The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปัญญาอบรมใจ โดย หลวงพ่อทูล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-01 22:24:27

ปัญญาอบรมใจ โดย หลวงพ่อทูล

ปัญญาอบรมใจ โดย หลวงพ่อทูล

Keywords: ปัญญาอบรมใจ โดย หลวงพ่อทูล

กาลญั ญุตา

กาลัญญุตา ความเปน็ ผรู้ ูจ้ กั กาลเวลา ค�ำวา่ กาลเวลานี้
เกย่ี วกบั การงานทจ่ี ะตอ้ งทำ� คำ� ทจี่ ะตอ้ งพดู ใจทจ่ี ะตอ้ งคดิ การทำ�
การพดู การคดิ ตอ้ งทำ� ตอ้ งพดู ตอ้ งคดิ ใหถ้ กู กบั กาลเวลา วา่ กาล
ไหนควรทำ� อะไร ควรพดู ในเรอื่ งอะไร และควรคดิ ในเรอ่ื งอะไร
ตอ้ งรจู้ กั แบง่ กาลเวลาใหถ้ กู กบั งานตวั เอง วา่ กาลไหนควรทำ� งาน
กาลไหนควรพักงาน ต้องจัดเวลาให้ถูกกับงานน้ันๆ งานอะไร
ควรทำ� ก่อน งานอะไรควรท�ำทหี ลัง งานอะไรมีความส�ำคัญมาก
งานอะไรมคี วามสำ� คญั นอ้ ย งานสว่ นตวั หรอื งานเกยี่ วกบั บคุ คล
หรอื งานเกย่ี วกบั สงั คมสว่ นรวม ตอ้ งแบง่ งานใหล้ งตวั กบั กาลเวลา
นั้นๆ การท�ำงานก็จะไม่เกิดความสับสน ไม่เสียงานตนและไม่
เสยี งานคนอน่ื เพราะการนดั หมายในงานภายนอกเกยี่ วกบั สงั คม

๔๖ ปัญญาอบรมใจ

จงึ มคี วามสำ� คญั จะทำ� ใหค้ นอน่ื มคี วามเชอ่ื ถอื และใหค้ วามสำ� คญั
กบั ตวั เราเอง ผูอ้ ่นื จะใหค้ วามเคารพเกรงใจ ใหก้ ารต้อนรับดว้ ย
ความเอ้ือเฟื้อ มีอะไรจะให้หมู่คณะช่วยเหลือ หมู่คณะก็จะมี
ความเตม็ ใจ เพราะถอื วา่ เรามสี จั วาจา เปน็ ผพู้ ดู จรงิ ทำ� จรงิ มอี ะไร
พอช่วยได้ก็ช่วยจริง เว้นเสยี แตใ่ นส่งิ ท่ีเหลือวสิ ยั

สว่ นกาลเวลาในครอบครวั กต็ อ้ งรจู้ กั หนา้ ทขี่ องตวั เองวา่
กาลไหนควรใหค้ รอบครวั อยา่ งไร สามรี ้จู ักกาลเวลาของภรรยา
ภรรยารู้จกั กาลเวลาของสามี พอ่ แม่รูจ้ กั กาลเวลาของลูก ลกู ก็
ตอ้ งรูจ้ ักกาลเวลาของพอ่ แม่ ถา้ ทำ� ได้อยา่ งน้ี ครอบครวั น้นั จะมี
แต่ความสุขและสามัคคี มีความรักกันและสงสารกันไปจนกว่า
ชีวติ จะหาไม่

บางครอบครัวไม่รู้จักกาลเวลาซ่ึงกันและกัน จึงเกิด
ความเข้าใจผิดซ่ึงกันและกัน ครอบครัวเกิดความร้าวฉาน เกิด
ความไมไ่ ว้ใจซึ่งกันและกัน เกดิ ความสงสยั ซงึ่ กนั และกนั ภรรยา
สงสยั สามวี า่ จะมบี า้ นเลก็ บา้ นนอ้ ยทไ่ี หนอกี กไ็ มร่ ู้ ดผู ดิ สงั เกตวา่
ไม่กลับบา้ นตามเวลา สามกี ส็ งสยั ภรรยาว่าจะมีความผกู พนั กบั
ชายอื่นหรือไม่ ทำ� ไมจึงไมก่ ลับบ้านตามเวลา หรอื พอ่ แมอ่ าจจะ
มองลูกไปว่า ท�ำไมลูกจึงไม่กลับบ้าน การงานที่ท�ำเลยเวลา

กาลัญญุตา ๔๗

การศกึ ษาเลา่ เรียนเลิกแลว้ ดึกดื่นเทยี่ งคืนกไ็ ม่กลับบ้าน จะไป
เที่ยวที่ไหนและทำ� อะไร จงึ ไม่กลบั มา

ถ้าเป็นในลักษณะน้ี ไม่นานนักครอบครัวนี้จะลุกเป็น
ไฟ แผดเผาซงึ่ กนั และกนั จะเกดิ บา้ นแตกสาแหรกขาดไปคนละ
ทิศละทาง นี้ก็เพราะไม่รู้จักกาลเวลาเป็นต้นเหตุ จึงท�ำให้เสีย
ความรู้สึก ไม่ไว้ใจ ไม่เช่ือใจซ่ึงกันและกันเกิดขึ้น คนไม่รู้จัก
กาลเวลา สังคมผู้ดีเขาไม่ยอมรับ ไม่อยากคบค้าสมาคมกับคน
ประเภทน้ี มอี ะไรเกิดขน้ึ เพอ่ื นก็เมนิ เฉย ไมอ่ ยากจะสงเคราะห์
ชว่ ยเหลอื อะไร

ฉะน้ัน กาลญั ญตุ า กาลเวลาเกยี่ วกบั สังคมในครอบครวั
หรอื สงั คมอื่นๆ ท่ัวไป จะต้องมคี วามสนใจเอาไว้บ้าง เพราะเปน็
ศักด์ิศรีของตัวเอง ให้คนอื่นมองเราไปในทางที่ดี และเพื่อนฝูง
จะให้ความไว้ใจว่าเราเป็นผู้ตรงไปตรงมา มีแต่คนถามหาด้วย
ความสรรเสรญิ ตลอดไป

อีกกาลหน่ึงท่ีส�ำคัญอย่างย่ิง นั้นคือกาลเฉพาะตัวเอง
ต้องรู้จักกาลของตัวเองว่ากาลไหนควรท�ำอะไร ถ้าเป็นนักบวช
มีกาลเวลาปฏิบัติธรรม กาลอบรมสั่งสอนประชาชน กาลท่ีรับ
นมิ นตไ์ ปในพธิ ีต่างๆ และใหร้ ู้จักกาลของตัววา่ ปัญหาที่จะต้อง

๔๘ ปญั ญาอบรมใจ

แก้ไขภายในใจเป็นส่ิงส�ำคัญย่ิง กาลอื่นที่จะต้องท�ำก็ให้พอ
ประมาณ แตอ่ ยา่ ลมื กาลของตวั เอง มใิ ชว่ า่ จะเตลดิ เปดิ เปงิ ไป
ทงั้ ที่ปญั หาภายในใจไมไ่ ดแ้ กไ้ ขอะไรเลย เวน้ เฉพาะองคท์ ่ที ่าน
แกป้ ญั หาของตวั เองไดแ้ ลว้ ทา่ นจะมกี จิ ธรุ ะอะไรทเ่ี ปน็ ประโยชน์
ท่านก็ไม่เสียหายอะไร ยิ่งท�ำก็ยิ่งเป็นประโยชน์แก่พุทธศาสนา
และเปน็ ประโยชนแ์ กส่ งั คมสว่ นรวม จงึ เรยี กวา่ เปน็ ผทู้ ำ� ประโยชน์
ตนและประโยชน์ทา่ นให้ถึงพรอ้ มดว้ ยความไม่ประมาท

ฉะนน้ั นกั บวชจงึ มกี จิ ทจ่ี ะตอ้ งศกึ ษาธรรม และปฏบิ ตั ธิ รรม
เปน็ สงิ่ สำ� คญั อกี อนั หนงึ่ ปฏเิ วธ คอื ผลของการปฏบิ ตั ิ กจ็ ะเกดิ ขน้ึ
ในตวั เราเอง จงึ นบั ไดว้ า่ เปน็ ผพู้ บกระแสแหง่ พระนพิ พาน จะอทุ าน
ไดอ้ ย่างสนทิ ใจวา่ พรหมจรรยเ์ ราไดอ้ ย่จู บแล้ว กจิ อ่นื ทจ่ี ะทำ� อีก
ตอ่ ไปไมม่ ี ปรสิ ทุ ธญิ าณทสั สนะ ญาณทร่ี เู้ หน็ ความบรสิ ทุ ธใิ์ นธรรม
จะรไู้ ดเ้ ฉพาะตวั การเวยี นวา่ ยเกดิ ตายมาในภพทงั้ สามกส็ น้ิ สดุ ลง
ใครจะเชอื่ หรอื ไมเ่ ชอ่ื ไมส่ ำ� คญั ใหร้ วู้ า่ ความบรสิ ทุ ธใ์ิ นธรรมเกดิ ขนึ้
แล้วแก่เรา เทา่ น้กี พ็ อ

ส�ำหรับฆราวาสต้องแบง่ กาลออกใหไ้ ด้ ว่ากาลไหนให้
เป็นไปในทางโลก กาลไหนให้เป็นไปในทางธรรม ถ้าไม่แบ่ง
กาลเวลาออก ก็จะมีวธิ ีแก้ตวั ว่าไม่มีเวลาภาวนาปฏบิ ตั ิธรรม

กาลัญญตุ า ๔๙

เพราะกเิ ลสตัณหามีวธิ ีแกต้ ัวใหแ้ ก่ใจอยู่แลว้ จะอา้ งว่าไมม่ ีเวลา
อยา่ งนัน้ อย่างนีไ้ ป ของานตนกอ็ ย่าให้ขาด งานราชก็อยา่ ใหเ้ สยี
เพราะชวี ติ ของเราจะไดม้ าเกดิ พบพระพทุ ธศาสนานนั้ หาไดย้ าก
เม่ือชาติน้ีเราได้มาเกิดพบพระพุทธศาสนาอย่างน้ี ถือว่ามี
ความโชคดี เราจะได้สร้างกุศล บำ� เพ็ญบารมีใหเ้ ตม็ ท่ี เมอื่ พลาด
โอกาสในชาตนิ ไ้ี ปแลว้ หากไดม้ าเกดิ ในภพชาตหิ นา้ ไมท่ ราบวา่
จะได้มาเกิดร่วมพระพทุ ธศาสนาเหมอื นชาตนิ อี้ ีกหรือไม่

ฉะนนั้ จงบำ� เพญ็ กศุ ลบารมใี หเ้ ตม็ ท่ี กอ่ นชวี ติ จะสน้ิ สลายไป
ให้รักษาศีลภาวนา มีความเกี่ยวข้องผูกพันในการปฏิบัติธรรม
เพอื่ เปน็ นสิ ยั ในพระพทุ ธศาสนาเอาไว้ เมอ่ื เกดิ มาชาตหิ นา้ จะได้
เกดิ มารว่ มพระพทุ ธเจา้ องคใ์ ดองคห์ นง่ึ เราจะไดม้ นี สิ ยั ในทางธรรม
คำ� สอนของพระพทุ ธเจา้ พระองคน์ น้ั จะไดเ้ ขา้ ใกลแ้ ละไดฟ้ งั ธรรม
บารมที เ่ี ราทำ� ไวใ้ นชาตนิ จ้ี ะไดเ้ สรมิ บารมใี หมใ่ นชาตนิ นั้ จะทำ� ให้
เกดิ สตปิ ญั ญารแู้ จง้ เหน็ จรงิ ในสจั ธรรมนนั้ กจ็ ะไดบ้ รรลธุ รรมเปน็
พระอรยิ เจ้าอยา่ งสมบรู ณ์ เข้าส่พู ระนพิ พานในชาตนิ ั้น จะไดไ้ ม่
มาเกิดในภพทงั้ สามอกี ตอ่ ไป หรือในชาตนิ ้ีหากเรามคี วามต้งั ใจ
ภาวนาปฏบิ ตั ธิ รรมอยา่ งจรงิ จงั บารมเี กา่ ทเี่ ราไดบ้ ำ� เพญ็ มาแลว้
จะได้มารวมกบั บารมีท่ีเราได้บ�ำเพ็ญอยใู่ นขณะน้ี ก็จะได้บรรลุ

๕๐ ปญั ญาอบรมใจ

เป็นพระอริยเจ้า ได้เข้าสู่กระแสแห่งมรรคผลนิพพานในชาตินี้
กอ็ าจเปน็ ได้ ให้ตัง้ ใจภาวนาปฏบิ ตั ธิ รรมนับแตบ่ ดั น้ีเปน็ ตน้ ไป

ปริสญั ญุตา

ปรสิ ญั ญตุ า ความเปน็ ผรู้ จู้ กั ชมุ ชน คำ� วา่ ชมุ ชนมหี ลายหมู่
หลายคณะ จะมนี ิสยั พฤติกรรมไมเ่ หมอื นกนั แตล่ ะชมุ ชนจะมี
เอกลกั ษณ์เป็นสัญชาตญาณเฉพาะกลุ่มของตวั เอง เมื่อเราได้
เขา้ ไปในกลมุ่ ชมุ ชนใด กต็ อ้ งสงั เกตวา่ ชมุ ชนกลมุ่ นน้ั มพี ฤตกิ รรม
เปน็ อยา่ งไร เขาทำ� อะไรเพอ่ื อะไร เมอื่ เราเขา้ ไป จะไดป้ รบั ตวั เอง
เขา้ กนั กบั กลมุ่ นนั้ ได้ ไมใ่ หข้ ดั ขวางกนั กบั หมคู่ ณะนนั้ ๆ โบราณวา่
“เข้าหมู่บ้านคนตาหลิ่ว ก็ตอ้ งหลวิ่ ตาตาม” เพราะสังคมของ
คนเรามคี วามแตกต่างกัน แตล่ ะหมู่ความเป็นอยหู่ นา้ ทีก่ ารงาน
ไม่เหมือนกนั

ฉะนนั้ เราตอ้ งรวู้ ธิ ปี รบั ตวั ใหเ้ ขา้ ไดท้ กุ สงั คม เชน่ สงั คมของ
พระ สังคมของนกั ปราชญ์ราชบณั ฑติ สังคมของผปู้ ฏบิ ตั ิธรรม

๕๒ ปัญญาอบรมใจ

จำ� ศลี ภาวนาปฏบิ ตั ิ เราจะตอ้ งปรบั ตวั เขา้ หาทา่ นเหลา่ นอ้ี ยา่ งไร
เรากต็ อ้ งศกึ ษาความเปน็ อยู่ ความตอ้ งการของสงั คมนน้ั ๆ ใหเ้ ขา้ ใจ
เม่ือเราได้เขา้ ไป จะไม่เป็นแกะด�ำอยใู่ นฝงู จะกลมกลืนไปกนั ได้
โดยไมม่ ปี ญั หาอะไร สงั คมทด่ี อี ยา่ งน้ี เราควรเปน็ คนหนง่ึ ทป่ี ฏบิ ตั ิ
ตวั ไดเ้ หมอื นทา่ นเหลา่ นนั้ ถงึ จะปฏบิ ตั ไิ ดไ้ มด่ นี กั แตเ่ รากพ็ ยายาม
ทำ� ดีตลอดไป อีกสักวนั หนึง่ เราก็จะเป็นทีย่ อมรบั ในสังคมแห่ง
คนดไี ด้อยา่ งสนทิ ใจ

อีกสังคมหนึ่งท่ีเรียกว่าสังคมของคนพาล สังคมนี้ก็แบ่ง
เปน็ ปลกี ยอ่ ยออกไปอกี จงึ กลายเปน็ คนพาลหลายกลมุ่ แตล่ ะกลมุ่
อาจจะพาลไมเ่ หมอื นกนั เมอ่ื จำ� เปน็ เราจะไดพ้ บกบั คนพาลเหลา่ นี้
เรากต็ ้องศึกษานิสัยของคนพาลแต่ละกลมุ่ ให้เข้าใจ หากจ�ำเป็น
ต้องเข้าไปในสังคมของคนพาลเหล่าน้ี เราจะปรับตัวเข้ากับเขา
ใหไ้ ดพ้ อสมควร เพื่อปอ้ งกันไม่ใหม้ ปี ญั หาเกดิ ขึน้ ในสงั คมนั้นๆ

การเขา้ ไปในสงั คมของคนพาลน้ี ตอ้ งมคี วามระวงั ตวั เปน็
พเิ ศษ เพราะคนกลมุ่ นม้ี นี สิ ยั หนา้ ไหวห้ ลงั หลอก เชอ่ื ใจไมไ่ ดเ้ ลย
ต้องใช้จิตวทิ ยาสูง ทำ� ใหค้ นกลมุ่ นย้ี อมรับเราได้ มีอะไรพอจะให้
ไดก้ ใ็ หไ้ ป มีงานอะไรพอจะช่วยเขาได้ ช่วยไป พยายามปรับตวั
ให้เป็นมิตรกับคนกลุ่มน้ีให้ได้ ความดีอะไรท่ีจะต้องท�ำกับคน

ปรสิ ญั ญตุ า ๕๓

กลุ่มน้ีกต็ ้องท�ำให้เต็มที่ อกี สกั วันหนึง่ เมอื่ คนกลมุ่ นเี้ ห็นความดี
ที่เราท�ำไปแล้ว เขาเหล่านั้นจะเกิดความส�ำนึกในบุญคุณใน
ตัวเราเอง แต่เราไม่หวังส่ิงตอบแทนอะไรกับคนกลุ่มน้ี มีแต่ให้
เขาอย่างเดียว เมื่อเขาเห็นความดีของเราท่ีท�ำให้แก่เขา ก็เขา
น้ันแลจะมาเป็นรั้วก้ันปกป้องเราเอง เม่ือมีอะไรเกิดขึ้นในสิ่งท่ี
ไม่ดแี ก่เรา เขาเหลา่ นั้นแหละจะยื่นมอื เข้ามาช่วยเหลือ

พษิ งถู งึ จะรา้ ยกาจสกั เพยี งใด ถา้ เรามคี วามฉลาด กส็ ามารถ
เอาพษิ งนู นั้ มาทำ� ประโยชนไ์ ด้ ขวากหนามทเี่ กาะเกย่ี วเสยี บแทง
ให้เราเจ็บปวดได้ก็ตาม ถ้าเราเอามาล้อมบ้าน ก็จะได้เป็นร้ัว
ปอ้ งกนั ไมใ่ หค้ นและสตั วร์ า้ ยเขา้ มาทำ� อนั ตรายใหแ้ กเ่ รา นฉ้ี นั ใด
ถ้าเรามีความฉลาดรอบรู้ด้วยปัญญา ก็สามารถเอาคนกลุ่มนี้
มาปกปอ้ งเราไดเ้ ชน่ กนั ฉะนนั้ ปรสิ ญั ญตุ า ความเปน็ ผรู้ จู้ กั ชมุ ชน
และปฏบิ ตั ติ อ่ ชมุ ชนนน้ั ใหถ้ กู กบั กาลเทศะ กจ็ ะเปน็ ผลดแี กต่ วั เรา
เป็นอยา่ งมากทีเดียว

อีกสังคมหนึ่งที่พวกเราจะต้องได้พบปะสังสรรค์นั้น คือ
สงั คมกรรมฐาน หรอื เรยี กพน้ื ๆ วา่ สงั คมกลมุ่ ปฏบิ ตั ิ ทงั้ กลมุ่ ใหญ่
กลุ่มเล็กมีอยู่ท่ัวไป แต่ละกลุ่มก็มีอุบายภาวนาปฏิบัติเป็นของ
ตวั เอง และมคี วามตง้ั ใจไปในทศิ ทางเดยี วกนั นน้ั คอื เพอื่ ละกเิ ลส

๕๔ ปัญญาอบรมใจ

ตณั หาและละอาสวะใหห้ มดไปจากใจ เพอ่ื จะไดเ้ ขา้ สกู่ ระแสแหง่
มรรคผลนพิ พานดว้ ยกนั สว่ นอบุ ายภาวนาทม่ี คี วามแตกตา่ งกนั
ไปบ้างก็ไม่เป็นไร แต่ใจให้มีความหนักแน่นในธรรมที่ม่ันคงก็
นบั วา่ ดแี ล้ว

เมอ่ื หากเราจะเขา้ ไปในกลมุ่ ปฏบิ ตั ภิ าวนาทใี่ ด เราตอ้ งศกึ ษา
กฎระเบยี บของกลมุ่ นน้ั ๆ ใหเ้ ขา้ ใจ พรอ้ มทงั้ อบุ ายวธิ กี ารภาวนา
ของกลมุ่ นนั้ เอาไว้ เพอ่ื เราจะไดป้ รบั ตวั เองเขา้ ไปในกลมุ่ ไดอ้ ยา่ ง
สนทิ ใจ อบุ ายวธิ ภี าวนาปฏบิ ตั ขิ องเขา เมอื่ เราทำ� ไมถ่ นดั เพราะเรา
ไม่เคยทำ� มาก่อน เรากต็ ้องเอาวิธที ่เี รามีความถนัดปฏิบัตกิ นั ไป
ถงึ จะใชค้ ำ� บรกิ รรมภาวนามคี วามแตกตา่ งกนั กต็ าม แตค่ นผภู้ าวนา
อย่าให้เกิดความขัดแยง้ กนั อย่าเอาค�ำบรกิ รรมมาเปน็ ชนวนกอ่
เหตุว่า สายเราถูกต้องตรงต่อมรรคผลนิพพาน สายอ่ืนคดโค้ง
หรอื ผดิ ไป ถา้ เปน็ ในลกั ษณะนี้ ผภู้ าวนานนั้ แหละจะผดิ ใจกนั เอง
และจะเขา้ หน้ากนั ไม่ไดเ้ ลย

ผู้ปฏิบัติบางกลุ่มชอบยกย่องครูอาจารย์ตัวเองเกินไป
จะเป็นเพราะมีความเจตนาดีหรือเจตนาร้ายก็ไม่รู้ ชอบโจมตี
กลา่ วขวญั นนิ ทาวา่ รา้ ยอาจารยอ์ งคอ์ น่ื อยตู่ ลอดเวลา วา่ อาจารย์
องคน์ น้ั ไมด่ อี ยา่ งน้ี อาจารยอ์ งคน์ ไี้ มด่ อี ยา่ งนนั้ สารพดั เรอื่ งทน่ี ำ�

ปริสญั ญุตา ๕๕

มาโจมตกี ลา่ วรา้ ยเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเสยี หาย แมแ้ ตพ่ ระดว้ ยกนั เอง
ก็ยังเล่นเกมส์เหมือนฆราวาสที่ท�ำต่อกัน จะพูดอย่างไรท�ำให้
กลุ่มลูกศิษย์ของตัวเองหมดความเลื่อมใสศรัทธาจากองค์อ่ืนก็
วา่ กนั ไป จงึ กลายเปน็ กลมุ่ เปน็ คณะ เกดิ ความแตกแยกสามคั คกี นั
จะว่าภาวนาปฏิบัติก็เหมือนตัวเองได้เป็นพระอรหันต์องค์เดียว
จะวา่ การเขยี นหนงั สอื ธรรมะ กค็ ดิ วา่ เราเขยี นไดด้ เี พยี งองคเ์ ดยี ว
จะวา่ เทศนาบรรยายธรรม กค็ ดิ วา่ เราเทศนาบรรยายธรรมดเี ดน่
เพียงองค์เดียว ถา้ มีองค์อนื่ แสดงธรรมไดด้ ี มคี นนยิ มชมชอบ ก็
เกดิ ความอจิ ฉา หาวา่ แซงหนา้ แซงหลงั หาวา่ เปน็ ตวั ประจบประแจง
เพอื่ หวงั ผลประโยชนใ์ นลาภสกั การะ เปน็ ไปในลกั ษณะหมาไลเ่ นอ้ื
มีแตก่ ัดกนั เอง จะทันเน้ือได้อย่างไร

ฉะนน้ั ปรสิ ญั ญตุ า ความเปน็ ผรู้ จู้ กั ในกลมุ่ บรษิ ทั วา่ กลมุ่ ไหน
เป็นอย่างไร เราก็ต้องเลือกคนในกลุ่มพอที่จะพูดรู้ภาษากัน
กลมุ่ ไหนทเ่ี ขา้ กนั ไมไ่ ด้ พดู กนั ไมร่ เู้ รอื่ ง กอ็ ยา่ คยุ กนั มากนกั เพราะ
การพูดมาก โอกาสพูดผิดพลาดมีสูง ต้องท�ำใจให้เป็นอุเบกขา
วางเฉยเอาไว้ อยา่ ใหใ้ จเกดิ อคตติ อ่ กนั ถงึ จะอยใู่ นสงั คมเดยี วกนั
กใ็ หอ้ ยรู่ ว่ มกนั ไดเ้ หมอื นธรรมดาทวั่ ไป ตา่ งคนกป็ ฏบิ ตั กิ นั ไปตาม
แนวทางของตัวเอง ใคร่จะพบกระแสธรรม น�ำตนให้พ้นจาก

๕๖ ปญั ญาอบรมใจ

กระแสโลก ทวนกระแสของกิเลส ตัดตัณหาให้หมดไปจากใจ
ข้ามภพท้งั สามไปได้กพ็ อแล้ว

ปคุ คลญั ญตุ า

ปคุ คลญั ญตุ า เป็นผูร้ ู้จักเลอื กบคุ คล คำ� วา่ เลือกบคุ คล
หมายถงึ บุคคลผ้จู ะเป็นมติ รแท้ เลือกหาผู้ทจ่ี ะร่วมสขุ รว่ มทกุ ข์
กนั ได้ เปน็ บคุ คลทเี่ ชอื่ ใจกนั ไดแ้ ละเชอื่ ถอื ได้ นสิ ยั ความประพฤติ
และความเห็นเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพ่ือให้เกิดความม่ันใจ
ในการทำ� งานรว่ มกนั การเลอื กหาคนดมี าเปน็ มติ รได้ จำ� เปน็ ตอ้ ง
รจู้ กั คนชวั่ แลว้ เอาลกั ษณะของคนชว่ั และลกั ษณะของคนดมี า
เทยี บเคยี งกนั ดวู า่ ทงั้ สองคนนนั้ มลี กั ษณะทแี่ ตกตา่ งกนั อยา่ งไร
เราจงึ จะเลอื กหาคนดไี ด้ เมอ่ื อยากรจู้ กั คนขาวกต็ อ้ งรจู้ กั คนดำ�
อยากรู้จักคนต�่ำก็ต้องรู้จักคนสูง อยากรู้จักคนสวยก็ต้องรู้จัก
คนขเี้ หร่ อยากรจู้ กั คนดกี ต็ อ้ งรจู้ กั คนไมด่ ี วา่ ทงั้ สองคนนม้ี กี ริ ยิ า
มารยาทต่างกันอย่างไร คนชั่วเขาท�ำอย่างไร เขาพูดอย่างไร

๕๘ ปญั ญาอบรมใจ

คนดีเขาท�ำอย่างไร เขาพูดอย่างไร ต้องได้ข้อมูลทั้งสองฝ่ายมา
เปรียบเทียบกัน ก็จะรู้ความจริงมาตัดสินด้วยเหตุและผลได้
การเลอื กเฟน้ นเ้ี ปน็ ปกตขิ องมนษุ ยเ์ ราทกุ คน ไมว่ า่ ทางธรรมหรอื
ทางโลกก็ต้องมีการคัดเลือกด้วยกันท้ังน้ัน แม้จะเข้าท�ำงานใน
ส่วนรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานราชการต่างๆ ก็ยังเลือกบุคคล
ใหเ้ หมาะสมในงานและหนา้ ทน่ี นั้ ๆ จะทำ� งานในรฐั สภากย็ งั เลอื ก
หาประธาน งานในกระทรวงทบวงกรมตา่ งๆ ก็ยงั เลือกเฟ้นหา
ผจู้ ะมาดำ� รงตำ� แหนง่ เปน็ นายกรฐั มนตรี ตลอดผจู้ ะมาเปน็ รฐั มนตรี
กย็ งั มกี ารคดั เลอื ก แมแ้ ตง่ านการสรา้ งฐานของครอบครวั จะเอา
เปน็ คสู่ ามภี รรยากย็ งั เลอื กเฟน้ หา ขนาดนน้ั กย็ งั ผดิ หวงั พงั ทลาย
ไปได้

การเลือกอะไรในทางโลกยังไม่สมบูรณ์ แต่ก็ยังดีกว่าไม่
เลอื กเสยี เลย การเลอื กมติ รทไี่ วเ้ นอื้ เชอื่ ใจกนั ไดม้ คี วามสำ� คญั มาก
ถา้ เลอื กมติ รไมถ่ กู กอ็ าจเกดิ เปน็ มารเปน็ ศตั รแู กต่ วั เราได้ ทเี่ รยี กวา่
มติ รแทแ้ ละมติ รเทยี ม สว่ นมติ รเทยี มมอี ยมู่ ากมาย มติ รแทพ้ อจะ
ฝากเปน็ ฝากตายกนั ได้ รสู้ กึ วา่ หายาก มติ รแทน้ มี้ ที มี่ าได้ ๒ ลกั ษณะ

๑. นสิ ยั เคยเกยี่ วขอ้ งกนั มาในชาตอิ ดตี อาจเปน็ ญาตสิ นทิ
มติ รทีร่ ักกันมา เคยไดบ้ �ำเพญ็ บญุ กุศลร่วมกนั มา เม่ือเกดิ มาใน

ปุคคลญั ญตุ า ๕๙

ชาตนิ ี้ เมอ่ื ไดพ้ บกนั ในชวั่ ครู่ กจ็ ะเกดิ ความรสู้ กึ ตอ่ กนั ทง้ั สองฝา่ ย
ว่ามีความรักความสงสารต่อกันเกิดขึ้นทันที ถ้าเป็นในลักษณะ
อยา่ งน้ี จงึ จะเปน็ มติ รแทอ้ ยา่ งถาวร จะเปน็ เพอื่ นรว่ มสขุ รว่ มทกุ ข์
ต่อกันอย่างสนิทใจ จะฝากอะไรท่ีมีค่ามีราคาต่อกัน ก็ไม่เกิด
ความระแวงสงสัยซ่ึงกันและกัน เพ่ือนสุข สุขด้วย เพ่ือนทุกข์
ทุกข์ด้วย ถึงไหนถึงกัน จนกว่าชีวิตจะส้ินสลายจากกันไป ถ้า
หนมุ่ สาวเปน็ ในลกั ษณะน้ี ชวี ติ ทง้ั ชวี ติ จะมคี วามสขุ มคี วามอบอนุ่
เป็นครอบครัวท่ีมีความม่ันคง ไม่มีการทะเลาะดุด่าตีกันฆ่ากัน
แตอ่ ยา่ งใด จงึ นบั ไดว้ า่ เปน็ คถู่ อื ไมเ้ ทา้ ยอดทอง กระบองยอดเพชร
เปน็ ตัวอย่างให้แกส่ ามภี รรยาคู่อืน่ ๆ ได้เป็นอยา่ งดที เี ดยี ว

๒. เปน็ ผทู้ เ่ี คยสงเคราะหใ์ หค้ วามชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั
ในปจั จบุ นั แตล่ ะคนเปน็ ผมู้ นี ำ้� ใจเหมอื นๆ กนั เปน็ ผไู้ มเ่ หน็ แกต่ วั
มนี สิ ยั เสยี สละใหผ้ อู้ น่ื อยเู่ สมอ เปน็ ผมู้ ศี ลี เสมอกนั และมคี วามเหน็
เป็นไปในทิศทางเดียวกนั เปน็ ผมู้ หี ริ ิ ความละอายในการท�ำช่วั
พูดช่ัว มีความเกรงกลัวต่อบาปอกุศลเหมือนกัน การท่ีมีนิสัย
ตรงกันอย่างนี้นี่เอง จึงเกิดความเชื่อใจไว้ใจกันได้ ไม่จ�ำเป็นว่า
คนนนั้ จะเปน็ ญาติของเรา แม้แต่พี่นอ้ งทคี่ ลานออกจากท้องแม่
มาดว้ ยกนั กใ็ หค้ วามเชอื่ ถอื ไวใ้ จอะไรไมไ่ ด้ กม็ มี ากมาย ใครก็ได้

๖๐ ปญั ญาอบรมใจ

ถ้าเปน็ ลกั ษณะดงั กลา่ วมานี้ ถอื ว่าเราไดเ้ พอื่ นทีไ่ วใ้ จกันได้อย่าง
สนทิ ทเี ดียว

ฉะน้ัน ปคุ คลญั ญุตา ความเปน็ ผรู้ ู้จกั เลอื กบคุ คลมาเป็น
มติ ร จะตอ้ งใหม้ นี สิ ยั ตรงกนั และเหมอื นกนั กบั เรา มอี ะไรเกดิ ขนึ้
จะพดู กนั รเู้ รอ่ื ง และชว่ ยกนั ไดใ้ นเวลาจำ� เปน็ เพราะมจี ดุ มงุ่ หมาย
และเหตุผลที่ตรงกัน ขอให้ทุกท่านจงมีความสังเกตดูนิสัยซึ่ง
กันและกนั อาจจะเจอผมู้ นี ิสยั ท่ตี รงกันได้ ถ้าไมม่ กี อ็ ย่าเพิ่งไว้ใจ
ใครเลย ให้อยู่คนเดียวไปก่อน เม่ือพบเพ่ือนตามที่เราต้องการ
จึงมอบความเช่ือใจนี้ให้กัน นั้นแลจึงชื่อว่าเป็นผู้มีปัญญารอบรู้
ผู้จะมาเป็นเพอ่ื นเราด้วยความสบายใจ

การเลือกจึงเป็นจุดเริ่มต้นเพ่ือให้เกิดความมั่นใจใน
การทำ� งานตอ่ ไป และเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเชอื่ ถอื เปน็ กำ� ลงั ใจได้ เชน่
ศาสนาหรอื ลทั ธติ า่ งๆ มมี ากมาย ผจู้ ะเลอื กศาสนาอะไร เลอื กเอา
ลทั ธอิ ะไรมาเปน็ ทพี่ ง่ึ ทางใจ กเ็ ลอื กนบั ถอื ได้ เฉพาะศาสนาพทุ ธ
ที่พวกเรามีความเคารพเช่ือถือ พวกเราก็มีความเช่ือม่ันใน
พระพุทธเจ้าผู้เป็นเจ้าของเร่ิมต้นในการประกาศพระธรรมว่า
เปน็ ค�ำสอนที่มเี หตมุ ีผลทเี่ ชอ่ื ถือไดใ้ นโลก จงึ ยอมรบั วา่ “พุทฺธํ
สรณํ คจฉฺ ามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉาม”ิ ได้อย่างสนทิ ใจ หรอื พระสงฆ์

ปคุ คลญั ญตุ า ๖๑

ที่เป็นองค์ทายาทของพระศาสดาท่ีพวกเราให้ความเคารพ
กราบไหวบ้ ชู า พวกเราก็มคี วามมั่นใจวา่ “สงฆฺ ํ สรณํ คจฉฺ ามิ”
ท่านเป็นผู้ปฏิบัติดี เป็นผู้ปฏิบัติตรง เป็นผู้ปฏิบัติเพื่อรู้แจ้งใน
พระธรรม เป็นผู้ปฏิบัติชอบยิ่ง เป็นผู้ละอาสวกิเลสตัณหาให้
หมดไป

ในครง้ั พทุ ธกาล พระสงฆจ์ งึ ไดร้ บั มอบหมายจากพระพทุ ธเจา้
ไปเผยแผ่พระธรรมค�ำสอนของพระศาสดาเข้าสู่ประชาชน
มีผู้ได้บรรลุมรรคผลนิพพานเป็นจ�ำนวนมาก มาถึงยุคน้ีสมัยนี้
พระพุทธศาสนาล่วงเลยมาแล้วสองพันห้าร้อยกว่าปี ก็ยังมี
พระสงฆ์ท�ำหน้าที่เผยแผ่พระธรรม มีเจตนาดีท่ีได้ท�ำหน้าท่ีนี้
อยา่ งดยี ง่ิ บางองคก์ ไ็ ดศ้ กึ ษาธรรมะมาดี ตคี วามหมายในพระธรรม
ได้อย่างถูกต้องชัดเจนและแตกฉาน บางองค์ก็ยังไม่โปร่งใสใน
ธรรมเท่าที่ควร อาจจะตีความหมายในธรรมผิดพลาดไปได้
แต่ก็น�ำไปอบรมสั่งสอนให้แก่บุคคลทั่วไป อาจท�ำให้เกิด
ความเห็นผิดได้ ในยุคน้ีสมัยน้ีก็จ�ำเป็นจะต้องเลือกพระเลือก
บคุ คลอยู่น่ันเอง

การเลอื กพระเลอื กบคุ คลผใู้ หธ้ รรม จงึ เปน็ สง่ิ ทเ่ี ลอื กยาก
เพราะไมม่ อี งคใ์ ดประกาศวา่ แนวทางของเรานผี้ ดิ มแี ตป่ ระกาศ

๖๒ ปญั ญาอบรมใจ

วา่ ถกู ตอ้ งตรงตอ่ มรรคผลนพิ พานดว้ ยกนั ทงั้ นน้ั ฉะนน้ั การเลอื ก
ผ้นู ำ� จึงท�ำให้เกดิ ความสบั สน ถ้าหากการปฏบิ ัติตรงตอ่ มรรคผล
เหมอื นกัน แตท่ �ำไมอุบายการปฏบิ ัติจงึ ไมเ่ หมอื นกนั ส่วนอุบาย
การทำ� สมาธทิ มี่ อี บุ ายแตกตา่ งกนั นน้ั ไมส่ ำ� คญั เพราะมจี ดุ มงุ่ หมาย
อยา่ งเดยี วกนั นนั้ คอื ความสงบ แตอ่ บุ ายในการเจรญิ วปิ สั สนาจะ
มีความแตกต่างกันเป็นอย่างมากทีเดียว ถ้าเป็นในลักษณะนี้
จะไปโทษวา่ ใครผิดใครถูกจึงไม่ควรอย่างย่งิ

ให้เป็นไปในลักษณะฝูงโคที่ก�ำลังแสวงหาหัวหน้าโค ดัง
ไดอ้ ธบิ ายไว้ในเชงิ เปรยี บเทียบก็แล้วกัน ถ้าฝงู โคไดห้ ัวหน้าโคท่ี
ดีก็โชคดีไป ถ้าฝูงโคได้หัวหน้าโคตัวปลอมก็โชคร้ายไป เป็น
ลกั ษณะตวั ใครตวั มนั ชว่ ยกนั ไมไ่ ด้ แตถ่ งึ อยา่ งไรกต็ อ้ งเลอื กบคุ คล
อย่นู ัน้ เอง เพราะการเลือกบคุ คลน้เี ป็นจดุ เริ่มตน้ ถ้าเลอื กผดิ ถึง
จะมีศรัทธาเชือ่ ม่นั วา่ ถกู กย็ ังผดิ อยูน่ ่นั เอง

ฉะน้ัน การเลือกในส่ิงใด ถ้าไม่เข้าใจในเหตุผลที่ดีแล้ว
โอกาสเลอื กผดิ มสี งู เพราะในยคุ นอ้ี ยใู่ นชว่ งปลายพระพทุ ธศาสนา
อะไรกเ็ กดิ ขนึ้ ได้ ถงึ อยา่ งไรกจ็ ะเลอื กใหถ้ งึ ทส่ี ดุ อะไรจะเกดิ กใ็ ห้
มนั เกดิ กต็ อ้ งรบั ผดิ ชอบดว้ ยตวั เราเอง ศรทั ธาความเชอื่ ถอื นเ้ี อง
จงึ เป็นตน้ เหตใุ ห้เลอื ก ถ้าเป็นศรัทธาวิปปยตุ เป็นความเชื่อของ

ปคุ คลัญญุตา ๖๓

ผู้มีสติปัญญาท่ีงมงาย ไม่มีการวิจัยวิเคราะห์พิจารณาอะไรเลย
เหน็ ผอู้ น่ื เชอื่ กเ็ ชอื่ ตามเขาไปเทา่ นน้ั ถา้ เปน็ ผมู้ ศี รทั ธาญาณสมั ปยตุ
ผนู้ นั้ จะเชอื่ ดว้ ยเหตผุ ลดว้ ยสตปิ ญั ญาของตวั เองกอ่ น จงึ ตดั สนิ ใจ
เช่อื ในภายหลงั

มปี ญั ญาเลอื กเฟ้นธรรม

เม่ือเช่ือถือบุคคลและเช่ือถือครูอาจารย์ได้แล้ว ธรรมะท่ี
เราไดย้ นิ จากทา่ น อา่ นหนงั สอื ของทา่ น แลว้ กน็ ำ� มาเลอื กเฟน้ อกี
มธี รรมะหมวดไหนบ้างพอท่เี ราจะนำ� มาปฏบิ ตั ิได้ ให้ถกู กบั นิสยั
ของเราและความสามารถของเรา ธรรมะหมวดไหนควรเอามา
เรมิ่ ตน้ กอ่ น ธรรมะหมวดไหนควรนำ� มาปฏบิ ตั ใิ นภายหลงั ตอ้ งมี
สติปัญญาเลือกเฟ้นธรรมะให้เข้าใจ แล้วน�ำมาปฏิบัติให้ถูกกับ
ความหมาย

ธรรมะหมวดไหนปฏบิ ตั เิ ปน็ ไปอยใู่ นขนั้ โลกยี ์ ธรรมะหมวด
ไหนปฏบิ ตั เิ ปน็ ไปอยใู่ นขน้ั โลกตุ ระ การจะนำ� ธรรมะหมวดนน้ั ๆ มา
ปฏบิ ตั ไิ ด้ กเ็ นอ่ื งมาจากครอู าจารยเ์ ปน็ ผใู้ หอ้ บุ าย จะใหอ้ บุ ายธรรมะ
ผดิ ถกู อยา่ งไร เรารบั ไดท้ งั้ นน้ั ทา่ นจะใหอ้ ะไรแกเ่ รา ถอื วา่ สงิ่ นน้ั

มปี ญั ญาเลือกเฟน้ ธรรม ๖๕

เปน็ สริ มิ งคลทง้ั หมด ทา่ นจะสอนธรรมะอะไร เรากม็ คี วามยนิ ดพี อใจ
พรอ้ มทจ่ี ะนำ� ไปปฏบิ ตั ดิ ว้ ยความเคารพเชอื่ ถอื ทา่ นสอนอยา่ งไร
เราก็จะปฏิบัติไปอย่างนั้น ถ้าท่านสอนผิด เราก็ปฏิบัติผิดด้วย
ถา้ ทา่ นสอนถกู เราก็ปฏบิ ตั ถิ ูกดว้ ย

ฉะนนั้ การปฏบิ ตั ขิ น้ึ อยกู่ บั ผนู้ ำ� เปน็ สงิ่ สำ� คญั เพราะในยคุ นี้
สมัยน้ีมคี วามแตกตา่ งกันกับสมัยคร้งั พุทธกาล ในสมยั คร้ังนัน้ มี
พระพทุ ธเจา้ และพระอรยิ เจา้ เปน็ ผอู้ บรมสง่ั สอน ผปู้ ฏบิ ตั ติ ามจงึ
ไดบ้ รรลมุ รรคผลนพิ พานไดเ้ รว็ ในยคุ นคี้ รอู าจารยท์ ตี่ คี วามหมาย
ในธรรม นำ� มาสอนการภาวนาปฏบิ ตั มิ หี ลายวธิ ี ใครตคี วามหมาย
ในธรรมเหน็ วา่ เปน็ อยา่ งไรกน็ ำ� มาสอนอยา่ งนน้ั เมอ่ื ทา่ นเหลา่ นน้ั
มรณภาพไป ก็มีลูกศิษย์สอนในวิธีน้ันสืบทอดต่อกันมาจนถึง
ปจั จบุ นั และเขยี นใหเ้ ปน็ ตำ� ราไว้เพือ่ เปน็ หลักฐาน เม่ือผูป้ ฏิบตั ิ
ยุคนี้ได้อ่านก็คิดว่าเป็นต�ำราสมัยเก่า ไม่มีใครท่ีจะกล้าแก้ไข
เพราะถือว่าเป็นค�ำสอนของโบราณนัน่ เอง จงึ เข้ากันได้กบั เร่ือง
กาลามสตู รทเี่ ราท้งั หลายจะได้อา่ นต่อไปนี้

กาลามสูตร ๑๐ ข้อ

เรอื่ งกาลามสตู รน้ี พระพทุ ธเจา้ ไดส้ อนชาวกาลามชนเอาไว้
ถ้าได้พิจารณาในเหตผุ ลแล้ว น�ำมาเปน็ ข้อปฏิบัตไิ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี
เพราะพวกกาลามชนนนั้ เชอ่ื อะไรไมม่ เี หตผุ ล เคยเชอื่ อะไรกนั มา
แตโ่ บราณ กพ็ ากนั เชอื่ ถอื มาอยา่ งนน้ั ไมย่ อมแกไ้ ขปรบั ปรงุ ดว้ ย
เหตุผลแต่อย่างใด โบราณท�ำกันอย่างไรก็พากันท�ำอย่างน้ัน
พระพทุ ธเจา้ จงึ เตอื นสตใิ หข้ อ้ คดิ ดว้ ยเหตผุ ลแกค่ นเหลา่ นนั้ ดงั น้ี

๑. อยา่ ไดเ้ ชื่อเพียงสักว่าไดฟ้ ังตามๆ กนั มา ไดย้ ินไดฟ้ ัง
ในสิ่งไหนเร่ืองอะไร ตอ้ งเอาเรอ่ื งนน้ั มาคิดพจิ ารณาดว้ ยปญั ญา
หาเหตุผลมาเป็นองค์ประกอบ ว่าส่ิงใดเร่ืองอะไรที่ได้ยินได้ฟัง
มาแล้วมีเหตุผลพอเชื่อถือได้หรือไม่ได้ ให้ใช้หลักความจริงมา
เป็นเคร่ืองตัดสินช้ีขาด ใช้ปัญญาวิจัยวิเคราะห์ให้ดี ส่ิงใดมี

กาลามสตู ร ๑๐ ข้อ ๖๗

เหตผุ ลพอเชอ่ื ถอื ไดจ้ งึ เชอ่ื สงิ่ ใดไมเ่ ปน็ ไปในเหตผุ ล อยา่ ไปเชอื่
ในส่ิงนั้นๆ ต้องใช้ปัญญาพิจารณาทบทวนหลายครั้งหลายหน
จนเกดิ ความมน่ั ใจวา่ เรอ่ื งนนั้ ควรเชอ่ื ถอื ได้ เรอื่ งนไี้ มค่ วรเชอื่ ถอื
จึงตัดสนิ ใจเชอ่ื หรอื ไมเ่ ชอ่ื ในภายหลัง

ในสมัยครั้งพทุ ธกาล ความเช่อื ถอื มีหลายรูปแบบ เพราะ
ไดย้ นิ ไดฟ้ งั คนยคุ กอ่ นๆ เลา่ เอาไว้ คนยคุ ใหมก่ เ็ ลา่ ตอ่ ๆ สบื กนั มา
ไมท่ ราบวา่ เรอื่ งนนั้ เลา่ ตอ่ กนั มากชี่ ว่ั คน เหตผุ ลพอเชอื่ ถอื ไดห้ รอื
ไมไ่ ด้ ไม่มใี ครนำ� มาคดิ พิจารณาแต่อยา่ งใด

ความเชอ่ื ถือนม้ี มี ายาวนาน เมือ่ พุทธศาสนายังไม่เกดิ ขน้ึ
ในโลก หรือพระพุทธศาสนาได้เกิดขึ้นมาในโลกแล้วก็ตาม
ความเชื่อท่ีเก่าแก่ก็เล่าขานสืบต่อกันมาเรื่อยๆ จนถึงปัจจุบัน
เชน่ เรอ่ื งราหอู มจนั ทร์ ถา้ มนษุ ยไ์ มใ่ หค้ วามชว่ ยเหลอื โลกมนษุ ย์
จะเกดิ ภยั พบิ ตั ลิ ม่ จมหายนะไป มนษุ ยจ์ งึ ไดต้ ฆี อ้ ง ตกี ลอง ยงิ ปนื
หรือท�ำอะไรให้เกิดเป็นเสียง ให้ราหูเกิดความตกใจกลัวแล้ว
ดวงจนั ทร์ออกหนไี ป และมีเร่อื งอ่นื ๆ อกี มากมาย ไม่จำ� เป็นจะ
น�ำมาเขียนในทีน้ี มนั จะเป็นหนงั สือเลม่ ใหญ่เกนิ ไป

ความเช่ือถือน้ี แต่ละยุคก็มีความแตกต่างกันออกไป
ในยุคสมัยใดจะมีผู้สมองใสกุเรื่องข้ึนมา หาเหตุผลมาประกอบ

๖๘ ปญั ญาอบรมใจ

กบั เรอ่ื งทส่ี รา้ งขน้ึ โนม้ นา้ วใหค้ นหวั ออ่ นเกดิ ความเชอื่ ถอื ได้ เชน่
เรอ่ื งบชู าไฟ บชู ายญั ฆา่ สตั วเ์ อาเลอื ดบชู าแมก่ าลี เพอื่ เปน็ มงคล
อยา่ งนั้นอยา่ งนี้ หรือกลมุ่ นักพรตก็เชอ่ื วา่ การแก้ผา้ เปลอื ยกาย
จะละกเิ ลสได้ นอนบนขวากหนาม นอนยา่ งไฟใหก้ เิ ลสไดแ้ หง้ ไป
และมวี ธิ อี น่ื ๆ อกี มากมายทนี่ กั พรตเหลา่ นนั้ เชอ่ื วา่ จะละกเิ ลสได้
นนั้ เป็นเรื่องทนี่ อกพทุ ธศาสนา

แตใ่ หเ้ ราไดส้ งั เกตความเชอื่ ถอื ของชาวพทุ ธทก่ี ำ� ลงั ภาวนา
หาวิธที จ่ี ะละอาสวกิเลสในยคุ นี้ดบู า้ ง คนส่วนใหญ่ของชาวพทุ ธ
มีความเชอื่ วา่ การภาวนาท�ำสมาธใิ ห้จติ มีความสงบแล้วจะเกิด
ปัญญา เม่ือปัญญาเกิดแล้ว ก็จะไปละกิเลสตัณหาให้หมดไป
จากใจเอง เมอ่ื กิเลสตณั หาถกู ปัญญาได้ละไปหมดแล้ว ก็จะเป็น
พระอริยเจ้าขึ้นมาเอง ส่วนใหญ่ผู้ปฏิบัติจะมีความเข้าใจใน
ลักษณะนี้ เหมือนกับวา่ คำ� บรกิ รรมท�ำใหจ้ ติ มคี วามสงบได้แลว้
จะเป็นไสยศาสตร์ สามารถทีจ่ ะทำ� ให้เกดิ ปญั ญาข้นึ มาได้ และ
เขา้ ใจว่าจะเปน็ เหมือนคาถาอาคมเวทมนตร์ มคี วามหวังจะเกดิ
อิทธิฤทธ์ิอภินิหารก�ำจัดกิเลสตัณหาให้หมดไป ทั้งที่ตัวเองยัง
งี่เงา่ เตา่ ต่นุ ไม่ร้จู ักในสัจธรรมแต่อย่างใด ความเช่ือถอื ท่ีสืบตอ่
กันมาอย่างน้ี กจ็ ะเหมอื นกนั กบั พวกกาลามชนเหลา่ นั้น

กาลามสตู ร ๑๐ ข้อ ๖๙

ฉะนนั้ พระพุทธเจ้าจึงไดเ้ ตือนสติวา่ อย่าไปเขา้ ใจวา่ เปน็
อย่างน้ัน จะเชื่อถอื ในส่งิ ใดตอ้ งใชป้ ญั ญาพิจารณาในส่ิงน้นั ๆ
ด้วยเหตุและผลให้เป็นศรัทธาญาณสัมปยุต จะเชื่อในส่ิงใด
ตอ้ งใชป้ ญั ญาวจิ ยั วจิ ารณใ์ หแ้ ยบคาย ใหเ้ ขา้ ใจในสงิ่ ทเ่ี ปน็ จรงิ
ในสงิ่ น้นั ๆ มใิ ชว่ ่าจะเชื่อสักวา่ ฟงั ตามๆ กนั มาว่าภาวนาอยา่ งน้ี
จะถกู ตอ้ งไปเสยี ทงั้ หมด ใหศ้ กึ ษาประวตั ทิ พ่ี ระพทุ ธเจา้ ทรงสอน
พทุ ธบรษิ ทั ในสมัยคร้งั พทุ ธกาลใหเ้ ขา้ ใจ ไม่เช่นนนั้ จะเปน็ ผูเ้ ชอื่
อะไรท่ีงมงายต่อไปโดยไม่รู้ตัว จะเหมือนกับพวกกาลามชน
เหล่านน้ั

๒. อยา่ ไดเ้ ชอื่ เพยี งสกั วา่ ของเกา่ ทท่ี ำ� ตามๆ สบื ตอ่ กนั มา
นกี้ เ็ ชน่ กนั ประเพณนี ยิ มทพ่ี วกเราทง้ั หลายไดท้ ำ� กนั อยใู่ นปจั จบุ นั
กพ็ ากันถอื ว่าเป็นเร่ืองเก่าแก่ทำ� กันมาแตโ่ บราณ ถงึ ปยู่ ่าตายาย
พอ่ แมท่ ยี่ งั ทำ� สบื ทอดกนั มาจนถงึ พวกเรา และจะทำ� ตอ่ ๆ กนั ไป
ในอนาคตอกี ยาวนาน ทำ� กนั มาอยา่ งไรกพ็ ากนั ทำ� ตอ่ ไปอยา่ งนน้ั
เพราะถอื วา่ เปน็ ของเกา่ ไมม่ ใี ครทจ่ี ะกลา้ แกไ้ ข ถา้ ผไู้ ดอ้ า่ นประวตั ิ
ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ไดส้ อนพทุ ธบรษิ ทั ในสมยั ครงั้ พทุ ธกาล ทม่ี ผี ปู้ ฏบิ ตั ิ
ตามได้มรรคผลนิพพานผ่านไปแล้ว การปฏิบัติวิธีเก่าตามที่
พระพุทธเจ้าได้อบรมส่ังสอน พวกเราก็จะเกิดความปีติยินดี

๗๐ ปญั ญาอบรมใจ

แต่กลับพากันไปชอบของเก่าในวิธีปฏิบัติของพวกดาบสฤๅษี
เม่ือปฏิบัติตามพวกฤๅษี แต่ต้องการบรรลุมรรคผลนิพพาน
อันเป็นวิธีปฏิบัติท่ีเป็นไปไม่ได้ แต่พวกเราก็คิดว่าจะเป็นไปได้
นค้ี อื ไมไ่ ดใ้ ชป้ ญั ญาพจิ ารณาหาเหตผุ ลมาเปน็ เครอ่ื งตดั สนิ จงึ ไม่
เข้าใจในของเก่าที่พระพทุ ธเจ้าได้สอนเอาไว้

พระองคไ์ ดว้ างหลกั ปญั ญาเปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ในการปฏบิ ตั ธิ รรม
ทั้งหลาย มีปัญญาความเห็นชอบที่ประกอบไปด้วยเหตุและผล
มีปัญญาด�ำริพิจารณาแยกแยะวิจัยวิจารณ์ในหมวดธรรมต่างๆ
ใหเ้ ขา้ ใจ เรยี กวา่ โยนโิ สมนสกิ าร พจิ ารณาใหเ้ กดิ ความแยบคาย
หายสงสัยในสงิ่ นน้ั ๆ ให้ชดั เจน

การเชอื่ ถอื ในของเกา่ นนั้ ตอ้ งพจิ ารณาใหเ้ ขา้ ใจวา่ ของเกา่
อย่างไหนพอเชื่อถือได้และเช่ือถือไม่ได้ ต้องใช้ปัญญาพิจารณา
ให้เขา้ ใจในความเปน็ จรงิ ส่ิงนี้มเี หตุเป็นอย่างน้ี และผลที่จะเกิด
ตามมาเป็นอย่างนี้ มองเหตไุ ปหาผลให้ตรงกันกับความเปน็ จริง
มใิ ช่ว่าจะท�ำเหตุอย่างหน่งึ เพือ่ ใหเ้ กิดผลเปน็ อกี อย่างหนึง่ ใช้ไม่
ไดเ้ ลย เชน่ ท�ำสมาธิจิตมีความสงบแลว้ จะเกดิ ปัญญา เปน็ ตน้
ทจี่ รงิ ความสงบของสมาธจิ ะมผี ลไปในทางฌานสมาบตั ิ ทเี่ รยี กวา่
รปู ฌาน อรปู ฌาน เกดิ เปน็ อภนิ หิ ารตา่ งๆ หรอื เกดิ อภญิ ญา เชน่

กาลามสูตร ๑๐ ขอ้ ๗๑

มีตาทิพย์ มีหูทิพย์ รู้วาระจิตของคนอ่ืนบ้าง มีฤทธิ์บ้าง รู้จัก
จติ วญิ ญาณของคนทต่ี ายไปแลว้ รู้จักภพชาตใิ นอดีตว่าเคยเกิด
เป็นอะไรมา น้ีเป็นผลท่ีเกิดจากสมาธิความสงบ มิใช่ว่าจิตมี
ความสงบแล้วจะเกิดปญั ญาดังทีเ่ ขา้ ใจ

เหตุที่จะให้เกิดปัญญามาจากการพิจารณาให้รู้เห็นตาม
ความเป็นจรงิ เกดิ ความฉลาดรอบรใู้ นหลกั สจั ธรรม ดงั ทพ่ี ูดกนั
อยเู่ สมอวา่ “มปี ญั ญาตรสั รอู้ รยิ สจั ส่ี แจง้ ประจกั ษโ์ ดยลำ� พงั ดว้ ย
พระองคเ์ อง” คำ� วา่ มคี วามสงบตรสั รอู้ รยิ สจั ส่ี จะมมี าจากทไี่ หน

ฉะนนั้ ความเชอ่ื ถอื ในของเกา่ ปฏบิ ตั ติ ามของเกา่ พวกเรา
ไดป้ ฏบิ ตั ถิ กู ตอ้ งตามคำ� สอนของพระพทุ ธเจา้ หรอื ไม่ หรอื ปฏบิ ตั ิ
ตามของเก่าของพวกฤๅษกี ันแน่ จงใช้ปัญญาพิจารณาให้เขา้ ใจ
ในเหตุผล ไม่เช่นน้นั จะเปน็ มิจฉาปฏบิ ัติไปโดยไมร่ ตู้ ัว

๓. อย่าได้เช่ือเพียงสักว่ากิตติศัพท์อันเป็นข่าวเล่าลือ
นี้ก็เป็นอีกข้อหน่ึงที่พวกเราท้ังหลายควรน�ำมาพิจารณา ค�ำว่า
ข่าวเล่าลอื เป็นไดท้ ้งั จริงหรือไม่จริง พอเช่ือถือไดแ้ ละเชือ่ ถือ
ไมไ่ ด้ เชน่ เลา่ ลอื วา่ พ.ศ. เทา่ นนั้ โลกจะเกดิ ภยั พบิ ตั ิ โลกจะพนิ าศ
นำ้� จะทว่ ม หาทอี่ ยไู่ มไ่ ด้ สตั ว์และหม่มู นุษยจ์ ะลม้ ตายกันไปเปน็
จำ� นวนมาก จะเกดิ ความอดอยากขา้ วปลาอาหารไปทว่ั ทกุ แหง่ หน

๗๒ ปัญญาอบรมใจ

ของโลก ข่าวเล่าลือน้ีจะเป็นจริงหรือเท็จอย่างไร ก็ใช้ปัญญา
พจิ ารณาในเหตผุ ลวา่ ขา่ วอยา่ งนม้ี เี หตผุ ลพอเชอื่ ถอื ไดห้ รอื ไมไ่ ด้
มิใช่วา่ ไดย้ ินข่าวเลา่ ลอื มาอยา่ งไร จะเชื่อไปเสียทั้งหมด

ตอ้ งฝกึ นสิ ยั ตวั เองใหเ้ ปน็ ผหู้ นกั แนน่ พจิ ารณาในเหตผุ ล
กอ่ นวา่ จรงิ หรอื ไมจ่ รงิ อยา่ งไร จงึ ตดั สนิ ใจเชอ่ื ในภายหลงั หรอื
ไดท้ ราบขา่ ววา่ สง่ิ ศกั ดสิ์ ทิ ธเิ์ กดิ ขน้ึ ทไ่ี หน กเ็ ชอ่ื วา่ เปน็ จรงิ อยา่ งนนั้
ทำ� ไมจงึ เปน็ ผหู้ เู บา ใจงา่ ยงมงายเชอ่ื อะไรทขี่ าดเหตผุ ล และขา่ ว
เลา่ ลืออืน่ ๆ ทีจ่ ะเกิดขน้ึ ในภายภาคหน้า จะมีอกี มาก มีทั้งขา่ วดี
และขา่ วไมด่ ี ขา่ วอะไรกต็ ามอยา่ เพงิ่ ตัดสนิ ใจเชือ่ ในทันที ตอ้ งมี
การพสิ จู นใ์ หร้ คู้ วามจรงิ จงึ เชอื่ ในภายหลงั ตอ้ งฝกึ ตวั เองใหม้ เี หตุ
มีผลด้วยสติปัญญาเฉพาะตัว มิใช่ว่าจะเอาคนอ่ืนเป็นผู้ช้ีแนะ
บอกกล่าวให้เช่ือ ความเชื่อหรือไม่เชื่อต้องมีเหตุผลเฉพาะตัว
จงึ เรียกว่า “ตนแลเป็นทีพ่ ่งึ แหง่ ตน”

ความเชอ่ื ถอื ในข่าวลอื อีกอย่างหนึ่งคือเรอ่ื งบุญกศุ ล เช่น
ไดเ้ หน็ ของแปลกในการปฏบิ ตั ริ ปู แบบใหมว่ า่ ดอี ยา่ งนน้ั ดอี ยา่ งน้ี
ปฏบิ ตั แิ ลว้ จะไดร้ บั ผลเปน็ อยา่ งนนั้ อยา่ งน้ี กเ็ ลา่ ลอื กนั ไป เฉพาะ
ผู้มีความฝักใฝ่ในบุญกุศล ใจจะคล้อยไปตามข่าวเล่าลือได้ง่าย
เพราะเป็นผมู้ คี วามหิวกระหายในบญุ กุศลอย่แู ลว้ เม่ือได้ทราบ

กาลามสตู ร ๑๐ ขอ้ ๗๓

ข่าวเล่าลือว่าพระผู้มีคุณธรรมสูงมีอยู่ท่ีไหน ก็พากันไปเพ่ือ
กราบไหว้บูชาเพื่อให้เกิดเป็นบุญกุศล จะเป็นอรหันต์พระบ้าง
อรหันต์เณรบ้าง ตลอดฆราวาสผู้มีความต้ังใจในการปฏิบัติอยู่
ข่าวลือในลักษณะอย่างนี้ก็ยังไม่ท�ำให้เกิดความเสียหาย ถ้าเรา
มีความเคารพเสอื่ มใสศรัทธา ก็จะเกดิ เป็นบญุ กุศลแกต่ วั เราเอง
สว่ นพระอรหนั ตอ์ งคจ์ รงิ นนั้ กเ็ ชอ่ื ถอื ไปตามขา่ วเลา่ ลอื อกี เชน่ กนั
องคไ์ หนทเ่ี รามคี วามเคารพเลอ่ื มใสศรทั ธา กช็ อบยกขนึ้ วา่ องคน์ นั้
เปน็ พระอรหนั ตไ์ ป ในลกั ษณะอยา่ งน้ี กเ็ ปน็ องคจ์ รงิ บา้ ง องคป์ ลอม
บา้ ง องคไ์ หนทเ่ี ราไมม่ คี วามเคารพเสอ่ื มใส ไมเ่ ชอื่ ถอื ถงึ องคน์ น้ั
จะเปน็ พระอรหนั ตอ์ งคจ์ รงิ แตเ่ รากย็ งั ไมเ่ ชอ่ื อยนู่ น้ั เอง มหิ นำ� ซำ�้
ยังแสดงความประมาทกา้ วรา้ วให้แก่ท่านไปด้วย

ฉะน้ัน พวกเราได้รับข่าวเล่าลือมาอย่างไร ก็ให้ศึกษา
กรองข่าวน้ันให้ดี อย่าเป็นนิสัยเช่ืออะไรท่ีงมงาย ไม่เช่นนั้นจะ
เป็นเหมือนสตั ว์ทง้ั หลาย ต่นื ขา่ วไปตามกระต่ายตน่ื ตูม ให้ฝกึ ใจ
เหมอื นกบั ราชสหี ์ มอี ะไรเกดิ ขน้ึ ตอ้ งพสิ จู นใ์ หร้ เู้ หน็ ความจรงิ ใน
ส่ิงน้ันๆ

๔. อยา่ ไดเ้ ชอ่ื เพยี งสกั วา่ อา้ งมาจากตำ� ราหรอื คมั ภรี ์ นกี้ ็
เช่นกัน นสิ ยั ของคนเราชอบอ้างถึงตำ� รา เหมือนกบั ว่า เรื่องไหน

๗๔ ปัญญาอบรมใจ

มตี ำ� รา จะเขา้ ใจวา่ เรอ่ื งนน้ั จะเปน็ เรอื่ งจรงิ ทง้ั หมด หนงั สอื ตำ� รา
ว่าอยา่ งไร กเ็ ช่ือกันไปอย่างนน้ั ทั้งตำ� ราในทางโลกและตำ� ราใน
ทางธรรม ตำ� รานั้นเขยี นออกมาตามความรู้ของผูเ้ ขียน เราเปน็
ผู้อ่านก็เพียงให้เป็นความรู้เท่านั้น เม่ือจะน�ำมาปฏิบัติ ก็เอา
ความรนู้ นั้ มาพจิ ารณาอกี ครงั้ หนง่ึ วา่ ประโยคและความหมายใน
ตำ� รานน้ั มเี หตผุ ลพอเชอื่ ถอื ไดห้ รอื ไม่ ถา้ ปฏบิ ตั ไิ ปตามตำ� ราแลว้
จะเกิดผลออกมาอย่างไร ต้องใช้วิจารณญาณกลั่นกรองด้วย
เหตุผลให้ละเอียดว่าต�ำราไหนพอจะเชื่อถือได้และเช่ือถือไม่ได้
ต้องวิจยั วิเคราะห์ใครค่ รวญตรึกตรองใหด้ ี

เฉพาะทางธรรม มีผู้เขียนเป็นต�ำราออกมาให้คนอ่าน
มากมาย มที ง้ั หนังสือเกา่ และหนังสือใหมเ่ ตม็ ไปหมด มที ง้ั พระ
และฆราวาส ก็มีความสามารถเขียนหนังสือธรรมะได้เช่นกัน
พร้อมท้ังหลักการและวิธีการในการปฏิบัติมีเหตุผลเหมือนกัน
เมอื่ อา่ นแลว้ ถา้ ไมพ่ จิ ารณาใหด้ ี กน็ า่ เชอ่ื ถอื ได้ มที งั้ พระอรยิ เจา้
เขยี นและปถุ ชุ นเขยี น หลายประโยค หลายความหมาย มเี หตผุ ล
เหมอื นกนั บา้ ง ไมเ่ หมอื นกนั บา้ ง สว่ นมากผอู้ า่ นจะใหค้ วามเชอื่ ถอื
ในตำ� ราสมยั เกา่ ถงึ จะผดิ ในหลกั ความเปน็ จรงิ กเ็ ชอื่ วา่ เปน็ ความจรงิ
อย่นู ัน่ เอง หนังสือนกั ปราชญ์ยุคใหม่ ถึงจะจริงก็ยังไม่รบั วา่ จรงิ

กาลามสูตร ๑๐ ข้อ ๗๕

เพราะไมใ่ ชเ้ หตผุ ลในหลักความจรงิ มาเป็นหลักตดั สิน
ท่ีพระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ว่า “อย่าได้เช่ือเพียงสักว่าน้ี

อ้างมาจากต�ำราหรือคัมภีร์” ท�ำไมเราไม่เอามาพิจารณาดูบ้าง
ในความหมายน้ี พระพทุ ธเจา้ ทรงต้องการให้คนเชื่อดว้ ยเหตุผล
ไม่ให้เช่ือโดยผูกขาดว่าน้ีเป็นต�ำราเก่าหรือต�ำราใหม่ ให้มี
ความมน่ั ใจในเหตผุ ลและความหมายในหลกั ความเปน็ จรงิ เทา่ นนั้

เชน่ ตำ� ราวา่ ทำ� สมาธใิ หจ้ ติ มคี วามสงบแลว้ จะเกดิ ปญั ญาขนึ้
ในหลักความเป็นจริงในสมัยครั้งพุทธกาล พระองค์ทรงสอน
อย่างน้ีจริงหรือไม่ ถ้าได้อ่านประวัติของพระอริยเจ้าในสมัย
พุทธกาล ว่าท่านเหล่านั้นบรรลุธรรมด้วยการปฏิบัติอย่างไร
เรม่ิ ต้นในการปฏิบตั ิอยา่ งไร เราจะเข้าใจไดท้ ันที พระอริยเจา้ ใน
สมัยนั้น รวมทัง้ พระ เณร ภิกษณุ ี อบุ าสก อุบาสกิ า ไมต่ ำ่� ไปกว่า
แสนองคข์ นึ้ ไป พระพทุ ธเจา้ ไปแสดงโปรดสตั วท์ ไ่ี หน ใหพ้ ทุ ธบรษิ ทั
ปฏิบัติในลักษณะใดจึงได้บรรลุเป็นพระอริยเจ้าได้ ประวัติใน
พระสูตรมีมากมาย ทำ� ไมไมอ่ า่ นดบู า้ ง

ทุกสถานท่ีมีพุทธบริษัทมาฟังธรรมของพระพุทธเจ้า
พระองคท์ รงยกสจั ธรรมอนั เปน็ ความจรงิ ขน้ึ มาแสดง ใหพ้ ทุ ธบรษิ ทั
ใช้สติปัญญาพิจารณาให้รู้เห็นตามหลักความเป็นจริงทั้งนั้น

๗๖ ปญั ญาอบรมใจ

ในหลักของมรรค ๘ พระองค์ก็ยกปัญญาขึ้นมาเป็นจุดเริ่มต้น
นัน้ คอื สัมมาทฏิ ฐิ ปญั ญาความเห็นชอบ สมั มาสงั กปั โป การด�ำริ
พจิ ารณาดว้ ยปญั ญาใหถ้ กู ตอ้ งชอบธรรมตามหลกั ความเปน็ จรงิ
มิใชห่ รือ

ท�ำไมจึงไม่อ่านต�ำราดูประวัติความเป็นมาในสมัยคร้ัง
พุทธกาลบ้าง ว่าพระพุทธเจ้าสอนพุทธบริษัทให้ปฏิบัติกันมา
อยา่ งไร เรมิ่ ตน้ จากปฐมสาวก เชน่ ปญั จวคั คยี ท์ งั้ หา้ พระยสกลุ บตุ ร
พรอ้ มดว้ ยหมคู่ ณะภทั ทวคั คยี ท์ ต่ี ามหาหญงิ แพศยา ชฎลิ สามพน่ี อ้ ง
พรอ้ มดว้ ยหมคู่ ณะ พรอ้ มดว้ ยพระสารบี ตุ ร และพระโมคคลั ลาน์
และองคอ์ นื่ ๆ อกี มากมาย หรอื บรวิ ารของพระเจา้ พมิ พสิ ารจำ� นวน
๑๒๐,๐๐๐ คน ได้บรรลุธรรม ๑๑๐,๐๐๐ คน นอกน้นั ตั้งอยู่ใน
ไตรสรณคมน์ ประวตั ผิ ไู้ ดบ้ รรลธุ รรมในครงั้ พทุ ธกาลมจี ำ� นวนมาก
การปฏบิ ัติเรม่ิ ตน้ จากปัญญาความเหน็ ชอบด้วยกันทงั้ นน้ั

การท�ำสมาธิให้จิตมีความสงบ ข้าพเจ้าไม่ได้ปฏิเสธว่า
ไม่ให้ทำ� ใครจะมีค�ำบริกรรมอะไรกท็ �ำกนั ไป จติ จะมีความสงบ
ในสมาธิในระดับไหน ท�ำไป จะท�ำให้จิตมีความสงบอยู่นาน
ก่ีช่ัวโมงก็ท�ำไป จะได้เป็นก�ำลังใจหนุนปัญญาได้เป็นอย่างดี
ทปี่ ฏเิ สธนนั้ คอื สมาธคิ วามสงบนนั้ ไมท่ ำ� ใหเ้ กดิ ปญั ญาแตอ่ ยา่ งใด

กาลามสูตร ๑๐ ขอ้ ๗๗

แต่สมาธิท�ำให้ใจเกิดมีก�ำลัง ก�ำลังใจท่ีเกิดจากสมาธินี้ น�ำไป
ประกอบในอบุ ายเสรมิ ปญั ญาใหเ้ กดิ ความรแู้ จง้ เหน็ จรงิ ในสจั ธรรม
เทา่ นน้ั เพราะสมถะและวปิ สั สนาเปน็ ของคกู่ นั เปน็ กำ� ลงั หนนุ
ซึ่งกันและกนั

ใครจะใช้ปัญญามากทำ� สมาธนิ ้อย หรอื ใช้ปัญญาน้อย
ทำ� สมาธมิ าก นน้ั ให้เปน็ ไปตามนสิ ยั ของแตล่ ะคน ผ้มู นี สิ ยั ทาง
ปญั ญาวมิ ตุ ิ จะใชป้ ญั ญามากทำ� สมาธนิ อ้ ย ผมู้ นี สิ ยั ทางเจโตวมิ ตุ ิ
จะใช้ปัญญาน้อยท�ำสมาธิมาก ถึงอย่างไรก็เริ่มต้นจากปัญญา
ความเห็นชอบอยู่นัน่ เอง

ลำ� พงั ทำ� ใหจ้ ติ มคี วามสงบในสมาธเิ พยี งอยา่ งเดยี ว การปฏบิ ตั ิ
จะไมก่ า้ วหนา้ แตอ่ ยา่ งใด จะวกไปเวยี นมาเหมอื นกบั คนตาบอด
พายเรอื อยใู่ นสระ ถงึ จะมปี ระตเู ปดิ อยู่ กจ็ ะไมร่ เู้ หน็ ทางออกแต่
อย่างใด หรือเหมอื นกับผ้มู เี งินอยู่ในตวั แล้ว แตไ่ ม่มีร้านอาหาร
ซอ้ื รบั ประทาน เงนิ จะเกดิ เปน็ อาหารใหเ้ รารบั ประทานไดอ้ ยา่ งไร
หรือเหมือนกับมีปากกาอยู่ในมือ แต่ไม่มีกระดาษเป็นท่ีรองรับ
ใหเ้ ขยี น ตวั หนงั สอื กเ็ กดิ ขนึ้ ไมไ่ ด้ ถงึ จะมกี ระดาษรองรบั ใหเ้ ขยี น
อยู่ก็ตาม ถ้าเขยี นหนงั สอื ไมเ่ ป็น ปากกาทีม่ ีอย่กู ็สักวา่ มีเทา่ นัน้

น้ีฉันใด ก�ำลังใจที่เกิดขึ้นจากสมาธิ ถ้าไม่มีปัญญาเป็น

๗๘ ปญั ญาอบรมใจ

พื้นฐานรองรับเอาไว้ ก�ำลังใจจะไปคิดพิจารณาด้วยปัญญาไม่
ได้เลย มีแต่ความพอใจยินดีอยู่ในความสงบสุขของสมาธิต่อไป
เทา่ นน้ั ถา้ ผมู้ คี วามชำ� นาญในฌานสมาบตั ิ กเ็ ขา้ อยใู่ นฌานตอ่ ไป
นี้ก็เพราะไม่ได้ฝึกปัญญารองรับสมาธิเอาไว้ ก�ำลังใจที่เกิดจาก
สมาธิก็ท�ำอะไรไม่ได้เลย อีกไม่นานก�ำลังใจที่เกิดจากสมาธิก็
เสอ่ื มลง แลว้ กน็ กึ ค�ำบรกิ รรมทำ� สมาธใิ หม่ กเ็ ปน็ ไปในรปู เกา่ อกี
จะมกี ารวกวนกันอยอู่ ยา่ งนี้ จะหาทางออกไมไ่ ด้เลย ต�ำราที่ว่า
เม่ือจิตเป็นสมาธิมีความสงบดีแล้วจะเกิดปัญญาข้ึน ต�ำราน้ีผิด
หรอื ถูก ให้ผปู้ ฏบิ ัติไดพ้ ิจารณาดูก็แลว้ กนั

ฉะนั้น ผู้ปฏิบัติอย่าผูกขาดอ้างตามต�ำราจนเกินไป ใน
ความหมายของนกั ปราชญท์ า่ นวา่ “การปฏบิ ตั อิ ยา่ เอาตามตำ� รา
และอยา่ ทง้ิ ตำ� รา” ใหเ้ ราไดพ้ จิ ารณาในเหตผุ ลนกี้ แ็ ลว้ กนั ถา้ ตี
ความหมายนไ้ี ด้ ผนู้ นั้ จะรวู้ ธิ ใี นการปฏบิ ตั อิ ยา่ งชดั เจนทเี ดยี ว

เช่น มรรคมีองค์ ๘ ที่เป็นค�ำสอนของพระพุทธเจ้าได้
ตรสั แลว้ อยา่ งตายตวั พระพทุ ธเจา้ ทรงมพี ระญาณรเู้ หน็ แนวทาง
ปฏิบัติท่ีจะเข้าสู่กระแสแห่งมรรคผลนิพพานได้เป็นอย่างดี
ผู้รับสนองพระธรรมของพระพุทธเจ้า กลุ่มแรกคือปัญจวัคคีย์
ท้ังห้าท่าน พระองค์ทรงอธิบายในวิธีปฏิบัติในมรรค ๘ อย่าง

กาลามสตู ร ๑๐ ขอ้ ๗๙

ละเอียดถ่ีถ้วน วางรากฐานของการปฏิบัติไว้แล้วเป็นอย่างดี
พระองค์ก็มีวิธีเปล่ียนความคิดท่ีเป็นมิจฉาทิฏฐิ ความเห็นผิด
ใหก้ ลบั มาเปน็ สมั มาทฏิ ฐิ ความเหน็ ทถ่ี กู ตอ้ งชอบธรรม พระองค์
จงึ ไดว้ างหลกั ปญั ญาไวใ้ นเบอื้ งตน้ ทท่ี กุ คนกร็ กู้ นั อยวู่ า่ สมั มาทฏิ ฐิ
สมั มาสังกปั โป นีเ้ ป็นหลักของปญั ญา

เม่ือปญั ญาสัมมาทิฏฐมิ คี วามเหน็ ชอบแลว้ พระองคก์ ็ได้
วางในวิธีรกั ษาศีล ทีว่ า่ สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชโี ว
นค้ี อื หมวดของศลี กเ็ อาปญั ญาสมั มาทฏิ ฐคิ วามเหน็ ชอบนน้ั แหละ
มารกั ษาศลี เรอื่ งการทำ� สมาธิ พระองคก์ ว็ างแนวทางวธิ ที ำ� สมาธิ
ไวแ้ ลว้ เปน็ อยา่ งดี เชน่ สมั มาวายาโม สมั มาสติ สมั มาสมาธิ นเ้ี ปน็
อบุ ายวธิ ที ำ� สมาธิ พระองคก์ ไ็ ดว้ างทศิ ทางการปฏบิ ตั ไิ วแ้ ลว้ อยา่ ง
ชัดเจน ก่อนท�ำสมาธิก็ใช้ปัญญาสัมมาทิฏฐิความเห็นชอบมา
ศึกษาในวิธีท�ำสมาธิให้เข้าใจ ถ้าจะเรียบเรียงตามค�ำสอนของ
พระพทุ ธเจา้ ที่เปน็ หลกั เดิมจะออกมาเปน็ “ปญั ญา ศลี สมาธ”ิ

ในยคุ นี้สมยั น้ี ทท่ี กุ คนไดอ้ ่านรใู้ นต�ำราในคำ� วา่ สกิ ขา ๓
และรกู้ นั ทว่ั ไปวา่ “ศลี สมาธิ ปญั ญา” ทยี่ อ่ มาจากมรรค ๘ หมวด
เดียวกัน จะเป็นเหตุให้ข้าพเจ้าเป็นผู้มีปัญญาน้อยไม่สามารถ
ลว่ งรไู้ ด้ ขอใหท้ า่ นผรู้ ทู้ งั้ หลายไดพ้ จิ ารณาดกู แ็ ลว้ กนั ถา้ ออกมา

๘๐ ปัญญาอบรมใจ

ในหมวดการศึกษาในภาคปริยัติก็ไม่มีปัญหาอะไร ถ้าจะน�ำมา
ปฏบิ ตั แิ ลว้ รสู้ กึ วา่ ไมส่ อดคลอ้ งกนั ไมเ่ หมอื นหลกั เดมิ ทพี่ ระพทุ ธเจา้
วางไว้

ฉะนน้ั ตำ� ราท่ีศึกษาอยู่กใ็ ชป้ ัญญาศกึ ษาให้ดี มิใชว่ า่ อา่ น
จ�ำเอาตามตำ� รา ร้ไู ปตามตำ� ราเท่านน้ั แม้แตอ่ ุบายการปฏิบตั ทิ ี่
มตี ำ� ราสอนกนั อยใู่ นขณะนกี้ ต็ าม ตอ้ งศกึ ษาใหเ้ ขา้ ใจ ใหร้ จู้ กั ทไ่ี ป
ทม่ี าดว้ ยเหตดุ ว้ ยผล เพอ่ื ไมใ่ หเ้ กดิ ความเหน็ ผดิ ถา้ ความเหน็ ผดิ
เปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ เมอ่ื ไร การปฏบิ ตั อิ ยา่ งไรและวธิ ใี ด กจ็ ะกลายเปน็
มจิ ฉาวายามะ มคี วามเพยี รผดิ ตอ่ ไป จะกลายเปน็ มจิ ฉาปฏบิ ตั โิ ดย
ไมร่ ตู้ วั งานทางโลกกม็ โี อกาสแกไ้ ขใหถ้ กู ได้ การทำ� ผดิ การพดู ผดิ
ก็ยังมีเวลาให้แก้ตัว ส่วนการภาวนาปฏิบัติซึ่งเป็นเรื่องของใจ
โดยเฉพาะ ถ้าปฏิบัติผิดเล็กน้อย ก็พอจะแก้ไขได้ ถ้าปฏิบัติมี
ความผิดพลาดไปมาก ก็ยากท่ีจะแกไ้ ข หรือแกไ้ ขไม่ไดเ้ ลย

ฉะนั้น ก่อนจะลงมือปฏิบัติต้องศึกษาแนวทางปฏิบัติ
ใหเ้ ข้าใจ หรอื มีครูอาจารย์ผูท้ ีท่ ่านไดผ้ ่านการปฏบิ ัตทิ ถ่ี กู ต้อง
มาแลว้ ถา้ เปน็ ไดอ้ ยา่ งน้ี การปฏบิ ตั กิ จ็ ะกา้ วหนา้ ไปดว้ ยดี ไมม่ ี
ความลงั เลสงสยั ในอบุ ายวธิ กี ารปฏบิ ตั แิ ตอ่ ยา่ งใด หากมวี าสนา
บารมพี รอ้ มแลว้ กจ็ ะเกดิ ความรแู้ จง้ เหน็ จรงิ ในสจั ธรรม บรรลเุ ปน็

กาลามสตู ร ๑๐ ขอ้ ๘๑

พระอรยิ เจ้าในชาตนิ ้ีได้เลย
๕. อยา่ ไดเ้ ชอื่ เพยี งสกั วา่ ตรรก คดิ คำ� นวณดว้ ยการสมุ่ เดาเอา

ในวธิ กี ารสมุ่ เดานจ้ี ะมคี วามเสยี่ งตอ่ ความผดิ พลาดไดง้ า่ ย เหมอื นกบั
การเดนิ ทาง ถา้ ไปดว้ ยการสมุ่ เดา โอกาสเกดิ ความผดิ พลาดมสี งู
เช่น งานทางโลกที่ทุกคนท�ำกันอยู่ เม่ือท�ำด้วยความสุ่มเดา
งานทุกประเภทจะเกิดความผิดพลาดได้ กว่าจะแก้ไขปรับปรุง
ให้เข้าท่ีได้ก็เสียเวลาไปไม่น้อย หรืองานน้ันจะแก้ไขไม่ได้เลย
การปฏิบัติธรรมอันมีความละเอียดอ่อน ถ้าสุ่มเดาถูก ก็ถือว่า
โชคดไี ป ถ้าส่มุ เดาผิด การปฏิบตั กิ จ็ ะเกิดมีปัญหา

เพราะการปฏบิ ตั ิธรรมเป็นเร่อื งของใจโดยเฉพาะ ปฏบิ ตั ิ
ทางกายวาจากเ็ ป็นอุบายวธิ เี พ่ือสำ� รวมเข้าไปหาใจ ฉะนั้น ใจจึง
เป็นศูนย์รวมให้แก่หมวดธรรมท้ังหลาย จึงเรียกว่าใจเป็นใหญ่
เปน็ ประธาน ใหแ้ กห่ มวดธรรมทง้ั ปวง การปฏบิ ตั ธิ รรม ตอ้ งศกึ ษา
ด้วยสติปัญญาให้รู้ชัดว่า ธรรมหมวดใดควรจะปฏิบัติอย่างไร
ธรรมหมวดใดควรละ ธรรมหมวดใดควรเจริญให้มาก ก็ต้อง
พิจารณาให้รู้ด้วยเหตุและผล มิใช่ว่าจะภาวนาปฏิบัติไปแบบ
สมุ่ เดาเอา ถา้ หากสมุ่ เดาผดิ จะมกี ารพลกิ ลอ็ คเกดิ ขน้ึ ได้ ธรรมที่
ควรละก็ไปท�ำให้มากขึ้น ธรรมที่ควรเจริญให้มากข้ึนก็กลับไป

๘๒ ปญั ญาอบรมใจ

ละท้ิงเสยี กเ็ ป็นลกั ษณะปฏิบตั ิแบบสุ่มเดาไป อะไรก็เกิดขน้ึ ได้
เหมอื นเล่นการพนนั ทกุ ประเภทดว้ ยการส่มุ เดา โอกาสท่ี

จะถกู นน้ั มีนอ้ ยมาก หรอื ไมถ่ กู เลย หรือเหมอื นกบั การรับเหมา
กอ่ สรา้ งบา้ นอาคารตา่ งๆ คดิ คำ� นวณราคาแบบสมุ่ เดา ผรู้ บั เหมา
มีแต่การขาดทุน บ้านอาคาร ค�ำนวณสุ่มเดาในการรับน้�ำหนัก
อปุ กรณใ์ นการกอ่ สรา้ งไมไ่ ดม้ าตรฐาน สงิ่ กอ่ สรา้ งทง้ั หมดทรงอยู่
ไดไ้ มน่ านกจ็ ะทรุดตวั พงั ไปตามๆ กัน น้ฉี ันใด การปฏบิ ตั ิธรรม
ด้วยการสุ่มเดา โอกาสในการปฏิบัติผิดน้ันมีสูง จะเลือกอะไร
กต็ าม ถา้ สมุ่ เดา จะเลอื กถกู ของจรงิ นนั้ เปน็ ของยาก สว่ นมากจะ
ถกู แต่ของปลอมทไ่ี มม่ ีคุณภาพอะไร

พระพทุ ธเจา้ ไดต้ รสั ไวว้ า่ ธมั มวจิ ยะ การเลอื กเฟน้ ในธรรม
ใหถ้ ูกต้องตามหลกั ความเป็นจรงิ จงึ เป็นสิ่งสำ� คัญย่ิง เม่ือน�ำมา
ปฏิบัติก็จะเกิดผลให้ได้รับอย่างสนิทใจ การปฏิบัติแบบสุ่มเดา
กเ็ หมอื นคนตาบอดท�ำงานลบู คล�ำไปมา หาจุดไม่ถูกวา่ จะท�ำไป
อย่างไร ธัมมปรามาส การลูบคล�ำในธรรมที่จะน�ำมาปฏิบัติก็
เช่นเดียวกัน ไม่ทราบว่าจะเร่ิมต้นในการปฏิบัติในรูปแบบใด
จับต้นชนปลายเกิดความสบั สนไม่แนใ่ จ ในทีส่ ดุ ก็คอื การสุ่มเดา
ปฏบิ ตั ไิ ปบา้ ง ถามหลวงพอ่ หลวงตาไปบา้ ง ถา้ ถามถกู องคท์ ร่ี จู้ รงิ

กาลามสตู ร ๑๐ ข้อ ๘๓

เหน็ จรงิ ในธรรม กโ็ ชคดไี ป ถา้ ถามถกู องคท์ ก่ี ำ� ลงั สมุ่ เดาเหมอื นเรา
กจ็ ะไดอ้ บุ ายธรรมะมาปฏบิ ตั ิด้วยการสมุ่ เดาต่อไป

๖. อยา่ ไดเ้ ชอ่ื เพยี งสกั วา่ คาดคะเนตามหลกั เหตผุ ลของ
ปรชั ญาเพยี งอยา่ งเดยี ว นก้ี เ็ ปน็ อกี วธิ หี นงึ่ ทเี่ ราควรวนิ จิ ฉยั ใหด้ ี
ในหลักปรัชญานน้ั ควรเชื่อถอื ไดเ้ พียงใด เป็นเพยี งหลกั วชิ าการ
เหตุผลของผู้อ่ืนได้ให้ความคิดเห็นเอาไว้เท่านั้น การคาดคะเน
ไปตามหลักการอาจผดิ ได้ถูกได้ การคาดหมายวา่ สง่ิ น้นั ควรเป็น
อย่างนั้น ส่ิงน้ีควรเป็นอย่างน้ี ถ้าคาดการณ์เอาเหตุผลเข้าข้าง
ตัวเอง และตคี วามหมายเขา้ ข้างตัวเอง คาดคะเนในเหตุผลเขา้
ขา้ งตัวเอง ถ้าในลักษณะน้ี ยอ่ มผดิ จากความเป็นจริงไปได้

เหมือนยุคปัจจุบันท่ีมีอุบายการปฏิบัติท่ีแตกต่างกัน
กเ็ พราะตคี วามหมายในธรรมใหเ้ ขา้ กนั กบั ความเหน็ ของตวั เองวา่
ธรรมะหมวดนนั้ ควรเปน็ อยา่ งนนั้ ธรรมะหมวดนคี้ วรเปน็ อยา่ งน้ี
มีอุบายวิธีตีความในหลักธรรมะเข้ามาประกอบกับความเข้าใจ
ของตน ให้มีความสัมพันธ์กลมกลืนกันไปในความหมายน้ันๆ
น�ำมาประสานให้เป็นเร่ืองเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน อ้างอิงเอา
ธรรมะหมวดนนั้ บา้ งหมวดนบ้ี า้ ง คาดคะเนเอาบา้ ง ตคี วามหมาย
ให้เขา้ กนั กับท่คี าดคะเนเอาไว้

๘๔ ปญั ญาอบรมใจ

เหมอื นบางศาสนาเขากม็ อี บุ ายเอาคำ� สอนของพระพทุ ธเจา้
เขา้ มาประยกุ ตใ์ หเ้ ขา้ กนั กบั ศาสนาเขาได้ ตคี วามหมายโยงใยให้
เปน็ เรอ่ื งเดยี วกนั ทำ� ใหผ้ อู้ า่ นผฟู้ งั เกดิ ความเชอื่ ถอื ไดว้ า่ ศาสนานนั้ ๆ
มีหลักค�ำสอนเหมอื นกนั กับพระพทุ ธศาสนานน้ั เอง

ฉะนนั้ การคาดคะเนตามหลกั เหตผุ ล ชาวพทุ ธดว้ ยกนั กย็ งั
ตคี วามหมายในหมวดธรรมมคี วามแตกตา่ งกนั ไป เชน่ คำ� วา่ พทุ โธ
แปลวา่ ผรู้ ู้ ผตู้ น่ื ผเู้ บกิ บาน การตคี วามในคำ� วา่ ผรู้ ู้ ผตู้ นื่ ผเู้ บกิ บาน
กม็ กี ารตคี วามทแี่ ตกตา่ งกนั ไป นก้ี เ็ พราะการคาดคะเนตคี วามไป
ตามเหตผุ ลของแตล่ ะทา่ นไมเ่ หมอื นกนั หรอื คำ� วา่ วปิ สั สนา และ
ค�ำว่าวิปัสสนาญาณ ก็ยังคาดคะเนตีความหมายตามความเห็น
ของตน มีเหตุผลมารองรับพอเช่ือถือได้ ใครที่ไม่มีสติปัญญา
รอบรู้จรงิ กจ็ ะเกดิ ความเขา้ ใจวา่ เป็นจริงอยา่ งนน้ั

ฉะนนั้ การคาดหมายคาดคะเน อยา่ เพง่ิ ตดั สนิ ใจเชอื่ วา่ เปน็
จรงิ ไปเสยี ทงั้ หมด ถงึ จะมเี หตผุ ลมารองรบั อยกู่ ต็ าม ถา้ เหตผุ ลนน้ั
ไมเ่ ปน็ ธรรม กเ็ กดิ ความผดิ พลาดจากหลกั ความเปน็ จรงิ ไปได้
เพราะทกุ อยา่ งทกุ เรอื่ งมนั มเี หตผุ ลเปน็ ความจรงิ อยใู่ นตวั มนั เอง
ใครจะตคี วามหมายใหเ้ หตผุ ลใหเ้ ปน็ ไปในอบุ ายอยา่ งอน่ื กย็ อ่ มทำ� ได้
สว่ นเหตุผลทเ่ี ป็นจริงก็จะเปน็ ความจริงตลอดไป นกั ปราชญก์ ็มี

กาลามสตู ร ๑๐ ข้อ ๘๕

เหตผุ ลของนกั ปราชญ์ คนพาลกม็ เี หตผุ ลของคนพาล ผปู้ ฏบิ ตั ธิ รรม
ผสู้ อนธรรม กม็ เี หตผุ ลเฉพาะตวั แตเ่ หตผุ ลของใครมคี วามถกู ตอ้ ง
ในความเป็นจริงในธรรมมากที่สุด นี้ก็ต้องเอาผลที่ได้รับน้ัน
พิจารณาไปหาเหตุ จะรู้ได้ทันทีว่าความผิดความถูกเนื่องด้วย
เหตอุ ะไร จะตดั สนิ ใจได้ทนั ที

๗. อยา่ ได้เช่อื เพยี งสักวา่ ตรกึ ตามอาการ คำ� ว่าตรึก ใน
ความหมายงา่ ยๆ กค็ อื นกึ ขนึ้ ไดน้ น้ั เอง คำ� วา่ ตรอง กห็ มายความ
ว่าพิจารณา ฉะนั้น การตรึกหรือนึกข้ึนได้ในสิ่งใด เร่ืองอะไร
อย่าเพิ่งปักใจเชื่อว่าการตรึกได้อย่างน้ันจะมีความถูกต้องไป
เสยี ทัง้ หมด ตรึกผิดก็เปน็ ไปได้ หรือตรกึ ถกู กเ็ ป็นไปได้เช่นกนั
เพราะการตรกึ นเ้ี กดิ จากความเหน็ สว่ นลกึ ของใจ ถา้ ความเหน็ ผดิ
กต็ รกึ ผิด ถ้าความเห็นถกู กต็ รกึ ถูก

จะร้วู า่ การตรกึ นั้นผดิ หรือถกู กใ็ ชว้ ธิ กี ารตรอง หมายถึง
การพิจารณาในการตรกึ น้นั ว่าตรกึ ในส่งิ ใด ตรึกในทางโลกหรอื
ตรึกในทางธรรม น�ำการตรึกนั้นมาพิจารณาให้เข้าใจว่าตรึก
อยา่ งไรพอเชอ่ื ถอื ได้ ตรึกอย่างไรเช่อื ถือไม่ได้ ตรกึ ในเรอ่ื งดหี รอื
ตรึกในเรอื่ งช่วั ถา้ เห็นวา่ ตรกึ ในเรื่องชว่ั กต็ ัดทิง้ ไป อย่าไดเ้ ชอ่ื ใน
การตรกึ อย่างนนั้

๘๖ ปัญญาอบรมใจ

คำ� วา่ ตรกึ ในความหมายหนงึ่ เรยี กวา่ ระลกึ ขน้ึ ได้ เชน่ ระลกึ
ตามอาการของจิต อาการของจิตอารมณ์ของจิตยังตกอยู่ใน
สังขาร เรียกว่าสังขารจิต สังขารจิตนี้เองจะไปตรึกในสมมติ
น้ันบ้าง ตรึกในสมมตนิ ี้บา้ ง จึงอยา่ ได้เชอ่ื ว่าการตรกึ อย่างนเ้ี ปน็
ธรรมอนั จะนำ� ไปสคู่ วามรแู้ จง้ เหน็ จรงิ ตามความเปน็ จรงิ ได้ เพราะ
การตรกึ อยา่ งนจ้ี ะเปน็ เหตใุ หเ้ กดิ เปน็ สงั ขารการปรงุ แตง่ ไปตาม
สมมตทิ ัง้ หลาย จึงอย่าได้เชือ่ ในการตรกึ วา่ ถูกต้องทั้งหมด

ประการหนง่ึ ผทู้ ำ� สมาธมิ จี ติ สงบอยบู่ อ่ ยๆ หรอื มคี วามสงบ
อยู่นานๆ จิตได้วางเฉยอยู่ อาจจะตรึกไปในภูมิธรรมต่างๆ ได้
เพราะอาการของจติ ในขณะนนั้ ไมม่ อี ะไร จะเกดิ ความเขา้ ใจตรกึ
ขึ้นมาวา่ นเ้ี ปน็ ภมู ธิ รรมของพระอริยโสดาบันบา้ ง เป็นภมู ิธรรม
ของพระสกิทาคามบี ้าง เปน็ ภูมธิ รรมของพระอนาคามบี า้ ง เปน็
ภมู ธิ รรมของพระอรหนั ตบ์ า้ ง อาจตรกึ ไปวา่ อาการของจติ อยา่ งน้ี
เปน็ ปฐมฌานบา้ ง เปน็ ทตุ ยิ ฌานบา้ ง เปน็ ตตยิ ฌาน เปน็ จตตุ ถฌาน
เปน็ รปู ฌาน เปน็ อรปู ฌานไปบา้ ง ฉะนนั้ การตรกึ อยา่ งนจี้ ะเชอื่ ถอื
ไม่ได้เลย เป็นการตรึกท่ีเกิดจากความเห็นผิดความเข้าใจผิด
กลายเป็นผู้ส�ำคัญผิดในอาการอย่างนั้น ผู้ปฏิบัติอย่าได้เช่ือ
เพยี งสักว่าตรกึ ตามอาการ ก็เป็นในลกั ษณะอย่างนน้ี เี่ อง ถา้ ผู้มี

กาลามสตู ร ๑๐ ข้อ ๘๗

สัมมาปฏิบัติ มีสติสัมปชัญญะ มีปัญญารอบรู้ในเหตุและผล
และรอบร้ใู นหลกั สัจธรรมความเป็นจริงอยแู่ ล้ว สงิ่ ทัง้ หมดนีจ้ ะ
ไม่มีการตรึกในลักษณะนี้เลย และไม่เช่ือว่าการตรึกอย่างนี้มี
ความถูกต้องแต่อย่างใด มีปัญญารอบรู้อยู่ว่าลักษณะอาการ
อย่างนี้ยังตกอยู่ในสังขาร เกดิ ขนึ้ แลว้ ดับไปไมค่ งท่ี

๘. อยา่ ไดเ้ ชอ่ื เพยี งสกั วา่ ชอบใจทเี่ ขา้ กนั ไดก้ บั ทฏิ ฐขิ องเรา
ทฏิ ฐิ หมายถงึ ความเหน็ เปน็ อบุ ายในการปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ งดี สว่ นมาก
คนเราจะเขา้ ใจวา่ สง่ิ ใดทไ่ี ดม้ า จะเปน็ ทถี่ กู ใจในความเหน็ ของเรา
ใครทำ� ถกู ใจในความเหน็ ของเรา ใครพดู ถกู ใจในความเหน็ ของเรา
ใครใหอ้ ะไรมาก็เป็นท่ถี ูกใจของเรา และเชอ่ื ว่าสงิ่ ทง้ั ปวงเข้ากัน
ไดก้ บั ความเหน็ ของเรา จะมองในสงิ่ นนั้ เปน็ สง่ิ ทดี่ ไี ปเสยี ทงั้ หมด
จะทะนถุ นอมรกั ษาไวใ้ หด้ ที ส่ี ดุ ไมอ่ ยากใหม้ กี ารเปลยี่ นแปลงไป

ความชอบใจในสง่ิ ใด ความเขา้ ใจวา่ สงิ่ นนั้ จะอยกู่ บั ตวั เรา
ไปตลอด จะเปน็ สามภี รรยา ลกู หลาน ตลอดจนสง่ิ ทนี่ า่ รกั ทงั้ หลาย
กเ็ หน็ วา่ มคี วามชอบใจไปเสยี ทงั้ หมด โดยไมไ่ ดค้ ดิ วา่ สง่ิ นน้ั จะทำ�
ใหเ้ ราเกดิ ความทกุ ขใ์ จได้ มแี ตค่ วามหลงใหลไปวา่ สงิ่ นน้ั เปน็ ของ
เราจรงิ ๆ คดิ วา่ สง่ิ ทง้ั หลายจะอยรู่ ว่ มกนั ไปไดต้ ลอดกาล ไมเ่ ขา้ ใจ
ว่าส่ิงทั้งปวงน้ันเป็นสังขารท่ีตกอยู่ในอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา

๘๘ ปัญญาอบรมใจ

เปน็ สง่ิ ทไี่ มเ่ ทยี่ ง ทงั้ เปน็ เหตใุ หเ้ กดิ ทกุ ข์ และสญู สลายจากกนั ไป
เมอ่ื สงิ่ เหลา่ นน้ั เปน็ ไปตามความจรงิ เมอ่ื ไร ใจทม่ี คี วามยดึ มน่ั ถอื มน่ั
ในสงิ่ นนั้ กจ็ ะเกดิ ความรสู้ กึ วา่ ไมส่ บายใจในสง่ิ ทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลง
ไป มคี วามทกุ ขใ์ จในสงิ่ ทเ่ี รากำ� ลงั ยดึ ถอื และเสยี ใจในสง่ิ ทสี่ ญู สลาย
จากตวั เราไป

พระพทุ ธเจา้ จงึ ไดต้ รสั วา่ “อยา่ ไดเ้ ชอื่ เพยี งสกั วา่ ชอบใจใน
สง่ิ นน้ั และอยา่ ไดเ้ ชอ่ื วา่ สง่ิ นน้ั จะเขา้ กนั ไดก้ บั ความเหน็ ของเรา”
ถ้าทฏิ ฐมิ ีความเห็นไปในทางท่ผี ดิ ความชอบใจกช็ อบไปในทาง
ทผ่ี ดิ เช่นกนั

ประการหนง่ึ ใหพ้ จิ ารณาในความเหน็ ของเราวา่ ขณะนเ้ี รา
มคี วามเหน็ เปน็ สมั มาทฏิ ฐหิ รอื มคี วามเหน็ เปน็ มจิ ฉาทฏิ ฐิ ถา้ เรา
เปน็ มจิ ฉาทฏิ ฐิ มคี วามเหน็ ผดิ ในธรรม ถา้ หากเราไดฟ้ งั ธรรมตรง
ตามความเหน็ ของเรา กจ็ ะเกดิ ความชอบใจวา่ ธรรมนนั้ เขา้ กนั ได้
กับความเห็นของเรา

ฉะนน้ั การฟงั ธรรมอยา่ เอาแคเ่ พยี งชอบใจเทา่ นน้ั ตอ้ งฟงั
เอาเนอ้ื หาสาระ ฟงั เอาความหมายในเหตผุ ลวา่ ธรรมนน้ั ถกู ตอ้ ง
ตามความเปน็ จรงิ หรอื ไม่ อยา่ เอาความถกู ใจมาเปน็ ตวั ตดั สนิ
วา่ ธรรมนนั้ ดแี ลว้ ใหเ้ อาความถกู ตอ้ งในหลกั ความเปน็ จรงิ มา

กาลามสตู ร ๑๐ ข้อ ๘๙

เปน็ เครอ่ื งตดั สนิ ชข้ี าด วา่ เปน็ ไปในอนจิ จงั ทกุ ขงั อนตั ตา จรงิ ๆ
เปน็ แนวทางปฏบิ ตั เิ พอ่ื ใหถ้ งึ ซงึ่ ความสน้ิ สดุ แหง่ ทกุ ข์ ถา้ ธรรมใด
ไมเ่ ปน็ ไปตามไตรลกั ษณ์ ถงึ จะมคี วามชอบใจในธรรมนนั้ อยกู่ ต็ าม
กอ็ ยา่ ไดเ้ ชอ่ื วา่ ธรรมนนั้ เปน็ แนวทางทต่ี รงตอ่ มรรคผลนพิ พานได้

ขอผู้ปฏิบัติท้ังหลายจงฝึกสติปัญญาและเหตุผลของเรา
ใหด้ ี มอี ะไรเกดิ ขน้ึ จะไดน้ ำ� มาแกป้ ญั หาใหแ้ กต่ วั เองได้ จะไมเ่ ชอ่ื
แบบงมงายไปตามความเหน็ ดงั ทเ่ี คยเปน็ มา เพราะความชอบใจ
เป็นไปในความเห็นผิดก็จะเกดิ ความหลงผดิ ต่อไป

๙. อยา่ ไดเ้ ชอ่ื เพยี งสกั วา่ ผพู้ ดู เปน็ ทน่ี า่ เชอื่ ถอื ได้ นกี่ เ็ ปน็
อุบายในการฝึกตัวเองอีกวิธีหนึ่ง ถึงผู้พูดจะเป็นท่ีน่าเช่ือถือได้
กต็ าม เรอื่ งทที่ า่ นพดู นน้ั เราอยา่ เพง่ิ นอ้ มใจเชอ่ื เลยทเี ดยี ว ใหเ้ อา
เรื่องท่ีท่านพูดน้ันมาพิจารณาในเหตุผลว่า เร่ืองท่ีท่านพูดนั้นมี
เหตผุ ลพอเชอื่ ถอื ไดห้ รอื ไม่ ใหใ้ ชป้ ญั ญาวจิ ยั วเิ คราะหต์ คี วามหมาย
ในเรอ่ื งทที่ า่ นพดู นน้ั ใหเ้ ขา้ ใจ เมอ่ื มเี หตผุ ลพอเชอื่ ถอื ได้ จงึ ตดั สนิ
ใจเช่ือในภายหลัง ถา้ เชอ่ื เร็วเกนิ ไป จะเกดิ ความงมงายตามมา
ทุกอย่างจะต้องพิจารณาด้วยปัญญาให้แยบคาย มิใช่ว่าจะเช่ือ
แตผ่ อู้ นื่ พดู ใหฟ้ งั เพยี งฝา่ ยเดยี ว ดงั มบี คุ คลประกอบในการตดั สนิ
ในความเช่อื ดังนี้

๙๐ ปัญญาอบรมใจ

ในสมยั ครง้ั พทุ ธกาล มภี กิ ษกุ ลมุ่ หนง่ึ ไดเ้ ขา้ เฝา้ พระพทุ ธเจา้
เพอ่ื ฟงั ธรรม เพอื่ จะนำ� ไปปฏบิ ตั ใิ นสถานทตี่ า่ งๆ ดว้ ยความตงั้ ใจ
เมอ่ื ไดฟ้ งั ธรรมจากพระพทุ ธเจา้ แลว้ กจ็ ดจำ� เอาธรรมนนั้ ใสใ่ จไว้
เป็นอย่างดี ในขณะเท่ียววิเวกภาวนาปฏิบัติอยู่นั้น บังเอิญไป
พบพระสารบี ตุ ร จงึ ไดส้ นทนาธรรมกบั พระสารบี ตุ รวา่ “ดกู อ่ น ทา่ น
สารบี ุตร ขา้ พเจา้ ได้ฟงั ธรรมจากพระพุทธเจ้ามาอย่างนๆ้ี ทา่ น
พระสารบี ตุ รจะเชอ่ื หรอื ไม”่ ทา่ นพระสารบี ตุ รตอบวา่ “ไมเ่ ชอ่ื ”
พระเหลา่ นน้ั ไดฟ้ งั พระสารบี ตุ รวา่ ไมเ่ ชอ่ื ในธรรมของพระพทุ ธเจา้
จงึ ไดน้ ำ� เรอื่ งนี้กลับไปเลา่ ถวายใหพ้ ระพทุ ธเจา้ ไดท้ รงทราบตาม
เหตกุ ารณ์ว่าเปน็ อยา่ งนๆี้

พระพทุ ธเจา้ จงึ ใหพ้ ระเหลา่ นนั้ ไปนมิ นตพ์ ระสารบี ตุ รเขา้
เฝา้ ทนั ที พระพทุ ธเจา้ ไดถ้ ามพระสารบี ตุ รวา่ “ธรรมทเ่ี ราตถาคต
ได้อธิบายให้พระเหล่าน้ีฟัง พระสารีบุตรไม่เช่ือจริงหรือไม่”
พระสารบี ตุ รกราบทลู วา่ “จรงิ พระเจา้ ขา้ ” พระพทุ ธเจา้ ถามตอ่ ไปวา่
“ท�ำไมจงึ ไม่เชื่อธรรมของเราตถาคต” พระสารบี ุตรกราบทูลวา่
“ธรรมหมวดน้ันข้าพระองค์ยังไม่ได้พิจารณาให้รู้เห็นตาม
ความเปน็ จรงิ กอ่ น พระเจา้ ขา้ ” พระพทุ ธเจา้ ตรสั วา่ “นภี่ กิ ษทุ ง้ั หลาย
พระสารีบุตรเป็นปราชญ์ผู้ฉลาดในธรรม ไม่เช่ืออะไรง่ายดาย

กาลามสตู ร ๑๐ ขอ้ ๙๑

ตราบใดทยี่ งั ไมร่ เู้ หน็ ดว้ ยปญั ญาของตนเอง พวกเธอทง้ั หลายควร
เอาเป็นแบบอย่าง ธรรมใดที่ฟังไปแล้ว ให้น�ำมาพิจารณาด้วย
ปญั ญาของตวั เองใหร้ เู้ หน็ ตามความเปน็ จรงิ พรอ้ มทง้ั เหตแุ ละผล
ใหม้ คี วามเขา้ ใจในธรรมนนั้ แจม่ แจง้ เฉพาะตวั นนั้ แลจงึ ตดั สนิ ใจ
เช่ือในภายหลัง มิใช่ว่าฟังธรรมแล้วก็เชื่อตามๆ กัน ถ้าเป็นใน
ลักษณะน้นั จะมแี ตค่ วามโงเ่ ขลาเปน็ สมบัตขิ องตวั เอง”

นี้พวกเราท้ังหลายเมื่อได้ฟังเรื่องนี้แล้ว ควรจะเอาเป็น
แบบอย่างในการฝึกตัวเอง อ่านหนังสือธรรมะก็ดี ฟังเทศน์ก็ดี
อยา่ เพงิ่ ตดั สนิ เชอื่ เลยทเี ดยี ว ใหใ้ ชป้ ญั ญาพจิ ารณาในเหตผุ ลจน
เกิดความรู้จริงเห็นจริงตามความจริงก่อน จึงเช่ือในภายหลัง
ไมเ่ ช่นนั้นจะกลายเป็นผ้งู มงายไปจนตลอดวนั ตาย

๑๐. อยา่ ไดเ้ ชอื่ เพยี งสกั วา่ สมณะนน้ั เคยเปน็ ครขู องเรา
ในความหมายในข้อนี้มี ๒ ประโยค

(๑) อยา่ ไดเ้ ชือ่
(๒) เพยี งสกั วา่ สมณะนน้ั เคยเปน็ ครขู องเรา ดงั จะไดอ้ ธบิ าย
ขยายในความหมายทง้ั สองประโยคน้ีให้เข้าใจ
คำ� วา่ อย่าได้เชือ่ หมายถึงอย่าได้เชอื่ ว่าสมณะองค์นนั้ จะ
มีความเห็นที่เป็นธรรมถูกต้องไปเสียท้ังหมด ถึงท่านจะเป็น

๙๒ ปญั ญาอบรมใจ

นกั บวช ความรคู้ วามเขา้ ใจในสงิ่ ตา่ งๆ อาจผดิ พลาดได้ ความเขา้ ใจ
ของท่านอาจผิดได้ถูกได้ตามความเห็นของท่านเอง เม่ือได้ฟัง
ทา่ นพดู ในเรอื่ งอะไร กอ็ ยา่ เพงิ่ นอ้ มใจเชอ่ื เลยทเี ดยี ว ใหเ้ อาเรอื่ ง
ที่ท่านผู้นั้นพูดมาพิจารณาก่อนว่า เร่ืองที่ท่านพูดมีเหตุผลพอ
เชื่อถือได้ หรือเช่ือถือไม่ได้เพียงใด เพราะเรื่องของท่านพูด
เพียงเป็นเหตุ แล้วให้ใช้ปัญญาพิจารณาดูผลที่จะเกิดข้ึนว่า
จะออกมาในลกั ษณะใด ใหเ้ ขา้ ใจในผลทจ่ี ะเกดิ ตามมาวา่ ผดิ ถกู
ชว่ั ดอี ยา่ งไร มใิ ชว่ า่ ทา่ นเคยเปน็ ครขู องเราแลว้ จะเชอื่ เลยทเี ดยี ว

ฉะน้ัน จงฝึกตัวให้เราเป็นผู้มีนิสัยอย่าเชื่อในสิ่งใดเร็ว
เกินไป ไม่เช่นนั้นจะกลายเป็นผู้มีนิสัยเชื่ออะไรที่งมงายโดย
ไม่รู้ตัว ถึงท่านน้ันจะมีบุญคุณต่อเรา เคยสงเคราะห์เรามาใน
สงิ่ ตา่ งๆ แลว้ กต็ าม กต็ อ้ งแยกออกจากกนั เปน็ คนละสว่ น บญุ คณุ
กเ็ ปน็ อีกสว่ นหน่ึง ความถูกต้องก็เปน็ อกี ส่วนหน่ึง ทา่ นเคยเปน็
ครูเรามาก็เป็นอีกส่วนหน่ึง มิใช่ว่าท่านมีบุญคุณต่อเราและเคย
เปน็ ครอู าจารย์เรามา ทา่ นวา่ อย่างไร เราก็จะน้อมใจเช่ือรับเอา
ทั้งหมด เราต้องฝึกตัวให้เป็นผู้รู้เหตุรู้ผล ให้รู้จักผิดถูกชั่วดี
วา่ อะไรควรเชอ่ื ถอื ได้ อะไรไมค่ วรเชอ่ื ถอื อะไรถกู ตอ้ ง อะไรไม่
ถกู ตอ้ ง กร็ กู้ นั ดว้ ยเหตแุ ละผล กจ็ ะเลอื กเอาความถกู ตอ้ งนนั้ ได้

กาลามสูตร ๑๐ ข้อ ๙๓

ฉะนน้ั เราจงฝกึ สตปิ ญั ญาใหด้ ี ฝกึ จนมคี วามฉลาดรอบรู้
ตามความเป็นจรงิ ในสง่ิ นนั้ ๆ อยู่เสมอ ฝกึ ความสงั เกต ฝึกคดิ
พจิ ารณาในสงิ่ ตา่ งๆ ใหเ้ กดิ เปน็ นสิ ยั ฝกึ วจิ ยั วจิ ารณว์ เิ คราะห์
ใครค่ รวญในสงิ่ นนั้ ใหเ้ ขา้ ใจวา่ เหตอุ ยา่ งนจ้ี ะมผี ลเปน็ อยา่ งนน้ั
ผลเป็นอย่างนั้นเกิดจากเหตุอย่างนี้ ถ้าฝึกนิสัยให้เป็นไปใน
ลกั ษณะน้ี ชอื่ วา่ ผนู้ นั้ ฝกึ ปญั ญา ฝกึ ความฉลาดรอบรใู้ หเ้ กดิ ขน้ึ
แก่ตัวเอง ปัญญาเดิมเรามีอยู่แล้ว แต่ยังไม่เคยฝึก ให้เราได้
เริ่มฝึกปัญญาเรานับแต่บัดน้ีเป็นต้นไป ให้ฝึกคิดพิจารณาตาม
หลักความจริงคอื อนิจจงั ทุกขงั อนตั ตา และฝกึ คิดพจิ ารณาว่า
ไมม่ สี งิ่ ใดเปน็ ของเราทแ่ี นน่ อน อกี ไมน่ านกจ็ ะพลดั พรากจากกนั
ดงั น้ี

บทสง่ ท้าย

หนังสือ “ปัญญาอบรมใจ” ที่ข้าพเจ้าได้อธิบายในเรื่อง
สัปปรุ ธิ รรม ๗ เรอ่ื งกาลามสตู รน้ี เป็นอบุ ายทจ่ี ะน�ำไปปฏิบตั ิได้
เป็นอย่างดี คิดว่าผู้อ่านจะเข้าใจความหมายในธรรมแต่ละข้อ
พอจะน�ำไปปฏิบัติได้ กิริยาวาจาของเรามีความบกพร่องท่ี
ตรงไหน เราตอ้ งแกไ้ ขปรบั ปรงุ ใหด้ ขี น้ึ มใิ ชว่ า่ จะปลอ่ ยเรยี่ ราด
ไปตามความคะนองของตวั เอง และก่อให้เกิดปัญหาในสงั คม
ท่ัวไป อยากท�ำอะไรก็ท�ำไปตามใจชอบ จะพูดอะไรก็พูดไป
ตามที่อยากจะพูด จึงเป็นผู้หลงตัวลืมตัวไปตามมานะอัตตา
จนท�ำให้คนอ่ืนเดือดร้อนเพราะการท�ำการพูดของเรา ขอให้
ทุกท่านท่ีได้อ่านหนังสือน้ีแล้ว จงปฏิบัติตัวเองให้เป็นไปตาม
ธรรมดังทข่ี า้ พเจ้าไดอ้ ธบิ ายนดี้ ้วยเทอญ


Click to View FlipBook Version