The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รสเเห่งความเมตตา โดยสมเด็จพระญาณสังวร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-04 14:29:13

รสเเห่งความเมตตา โดยสมเด็จพระญาณสังวร

รสเเห่งความเมตตา โดยสมเด็จพระญาณสังวร

Keywords: รสเเห่งความเมตตา,สมเด็จพระญาณสังวร

ดวยพระมหากรุณา พระพุทธเจาจึงทรงแสดงพระพุทธประสงคเกี่ยวกับวาจาไวในธรรมทั้งปวง ให
เปนท่ีปรากฏแกโลก วาพึงสังวรระวังวาจาเชนเดียวกับกายและใจ พึงปฏิบัติธรรมพรอมท้ังกายวาจา
และใจเปนตน ในมงคลสตู รไดแสดงไวว า “วาจาอนั ชนกลาวดีแลว ขอนี้เปน มงคลอนั สูงสดุ ”

o ธรรมทาน ยง่ิ กวา ทานทง้ั ปวง
ทาน คือการใหส ิง่ ท่สี มควรแกผทู ี่สมควรให แกผ ทู ี่สมควรไดร บั ความสมควรเปน ความสําคัญอยาง

ย่ิงประการหนงึ่
เม่ือพระพุทธเจาทรงสอนใหเปนผูให ยอมมิทรงหมายใหใหโดยไมพิจารณาความสมควร แตยอม

ทรงหมายถึงความสมควรใหส่ิงท่ีสมควรแกผูที่สมควรแกส่ิงนั้น ผูรับไมปฏิเสธที่จะรับ เห็นคาของสิ่งท่ี
จะไดรับนั้น รับแลวจะเปนคุณประโยชน แมการดุวาตําหนิติเตียนผูที่สมควรไดรับการดุวาตําหนิติเตียน
เพื่อเปนการชวยเหลืออบรมบมนิสัยใหเปนคนดี พระพุทธเจาทรงถือวาเปนทาน เปนธรรม เปนธรรม
ทาน ท่ที รงกลา ววา ย่ิงกวาทานท้ังปวง

o ธรรมทานทบี่ รสิ ทุ ธ์ิ แทจ รงิ ตอ งเรม่ิ ตน จากการมอี ภยั ทาน
ธรรมทานอันเปนการดุวาตําหนิติเตียนสั่งสอน ดวยหวังใหกลับตัวกลับใจจากความไมถูกตองมาสู

ความถูกตอ ง จากความไมดีงามมาสูความดีงาม น้ีจะเปนธรรมทานที่บริสุทธิ์ไดจริง จะตองเริ่มตนดวย
มีอภัยทาน คือผูจะใหธรรมทานดุวาตําหนิติเตียนส่ังสอนดวยหวังดี หวังใหเปลี่ยนจากรายกลายเปนดี
เปลี่ยนจากผิดเปนถูก จะตองใหอภัยในความรายกาจของความไมถูกที่ตนพบเห็นใหไดกอน ธรรมทาน
เชน นีจ้ งึ ตอ งมีอภัยทานเปน สว นประกอบอยา งสําคัญ

ผูจะใหธรรมทานเชนน้ี จะตองสะอาดจากความโกรธแคน ขุนเคืองใจ อันเกิดจากไดรูไดเห็นการ
กระทําคําพูดท่ีไมดีงาม ไมถูกตอง เปนท่ีกระทบกระเทือนใจ ทานท่ีพระพุทธเจาทรงแสดงไว จึงมี
ความหมายลึกซง้ึ และกวา งขวางอยา งย่ิง

o พรทป่ี ระเสรฐิ
การบําเพ็ญกุศลนั้น นาจะถือไดวาเปนการใหพรตัวผูทํากุศลเองประการหนึ่ง นอกไปจากพรที่ไดรับ

จากผอู น่ื ทม่ี ีผูอ่นื ให พรท้ังสองประการนี้ ผรู บั จะรับไดเ พียงไรหรือไม ขน้ึ อยูก ับการทาํ ใจเปนสาํ คัญทส่ี ุด
พรคือความดี การใหพรก็เชนเดียวกับการรับวัตถุส่ิงของ จะตองมีเครื่องรับ การรับวัตถุตองมี

เครื่องรับเปนวัตถุ เชน มือ ภาชนะ อ่ืน ๆ ไมเชนน้ันจะรับวัตถุใดไมได แมมีผูสงให ผูรับไมมีเคร่ืองรับ
ไมยื่นมือมารับ ของก็จะหายหกตกหลนหมดส้นิ จะรบั ไวเปนสมบตั ขิ องตนไมไ ด

๔๕

o ไมมอี ะไรจะรบั พรได. ..นอกจากใจ
การรับพรก็เชนกัน แตเม่ือพรมิใชเปนวัตถุ จะเตรียมเคร่ืองรับท่ีเปนวัตถุเชนมือหรือภาชนะอ่ืน ๆ

ยอมรับไมได พรเปนเร่ืองของจิตใจ คือผูใหตั้งใจดวยปรารถนาใหเปนพร โดยเปลงเปนวาจาบางหรือ
เพียงนึกในใจบาง การจะสามารถเปนผูรับพรอันเปนเรื่องของจิตใจได จะตองเตรียมเรื่องรับที่เก่ียวกับ
จติ ใจเชน กนั และก็มเี พียงอยางเดยี วคอื ใจ ไมม ีอะไรอื่นจะทําใหส ามารถรับพรไดนอกจากใจ

ใจเทา นั้น ทส่ี ามารถรบั พรได ทัง้ พรท่ีตนเองใหตนเอง และพรที่ผูอ่ืนให น่ันก็คือตองทําใจใหพรอมที่
จะรบั พรได มีใจอยู เหมือนมมี ืออยู เมือ่ มีผูสงของให กต็ อ งยื่นมือออกไปรับไปถือ จงึ จะไดข องนน้ั มา ไม
ยื่นมอื ออกรบั ออกถือ ก็รับไมได กไ็ มไดม า และแมเ ปนของท่ีดีท่ีสะอาด มือที่รับไวเปนมือที่สะอาด ของ
ดที ่ีสะอาดก็จะไมแปดเปอ นความสกปรกท่ีมือ จะเปน ของดขี องสะอาดควรแกประโยชนจ รงิ

o พงึ พจิ ารณาถงึ เหตขุ องพรทไ่ี ดร บั ใหถ อ งแท
การรับพร ตองนอมใจออกรับ คือใจตองยินดีที่จะรับ และตองเปนใจท่ีสะอาด ไมเชนนั้นจะรับพร

ไมไ ด พรทต่ี นเองพยายามใหแกต นเองกร็ ับไมได พรท่ีขอจากผูอ่นื ก็รับไมได
เพ่ือใหสามารถรับพรอันเกิดจากการบําเพ็ญกุศลดวยตนเอง ผูทํากุศลตองมีใจผองใสเตรียมรับ

ขณะกําลงั รบั และเมอ่ื รับไวแลว และดวยใจท่ีผองใสน้ัน พึงพิจารณาที่มีผูให ใหเขาใจกระจางชัดจริง วา
พรนั้นเปนผลของเหตุใด เพราะธรรมดาเมื่อใหพร พรนั้นก็เปนการแสดงชัดแจงเพียงสวนผล สวนเหตุ
เรนอยูเบื้องหลัง เม่ือใหพรส้ัน ๆ เพียงผล แมมิไดแสดงเหตุแตก็เทากับใหพรท่ีรวมท้ังเหตุแหงผลน้ัน
ดว ย

o การรบั พรทใ่ี หผ ลสมบรู ณจ รงิ
เชน เม่ือมีผูใหพรวา ขอใหมีอายุ วรรณ สุขะ พละ ผูจะสามารถรับพรน้ันไดจะตองมีใจผองใส

พิจารณาใหเห็นตลอดสาย ใหเขาใจวาพรที่แทจริงสมบูรณคือขอใหรักษาตัว รักษาใจใหดี อยาใหเศรา
หมอง จะไดม อี ายุยนื มผี วิ พรรณงาม มีความสขุ มกี ําลังแขง็ แรง

พรนี้มีทงั้ สว นเหตทุ ่เี รน อยูไมแสดงแจงชัด คือขอใหรักษาตัวรักษาใจใหดี อยาใหเศราหมอง สวนผล
ของพรนี้ท่ีแสดงแจงชัดคือ ขอใหมีอายุ วรรณะ สุขะ พละ ผูจะรับพรที่มีผูใหแลวไดจึงตองทําใจใหผอง
ใส พิจารณาใหเห็นสวนเหตุของพรน้ันและปฏิบัติใหไดในสวนเหตุ จึงจะไดรับสวนผล เปนการรับพร
สมบรู ณจ ริง

๔๖

รสแหง ความเมตตา ชมุ เย็นยงิ่ นกั

สมเด็จพระญาณสงั วร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก

ISBN : 974 – 7276 – 19 - 4
ดําเนนิ การจดั พิมพโดย : ธรรมสภาและสถาบันบนั ลอื ธรรม

ทา นท่ีเหน็ คณุ คาของหนงั สอื เลมน้ี ประสงคจดั พิมพเ ผยแพรเปนธรรมทาน
โปรดตดิ ตอท่ี : ธรรมสภา

๑/๔-๕ ถ.บรมราชชนนี เขตทววี ัฒนา กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๗๐
โทรศพั ท (๐๒) ๔๔๑๑๕๓๕, ๘๘๘๗๙๔๐ โทรสาร (๐๒) ๔๔๑๑๙๑๗

การใหธรรมะชนะการใหท ้งั ปวง
การรับธรรมะและนาํ ไปปฏิบัตยิ อ มชนะการรบั ทง้ั ปวงเชนกนั


Click to View FlipBook Version