบบั ใดๆ
ทงั้ ส้นิ หากมสี ิ่งไมถูกตอ งหรอื ไมเ หมาะสมประการใด ผอู าน
ขอกราบขออภัยในความไมถ ูกตองหรอื ไมเหมาะสมน้ันๆดว ย
ครบั .

มงคลวิศาล
มกราคม ๒๕๕๔

บันทกึ ขอธรรมของหลวงปมู ั่น ๑

• ธรรมะ ธัมโม เรียนมาจากธรรมชาติ เห็นความเกดิ ความ
เเปรปรวน ของสังขาร ประกอบดวยไตรลกั ษณ

• อยาเชื่อหมอมากนกั ใหเชอ่ื ธรรมชาตมิ ากจงึ ดี เช่อื กรรม
เช่อื ผลของกรรม

• อรหันตก เ็ ปนคณุ อนนั ต นบั หาประมาณมไิ ด พระอรหันต
ตรสั รูในตัว เหน็ ในตัว มญี าณเเจมเเจง ดี ลว นเเตเลาเรียน
ธรรมชาตทิ ้ังน้นั ฯ

• ธรรมะช้ีเขา กายกับจติ เปน คมั ภีรเดิม
• ภเู ขาสงู ทีก่ ล้งิ มาบดสตั วใหเ ปนจุรณไปนั้น อายุ ๗๐ ป

เเลว ไมเ คยเหน็ ภูเขา เห็นเเตช าติทกุ ข ชราทุกข พยาธิทกุ ข
มรณทุกข เทา น้ันเเล ทฐิ ิมานะเปน ภเู ขาสูงหาท่ีประมาณ
มไิ ด
• ธรรมะเปนตน เอโก มอี นั เดยี ว เเตเ เสดงอาการโดยนัย
๘๔,๐๐๐ ธาตุ ๔ ธาตุ ๖ ธาตุ ๑๘ ใหเห็นดวยจกั ษดุ ว ย
ใหเ ห็นดว ยญาณคือปญญาดว ย นโม ดิน น้ํา บิดา มารดา
ปน ขึน้ มา
• ๘๔,๐๐๐ เปน อบุ ายทใ่ี หพ ระองคทรมารสัตว สัตวย อมรู
เเต ๘๔,๐๐๐ เทานนั้ จะรยู ่ิงไปกวา นน้ั เปน ไมม ี เวนเเต

บนั ทกึ ขอธรรมของหลวงปมู น่ั ๒

นสิ ัยพทุ ธภูมฯิ รูอ นันตนัยหาประมาณมิได พน จากนสิ ัย
ของสาวก สาวกรเู เค ๘๔,๐๐๐ เทา นัน้ จะรูยงิ่ ไปกวาน้ี
มไิ ด
• ใหร ู นโม นะ นาํ้ โม ดนิ (อิ อะ) อติ ปิ โสฯ อรหํ เม่อื รู
เเลวความรูหาประมาณมิได อะ อิ สาํ คญั นัก เปน
คณุ สมบัติของพระอรหนั ต
• ธาตดุ นิ ธาตนุ ้าํ ธาตลุ ม ธาตไุ ฟ น้เี องทําใหบ คุ คลเปน
พระอรหนั ต
• ญาณ ของพระพุทธเจา ทานหมายเอา สกนธกาย เชน
นิมติ ธาตไุ ฟ ธาตุลม ธาตุนา้ํ ธาตุดนิ เเละอาการ ๓๒ เปน
นมิ ิต ทา นบอกวารูเหน็ เชน น้ี บรรดาทานเจาคุณท้งั หลาย
ไมคัดคานเลยฯ
• สัตวเ กิดในทองมารดาทกุ ขเเสน กามเปนของต่าํ ชา เปน
ของท่ีนาํ ทุกขเดอื ดรอ นฯ
• โลกสันนวิ าส มีความเเปรปรวนตงั้ เท่ยี งอยูเชนน้นั เเตจ ิต
ของเรารกั ษาไวใหด ีอยาใหตดิ ถา ไมตดิ ก็ไดช ื่อวาเปนสุข
ในตอนนีท้ านเเสดงทบไปทบมาเพ่ือใหศ ษิ ยรู

บนั ทกึ ขอ ธรรมของหลวงปูมนั่ ๓

• พิจารณาคนกาย ตรวจกายถกู ดีเเลว ไมเ ปน ปญ หาข้ึนมา
ได ถาไมถ กู ยอมเปน ปญหาขึ้นมา

• คน ดกู ายถงึ หลกั เเลเหน็ อรยิ สัจของจรงิ เเลวเดนิ ตามมรรค
เห็นตัวสมุทยั เห็นทกุ ขสจั

• ตอ งทาํ จิตใหเปน เอก ตอ งสงเคราะหธ รรมใหเปน เอกเสมอ


• อรยิ สจั ทกุ ข สมุทยั นโิ รธ มรรค คอื กาย วาจา ใจ เปน
มรรค เขาไปดับทุกข ดบั สมุทัย ดบั นโิ รธ นิโรธดับไมเ อา
เอาทีไ่ มดับ คอื ดบั น้ันยังเปน ตัวมรรค เอาสิ่งทย่ี ังไมด ับ
สิ่งทีต่ ง้ั อยูนั้นเเหละ เปนตวั ใหสนิ้ ทกุ ข

• ปฏภิ าค นัน้ อาศัยผูท ่ีมีวาสนา จึงจะบังเกดิ ขึน้ ได อุคคห
นมิ ติ นัน้ เปนของที่ไมถาวร พิจารณาใหชํานาญเเลว เปน
ปฏิภาคนมิ ติ ชํานาญทาง ปฏิภาค เเลวทวนเขา มาเปน
ตน ปฏภิ าคนั้นเปนสวนวิปส สนาฯ

• ทานพิจารณารา งกระดูกได ๕๐๐ ชาติมาเเลว ตง้ั เเตเ กดิ
เปน เสนาบดีเมอื งกุรุราช เปน อบุ าสก ถึงพระรัตนตรยั

• เจริญทางจิตอยา งเดยี ว ต้งั เเต อุปจารสมาธิ รูว าระจิต
ของผอู ืน่ ได เเกน ิวรณได เเตโ มหะคมุ จติ ถา เจรญิ วิปสสนา

บันทกึ ขอธรรมของหลวงปมู น่ั ๔

ถึง อปั ปนาสมาธิ ทานอาจารยบอกเชนน้นั เเละบอกวา
ทําความรใู หพอเสยี กอนจงึ ไมหวนั่ ไหว
• ใหร ทู ่จี ะเเกจติ ของตน ใหรจู กั ภพของตนท่ีจะไปเกดิ ฯ ทาน
อาจารยไ ดพจิ ารณาวัฏฏะ ๕๐๐ ชาติ
• ตองผานความผดิ มาเสยี กอน จงึ ปฏิบัติถกู ความผดิ เปน
เหตุ ความถกู เปนผลของความดที ั้งหลาย ตอ งเดนิ
มรรค ๘ ใหถูก จึงจะเเกได เดนิ ตามสายหนทางของพระ
อริยเจา ใชตบะอยา งย่งิ คือความเพียร จึงจะสอนตนได
โลกีย โลกุตระ ๒ อยา งประจําอยูในโลก ๓ ภพ
• ปญญามีสมั ปยตุ ทุกๆภูมิ กามาวจร รปู าวจร อรูปาว
จร โลกตุ ระ เหลา น้ี ลว นเเตมีปญ ญาประกอบ ควรท่เี ปน
เสยี มก็เปน ควรทเี่ ปนขวานกเ็ ปน สว นทเ่ี ฉยๆเรื่อยๆน้ัน
เชน เหลก็ เปน เเทงกลม จะเอามาใชอ ะไรกม็ ิได น้ฉี ันใด
• จะบอกการดําเนินวปิ สสนา เเละสมถะ โดยเฉพาะนัน้
มิได เพราะมันไปหนาเดียว จรติ ของคนตางๆกนั เเลวเเต
ความฉลาดไหวพริบของใคร เพราะดําเนินจติ หลายเเง
เเลว เเตค วามสะดวก

บนั ทกึ ขอ ธรรมของหลวงปูม ัน่ ๕

• อยา ใหจ ิตเพงนอก ใหรใู นตัว เห็นในตัว เมอ่ื รใู นตวั เเลว รู
ทว่ั ไป เพราะตัวเปนตน เหตุ

• เทศนเร่ืองมงคลวเิ สส ท่ีมนษุ ย เทวดา มีความสงสยั มไิ ด
เเกอ ัตถะเเปลไดเหมือนพระพทุ ธองค มนษุ ยเปนสถาน
กลาง อะไรดหี รือช่วั ก็ตอ งกล่ันออกไปจากมนุษยน้ที ั้งนั้น
ทําใหเปน ดกี ็มนุษย ทาํ ใหช ัว่ กม็ นษุ ย จะเปนปุถชุ นก็
มนษุ ย จะเปนพระพทุ ธเจาก็มนษุ ย

• ทานเทศนใหสงเคราะหเ ขาตนทงั้ นัน้ สภุ ะ เปนธาตบุ ูด
เนา เปน ธรรมชาติของเขา รายเเตมนษุ ย จิตติดสภุ ะ ดื่ม
สรุ า ทานยกพระโพธสิ ตั วย ศเปนกษัตรยิ  มเี มีย ๖ หมนื่
บุตรราหลุ ทานกไ็ มเมาไฉนเรามีเมยี ตาเปย กคนเดียว
ตดิ กนั จนตาย ธาตเุ มาอันนี้เปนธรรมชาติ ไมใ หคนส้ินทุกข
ไปได

• บคุ คลรกั ษาจิต ไดเ เลว ทั้งศีล เเมรกั ษาทางปญญาไดเเลว
ท้ัง ศีล สมาธิ ปญญา ดจุ ขา วสุกทสี่ าํ เร็จเเลว เราจะตวง
กิน ไมต องไปกงั วลทํานาเก็บเกย่ี ว เเละขา วเปลือก
ขา วสารเลย กินขา วสุกเเลว ก็เปนพอ นก้ี ฉ็ นั นน้ั เปน
สถานที่สํารวม

บันทกึ ขอ ธรรมของหลวงปมู ั่น ๖

• ภายนอกใหล ะเอยี ดเสยี กอน เเลวภายในจงึ ละเอยี ด
• ครัง้ พุทธกาล บางองคต ิดทางสมาธิ ๕๐ ป จงึ ไดส ําเร็จก็มี
• พระอานนท เปน คลงั เเหง พระธรรม อะไรทานรหู มด ทํา

เน่ินชาเพราะทา นติดพระสูตร อภธิ รรม ไมน อ มลงมา
ปฏิบตั ิ จึงสาํ เรจ็ ชา อายุ ๘๐ ป หลงั พุทธปรนิ พิ พาน ๓
เดอื น
• พระอานนท ทาํ ความเพยี รในกายวปิ สสนา กาํ หนดจติ
โดยมิไดล ะ จนขาตรงทีเดียว จงึ ไดทอดกายดวยสติ หวั ยัง
ไมถงึ หมอน จิตกเ็ ขา สภู วงั ค ภวงั คห ายไป เกดิ ความรู
เญยธรรม ทง้ั หลายฯ
• พระโมคคลั ลาน สารบี ตุ ร ลว นเเตเกิดในตระกลู มิจฉาทฐิ ิ
โมคคัลลานส งั่ สอนเเมไ มไ ดเ ลยทเี ดยี วฯ
• เหตปุ จจฺ โย โหติ ธรรมทัง้ หลายเกดิ เพราะเหตุ ดับเพราะ
เหตุฯ
• อยา เชื่ออภิญญาฯ ปฏบิ ัติเพอื่ ลาภ ยศ สรรเสริญ เปน
อาบตั ิทกุ กฎ
• ธรรมเปนของเย็น พระกรรมฐานอยูท ไ่ี หน สตั วปาตอง
อาศยั อยู หมูปา เหน็ คฤหัสถเปน ยกั ษเปน มาร เบียดเบียน

บนั ทึกขอธรรมของหลวงปูมนั่ ๗

สัตว ยิงจนไมม เี หลอื เสือภูวัว ทา นอาจารยท ําอโุ บสถ มนั
มารอ ง เม่อื ฟงปาตโิ มกขจบเเลว มันกห็ ายไป ทาน
อาจารยม ั่นคุน เคยสัตวเ หลานี้ ทา นรูวาระจิตสตั วเ หลานี้
เปน มติ รสหายกันดว ยธรรมเครอ่ื งเย็นใจ
• สัตวเดรจั ฉาน เขามีสญั ญา ปญญา นามธรรม รู
เหมือนกบั มนษุ ย เเตเ ขาพดู ไมไ ด
• ธรรมทัง้ หลายเกิดขึ้นน้ันอยา ยาย มันเต็มเเลวมันยายเอง
ทานเตอื นทานมหาบัว ฉะนั้นพระโยคาวจรเจา ละกิเลส
สวนใดไดเเลว ทา นไมก ลับมาละอีก เพราะมรรคประหาร
สน้ิ ไปเเลว เดนิ หนา เเกกเิ ลสใหมเรือ่ ยไป จนละกเิ ลส
รอบ ไมเกดิ อกี นก้ี เ็ ปนอศั จรรย
• ใหม างกายเปนนิจน้ันดี อยาใหม นั หุม
• สถานทเี่ ข็ดขวาง ทานบอกวา เปนพวกเปรต ตองทาํ บุญให
ทานอทุ ิศ เขาก็ไดร ับ หายไปเกดิ ณ ท่ีอื่น ฯ
• ทานไมชอบฤทธิ์ ชอบภาวนาใหส ้ินกิเลส ฤทธ์ทิ ้ังหลาย
เกดิ ดวยกําลังสมถะ ฌานสมาบัติ ท้งั น้ัน ใชว ปิ สสนา
อยางเดียวไมมีฤทธิ์ สาํ เร็จอรหนั ต

บันทึกขอธรรมของหลวงปมู นั่ ๘

• ฝก หัดจติ ดเี เลว จิตเขมเเขง็ มีอาํ นาจมาก ยอ มกระทําจติ
สารพัดไดท กุ อยา ง เมื่อเหน็ อาํ นาจของจิตเเลว เเลเหน็ กาย
เปน ของออน จิตบงั คบั กายไดฯ

• เขาโกรธเรา เเตเราอยาตอบ ใหพ จิ ารณาความบรสิ ุทธ์ิ
ละลายเเลว ยกธงชัยขึ้น เเละ มอี ะไรก็สงเคราะหเขาผู
ประมาท ไมน านเขากลับคืนดี ไมก ลบั คนื ดีกว็ บิ ตั ถิ ึง
ตายทเี ดียว

• ใครจะไปบงั คับจิตน้นั ไมไ ดเลย ตองสอนจติ ใหอ ยดู ว ย
อุบาย เเมคาํ ส่ังสอนของพระองค ลว นเเตเปน นโยบาย
ทัง้ น้ัน เหตนุ ัน้ ทานจึงไมชอ้ี ุบายตรงๆลงไปทเี ดียว จึงชัก
อน่ื มาเปรยี บเทยี บฯ

• นมิ ติ ท้งั หลายเกิดดวยปต สิ มาธิอยา งเดยี ว ที่เเสดงเปน
นมิ ติ ออกมา อยาหลงตามนมิ ติ ใหทวนกระเเสเขา จติ
เดิม เพราะนมิ ติ เปนของไมเ ท่ียง หลงเช่อื นมิ ติ
ประเดยี๋ วบา

• ปฏภิ าคนมิ ติ เกดิ เฉพาะผูทม่ี ีวาสนาอยางเดียว การ
ภาวนาอยาใหท ิ้งกายกบั จิต น้ีเปน กรรมฐานเดมิ เเตใ ห
จิตเด็ดเด่ยี วอยา งท่สี ุด จงึ เปน ผทู ีร่ ูธรรมในธรรม ฯ

บันทกึ ขอ ธรรมของหลวงปูม่ัน ๙

• ใหเ ปนมหาสติ มหาปญ ญา รอบกาย รอบจิต มรณะรา ย
มาถงึ เเลว ตอ งเขาเเยงกันในชองเเคบ เเมโพธิสัตวชนะ
มาร ชนะมารในชองเเคบ

• สนมิ มนั เกิดข้ึนในเนือ้ เหล็ก กเิ ลสมันเกิดในดวงจิต
ตองประหารจติ ใหเปน ธรรม

• ในโลกนเ้ี ปน อัตตาหมด ไมมีตน ไมเเละภเู ขา วปิ สสนาลบ
ลางหมด ไมม เี ช้ือโรคอยูใ นโลกช่ือวาโลกุตระ

• เร่อื งกรรมฐาน ๕ ภาวนาใหม าก ในรางกาย เหน็ อสุภะ
เปนยาปรมตั ถเ เกจิต พระเณรทบ่ี รรพชาอุปสมบท ลว น
เเตพ ระอุปชฌายะใหก รรมฐาน ๕ มาท้งั น้ัน เปนหลัก
สาํ คัญท่กี ลุ บุตรจะภาวนารเู เจงในรปู ธรรม เปน สนฺทิฏฐิ
โก เห็นเอง เบอ่ื หนา ยรูปธรรม อรปู ธรรม เเละเห็น
นามธรรมไปพรอ มกัน

• การนอน การสงบเขา ฌาน เปนอาหารของจิตเเละรางกาย
อยา งหน่ึง สมถะ ตองพกั จิตสอบอารมณ สวน วิปส สนา
จิตเดินไตรลกั ษณใ หรูอริยสจั เหน่อื ยเเลว เขาพกั จิต พักจติ
หายเหน่ือยเเลว จติ ตรวจอริยสัจอีก ดงั นี้ ฉะนน้ั ใหฉ ลาด
การพกั จติ การเดนิ จติ ทง้ั วปิ ส สนา เเละ สมถะ พระ

บันทึกขอธรรมของหลวงปมู ่นั ๑๐

โยคาวจรเจาท้ิงไมไ ด ชํานิชาํ นาญทัง้ สองวิธี จึงเอา
ตัวพนจากกเิ ลสทงั้ หลายไปได เปน มหาศลี เปนมหา
สมาธิ เปนมหาปญ ญา มีศลี ทงั้ อยางหยาบ อยา งกลาง
อยางละเอียด พรอ มทั้งจิต เจตสิก พรอมทั้งกรรมบถ ๑๐
ไมกระทําผดิ ในทล่ี ับเเละทีเ่ เจง สวางท้งั ภายในเเละ
ภายนอก มมี หาสติรอบคอบหมด วิโมกข วิมตุ ิ อกุปธรรม
จติ บริสุทธิ์ จติ ปกติเปน จิตพระอรหนั ต สวางเเจงท้ัง
ภายนอกภายในสวางโร ปุถชุ นตเิ ตียน เกดิ บาป เพราะ
พระอรหันตบริสุทธ์ิ กายเปนชาตินพิ พาน วาจา ใจ เปน
ชาตนิ ิพพาน นิพพานมี ๒ อยาง นพิ พานยงั มชี ีวิตอยู ๑
นพิ พานตายเเลว ๑ พระอรหนั ตร อขน้ึ รถขึ้นเรือไป
นพิ พานฉะนนั้
• สทุ โธทนะ หามพระองคไมใ หไปบณิ ฑบาตกรุงกบลิ พสั ดุ
เราไมอ ด พระองคตอบวาไปตามประเพณพี ระพุทธเจา สุ
ทโธทนะฟงโอวาทเเลว ไดโ สดาบนั
• ใหเห็นปจ จุบนั ธรรม อยา สง จติ อนาคตเเละอดตี ฯ

บันทึกขอธรรมของหลวงปมู ่ัน ๑๑

• ปญญากับสตใิ หร ูเทาทันกัน พจิ ารณากาย จิต ความไม
เที่ยงของสังขารเปนธรรมะสอ งใหเห็นเรื่อยๆ ทําความรใู น
นนั้ เหน็ ในนั้น ฯ

• ในโลกนีเ้ ปนธาตุท้งั นนั้ ใหรูเทาทันกบั ธาตุ อยา หลงตาม
ธาตฯุ

• มหาสติเรียนกายจติ ใหม ากๆ ใหเ ห็นจริง ธรรมะจรงิ
สมมตุ ิ อยา หลงรูป เสยี ง กลนิ่ รส ของอันนี้เต็มโลกอยู
เชนน้ัน ฯ

• ธาตุ ๘๔,๐๐๐ ธาตอุ อกมาจากจิตหมด ฯ
• นโิ รธเปน ของดบั เพราะรเู ทา แลว จิตไมเกิดยนิ ดยี ินราย

ดบั ไปเชนนชี้ อ่ื วา นโิ รธ ฯ
• ใหเ อากายวาจาใจนี้ยกข้ึนพจิ ารณา อยา เพมิ่ อยา เอา

ออก ใหเปนปกติ ฯ
• มรรค ๘ นนั้ สมาธิมรรคเปน องค ๑ นอกนน้ั เปนปริยาย ฯ
• ใหร ูธรรม และอาการของธรรม ถงึ ขนั้ ละเอียด แลว ก็จะรู

เองเหน็ เอง ฯ

บนั ทกึ ขอธรรมของหลวงปมู ัน่ ๑๒

• พระอานนททรงไวซ ง่ึ พระสทั ธรรม วา เปน ของภายนอก
ตอหันเขา มาปฏบิ ัตภิ ายในจงึ สาํ เร็จ ฯ

• หนัง คนในโลกยนิ ดใี นหนงั และเคร่ืองอุปโภคบริโภค
หนังอันน้ที ําใหมนุษยหลงยนิ ดี พากันตกทุกขก ันมาก ฯ

• ธรรมธาตุ สตั วหลงธาตุ ชมธาตุ ยินดธี าตุ ยินรา ยธาตุ
จงึ ไดทาํ กรรมไปตา งๆ ฯ

• เรียนแบบตําราเปน ของที่ไมแ นนอน สเู รียนทางกายและ
จติ ใหเ ปน ธรรมชาติไมไ ด ฉะน้นั ผเู รยี นกายวาจาจติ ไม
ใครสึก ปฏบิ ัติแตธรรมทร่ี ยู ง่ิ เห็นจรงิ ฯ

• ปจจุบนั ใหร ูทางจิต ฯ
• ปฏภิ าคเปน เรื่องของปญ ญา ฯ
• ใหเ รียนทางจิตทวนกระแส ตัดรากเหงาเครื่องผูก ดุจรื้อ

เครอ่ื งฟก
• ปฏภิ าคนมิ ติ เปน ปาฏหิ าริยข องจติ มอี ํานาจทาํ ใหเ ปน

อากาศวา งเปลา ได อนั เปนอัศจรรยใ หญห ลวง ฯ
• ผูมรี าคะ ยอ มเศราโศกเสยี ใจเพราะราคะ ฯ

บันทกึ ขอธรรมของหลวงปูม่ัน ๑๓

• เกิด ตาย เกิดแลว ตาย ชมแตห นงั ของเกา ไมห นั ไป
หาทางทีจ่ ะพน ทกุ ข ฯ

• ทําจิตใหเ สมออยู อยาขนึ้ อยาลง อยา ไปอยามา ใหรู
เฉพาะปกติของจติ ฯ

• ฐานของธรรมเปน บอเกดิ อริยสัจของจริง ฯ
• เกดิ ความรูอยา งวเิ ศษแลว ยอ มหาอนิสงสป ระมาณไมได


• อตฺตาหิ ฯลฯ เปนของลกึ ลับเหลือที่สดุ ฯ
• ถาสงจติ รเู ห็นนอกกาย เปน มจิ ฉาทฐิ ิ ใหร เู ห็นอยใู นกาย

กับจติ นนั้ เปนสัมมาทฐิ ิ
• นักปฏิบตั ิ ใจตอ งเดด็ เดี่ยวกลาหาญทีส่ ดุ จงึ จะรธู รรม

เห็นธรรม ฯ
• ใหรธู าตุ เหน็ ธาตุ จติ จงึ ไมต ดิ ทางราคะ ฯ
• คนเราจะดีจะชั่ว ตอ งเกิดวบิ ตั ิเสยี กอ น ฯ
• ธรรมทีล่ กึ ลับ ไมควรพูดใหคนอน่ื รู เพราะคนอื่นไมเหน็

ตาม ธรรมจะเสยี ตอ งพดู ตอ ผูปฏิบตั ิเหมอื นกนั

บนั ทกึ ขอธรรมของหลวงปูมน่ั ๑๔

• ใหถ ือตามมตี ามได หนั หาธรรมชาติ อยากอ ความกงั วล
นนั้ ดีมาก เมื่อปฏบิ ตั ิไดแ ลวกไ็ มด ีใจ เสยี ใจ

• มรรค โลกย เทวทตู ชาติ ชรา มรณะ พยาธิ ใหโ พธิสัตว
ออกบวช พระองคบ วชแลว ทําทุกรกิริยา ในวันทต่ี รัสรู
ปฐมยามทางราคะเกดิ ในดวงจิตของพระองคปนปวน
พระองคทวนกระแสวา เราเห็นแลวไมใชห รอื ที่เราออก
บวชเราจะไมกลบั แน ตอ นน้ั ทําจติ เขาสภู วังค สงบอยู
ในอปั ปนาสมาธิ ตอ นนั้ ถงึ เกิดปญญาความรขู ึ้นมา
ระลึกถงึ ชาติกอ นๆ ไดในมัชฌิมสมยั ตอ นน้ั พระองค
ตรวจปฏิจจสมุปปบาท ทวนไปทวนมาดว ยปญญาอันย่งิ
จติ ลงสูภ วังค เกดิ ความรูข ้นึ มาตรัสรู ดับอวิชชา ตณั หา
เปน สยมภพู ุทธ ปจ ฉมิ สมยั กาลคร้งั นน้ั

• เพง นอกน้ันไมส ้ินสงสัย เพราะยงั หมายนอกหมายในอยู
ตกอยใู นกระแสของสมุทัย

• ใหร ะงับสงั โยชน ที่ละเอียดสงิ อยูในดวงจติ นัน้ ฯ

บนั ทกึ ขอธรรมของหลวงปมู ่นั ๑๕

• บริจาคทาน โลภน้นั คือปรารถนา เมอ่ื ไดแลวปรารถนา
อยากไดม าก พระเวสสันดรทานไมเ ปนเชน น้นั พระองค
ทา นปรารถนาโพธญิ าณ เปนปรมัตถบารมี

• มรรค ๘ ใครภาวนาเจริญดแี ลว แกโ ลกธรรม ๘ ประการ
ฉะนน้ั จิตทา นอรหนั ต ไมห วั่นไหวดวยโลกธรรม ๘
ประการ มไี ตรลักษณบงั คบั แมโ ลกยี ท ั้งหลาย มไี ตร
ลักษณบ งั คับอยเู สมอ ไตรลกั ษณบงั คับไมไ ดน ้นั มี
โลกตุ ระเทานั้น โลกุตระอันน้ีอยเู หนือไตรลกั ษณ สถานท่ี
เกษม บคุ คลท่จี ะพน โลกโลกยี ไ ปถึงโลกตุ ระ ตองสรา ง
บารมีเปน การใหญ บคุ คล ๓ จาํ พวก คอื พระพุทธเจา ๑
พระปจ เจก ๑ พระอรหันต ๑ พระพุทธเจาสรา งบารมี ๓
ชนิด ปญ ญาบารมี ๔ อสงไขยแสนกําไรมหากปั ศรทั ธา
บารมี ๘ อสงไขย แสนกําไรมหากปั วิริยบารมี ๑๖
อสงไขย แสนกาํ ไรมหากปั พระปจเจกสรางบารมี ๒
อสงไขย แสนกาํ ไรมหากปั พระอรหันตสรางบารมี ๑
อสงไขย แสนกําไรมหากัป ดงั น้ี สรางพระบารมีมิใช

บันทกึ ขอ ธรรมของหลวงปูมั่น ๑๖

นอ ย กวาจะสําเรจ็ พระนพิ พานได ดังนี้ ชาํ นาญมาก
ที่สดุ ๑ อสงไขย เหลือทจ่ี ะนับน้ันประการหน่งึ เอา
สวรรค เอานรก เปนเรือนอยสู รางบารมี พระนพิ พานเปน
ของแพงทส่ี ุด ตองสรา งบารมีแลกเปลย่ี นเอาจงึ จะไดพระ
นิพพาน
• อคคฺ ํ มนุสเฺ สสุ (มาจากประโยคเต็ม ซง่ึ ปรากฏใน
หนังสอื มุตโตทยั วา อคฺคํ ฐานํ มนสุ ฺเสสุ มคคฺ ํ
สตตฺ วสิ ทุ ธฺ ิยา) มนษุ ยเลศิ มนษุ ยน ํา้ ใจสงู มีทุกข มี
สมุทยั มมี รรค มนี โิ รธ ครบทกุ อยาง จงึ สําเรจ็ นิพพาน
ได พระอินทร พระพรหม เปน ตน บวชเปนพระเปน เณร
ไมไ ด เหมอื นมนษุ ย มนุษยเ ปนธาตพุ อ ดจุ แมครัวแกง
ชา งเอร็ดอรอย มนั พอพรกิ พอเกลือ จึงใหส าํ เรจ็ มรรค
ผลได ไมข ัดขอ งดวยประการใดๆ ฉะนัน้ มนุษยไมค วร
นอยเน้ือตํ่าใจ ปฏบิ ัติใหไ ดส วรรค นพิ พาน ไดธาตุพอ
เปนชนดิ ทสี่ งู สดุ

บนั ทึกขอธรรมของหลวงปมู ัน่ ๑๗

• ชีวิตและนพิ พาน ธาตขุ นั ธม จี ิตสิงอยูเรยี กวา ชีวติ เมือ่
พิจารณาวางตามสภาพไดแลว จติ หดหาจิตเดิมเขา รู
เหน็ ในปจจบุ ัน เจรญิ มหาสติรอบในสติ มหาปญ ญารอบ
ในปญญา แลวเหน็ ปกติ ฯ

• นิพพาน น้นั คือ จิตหดโดยเห็นธาตุ รแู จง ธาตุ จิตฐตี ิ
ภูตํ รูอยนู น้ั เปน ตวั นพิ พาน ฯ

• วชิ ชา ๓ ของพระพุทธเจา ลกึ ลับสุขมุ มาก ในยามท่ี ๑
พระองคท ําความรเู ทาอยา งน้ัน ยามที่ ๒ พระองคทํา
ความรูเทา นน้ั นัน้ ยามท่ี ๓ พระองคทาํ ความรูเ ทา คอื
แกอวชิ ชาและปฏิจจสมุปปบาทในของจิต ในชองแคบ
มารแยง ไมไ ด มีความรูอนั พเิ ศษขึ้นมาวา พระองคเ ปน
สยมภู ความท่ที านแกอวิชชาเปนของขน้ั ละเอยี ดยิ่งนัก
บุคคลจะรูเหน็ ตามนั้นนอยทสี่ ดุ สุดอาํ นาจของจิต เม่ือ
กําหนดรูล งไปเปนของวา งหมด ไมใ ชตวั ตน สัตวบคุ คล
เราเขา ไมใ ชผ หู ญงิ ผูชาย ธาตสุ ุฺโญ เปน ธาตุสูญ
แลว กําหนดจติ รจู ติ ต้ังอยใู น ฐีตธิ รรม

บันทึกขอ ธรรมของหลวงปมู ่ัน ๑๘

• ธาตุกับจิตตดิ กนั จงึ วนเวยี นแก เจบ็ ตาย อยูทกุ ชาติ หา
ที่สน้ิ สุดมไิ ด ธาตเุ ปน ของทีม่ ีอยูเชน น้ันตง้ั แตด้งั เดิมมา
และแปรปรวนอยูเ ชน นั้น จิตของคนไมไ ปยดึ ไปถอื กเ็ ปน
จติ สิ้นทกุ ขได ฯ

• อายตนะภายในภายนอกแปรปรวนอยเู ปน นิจ สวา งโรท ัง้
ภายนอกและภายใน ไมขาดระยะของ ทุกขํ อนิจฺจํ
อนตตฺ า ฟง เทศน ธรรมชาติแสดงเรื่อยๆ พระโยคาวจร
ฟงเทศนใ นตอนน้ี ฉลาดในตอนน้ี สิ้นกิเลสในตอนนี้
เปน ปจฺจตตฺ ํ ความเพียร มรรคผล ถือสมถะพอ
วิปส สนาพอ มันผลักกเิ ลสมนั เอง

• บรรพชิตจะตองปฏิบัติตรงตอพระนพิ พาน
• พทุ ธองคเ กิดในปาลมุ พินวี นั ปลงสังขารในปา ให

โอวาทปาตโิ มกขในปา ตรัสรูในปา เปลี่ยว นพิ พานในปา
เปลยี่ ว วจิ ยั ธรรมในปา ชนะมารในปา ธรรมท้งั หลาย
ลวนแตเ กดิ ในปา เปน ธรรมราคาสูง ธรรมโลกุตระเหนือ
โลกยี 

บันทึกขอ ธรรมของหลวงปูม่นั ๑๙

• จติ ต้ังจิตมไิ ด ต้งั จติ ต้ังธาตุ จงึ แสดงรูเห็นดว ยกันได
เพราะจติ มนั เปน นามธรรม

• อยาถอนทําความเพียร มันจะเคยตัว ใหทําจนชนิ ใหได
เน้อื หรือคนุ เคย จึงจะเห็นมรรคเห็นผล

• ปญ จวคั คียนั้นทางปรมัตถว า หัว ๑ แขน ๒ ขา ๒ เปนหา
ภกิ ษุ แปลวา คนตอยกเิ ลส ปญ จวัคคยี ก็เปนภิกษุ
เหมอื นกะเรา ฯ

• วาจาของทา นเปน ธรรมชาติทบ่ี ริสทุ ธดิ์ ว ยศีล สมาธิ
ปญญา ไมม ลี าภ ยศ อามสิ เจือวาจาของทาน เทศนจ งึ
ขลังดี พดู ถกู ธรรมตรงไปตรงมา ไมเ ห็นแกหนา บคุ คล
และอามสิ

• ทานไมใ หศลี แกโยมท่ีรูศลี อางวาแมพ ระภิกษทุ ่ีบวชนนั้ ก็
ไมใ หศีล ๒๒๗ เลย ใหแตเพียงศลี ๑๐ ชัน้ สามเณร
เทา น้นั ตอ นั้นประกาศสงฆต ้งั สมมตใิ หกนั เอง แลวกพ็ า
กนั รกั ษาพระปาตโิ มกข น้ีฉันใด เพยี งศลี ๕ ใหเจตนา
รักษาแตเ ฉพาะตนเอง เทาน้นั ก็เปนพอ

บนั ทกึ ขอ ธรรมของหลวงปมู ัน่ ๒๐

• จิตนนั้ เมา สุราไมไดเ มา สุราไมต ดิ คน คนตดิ สุรา
ตา งหาก เม่อื คนด่ืมไปแลว ทาํ ใหเ ปนบาไปตา งๆ ฯ

• เรอ่ื งของโลกยอมมีการยุงเรอ่ื ยๆ มาตง้ั แตไ หน ฯ
• วธิ ลี ะกิเลสฝงแนนอยูในสันดานนั้น ตลี ม่ิ ใหมใ สลงไป ลม่ิ

เกากระดอนออก น้ฉี ันใด มรรคเขาไปฟอกกเิ ลสเกา
ออกมา แลวจงึ เห็นความบริสทุ ธ์ิ
• จติ เสวยเวทนาอยางละเอียดน้นั ใหล ะลายเวทนาเขาไป
อกี เอามรรคเขา ไปฟอก แลว ทําความรตู ง้ั อยูแทนเวทนา
จงึ จะเหน็ ตน เหน็ ธรรม เหน็ ความบรสิ ุทธิ์ ฯ
• สมณะ พราหมณ มีการเพง อยูเปน นิจ มนั ไมร ไู มฉ ลาด
แลวจะไปอยู ณ ทีไ่ หน อาพาธกห็ าย บญุ กไ็ ดด ว ย
พระองคต รัสใหพระสารีบุตรทาํ เชนนนั้ แทท จี่ รงิ พระสารี
บุตรกท็ ําชาํ นาญมาแลว แลวทาํ อกี อาพาธก็หาย ฯ
• ใหพจิ ารณาธาตุ เมอ่ื เห็นธาตุแปรปรวนอยเู ปน นิจเรยี กวา
สัมมาทฐิ ิ เห็นชอบ

บนั ทกึ ขอธรรมของหลวงปมู ั่น ๒๑

• มนษุ ยเ ปนสตั วเ ลิศ เปนท่ีตงั้ พระพทุ ธศาสนา ทวีปท้ัง ๓ ก็
เปนมนุษย เชน อดุ ร กุรทุ วปี แตไมสมบูรณ พระองคไม
โปรดตง้ั ศาสนา เทวดากเ็ หมือนกัน มนุษยท่ีมาเกดิ ในชมพู
ทวีปเปน มนษุ ยวเิ ศษรับรชั ทายาท ฯ

• อารมณภายนอกและภายใน เปน ของทตี่ ้งั อยูเปน ธรรมดา
แตจติ เปนของทีร่ บั รู ฉะน้นั ตอ งทรมานทางจิตใหมากๆ
แกอ วชิ ชา แกอาสวะ แกท ุกข แกสมทุ ัย นิโรธ เกิดญาณ
ตงั้ อยู เปนอมตธรรมที่ไมตาย ฯ

• แกโ ทษคือแกอาบตั ิ ใหแกป จ จบุ ันจิต อยาสงจติ อดตี
อนาคต แลว บอกจติ วา ไมมโี ทษ เมอ่ื ทานไปจาํ พรรษาอยู
เทอื กเขาใหญ ทานเกิดอาบตั ิจนฉนั อาหารเขาไป ก็เปนอนั
นัน้ ออกมา เพราะจิตวบิ ตั แิ ลว ธาตุกว็ บิ ตั ิดวย ตอ น้ันแก
จิตไดแลว อาพาธ ๓ วัน หายเปน ปกตดิ ี การอาบัติ เชน
อาบัติทุกกฏ อยาพงึ ลว งงายๆ เพราะมนั เคยตวั ฯ

• ภุมมเทวดา อยากดื้อ ทดลองเสมอทเี ดียว ไปอยูที่เขด็
ขวางตองระวงั ตอ งตรวจจติ เสมอ ฯ

บันทึกขอ ธรรมของหลวงปูมั่น ๒๒

• อจนิ ไตย เกดิ ความรู ความฉลาด นัน้ หาประมาณมไิ ด ฯ
• ปฏบิ ตั ผิ ดิ นน้ั ลบสังขารดวยไตรลกั ษณไ มไ ด ประพฤติไป

ตามสังขาร ปฏิบตั ถิ ูก น้นั คอื ลบสังขารดว ยไตรลกั ษณไ ด
• พวกสุทธาวาสทง้ั หลาย คือเจริญฌาณแลววิปสสนาตอไป

จึงสาํ เรจ็ ไดในทน่ี ้ัน
• ผทู ี่รูธ รรมแลว เปนผวู ิเศษ อานิสงสหาประมาณมไิ ด
• สกลกายอันเดียวนแ้ี หละเปน ตวั ธรรม
• ละกเิ ลสดวยสติ สตฟิ อกอาสวกเิ ลสเอง
• ธรรมเปนฐตี ิธรรม ต้งั เท่ยี งอยูเชน นน้ั แปรปรวนอยเู ชนนั้น

ใหร ใู หเหน็ เฉพาะทีเ่ กิดกบั จิต
• คณาจารยบางองคแสดงอรยิ สัจ มลี าภ ยศ เจอื อริยสจั

เปน สว นมาก
• จิตเปนธรรมทบี่ รสิ ทุ ธ์ิ หมดจดทกุ อยาง มนษุ ย เทวดา ไม

มีที่ครหาเลย

บันทกึ ขอธรรมของหลวงปมู ัน่ ๒๓

• บรรดานกั ปฏบิ ัติ ใหเฉลียวฉลาดรูเ ทา ทนั โจร เมื่อรเู ทาทัน
โจรแลว โจรยอมไมม โี อกาสลักส่ิงของไปได แมฉ ันใด
ปฏิบัตใิ หม สี ติและปญ ญารักษาตน กเิ ลสมิอาจเขา ถงึ ได ฯ

• ที่แผนดินยอมเปนฝนุ ผีท้ังส้นิ ใหจ ติ พจิ ารณาตกลงถึงฐาน
ฯ จิตจึงไมกังวลฟงุ ซา นกระสบั กระสา ย ฯ

• มนุษยตาย จะเอาไปกินและเอาไปใชไมไ ด ไมเ หมอื นววั
ควาย... ววั ควายเอาเนอ้ื กนิ ได

• ในขณะที่มชี ีวติ นัน้ ทาํ บญุ ดีมาก การทําศพถงึ ผูต ายน้ัน
ไมไ ดเ ปนสว นมาก แตท ําตามประเพณเี ทา นั้น พระอรหันต
นิพพานอยู ภูเขา ถํา้ ตา งๆ ใครทําศพใหท า นเลา...ทา น
ทําไมถงึ นิพพาน

• ใหใชไ หวพรบิ เปนอาชาไนยอยเู ปน นิจ ฯ
• ธรรมท้งั หลาย จติ ประกอบกายยกขึ้นแสดง ปราศจากกาย

แลว จะยกนามธรรมข้นึ แสดงไมไ ดเ ลย
• เหตุเกดิ กอน ปจจัยเกิดทหี ลัง ฯ

บนั ทกึ ขอธรรมของหลวงปูม นั่ ๒๔

• จติ เปน คนเรียกสมมตุ เิ อง จติ เปน เหตทุ ี่กระสบั กระสา ย จติ
ปกติดแี ลวกเ็ ปนอันไดร ับความสขุ ฯ

• ทําจติ ใหสวา งโพลง กําหนดรฐู ีติธรรม น้ันเรยี กวา ปญ ญา
โดยแท

• ใหแกอวิชชา แกอนุสัย ความไมร ูไมฉ ลาดนั้นใหก ลบั เปน
คนฉลาด ฯ

• พระโมคคลั ลาน สารบี ตุ ร พระองคเ กิดในตระกลู มจิ ฉาทฐิ ิ
ดุจดอกบัวยอ มเกดิ ในตมฉันใด

• ตอ งเจรญิ ทุกขใ หพอเสียกอน ดบั ตอ งอยูใ นที่นนั้ ดจุ ตีล่มิ
ลงไป ลิ่มเกา ถอน ลม่ิ ใหมเขาแทน คือกเิ ลสออก ความ
บริสุทธ์ิเขาแทน ดุจของดีอยใู นของชั่ว คอื อวิชชาออก
วชิ ชาเขาแทน ฯ

• เดนิ มรรคใหเห็นทุกข ใหเ ดนิ มรรคเหน็ สมุทยั ใหย ิ่งใน
มรรค ใหย ง่ิ ในมรรคนิโรธ จงึ จะพนทกุ ข ฯ

บันทกึ ขอ ธรรมของหลวงปูม ัน่ ๒๕

• ขอ เปรยี บช้ันนพิ พาน คอื นบั ๑ ไปถงึ ๐ ๐ (ศนู ย) โลกเขา
แปลวาไมม ี แตศนู ยมีอยู นี้ฉันใด นพิ พานเปน ของทม่ี อี ยู


• โลกยี สจั จะ คอื โพธิสตั วเหน็ เทวทูต โลกุตรสจั จะ คอื
โพธิสตั วต รสั รู ฯ

• ความรูค วามฉลาด มอี ยูในสถานทีไ่ มรู ฯ
• ธรรมท้ังหลายมาจากเหตุ คือจิตออกจากจิตเรยี กวา

เจตสิกตอนอกนั้นเปน อาการทั้งหมด ดจุ สันหรือคมของ
ดาบ มาจากเหลก็ ฉะน้นั ฯ
• มแี ตจิต รปู ไมม ี แสดงไมไ ด ตอ งอาศัยกนั เปนไปจงึ แสดง
ได ฯ
• พระอรหนั ตท้งั หลาย จติ ไมม ี มแี ตสติ เพราะจิตสังขาร มัน
เปน ตัวสังขาร สงั ขารไมม ใี นจติ ของพระอรหันต
• เอกมูลา เหตผุ ลมาจากความทีเ่ ปนหนึ่งของจิต เปนเหตุ
เปน ปจ จยั (เหตุ ปจฺจโย) ประกอบกัน จึงตัง้ เปน บทบาท
คาถา ฯ

บันทกึ ขอธรรมของหลวงปูม่ัน ๒๖

• มีนัยหลายนยั ถงึ แปดหมน่ื สี่พันอาการ ฯ
• มนุษยว นเวยี นเกดิ แลว ตาย ตายแลวเกดิ ติดของเกา

กามาวจรสวรรค ๑ สตั วเ ดรจั ฉาน ๑ มนุษย ๑ ทานพวกนี้
ติดของเกา พระไตรปฎ ก มกี นิ ๑ มนี อน ๑ สืบพนั ธุ ๑ แม
ปยู าตายายของเราลวนแตติดของเกา พระพทุ ธเจา ก็ดี
พระปจเจกก็ดี พระอรหันตก ็ดี เม่อื ทานยงั ไมตรสั รูก ต็ ดิ
ของเกา เพลิดเพลนิ ของเกาในรูป เสียง กลิ่น รสของเกา
ท้งั นไี้ มมฝี ง ไมม แี ดน ไมมตี น ไมม ปี ลาย ยอมปรากฏอยู
เชนนนั้ ตนื่ เตนกบั ของเกา ติดรสชาติของเกา ใชมรรค ๘
ใหถอนของเกา ใชอ ทิ ธบิ าท ๔ ตีลม่ิ สะเทอื นใหญปงๆ ลิ่ม
เกาถอนคืออวิชชา ลิ่มใหมค ือวชิ ชาเขา แทนดังน้ี ทาน
อาจารยม ั่นทานพูด ใชต บะความเพียรอยางยิ่ง ท่จี ะถอน
ไดตองสรางบารมีนมนาน จึงจะถอนได เพราะของเกามนั
บดั กรกี นั ไดเนื้อเช้ือสายของกิเลสมาพอแลว ยอมเปน
อัศจรรยของโลกนน้ั ทีเดยี ว
• แกบา นน้ั ใหทวนกระแสเขา จติ เดิม แกได

บันทกึ ขอธรรมของหลวงปมู น่ั ๒๗

• เสอื มาเฝา เราท่ีเปนพระโยคาวจรเจา เปนเทพโดยมาก ถา
เปน เสือ มนั เอาไปกนิ แลว

• ธรรมแสดงอยูเรื่อยๆ เวนแตน อนหลบั มไิ ดกาํ หนด จะไมร ู
ไมเ หน็ ขณะนนั้

• สงจติ ออกนอกกาย ทําใหเ ผลอสติ ฯ
• มัคโค หนทางดาํ เนนิ มีท่สี ุด สวนหนทางเดนิ เทา ไมมที ่ี

ส้นิ สดุ ฯ
• นาํ้ ใจของสัตว ยุง ดวยธาตุ ระคนอยูดว ยธาตุ ธาตไุ มม ที ่ี

สนิ้ สดุ แมจติ ก็ไมม สี นิ้ สดุ ฯ
• จิตรบั ธุระหมดทุกอยา ง จติ เปนแดนเกิด รูเทาอาการของ

จติ ไดแลว รปู กติของธาตุ ฯ
• เอโก มคฺโค หนทางอนั เอก วิสทุ ฺธยิ า เปนหนทางอนั

บริสทุ ธ์ิมที างเดียวเทานี้ มโน ปุพฺพํ จติ เปนบุพภาคทจ่ี ะ
ไดเ ปนใหญ จติ ถงึ กอ น สําเรจ็ ดวยจิต ฯ (มโน ปุพฺพงฺคมา
ธมมฺ า มโน เสฏฐา มโนมยา)

บนั ทึกขอ ธรรมของหลวงปมู น่ั ๒๘

• จิตเปนเครื่องบังคบั กายกับวาจาใหพ ูดและใหท าํ การงาน


• จิตทไ่ี มต ดิ พัวพันในอารมณท้ังปวง เรียกวาบริสุทธิ์
• พระองคแ สดงอนปุ ุพพิกถาไปโดยลําดับ ยกทานข้ึนกอ น

ดุจบนั ไดข้ันตน แมฉนั ใด โลกุตระ โลกยี  กด็ ี กต็ องเจริญ
ตน ขึน้ ไปกอ น ไมเจรญิ ขัน้ ตน ไปกอนเปน ผิด จะกระโดดขึ้น
สูงทีเดียวไมได ตายกนั
• มีแปน (ไมก ระดาน) แลว กม็ ีบาน มีบานแลว ก็มีแปน พดู
อยางน้ีจึงแจมแจง ดี
• ธรรมเปนของธรรมดาต้งั อยอู ยางนัน้ คือต้งั อยูด ว ยความ
แก ความเจ็บ ความตาย จึงไดช่อื วา ธรรมของจริง ไมม ี
อาการไป ไมมอี าการมา ไมมีข้นึ ไมม ลี ง เปน สภาพที่ตงั้ ไว
ดจุ กลา วไวข า งตน ฯ
• ไมอา งสวรรค นิพพาน ไมอางทุคติ อางความเปนไปทาง
ปจ จุบันอยา งเดียว เพราะช่ัวดกี ก็ ็ปจ จุบนั ท่ยี งั เปนชาติ
มนษุ ย

บันทึกขอ ธรรมของหลวงปูม นั่ ๒๙

• เอาธรรมช้ินเดียวน้เี อง คอื กายน้ีเองไปเจบ็ กายชิ้นเดียวน้ี
เองไปแก กายชนิ้ เดยี วน้ีเองไปตาย เม่อื ตายแลวก็ไปเกดิ
อกี ลวนแตตื่นเตนอยูดวยธาตอุ ันนเี้ อง หาทจ่ี บไมได และ
ส้ินสดุ มไิ ด ฯ

• ความรูของพระพุทธเจาเปนอนนั ตนัย มากมายยิ่งกวา
๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ เปนอุบายท่ีจะทรมานสตั ว พน
วิสยั ของสาวกทีจ่ ะรตู ามเหน็ ตามไดห มด สาวกกาํ หนดรู
แตเ พียง ๘๔,๐๐๐ เทานัน้ ...นก้ี ็เปน อัศจรรย ฯ

• ใหแ กปจ จุบัน เมอื่ แกปจ จบุ ันไดแ ลว ภพ ๓ นัน้ หลุดหมด
ไมตอ งสง อดีต อนาคต ใหล บอารมณภายนอกใหหมด จงึ
จะเขา อารมณภ ายในได เพง นอกเปน ตัวสมุทยั เปน ตัว
ทุกข และเปนตวั มจิ ฉาทิฐิ เพงในเปน ตวั สมั มาทิฐิ

• เร่ืองของโลกธาตุน้นั กระทบกระเทือนถึงกนั หมด กาํ หนดรู
เฉพาะจิต ก็รูส น้ิ ทางอ่ืนหมด

• พระธรรมเทศนาทง้ั กลางวนั และกลางคืน อกาลิโก
กาํ หนดกาลเวลามิได แสดงทั้งภายนอกและภายใน

บันทึกขอ ธรรมของหลวงปมู ั่น ๓๐

• ใหกําหนดจติ ใหกลาแขง็ เรยี นมรรคใหแขง็ แรง จงึ จะเห็น
หนทางส้ินทกุ ขไปได

• ใหปลอ ยจิต อยากดจิต เหตผุ ลเคลื่อนคลืน่ อยใู น ใหพ จิ
จารณาความรกั ความชงั พิจารณานิสยั ของตน จติ ดอื้
บรษิ ทั มาก พ่งึ นสิ ัยเดิมมไิ ด ตะครบุ จิตจึงมกี ําลงั ฯ

• คนในโลก หลงของเกา คอื หลงธาตุน้ันเองแหละ ชังแลว
มารกั รักแลว มาชงั หาทสี่ ้ินสุดมไิ ด พระองคไมห ลง

• ธาตมุ นุษยเปน ธาตตุ ายตัว ไมเปน อน่ื เหมือน นาค เทวดา
ทั้งหลายทเี่ ปลี่ยนเปน อนื่ ได มนษุ ย มีนิสัยภาวนาให
สาํ เรจ็ งา ยกวา ภพอื่น อคคฺ ํ ฐานํ มนุสเฺ สสุ มคคฺ ํ สตตฺ
วสิ ทุ ธฺ ิยา มนุษยมีปญ ญาเฉยี บแหลมคม คอยประดิษฐ
กุศล อกศุ ล สาํ เรจ็ อกศุ ล...มหาอเวจีเปนทสี่ ดุ ฝา ยกุศล มี
พระนิพพานใหสาํ เร็จได ภพอื่นไมเ ลศิ เหมอื นมนุษย
เพราะมีธาตุที่บกพรอ ง ไมเ ฉียบขาดเหมือนมนษุ ย ไมม ี
ปญญากวางขวางพิสดารเหมือนมนุษย มนุษยธาตุพอ
หยดุ ทุกอยาง สวรรคไมพ อ อบายภมู ิธาตไุ มพ อ มนุษยมี

บนั ทกึ ขอธรรมของหลวงปูม ั่น ๓๑

ทกุ ข สมุทัย...ฝายช่ัว ฝา ยดี...กุศลมรรคแปด นิโรธ รวม
เปน ๔ อยาง มนษุ ยจ ึงทาํ อะไรสําเรจ็ ดังน้ี ไมอ าภพั
เหมอื นภพอื่น
• สติปฏ ฐาน เปน ความรูอนนั ตนยั หาประมาณมไิ ด ไม
เหมือนความรูช นดิ อน่ื สนฺทิฏฐโิ ก เหน็ ดวยเฉพาะนกั
ปฏิบตั ิ ปจจฺ ตฺตํ รเู ฉพาะในดวงจติ รธู รรมลึกลับสขุ ุม
คมั ภรี ภาพ

บนั ทกึ ขอธรรมของหลวงปูม่นั ๓๒


Click to View FlipBook Version