The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หายใจให้เป็นสุข

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-05-16 19:57:47

หายใจให้เป็นสุข

หายใจให้เป็นสุข

Keywords: หายใจให้เป็นสุข

เวทนา คอื ในขนั้ จติ ตานุปัสสนานด้ี ังทไี่ ดก้ ลา่ วมาแลว้ เพราะยอ่ มไดป้ ีติ
ไดส้ ขุ ดงั กลา่ ว จงึ เป็ นจติ ทสี่ งบจากสขุ เวทนามาในขนั้ นัน้ แลว้ ปากฏปีติ
สขุ แตว่ า่ เมอ่ื รํางับจติ ตสงั ขาร คอื ไมใ่ หป้ ีตสิ ขุ นม้ี าปรงุ จติ ใหย้ นิ ดตี ดิ อยู่
ไดแ้ ลว้ ก็เป็ นจติ ทเ่ี ป็ นกลาง ๆ ไมป่ รากฏราคะ คอื ความตดิ อยใู่ นสขุ ก็ให ้
ทําความกําหนดรจู ้ ักจติ ดั่งน้ี พรอ้ มกับทําความกําหนดรลู ้ มหายใจเขา้ ลม
หายใจออก วา่ จติ เป็ นดั่งนหี้ ายใจเขา้ จติ เป็ นดง่ั นหี้ ายใจออก อนั นับวา่
เป็ นจติ ตานุปัสสนาขนั้ ท่ี ๑

จติ ตานปุ สั สนาขน้ั ที่ ๒
เมอื่ กําหนดใหร้ จู ้ ักจติ ทไี่ มม่ สี ขุ ปรงุ จติ ใหย้ นิ ดตี ดิ อยดู่ ัง่ น้ี หายใจเขา้

อายใจออกแลว้ ก็ตรัสสอนใหป้ ฏบิ ตั ติ อ่ เป็ นขนั้ ท่ี ๒ ตอ่ ไป คอื ใหศ้ กึ ษา
สําเหนยี กกําหนดวา่ เราจักทําจติ ใหบ้ ันเทงิ ยงิ่ ขน้ึ หายใจเขา้ เราจักทําจติ
ใหบ้ ันเทงิ ยงิ่ ขน้ึ หายใจออก คอื แมจ้ ะไมใ่ หส้ ขุ เวทนามาปรงุ จติ ใหต้ ดิ ใน
สขุ แตก่ ็ตอ้ งการทจี่ ะทําจติ ใหบ้ นั เทงิ อาการจติ ทบี่ นั เทงิ นี้ ก็ตรงกันขา้ ม
กบั จติ ทห่ี อ่ เหย่ี ว เศรา้ ระทม หรอื แหง้ ใจ ตอ้ งไมใ่ หจ้ ติ แหง้ เศรา้ แตใ่ หจ้ ติ
บันเทงิ ก็นับวา่ เป็ นอาการของความสขุ อยา่ งหนงึ่ เหมอื นกัน

ความบนั เทงิ ดัง่ น้ี เป็ นความตอ้ งการของการปฏบิ ัตทิ ําสมาธิ ถา้ หากวา่ จติ มี
ความบนั เทงิ ในสมาธิ ก็ยอ่ มจะทําสมาธปิ ฏบิ ตั ใิ นสมาธไิ ด ้ ถา้ จติ ไมบ่ นั เทงิ
ในสมาธิ ก็ยากทจ่ี ะทําใหป้ ฏบิ ัตใิ นสมาธไิ ด ้ ถา้ จติ ไมบ่ ันเทงิ ในสมาธิ ก็
ยากทจี่ ะทําสมาธไิ ด ้ หรอื ทําไมไ่ ด ้ จงึ ตอ้ งรกั ษาจติ ไวใ้ หบ้ ันเทงิ อยเู่ สมอ
ในสมาธิ

และการทไ่ี มใ่ หส้ ขุ เวทนาปรงุ จติ หต้ิ ดอยนู่ ุสขนัน้ อาจจะทําใหเ้ กดิ ความ
แหง้ แลง้ ขน้ึ ในจติ ได ้ ทําใหจ้ ติ หมดความบันเทงิ ได ้ ตอ้ งไมใ่ หเ้ ป็ นอยา่ งนัน้
คอื ตอ้ งใหจ้ ติ มคี วามบันเทงิ แตไ่ มย่ อมหใควมบนั เทงิ ซง่ึ เป็ นความสขุ
อยา่ งหนง่ึ ของจติ มาทําจติ ใหต้ ดิ อยใู่ นสขุ บนั เทงิ เพยี งแตอ่ าศัยความ
บันเทงิ สําหรับใหเ้ ป็ นทตี่ งั้ ของสมาธิ จงึ ตอ้ งมกี ารศกึ ษาสําเหนยี กกําหนด
ปฏบิ ัตทิ ําจติ ใหบ้ ันเทงิ ยงิ่ ขนึ้ พรอ้ มทัง้ กําหนดรู ้ วา่ หายใจเขา้ วา่ หายใจ
ออก พรอ้ มกบั ทัง้ วา่ จติ บนั เทงิ ยง่ิ ขน้ึ ซงึ่ คําวา่ ยงิ่ ขน้ึ ในทนี่ ม้ี คี วามหมายวา่
ตอ่ เน่องกนั ไปก็ได คอื ตอ่ ไปขา้ งหนา้ คอื ยงิ่ ๆ น คอื หมายความวา่ สบื
ตอ่ ไป ไมใ่ หข้ าดหายก็ได ้ หมายความวา่ มากขน้ึ ก็ได อันนับวา่ เป็ นจติ ตา
นุปัสสนาขนั้ ที่ ๒

จติ ตานปุ สั สนาขนั้ ที่ ๓
และเมอื่ ปฏบิ ัตไิ ดใ้ นขนั้ ที่ ๒ ด่ังนแี้ ลว้ ก็ตรัสสอนใหป้ ฏบิ ัตใิ นขนั้ ที่ ๓

ตอ่ ไปวา่ ศกึ ษาสาํ เหนยี กกําหนดวา่ เราจักตงั้ จติ ใหเ้ ป็ นสมาธหิ ายใจเขา้
เราจักตงั้ จติ ใหเ้ ป็ นสมาธหิ ายใจออก คอื ใหป้ ฏบิ ตั ริ ักษาสมาธจิ ติ สบื ตอ่ ไป
ยงิ่ ขน้ึ ไป ถา้ ไมเ่ ชน่ นัน้ จติ ก็จะออกจากสมาธิ อานาปานัสสตทิ ปี่ ฏบิ ตั กิ จ็ ะ
สะดดุ หยดุ ลง จงึ ตอ้ งปฏบิ ตั ริ ักษาสมาธจิ ติ ทม่ี ลี มหายใจเขา้ ลมหายใจ
ออกเป็ นอารมณส์ บื ตอ่ ไป ซง่ึ ผปู ้ กบิ ตั จิ ะตอ้ งศกึ ษา คอื จะตอ้ งปฏบิ ัตใิ ห ้
เป็ นด่งั น้ี ตัง้ ใจใหเ้ ป็ นอยา่ งนี้ คอื ใหจ้ ติ เป็ นสมาธหิ ายใจเขา้ ใหจ้ ติ เป็ น
สมาธหิ ายใจออก ใหจ้ ติ กําหนดลมหายใจเขา้ ลมหายใจออก นแี่ หละเป็ น

ทตี่ งั้ ของสมาธิ และใหต้ ัวสมาธนิ ่ตงั้ อยใู่ นลมหายใจเขา้ ลมหายใจออก
เทา่ นัน้

เมอ่ื เป็ นดัง่ นี้ สมาธจิ ติ พรอ้ มทัง้ อานาปานสสติ ก็รวมดําเนไิ หดว้ ยกนั ไม่
สะดดุ หยดุ ลง คอื มงุ่ ใหส้ มาธจิ ติ นบ้ี ังเกดิ ขนึ้ สบื ตอ่ พรอ้ มกบั อานาปานัสสติ
ไปดว้ ยกัน ควบคกู่ ันไป เพราะสมาธนิ ัน้ ก็สมาธอิ ยใู่ นลมหายใจเขา้ ออก อัน
ประกอบดว้ ยสตทิ กี่ ําหนด และจติ กต็ งั้ ม่นั ไมว่ อกแวกสน่ั คลอน เมอื่ ปฏบิ ัติ
ไดถ้ งึ ขนั้ นก้ี ็ชอื่ วา่ เป็ นการปฏบิ ัตใิ นจติ ตานุปัสสนาสตปิ ัฏฐานขนั้ ท่ี ๓

จติ ตานปุ สั สนาขนั้ ท่ี ๔
เมอื่ ไดข้ นั้ ท่ี ๓ ดง่ั น้ี ก็ตรัสสอนใหป้ ฏบิ ัตใิ นขนั้ ท่ี ๔ ตอ่ ไป คอื ใหศ้ กึ ษา

สาํ เหนยี กกําหนดวา่ เราจักเปลอ้ื งจติ หายใจเขา้ เราจักเปลอ้ื งจติ หายใจ
ออก คอื ตอ้ งมสี ตริ ะมดั ระวงั สมาธจิ ติ พรอ้ มทัง้ อานาปานัสสตทิ ไ่ี ดม้ าโดย
ลําดับ ใหด้ ํารงอยสู่ บื ตอ่ ไปดว้ ย

เพราะวา่ จติ นเี้ ป็ นธรรมชาตทิ ดี่ นิ้ รน กวดั แกวง่ กระสบั กระสา่ ย รักษายาก
หา้ มยาก จงึ อาจจะเผลอ จงึ บังเกดิ เป็ นกเิ ลสโผลเ่ ขา้ มาได ้ เพราะฉะนัน้
จงึ ไดม้ อี ธบิ ายวา่ จะตอ้ งคอยระมัดระวงั คอยเปลอ้ื งจติ จากอะไรบา้ ง ท่ี
ทา่ นสอนเอาไวก้ ็ยกเอาบรรดากเิ ลสทัง้ หลายหลายขอ้ ขน้ึ มา คอื ใหค้ อย
เปลอ้ื งจติ จากราคะความตคิ ใจยนิ ดี จากโทสะความกระทบกระทั่งขดั เคอื ง
ไมพ่ อใจ จากโมหะความหลง ไมร่ จู ้ รงิ อันเป็ นเหตใุ หถ้ อื เอาผดิ จากมานะ
ความสําคัญตน เชน่ ความสาํ คญั ตนวา่ เราไดแ้ ลว้ ถงึ แลว้ เป็ นตน้ จากทฏิ ฐิ
คอื ความเห็นทผ่ี ดิ ไมถ่ กู ตอ้ งตา่ ง ๆ จากวจิ กิ จิ ฉาความเคลอื บแคลงสงสยั
จากถนี มทิ ธคิ วามงว่ งงนุ เคลบิ เคลมิ้ จากอทธัจจะความฟ้งุ ซา่ น จากอหริ ิ
คอื ความไมล่ ะอายใจตอ่ ความชวั่ จากอโนตตัปปะ คอื ความไมเ่ กรงกลวั
ตอ่ ความชว่ั เพราะอาจจะมกี เิ ลสเหลา่ นข้ี อ้ ใดขอ้ หนงึ่ โผลข่ นึ้ มา เพราะ
ความเผลอสติ หรอื ความทส่ี มาธหิ ลดุ อนั เนอื่ งมาจากเผลอสติ เผลอสติ
เมอ่ื ใด สมาธกิ ็หลดุ เมอ่ื นัน้ และเมอื่ สมาธหิ ลดุ เมอื่ ใดฟ้งุ เมอ่ื ใด สตกิ ็ยอ่ ม
เสยี เมอื่ นัน้ เหมอื นกัน ซงึ่ อาจมไี ด ้ เพราะจติ นดี้ นิ้ รนกวดั แกวง่ ไปไดเ้ ร็วมาก
จงึ อาจจะมกี เิ ลสเหลน่ โ้ี ผลข่ น้ึ มาในจติ เปนครัง้ คราว ฉะนัน้ ก็ตอ้ งรบี มสี ตริ ู ้
โดยเร็วและเปลอ้ื งจติ ออกเสยี จากขอ้ ใดขอ้ หนง่ึ ทกุ ขอ้ เชน่ ทกี่ ลา่ มา หรอื
แมข้ อ้ อน่ื ทไ่ี มไ่ ดก้ ลา่ วมา

เพราะกเิ ลสนัน้ มลี ักษณะมากมาย ดังทแี่ สดงไวใ้ นหมวดอปุ กเิ ลส ๑๖ และ
ทแี่ สดงไวถ้ งึ ๑๗ ขอ้ ก็มี ไมว่ า่ ขอ้ ใดจะโผลข่ น้ึ มาก็ตอ้ งเปลอ้ื งจติ ออกไป
เสยี หรอื เปลอื้ งกเิ ลสออกไปเสยี จากจติ ไมใ่ หต้ งั้ อยใู่ นจติ ได ้ เพราะถา้
กเิ ลสขอ้ ใดขอ้ หนงึ่ ตัง้ อยใู่ นจติ ได ้ ก็เสยี อานาปานัสสติ เสยี สมาธใิ นลม
หายใจเขา้ ออก

เพราะสตกิ ับสมาธนิ ัน้ จะอยกู่ ับกเิ ลสไมไ่ ด ้ กเิ ลสก็อยกู่ ับสตสิ มาธไิ มไ่ ตอ้ ง
รบี ตงั้ สตติ งั้ สมาธขิ น้ึ มา กเิ ลสก็จะสงบระงบั ลงไป กจ็ ะถกู เปลอ้ื งออกไป
เพราะทัง้ สองอยา่ งนจ้ี ะไมต่ งั้ ขนึ้ พรอ้ ม ๆ กัน เมอื่ กเิ ลสตงั้ ขน้ึ ได ้ สมาธกิ ับ
สตกิ ็หาย และเมอื่ กเิ ลสหาย สตกิ บั สมาธนิ ก้ี ็ตงั้ ขนึ้ มาได ้ จงึ ตอ้ งมสี ตทิ จ่ี ะ

คอยเปลอื้ งจติ ออกจากกเิ ลสทัง้ ปวงอยตู่ ลอดเวลา ใหจ้ ติ ปลอดกเิ ลส และ
เมอื่ จติ ปลอดกเิ ลสแลว้ อานาปานัสสตสิ มาธกิ ็กลับมาตงั้ อยเู่ ต็มจติ ใหอ้ า
นาปานัสสตสิ มาธติ งั้ อยเู่ ต็มจติ จงึ จะขอื่ วา่ เปลอ้ื งจติ ได ้ เมอื่ ปฏบิ ัตไิ ดใ้ น
ขนั้ น้ี ก็ชอ่ื วา่ ปฏบิ ัตใิ นขนั้ จติ ตานุปัสสนาครบทัง้ ๔

รวมความวา่ ในขนั้ จติ ตานุปัสสนานกี้ ็มี ๔ ชนั้ หรอื ๔ ขนั้ คอื ตรัสสอนให ้

ศกึ ษาสําเหนยี กกําหนด วา่ เราจักรทู ้ ั่วถงึ จติ หายใจเขา้ หายใจออก
ศกึ ษาสําเหนยี กกําหนด วา่ เราจักทําจติ ใหบ้ นั เทงิ ยง่ิ ขน้ึ หายใจเขา้ หายใจ
ออก
ศกึ ษาสําเหนยี กกําหนด วา่ เราจักทําจติ ใหต้ งั้ ม่นั เป็ นสมาธิ หายใจเขา้
หายใจออก
ศกึ ษาสาํ เหนยี กกําหนด วา่ เราจักเปลอื้ งจติ หายใจเขา้ หายใจออก

และเมอ่ื ถงึ ขนั้ น้ี จติ นก้ี ็มอี านาปานัสสตสิ มาธติ งั้ อยเู่ ต็มจติ พระพทุ ธเจา้ จงึ
ไดต้ รัสวา่ พระองคไ์ มต่ รัสจติ ตานุปัสสนาสตปิ ัฏฐานแกผ่ ทู ้ ม่ี สี ตหิ ลงลมื
กลบั ความก็คอื วา่ ตรัสวา่ บคุ คลผมุ ้ สี ตไิ มห่ ลงลมื ยอ่ มไดจ้ ติ ตานุปัสสนาสติ
ปัฏฐาน ก็คอื วา่ มอี านาปานัสสตสิ มาธติ งั้ อยเู่ ต็มจติ นัน้ เอง เพราะวา่ เปลอ้ื ง
จติ จากกเิ ลสทัง้ หลายได ้ อานาปานัสสตสิ มาธจิ งึ ตงั้ อยเู่ ต็มจติ เป็ นอนั ได ้
จติ ตานุปัสสนาสตปิ ัฏฐาน ๔ ขนั้ หรอื ๔ ขนั้

ตอ่ ไปนกี้ ็ขอใหต้ ัง้ ใจฟังสวดและตัง้ ใจทําความสงบสบื ตอ่ ไป

ตอนท่ี ๑๑ ธรรมานปุ สั สนา ๔ ขนั้

บัดน้ี จักแสดงธรรมะเป็ นเครอื่ งอบรมในการปฏบิ ตั อิ บรมจติ ในเบอื้ งตน้ ก็
ขอใหท้ กุ ๆ ทา่ นตัง้ ใจนอบนอ้ มนมสั การพระผมู ้ พี ระภาคอรหนั ตสมั มาสมั พ
ทธุ เจา้ พระองคน์ ัน้ ตงั้ ใจถงึ พระองคพ์ รอ้ มทัง้ พระธรรมและพระสงฆเ์ ป็ น
สรณะ ตัง้ ใจสาํ รวมกายวาจาใจใหเ้ ป็ นศลี ทําสมาธใิ นการฟัง เพอ่ื ใหไ้ ด ้
ปัญญาในธรรมสบื ตอ่ ไป

ไดแ้ สดงสตปิ ัฏฐาน ๔ ตามพระพทุ ธภาษิตทตี่ รัสยกเอาอานาปานัสสติ สติ
กําหนดลมหายใจเขา้ ออกเป็ นทต่ี งั้ และก็กําหนดลมหายใจเขา้ ออกเป็ น
ขนั้ กายานุปัสสนา เวทนานุปัศศนา จติ ตานุปัสสนา มาขนั้ ละ ๔ ชนั้ และ
ในขนั้ จติ ตานุปัสสนาก็ไดม้ าถงึ ชนั้ ศกึ ษาคอื สําเหนยี กกําหนดวา่ เราจัก
เปลอ้ื งจติ หายใจเขา้ หายใจออก อนั เป็ นชนั้ ท่ี ๔ ของจติ ตานุปัสสนา

เมอ่ื มาถงึ ชนั้ นข้ี นั้ น้ี จติ ก็จกั ไดอ้ านาปานัสสตสิ มาธเิ ต็มจติ เป็ นจติ ท่ี
บรสิ ทุ ธด์ิ ว้ ยอานาปานัสสตสิ มาธิ เป็ นอันวา่ มาถงึ ขนั้ สมาธหิ รอื จติ ตสกิ ขา
ทถ่ี งึ พรอ้ มหรอื สมบรู ณ์ จติ ในชนั้ นจ้ี งึ เป็ นจติ ทส่ี ะอาด ตงั้ ม่นั ควรแกก่ าร
งาน การงานของจติ ทป่ี ฏบิ ตั มิ าแลว้ ก็คอื ขนั้ ศลี และขนั้ สมาธิ หรอื สลี สกิ
ขาจติ ตสกิ ขา เป็ นจติ ทคี่ วรแกศ่ ลี ทค่ี วรแกจ่ ติ หรอื สมาธิ หรอื วา่ จติ ต
สมาธมิ าโดยลําดบั อนั เป็ นขนั้ สมถกรรมฐาน จงึ ถงึ วาระทจี่ ะเลอื่ นจติ ขนึ้ สู่
วปิ ัสสนากรรมฐาน และเลอื่ นอนุปัสสนา ดงั ทใี ชใ้ นคาํ วา่ กายานุปัสสนา
เวทนานุปัสสนา จติ ตานุปัสสนา มาขน้ึ เป็ น ธรรมานุปัสสนา เพอื่ วปิ ัสสนา
คอื เห็นแจง้ รจู ้ รงิ สบื ตอ่ ไป

ธรรมานปุ สั สนาขน้ั ท่ี ๑
พระพทุ ธเจา้ จงึ ไดต้ รัสสอนใหน้ อ้ มจติ ทบ่ี รสิ ทุ ธส์ิ ะอาดควรแกก่ ารงาน

น้ี ขนึ้ สพู่ รรมานุปัสสนาสตปิ ัฏฐาน โดยตรัสสอนใหศ้ กึ ษา คอื ใหจ้ ติ นเี้ อง
ศกึ ษาสําเหนยี กกําหนดวา่ เราจักตามดอู นจิ จะ คอื ไมเ่ ทยี่ ง หายใจเขา้
หายใจออก อันเรยี กวา่ อนจิ านุปัสสนา คอื ใหจ้ ติ นเ้ี องศกึ ษาสําเหนยี กกํา
หด รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ อนั เป็ น อปุ าทานขนั ธ์ คอื ขนั ธ์
เป็ นทย่ี ดึ ถอื วา่ ตัวเราของเราทัง้ ๕ ประการนี้ วา่ ไมเ่ ทย่ี ง ไมเ่ ทย่ี งอยา่ งไร
คอื มเี กดิ ขน้ึ และดบั ไปเป็ นธรรม

จงึ ขบั พจิ ารณาวา่ รปู อยา่ งนี้ เวทนาอยา่ งนี้ สญั ญาอยา่ งนี้ สงั ขารอยา่ งน้ี
วญิ ญาณอยา่ งนี้ ความเกดิ ขนึ้ ของรปู เวทนาสญั ญาสงั ขารวญิ ญาณอยา่ งนี้
ความดบั ไปของรปู เวทนาสญั ญาสงั ขารวญิ ญาณอยา่ งนี้ คอื จับดทู จี่ ติ น้ี
เอง ดรู ปู ทเ่ี ป็ นกายสว่ นใหญ่ อนั ประกอบดว้ ยธาตดุ นิ น้ําไฟลม และดสู ว่ นท่ี
เป็ นสงิ่ อาศยั ดังเชน่ จักขปุ ระสาท โสตประสาท ฆานประสาท ชวิ หา
ประสาท กายประสาท และโคจร คอื อารมณ์ของประสาททัง้ ๕ อันไดแ้ ก่
รปู เสยี ง กลนิ่ รส โผฏฐัพพะ และกําหนดใหร้ จู ้ กั วา่ เป็ นอายตนะภายใน

อายตนะภายนอก เมอ่ื เป็ นอายตนะด่ังน้ี ก็เพม่ิ มโน คอื ใจ กบั ธรรมะ คอื
เรอ่ื งราว

โดยเฉพาะอายตนะ ๕ ขอ้ ขา้ งตน้ นัน้ ทัง้ ภายในทัง้ ภายนอก ก็เป็ นรปู สว่ น
ทเี่ รยี กวา่ รปู อาศัย สว่ นทเี่ ป็ นธาตดุ นิ น้ําไฟลมอากาศโดยสว่ นรวม ก็เป็ น
สว่ นใหญ่ ซงึ่ มคี ําเรยี กสว่ นใหญว่ า่ มหาภตู รปู และเรยี กสว่ นทอี่ าศยั คอื ท่ี
เป็ นประสาทเป็ นอายตนะวา่ เป็ นอปุ าทายรปู ดใู หร้ จู ้ กวา่ อยา่ งนคี้ อื รปู

ความเกดิ ขนึ้ ของรปู อยา่ งนี้ ก็คอื ความเกดิ ขนึ้ ของรปู ทัง้ มหาภตู รปู ทัง้ อปุ า
ทายรปู ก็มชี าตคิ วามเกดิ เป็ นเบอ้ื งตน้ และมชี ราแปรปรวนเปลยี่ นแปลงไป
โดยลําดบั จนถงึ มรณะ คอื แตกสลายในทสี่ ดุ และกายนที้ ัง้ ทเี่ ป็ นสว่ น
มหาภตู รปู อปุ าทายรปู ก็เป็ นทอ่ี าศยั ของจติ ซงึ่ จติ นเ้ี องก็นอ้ มออกรู ้ อา
รมณื คอื เรอื่ งทัง้ หลาย ทางอายตนะภายในทัง้ ๖ อันเรยี กวา่ ทวารทัง้ ๖
และก็เรยี กอายตนะภายนอกทัง้ ๖ วา่ อารมณ์ คกู่ บั ทวาร ซง่ึ ทวารทัง้ ๖ คอื
ทวารตา หู จมกู ลนิ้ กายและมนะ คอื ใจ ก็รับอารมณท์ ัง้ ๖ คอื รปู เสยี ง
กลนิ่ รส โผฏฐัพพะ และธรรมะ คอื เรอื่ งราว จติ นกี้ น็ อ้ มออกรอู ้ ารมณ์ คอื
เรอ่ื ง

ความนอ้ มของจติ อนั นเ้ี องเรยี กวา่ นาม ก็นอ้ มออกรู ้ รปู ทางทวารตา เสยี ง
ทางทวารหู กลนิ่ ทางทวารจมกู รสทางทวารลน้ิ สงิ่ ถกู ตอ้ งทางทวารกาย
ธรรมะคอื เรอ่ื งราวทางทวารใจ ความรคู ้ รัง้ แรกของจติ เรยี กวา่ วญิ ญาณ ซง่ึ
ไดแ้ ก่ รรู ้ ปู ก็คอื เห็นรปู รเู ้ สยี ง ก็คอื ไดย้ นิ เสยี ง รกู ้ ลนุ่ ก็คอื ทราบกลิ น่ รู ้
รส ก็คอื ทราบรส รโู ้ ผฏฐัพพะสงิ่ ถกู ตอ้ ง ก็คอื ทราบโผฏฐัพพะสง่ิ ที่
ถกู ตอ้ ง รธู ้ รรมะ คอื เรอ่ื งราว ก็คอื รคู ้ ดิ เรอื่ งราว เหลา่ นเ้ี ป็ นวญิ ญาณ ก็รวู ้ า่
วญิ ญาณเกดิ ขนึ้ อยา่ งน้ี และเมอ่ื เป็ นวญิ ญาณ จติ นกี้ ็รทู ้ เี่ ป็ นสมั ผสั คอื
ความกระทบ ก็ไดแ้ ก่ เรอื่ งรปู เสยี ง กลนิ่ รส โผฏฐัพพะ ธรรมะเรอื่ งราวนัน้
ก็มากระทบจติ จติ ก็รคู ้ วามกระทบ เรยี กวา่ สมั ผัส สมั ผัสนไี้ มไ่ ดม้ แี สดงไว ้
ในขนั ธ์ ๕ แตว่ า่ มแี สดงไวน้ างเกดิ ขนึ้ ของขนั ธ์ ๕ โดยลําดับดังกลา่ ว แลว้
จงึ เป็ นเวทนา รสู ้ ขุ รทู ้ กุ ข์ รเู ้ ป็ นกลาง ๆ ไมท่ กุ ขไ์ มส่ ขุ แลว้ จงึ เปนสญั ญา
รจู ้ ํา จํารปู จําเสยี ง จํากลน่ิ จํารส จําโผฏฐัพพะ จําธรรมะเรอื่ งราว แลว้ จงึ
เป็ นสงั ขาร คอื ปรงุ คดิ หรอื คดิ ปรงุ ก็คดิ ปรงุ รปู เสยี ง กลนิ่ รส โผฏฐัพพะ
ธรรมะเรอื่ งราวเหลา่ นัน้ ่ันแหละ ปรงุ ดกี ็เป็ นกศุ ล ปรงุ ไมด่ กี ็เป็ นอกศุ ล ปรงุ
เป็ นกลาง ๆ ก็เป็ นอัพยากฤต คอื เป็ นหลาง ๆ ไมว่ า่ กศุ ลไมว่ า่ อกศุ ล และ
เมอ่ื เป็ นสงั ขาร คอื เมอื่ คดิ ปรงุ หรอื ปรงุ คดิ ไป ก็รไู ้ ปดว้ ย ก็เป็ นวญิ ญาณ
ขน้ึ มาอกี

ความเกดิ ขน้ึ ของรปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ ก็อยา่ งน้ี และความ
เกดิ ขน้ึ ดงั กลา่ วนก้ี ็เกดิ ขนึ้ ในอารมณอ์ นั หนงึ่ เมอ่ื อารมณ์อนั หนง่ึ นัน้ เกดิ
ขนึ้ มาจนถงึ ทส่ี ดุ ก็ดบั ไป ก็รับอารมณ์ทส่ี อง ก็เกดิ ขนึ้ ในอารมณท์ สี่ อง
แลว้ ก็ดบั ไป เพราะฉะนัน้ เมอ่ื จับเอาปัจจบุ นั ธรรมขนึ้ มาพจิ ารณาดัง่ นี้ ก็จะ
มองเห็นวา่ รปู คอื รวมหมดทเี่ ป็ นอายตนะภายนอก เมอื่ มาประจวบกบั
อายตนะภายใน อายตนะภายนอกก็เป็ นอารมณ์ อายตนะภายในก็เป็ นทวาร
อันหนงึ่ ๆ ก็เกดิ ขน้ึ และเมอื่ เกดิ ขนึ้ ผา่ นไปโดยลําดบั ก็เป็ นวญิ ญาณ เป็ น

สมั ผัส เป็ นเวทนา เป็ นสัญญา เป็ นสงั ขาร แลว้ เป็ นวญิ ญาณขนึ้ อกี แลว้ ก็
ดบั เป็ นอยา่ งนท้ี กุ อารมณ์ ซงึ่ อารมณอ์ ันหนงึ่ ๆ เป็ นขณะจติ อันหนงึ่ ๆ

เพราะฉะนัน้ ขนั ธ์ ๕ อยา่ งละเอยี ดนี้ จงึ เกดิ ดับอยทู่ กุ ขณะจติ แตอ่ าศัยมี
สนั ตติ คอื ความสบื ตอ่ คอื เมอื่ อารมณ์ที่ ๑ เกดิ ขน้ึ ดับไป อารมณท์ ี่ ๒ ก็
เกดิ ตอ่ อารมณ์ที่ ๒ เกดิ ขน้ึ ดับไป อารมณ์ท่ี ๓ ก็เกดิ ตอ่ เป็ นไปโดย
รวดเร็ว เพราะฉะนัน้ จงึ เป็ นอนจิ จะ คอื ไมเ่ ทยี่ ง มคี วามเกดิ ดับเป็ น
ธรรมดา

เมอื่ กําหนดพจิ ารณาดัง่ นี้ ใหต้ ามดตู ามรตู ้ ามเห็นเกดิ ดับของขนั ธ์ ๕ ใน
ระยะยาว หรอื วา่ ในระยะสัน้ คอื ในปัจจบุ ัน เป็ นปัจจบุ ันธรรม ก็ยอ่ มจะได ้
ปัญญาทเี่ ห็นแจง้ อนั เรยี กวา่ วปิ ัสสนาในอนจิ จลกั ขณะ คอื ลกั ษณะทเี่ ป็ น
เครอ่ื งกําหนดหมายวา่ ไมเ่ ทยี่ งดังกลา่ ว เป็ นอันวา่ ทําใหเ้ ห็นความไมเ่ ทย่ี ง
จงึ ศกึ ษาสาํ เหนยี กกําหนดวา่ เราจักตามดตู ามรตู ้ ามเห็นอนจิ จะคอื ไม่
เทย่ี ง หายใจเขา้ หายใจออก และเมอื่ ไดเ้ ห็นอนจิ จลกั ขณะอนจิ จตาความ
ไมเ่ ทย่ี งก็ปรากฎ ก็เป็ นอนั วา่ ไดป้ ฏบิ ัตใิ นชนั้ ที่ ๑ นี้

ธรรมานปุ สั สนาขน้ั ที่ ๒
พระพทุ ธจา้ จงึ ไดต้ รัสสอนในชนั้ ที่ ๒ ตอ่ ไป ใหศ้ กึ ษาสําเหนยี กกําหนด

วา่ เราจักตามดตู ามรตู ้ ามเห็นวริ าคะ คอื ความสนิ้ ตดิ ใจยนิ ดี หายใจเขา
หายใจออก วาคะ คอื ความสน้ิ ตดิ ใจยนิ ดนี ี้ ยอ่ มบังเกดิ ขน้ึ เองในเมอื่ ได ้
อนจิ จานุปัสสนาดงั กลา่ ว ในชนั้ ที่ ๑ เพราะฉะนัน้ จงึ ใหศ้ กึ ษาสําเหนยี ก
กําหนดดใู หร้ จู ้ ักวริ าคะทบี่ งั เกดิ ขนึ้ ในจติ คอื ความสน้ิ ตดิ ใจยนิ ดี อัน
เรยี กวา่ วริ าคานุปัสสนา สนิ้ ตดิ ใจยนิ ดใี นอะไร ก็คอื ในรปู ในเวทนา ใน
สญั ญา ในสงั ขาร ในวญิ ญาณ นัน้ เอง

กอ่ นแตไ่ ดช้ นั้ ท่ี ๑ คอื อนจิ จานุปัสสนา จติ นยี้ อ่ มจะยงั มรี าคะ คอื ความตดิ
ใจยนิ ดอี ยใู่ นรปู เวทนา สัญญา สงั ขาร วญิ ญาณ แตเ่ มอื่ จติ ไดอ้ นจิ จา
นุปัสสนา คอื ตามดู ตามรู ้ ตามเห็น อนจิ จะ คอื ไมเ่ ทยี่ ง อนั เป็ นตัวสตนิ ํา
ไดป้ ัญญาเห็นแจง้ ในความไมเ่ ทย่ี ง วริ าคะ คอื ความสนิ้ ตดิ ใจยนิ ดกี ็บงั
เกดิ ขน้ึ เอง ทเี่ คยตดิ ใจยนิ ดอี ยกู่ ็จะสน้ิ ไป เป็ นวริ าคะคอื ความสน้ิ ตดิ ใจ
ยนิ ดี ก็ใหก้ ําหนดดใู หร้ จู ้ ักวริ าคะคอื ความสนิ้ ตดิ ใจยนิ ดนี ใ้ี หเ้ ดน่ ชดั ขน้ึ ใน
จติ หายใจเขา้ หายใจออก อนั เป็ นชนั้ ท่ี ๒

ธรรมานปุ สั สนาขนั้ ที่ ๓ และขน้ั ที่ ๔

และเมอื่ ไดช้ นั้ ที่ ๒ นี้ ยอ่ มจะไดน้ โิ รธะ คอื ความดบั ดบั อะไร ก็คอื วา่ ดบั
ความเพลดิ เพลนิ พระพทุ ธเจา้ จงึ ไดต้ รัสชนั้ ที่ ๓ ตอ่ ไปวา่ ใหศ้ กึ ษา
สาํ เหนยี กกําหนดดู ตามดู ตามรู ้ ตามเห็น นโิ รธ คอื ความดับ ดบั ความ
เพลนิ หายใจเขา้ หายใจออก ดับความเพลดิ เพลนิ ในรปู เวทนา สญั ญา
สงั ขาร วญิ ญาณ พรอ้ มทงั้ ดับอปุ าทานคอื ความยดึ ถอื

และเมอ่ื ไดค้ วามดบั ก็ยอ่ มจะไดค้ วามสละคนื ความสละคนื นัน้ โดยตรงก็

คอื สละคนื ความยดึ ถอื วา่ เป็ นตวั เราเป็ นของเรา เหมอื นอยา่ งขอยมื ของ ๆ
เขามา เอามายดึ ถอื วา่ เป็ นของเรา แตค่ รัน้ เมอ่ื เห็นวา่ ไมใ่ ชข่ องเรา แตเ่ ป็ น
ของขอยมื เขามา ก็สง่ คนื เขาไป ยดึ ถอื สงิ่ ใดไวก้ ็สง่ คนื สง่ิ นัน้

ยดึ ถอื รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ วา่ เป็ นตวั เราของเรา ก็สง่ คนื รปู
เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ นัน้ แกธ่ รรมชาติ ธรรมดา เพราะวา่ เป็ นสง่ิ
ทบ่ี งั เกดิ ขนึ้ ตามเหตปุ ัจจยั ไมใ่ ชเ่ ป็ นตัวเรา ไมใ่ ชเ่ ป็ นของเรา แตจ่ ติ นเ้ี อง
ไปยดึ ถอื หรอื บคุ คลนเ้ี องไปยดึ ถอื วา่ เป็ นตัวเราของเรา เพราะฉะนัน้ เมอ่ื
สละความยดึ ถอื ได ้ ก็เหมอื นอยา่ งสง่ คนื สง่ิ ทย่ี ดึ ถอื นัน้ ไปแกธ่ รรมดา ไมย่ ดึ
เขา้ มาวา่ เป็ นตัวเราเป็ นของเรา

ทา่ นอธบิ ายถงึ การสละคนื นว้ี า่ มลี ักษณะ ๒ อยา่ ง อยา่ งหนง่ึ คอื สละ
บรจิ าค อยา่ งหนงึ่ คอื แลน่ ไป สละบรจิ าคกค็ อื สละรปู เวทนา สญั ญา
สงั ขาร วญิ ญาณ จากความยดึ ถอื วา่ ตวั เราของเรา แลน่ ไปนัน้ ก็คอื แลน่ ไป
ในนพิ พาน อันเป็ นทด่ี บั รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ จงึ ศกึ ษาดใุ ห ้
รจู ้ ักลกั ษณะของปฏนิ สิ สคั คะ คอื การสละคนื ทบี่ ังเกดิ ขนึ้ ในจติ ใจ เป็ นปฏิ
นสิ สคั คานุปัสสนา อันบังเกดิ สบื กนั มาโดยลําดับ ชนั้ ที่ ๑ ก็เป็ นอนจิ จา
นุปัสสนา ที่ ๒ ก็เป็ นวริ าคานุปัสสนา ที่ ๓ ก็เป็ นนโิ รธานุปัสสนา ท่ี ๔ ก็
เป็ นปฏนิ สิ สคั คานุปัสสนา ก็เป็ นอันวา่ สดุ ธรรมานุปัสสนาสตปิ ัฏฐาน ซงึ่ มี
๔ ชนั้

จติ ในชนั้ ท่ี ๔ นี้ จงึ มลี ักษณะทเ่ี ห็นการละความยนิ ดี ความยนิ รา้ ยดว้ ย
ปัญญาอันชอบ เขา้ ไปเพ่งสงบอยใู่ นกายในอนั จัดวา่ เป็ นอเุ บกขา จะวา่
เป็ นสงั ขารเุ บกขา อเุ บกขา คอื วางเฉยในสงั ขาร คอื สงิ่ ผสมปรงุ แตง่ ก็ได ้
พระพทุ ธเจา้ จงึ ไดต้ รัสวา่ การเห็น การละ ความยนิ ดี ความยนิ รา้ ยดว้ ย
ปัญญาอนั ชอบ เขา้ ไปเพ่ง สงบเฉยอยู่ วางอยู่ นเ่ี ป็ นตวั ธรรมานุปัสสนาสติ
ปัฏฐาน

เป็ นอนั วา่ อานาปานัสสติ สตทิ ก่ี ําหนดลมหายใจเขา้ ออกน้ี ปฏบิ ัตไิ ปตาม
พระพทุ ธโอวาททที่ รงสอน โดยจับปฏบิ ตั ติ งั้ แตใ่ นเบอ้ื งตน้ ในขนั้ กายา
นุปัสสนา ตงั้ แตม่ สี ตหิ ายใจเขา้ มสี ตหิ ายใจออก ก็จะเลอ่ื นภมู ชิ นั้ ขนึ้ ไปเอง
ในเมอื่ จติ ไดส้ ตไิ ดส้ มาธใิ นลมหายใจเขา้ ออกเป็ นชนั้ ก็เป็ นขนั้ กายานุปัสส
นา ๔ ชนั้ ขนั้ เวทนานุปัสสนา ๔ ชนั้ ขนั้ จติ ตานุปัสสนา ๔ ชนั้ ขนั้ ธรรมา
นุปัสสนา ๔ ชนั้ เปน ๑๖ ชนั้ เรยี กวา่ อานาปานัสสติ ๑๖ ชนั้ ซงึ่
พระพทุ ธเจา้ ไดต้ รัสไว ้

และในทางปฏบิ ัตนิ ัน้ ก็จับปฏบิ ัตติ งั้ แตเ่ บอ้ื งตน้ นแ่ี หละ คอื มสี ตหิ ายใจ
เขา้ มสี ตหิ ายใจออก ดงั ทต่ี รัสสอนไวใ้ นเบอ้ื งตน้ และเมอื่ ประคองการ
ปฏบิ ตั ใิ หเ้ ขา้ ทางแลว้ การปฏบิ ัตกิ ็จะเขา้ ทางไปเอง และเลอ่ื น ๆ ขน้ึ ไป
เอง

แตผ่ ปู ้ ฏบิ ัตนิ ัน้ ก็จะตอ้ งมสี ตมิ สี มาธิ อันเรยี กวา่ อานาปานัสสตสิ มาธติ งั้ แต่
ในเบอ้ื งตน้ กํากบั อยู่ กํากบั จติ นหี้ รู ้ กําหนดใหร้ หู ้ ายใจเขา้ ออก ไปพรอ้ ม

กบั ขนั้ ของการปฏบิ ตั ทิ เ่ี ลอ่ื นขนึ้ และธรรมะทปี่ รากฏขน้ึ เป็ นกายานุปัสสนา
เวทนานุปัสสนา จติ ตานุปัสสนา ธรรมานุปัสสนา ก็จะเป็ นไปเองตามขนั้
ของธรรมะดว้ ย เป็ นไปดว้ ยอํานาจของการปฏบิ ัตศิ กึ ษา สําเหนยี ก
กําหนดใหร้ จู ้ ัก และไมท่ งิ้ ลมหายใจเขา้ ออกไปทกุ ขนั้ ตอน อาศยั ลม
หายใจเขา้ ออกเป็ นพาหะนําจติ ใหไ้ ดจ้ ติ ใหไ้ ดส้ มาธสิ งู ๆ ขนึ้ ไป ก็จะได ้
อานาปานัสสติ ๑๖ ชนั้ แลว้ ก็ชอ่ื วา่ ไดก้ ารปฏบิ ตั ใิ นสตปิ ัฏฐานทัง้ ๔
สมบรู ณ์

ตอ่ ไปนก้ี ็ขอใหต้ ัง้ ใจฟังสวดและตงั้ ใจทําความสงบสบื ตอ่ ไป


Click to View FlipBook Version