The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บุญ กรรม นรก-สวรรค์ เลือกกันได้ทุกคน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-22 23:08:56

บุญ กรรม นรก-สวรรค์ เลือกกันได้ทุกคน

บุญ กรรม นรก-สวรรค์ เลือกกันได้ทุกคน

Keywords: บุญ กรรม นรก-สวรรค์ เลือกกันได้ทุกคน

๓. หลกั กรรมสาํ หรบั คนสมยั ใหม ๙๓

ในกรณีท่ีไมไดรักษาธรรมเลย และก็ไมชวยคน อยางนี้ผิด
นวี่ าอยางรวบรัดแบบพดู กนั งายๆ

ถาเราไปเจอคนทุกขยากขัดสนขนแคน เราจะอางวาเปน
(ผล)กรรมของเขาแตชาติปางกอน ใหเขากมหนารับกรรมไป การ
อา งอยา งน้ผี ดิ ถึง ๓ ดา น ๓ ขนั้ ตอน

๑. ถาเปนผลกรรมชาติกอน น่ีก็คือเขาไดรับผลของกรรม
นั้นแลว คือเกิดมาจน สภาพปจจุบันคือสภาพที่ไดรับผลแลว ไมใช
สภาพรอผล เมื่อผลกรรมเกาออกไปแลว หนาที่ของเราท่ีจะทําตอ
สภาพปจจบุ ันท่ีเขาทุกขยาก กค็ ือ ตอ งใชเมตตากรณุ าไปชวยเหลือ

เหมือนกับกรณีเด็กวายน้ําไมเปน เลนซน ไมเช่ือฟงพอแม
แลวไปตกนํ้า การท่ีเขาตกน้ําก็เปนการรับ(ผล)กรรมของเขาแลว
ตอนน้ีเขากําลังทุกข ถึงตอนท่ีเราตองใชความกรุณาไปชวย จะไป
อางวา เปน (ผล)กรรมของเขาแลว ปลอ ยใหเ ด็กตาย ยอมไมถ ูกตอง

๒. คนเราทํากรรมดี-ชั่วตางๆ มักจะปนๆ กันไป บางคนท้ัง
ท่ีทําความดีมาก แตเวลาจะตายจิตแวบไปนึกถึงกรรมไมดี เลย
พลาดมาเกิดไมดี เราพวกมนุษยปุถุชนไมไดหย่ังรูเรื่องอยางน้ี
เพียงพอที่จะตัดสิน แตภาพปจจุบันคือเขาทุกขเดือดรอนเปนที่ต้ัง
ของกรุณา จงึ ตองใชธรรมขอกรุณาเขา ไปชวยเหลอื

๓. ปรากฏการณอยางหนึ่ง หรืออยางเดียวกัน อาจเกิด
จากเหตุปจจัยตางอยาง หรือหลายเหตุปจจัยประกอบกัน อยางท่ี
พูดแลวในเรื่องนิยาม ๕ เหตปุ จจัยในอดตี กม็ ี เหตุปจจัยในปจจุบัน
ก็มี เหตุปจจยั ภายในกม็ ี เหตปุ จ จยั ภายนอกกม็ ี

๙๔ บุญ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกันไดทุกคน

ในเรื่องความยากจนนี้ ถาเปนสภาพทางสังคม ขอใหลอง
ไปดูอยางจักกวัตติสูตร (พระไตรปฎกเลม ๑๑) หรือกูฏทันตสูตร
(พระไตรปฎกเลม ๙) จะเห็นวา พระพุทธเจาทรงเนนเหตุปจจัย
และการแกไ ขปญ หาดา นการบริหารการปกครองบานเมือง อยางน้ี
เปนตวั อยา ง ซง่ึ จะตอ งไมมองขา มไป

อยามองอะไรแบบทึกทักทันทีงายๆ หลักธรรมประเภทนี้
ทรงสอนไว เพ่ือใหรูจักใชปญญาพิจารณาแยกแยะความสัมพันธ
แหงเหตปุ จ จยั ไมใ ชม องแบบตีคลุม

ในกรณีอยางนี้ ถาเราถืออุเบกขาวางเฉย ก็กลายเปน
อัญญาณุเบกขา คือเฉยโง กลายเปนบาปอกุศลไป เพราะวางเฉย
โดยไมร ูเ รื่องรรู าว ไมเหมือนกรณที ่มี ีคนลกั ขโมยของ แลวถูกจับคุม
ขงั เรารวู าอะไรเปนอะไร แลวเราจึงวางอเุ บกขาเพอ่ื รักษาธรรม

ฉะนั้น ถาหากคนเขามีความทุกขยากเดือดรอน เรื่องอะไร
จะไมชว ย การชว ยนั้นกเ็ ปนการทํากรรมดีของตัวเราเองดวย และก็
เปนการเมตตากรุณาชวยเขา ใหเขาทําความดี โดยเมื่อไดรับการ
ชวยเหลือนั้นแลว เขาก็มีโอกาสแกไขปรับปรุงตัว และมีกําลังท่ีจะ
ไปทาํ กรรมดอี ่นื ๆ ตอ ไป

แตก ารชว ยทีด่ ที ีส่ ดุ ก็คอื การชวยใหเ ขาชว ยตัวเองได

ทงั้ น้เี ปน เรือ่ งท่ีจะตองพิจารณาในรายละเอียด แตการท่ีจะ
บอกเหมาลงไปวา คนไดรับทุกขยากเดือดรอน เปนกรรมของเขา
ปลอยใหเขารับกรรมไป อยางน้ีไมถูก ตองมีหลักวาเปนเร่ืองของ
การรักษาธรรมหรอื ไม

เหลานีเ้ ปนแงต างๆ ทจ่ี ะมาชว ยในการพจิ ารณาเรื่องกรรม

๓. หลกั กรรมสาํ หรับคนสมัยใหม ๙๕

บุญ-บาป กศุ ล-อกศุ ล

อีกเร่ืองหน่ึงคือ เรื่องความหมายของกรรม ที่แยกเปนกุศล
อกศุ ล เปนบุญ เปน บาป

ในเวลาแยกประเภทกรรม เรามักแยกเปนกุศลกรรม และ
อกุศลกรรม หรืองายๆ ก็เปนบุญ เปนบาป หรือบุญกรรม และ
บาปกรรม

เราจะอธิบายเร่ืองกรรมไดชัดเจน เม่ือเราอธิบาย
ความหมายของกศุ ล อกศุ ล บญุ บาป ไดดวย

ก. กุศล คืออะไร?

กุศลมีความหมายอยางไร? ชาวบานมักจะมีความสงสัย
หรือเขาใจพราๆ มัวๆ เขามักจะไมรูวาอะไรเปนกุศลหรือเปนอกุศล
พอบอกวา เชิญชวนมาทําบุญทํากุศลกัน ใหบริจาคเงินสรางศาลา
แลวไดกศุ ล ชาวบานก็ไมรูว า กศุ ลคอื อะไร

บางทีชาวบานมองกุศลคลายกับวาเปนตัวอะไร หรือเปน
อาํ นาจอะไรอยา งหน่งึ ที่ลอยอยูที่ไหนไมรู ซึ่งมองไมเห็น แลวจะมา
ชวยคนในเม่ือถึงเวลาที่ควรจะชวย แตทีนี้ ความหมายที่ถูกตอง
ในทางหลักธรรมเปนอยางไร

กุศล นั้นตามหลักทา นบอกวา แยกความหมายได ๔ อยา ง

ความหมายท่ี ๑ วา อาโรคยะ แปลวา ไมมีโรค หมายความ
วา เปน สิง่ ท่เี ก้ือกูลตอสุขภาพ

๙๖ บญุ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกนั ไดทกุ คน

คําวาสุขภาพ ในที่น้ีหมายถึงสุขภาพของจิตใจ ซึ่งเปนฐาน
ของสุขภาพกายดวย คือทําใหจิตใจเขมแข็งสมบูรณ เหมือนกับ
รางกายของเราน้ี เม่ือไมมีโรคก็เปนรางกายที่แข็งแรงสมบูรณ
จิตใจที่ไมถูกโรคคือกิเลสเบียดเบียน ก็เปนจิตใจที่แข็งแรงสมบูรณ
สบายคลองแคลว ใชงานไดดี อยางที่ทานเรียกวา ควรแกงาน หรือ
เหมาะแกก ารใชง าน จิตใจแบบน้ีเรียกวา เปนจติ ใจไมมโี รค

ความหมายที่ ๒ วา อนวัชชะ แปลวา ไมเสียหาย ไมมีโทษ
คือ ไมมีสิ่งมัวหมอง ไมสกปรก ไมบกพรอง สะอาด ผองแผว ผอง
ใส ปลอดโปรง เปนตน เอางายๆ วา สะอาด บริสทุ ธ์ิ

ความหมายที่ ๓ วา โกศลสัมภูต แปลวาเกิดจากปญญา
เกิดจากความฉลาด หมายความวา กุศลเปนเร่ืองที่ประกอบไป
ดวยปญญา คือความรูเขาใจ ทําดวยความรูเหตุผล และทําตาม
ความรูเหตุผลนั้น เชน มองเห็นความดีความช่ัว รูคุณรูโทษ รู
ประโยชน รูไมใชประโยชน ทําดวยจิตใจท่ีสวาง ไมโงเขลามืดมัว
เรียกวา เปนความสวา งของจิตใจ

เม่ือมีกุศลเกิดข้นึ ในจติ ใจแลว ไมปดบังปญญา จิตใจสวาง
ไมมดื ไมบ อด มองเห็นอะไรๆ ถกู ตองตามความเปน จรงิ

ความหมายท่ี ๔ สุดทายคือ สุขวิบาก มีสุขเปนผล ทําให
เกิดความสุข เวลาทําจิตใจก็โปรงสบาย สดชื่น ราเริง เบิกบาน
ผอ งใส สงบเย็น ไมเรา รอ น ไมบีบคน้ั ไมเ ครียด ไมอ ดึ อดั

ที่วามาทั้ง ๔ ขอนี้คือความหมายของกุศล เปนลักษณะที่
จะเอามาวนิ ิจฉยั คือ สิ่งทีเ่ ปน กศุ ลน้นั จะตอ ง

๓. หลักกรรมสาํ หรบั คนสมัยใหม ๙๗

๑. อโรค ไมมีโรค เก้ือกูล จิตใจมีความแข็งแรงสมบูรณ
จิตใจคลองแคลว ใชงานไดดี

๒. อนวัชชะ ไมมีโทษ ไมมีมลทิน ไมมัวหมอง ไมเส่ือมเสีย
มีความสะอาด บริสุทธ์ิ ผองแผว ปลอดโปรง

๓. โกศลสัมภูต มีปญญา รูเหตุผล รูดีชั่ว รูคุณรูโทษ สวาง
ไมมดื มัว และ

๔. สุขวิบาก มีสุขเปนผล ทําดวยความโปรงสบาย ทําแลวก็
แชมชน่ื เยน็ ใจ

ตัวอยางลักษณะและอาการของกุศลท่ีเกิดขึ้นในใจ เชน มี
เมตตา เปนอยางไร พอเมตตาเกิดขึ้นในใจปบ ก็เย็นฉํ่า จิตใจไมมี
โรค จิตใจมีความแข็งแรงในตัวของมัน มีความเอิบอ่ิม สบาย เย็น
ช่ืน ยิ้มได ปลอดโปรงผองใส ทั้งใจทั้งกายราบรื่นผอนคลาย เลือด
ลมเดินคลองดี และมีความรูความเขาใจ สวางอยูภายในวาคนอื่น
เขามีความสุขความทุกขอยางไร เราควรจะมีจิตใจตอเขาอยางไร
และมีความสขุ พรอมอยูในตัวดว ย

แตในทางตรงขาม ถามีโทสะเกิดข้ึน เปนอยางไร พอโทสะ
หรือความโกรธ ความคิดประทุษรายเกิดข้ึนปบ ก็รูสึกเรารอนแผด
เผา จิตเปนโรค จิตบกพรอง ถูกบีบค้ัน ไมสบาย ขุนมัว ไมบริสุทธ์ิ
ไมสะอาด ไมปลอดโปรง ไมผองใส ใจของ ใจเครียด กายก็เครียด
เลือดลมคั่ง และมืดมัว ไมรูดีรูช่ัว ไมคิดคํานึง ไมมองเห็นบุญเห็น
คุณ ไมคํานึงถึงโทษ ไมรูวาใครเปนใครท้ังนั้น และมีความทุกข
พลุงพลาน เดือดรอนใจ น่ลี ักษณะของอกุศล

๙๘ บญุ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกันไดทกุ คน

เพราะฉะนั้น กุศลและอกุศลจึงไมตองไปรอดูผลขางนอก
พอเกิดขึ้นในใจก็บอกตัวเองของมันทันที ปรากฏผลแกชีวิตจิตใจ
เปนความหมายของตัวมันเอง พอมีข้ึนมาปบ ก็สําเร็จความหมาย
ในตัวทันที

ถาใครถามวาดีชั่วมีจริงไหม ก็บอกวาฉันไมตอบละ เกลือ
กับน้ําตาล หวาน-เค็มจริงหรือไมอยางไร ชัดอยูในใจของคุณเอง
มนั กเ็ ปน กศุ ล-อกศุ ลอยา งท่ีมันเปน นน่ั แหละ

ความเปนกุศลและอกุศล เปนสภาวะตามธรรมชาติ มันมี
ภาวะของมันอยูในตัวแลว เราตองอธิบายกรรมใหลึกเขามาถึง
ความหมายของกุศล-อกุศลในจิตใจ ท่ีเปนพื้นแทๆ ของตัวมันเอง
ใหเหน็ วา มันมคี วามหมายอยใู นตัวของมนั เองพรอมแลว ไมตองไป
รอผลไกล

ถาม: อาโรคยะ แปลวา ไมม ีโรคใชไ หมครบั
ตอบ: อาโรคยะ มาจากอโรคะ คือ อ+โรค อโรค ก็คือ ไมมี
โรค แลวบวก ณฺย ปจจัย เขาไป เปน ภาวตัทธิต ตามหลักไวยากรณ
เปน อาโรคฺย แปลวา ความเปนอโรค คือ ความไมมีโรค นี้หมายถึง
ความไมเปนโรคของจิต ไมใชแคโรคของรางกาย จิตท่ีไมมีโรค ก็
สมบูรณแข็งแรง และชวยหนนุ สขุ ภาพรางกายดว ย

แมแตภาษิตที่เราทองกันในภาษาไทย ท่ีเพ้ียนเปน อโรค
ยาปรมา ลาภา นั้น (ความจริงภาษาบาลีเปน อาโรคฺยปรมา ลาภา) ใน
พระไตรปฎก พระพุทธเจาก็ตรัสวา ความหมายท่ีแทจริงไมไดมุง
เพียงไมมีโรคกาย ที่วาความไมมีโรคเปนลาภอยางยิ่ง หรือลาภ
ท้ังหลายมีความไมมีโรคเปนอยางย่ิงนั้น พระองคหมายถึงพระ
นิพพาน

๓. หลกั กรรมสาํ หรับคนสมยั ใหม ๙๙

อาโรคยะ น้ี หมายถึง พระนิพพาน พระนิพพานเปนภาวะ
ไรโ รค คือความมสี ุขภาพจติ สมบูรณ

เรื่องน้ีพระพุทธเจาตรัสกับมาคัณฑิยะ ทานมาคัณฑิยะไป
สนทนาธรรมกับพระพุทธเจา อางสุภาษิตเกาวา อาโรคฺยปรมา
ลาภา ซึ่งในที่น้ีเขามีความเขาใจวาเปนโรคกาย แตพระพุทธเจา
ตรัสวามนั ไมไดม คี วามหมายแคบแคน น้ั แตหมายถึงความไมมีโรค
ทางจิตใจดวย ใชไ ดทุกระดับ

สําหรับชาวบานก็ใชในระดับโรคทางกายธรรมดา แต
ในทางธรรม พระพุทธเจาตรัสไวในพระสูตรในมัชฌิมนิกาย
หมายถึงพระนิพพานเลย เปนภาวะไมมีโรคโดยสมบูรณต้ังแตใน
จิตใจ หมายความวาภาษิตนี้ใชไดทุกระดับ ต้ังแตระดับชาวบาน
ไปจนกระท่งั ถึงบรรลุนพิ พาน แตใหร คู วามหมายแตล ะขั้นๆ

ความหมายของคําวา “กุศล” ก็ใหเขาใจตามลักษณะที่วา
มาน้ี สวนที่เปนอกุศลก็ตรงขาม ดังไดยกตัวอยางไปแลว เชน เม่ือ
เมตตาเกิดข้ึนในใจเปนอยางไร โทสะเกิดขึ้นเปนอยางไร ลักษณะ
ก็จะผิดกันใหเห็นชัดๆ วา ผลมันเกิดทันที อยางที่เรียกวาเปน
สันทฏิ ฐโิ ก เหน็ เอง เหน็ ทันตา

ข. บญุ หมายความแค่ไหน?

คําที่เนื่องกันอยูกับ กุศล และ อกุศล ก็คือคําวา “บุญ”
และ ”บาป” บญุ กบั กุศล และบาปกับอกศุ ล ตา งกันอยา งไร?

ในท่ีหลายแหงใชแทนกันได อยางในพุทธพจนท่ีตรัสเร่ือง
ปธาน คือความเพียร ๔ ก็ตรสั คาํ วา อกศุ ล กับคําวา บาป ไวด ว ยกัน

๑๐๐ บุญ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกนั ไดทุกคน

ในหลัก ปธาน ๔ น้ัน คําท้ังสองอยูในประโยคเดียวกัน คือ
เปนคําที่ชวยขยายความซึ่งกันและกัน ดังที่ตรัสวา “ภิกษุยังฉันทะ
ให้เกิดขึ้น ระดมความเพียร เพ่ือปิดกั้นบาปอกุศลธรรมซ่ึงยังไม่เกิดมิให้
เกดิ ข้ึน น้เี รยี กวา่ สังวรปธาน” นี่ บาปกับอกุศลมาดว ยกัน

แต บุญ กับ กุศล มีความกวางแคบกวากันอยูหนอย คือ
กุศล ใชไดท้ังโลกิยะและโลกุตตระ เปนคํากลางๆ และเปนคําท่ีใช
ในทางหลักวิชามากกวา บางทีก็ระบุวาโลกิยกุศล โลกุตตรกุศล
แตถา พดู เปนกลางๆ จะเปนโลกยิ ะก็ได โลกุตตระกไ็ ด

สวนคําวา บุญ นิยมใชในระดับโลกิยะ แตก็มีบางที่ทานใช
ในระดับโลกุตตระ โดยระบุชัดลงไปวา โลกุตตรปุญญะ (ที.อ.๓/๒๐)
แตโดยท่ัวไป บุญอยูแคระดับโลกิยะ อยางที่เรียกวา โอปธิกปุญญะ
(บุญที่เนื่องดวยอุปธิ คือเปนโลกิยะ) เทียบกับ นิรูปธิกุศล (กุศลท่ีไร
อุปธิ คอื เปนโลกุตตระ, ข.ุ อติ .ิ ๒๕/๒๖๒/๒๙๐)

เปนอันวา โดยทั่วไป บุญใชในระดับโลกิยะ สวนกุศลเปน
คํากลางๆ ใชไดท้ังโลกิยะและโลกุตตระ นี่เปนความกวางแคบกวา
กันนิดหนอย ระหวางบุญกับกุศลในแงรูปศัพท ซึ่งก็อาจเอาไปชวย
ประกอบเวลาอธิบายเร่ืองกรรมได แตเปนเร่ืองเกร็ด ไมใชเปนตัว
หลักใหญ

บุญ นัยหนึ่งแปลวา เปนเครื่องชําระสันดาน คือเปนเครื่อง
ชําระลางทําใหจิตใจสะอาด ในเวลาท่ีส่ิงซ่ึงเปนบุญเกิดขึ้นในใจ
เชน มีเมตตาเกิดขึ้น ก็ชําระจิตใจใหสะอาดบริสุทธ์ิ ศรัทธาเกิดขึ้น
จติ ใจก็ผองใส ทาํ ใหหายเศรา หมอง หายสกปรก

๓. หลักกรรมสาํ หรับคนสมัยใหม ๑๐๑

ความหมายตอไป นักวิเคราะหศัพท แปล บุญ วา นํามาซ่ึง
การบูชา หรอื ทาํ ใหเปน ผคู วรบูชา คอื ใครก็ตามสั่งสมบุญไว สั่งสม
ความดี เชน สั่งสมศรัทธา เมตตา กรุณา มุทิตา ผูน้ันก็มีแต
คุณธรรมมากมาย และคุณธรรมหรือคุณสมบัติเหลานั้นก็ยกระดับ
ชีวิตจิตใจของเขาขึ้น ทําใหเปนผูควรบูชา ฉะน้ัน ความหมายหน่ึง
ของบญุ กค็ อื ทําใหเปน คนนา บชู า

อีกความหมายหน่ึงคือ ทําใหเกิดผลที่นาชื่นชม เพราะวา
เม่ือเกดิ บญุ แลว กม็ ีวิบากท่ีดงี าม นาชนื่ ชม จึงวามีผลอันนาช่ืนชม

ความหมายน้ี ใกลกับพุทธพจนท่ีวา สุขสฺเสตํ อธิวจนํ ยทิทํ
ปุฺานิ ซ่ึงแปลวา ภิกษุทั้งหลาย คําวาบุญนี้ เปนช่ือของความสุข
เม่ือบุญเกิดข้ึนในใจแลว จิตใจก็สบาย มีความเอิบอิ่มแชมชื่นผอง
ใส บุญจึงเปน ช่ือของความสขุ

สวนบาปน้ันตรงกันขาม บาป น้ัน โดยตัวอักษร หรือโดย
พยัญชนะ แปลวา สภาวะท่ีทําใหถึงทุคติ หรือทําใหไปในท่ีช่ัว
หมายถึงส่ิงท่ีทําใหจิตตกต่ํา พอบาปเกิดข้ึน ความคิดไมดีเกิดข้ึน
โทสะ โลภะ เกิดข้นึ จติ กต็ กตํ่าลงไป และนาํ ไปสทู ุคติดวย

ทานใหความหมายโดยพยัญชนะอีกอยางหน่ึงวา เปนสิ่งที่
คนดีพากันรักษาตนใหปราศไป หมายความวา คนดีท้ังหลายจะ
รักษาตนเองใหพนไปจากส่ิงเหลาน้ี จึงเรียกส่ิงเหลาน้ีวาเปนบาป
เปนส่งิ ท่คี นดที ิ้ง พยายามหลกี หลบเลีย่ งหนไี มอยากเก่ียวของดวย

นี่เปนความหมายประกอบ ซ่ึงอาจจะเอาไปใชอธิบายเปน
เกร็ดได ไมใชตัวหลักแทๆ เอามาพูดรวมไวดวยในแงตางๆ ที่เรา
จะตอ งทาํ ความเขาใจเกย่ี วกับเรื่องกรรม

๑๐๒ บญุ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกนั ไดทุกคน

เทา ทีไ่ ดบรรยายมา เมื่อวาโดยสรปุ มคี วามสาํ คัญท่ีจะตอง
มองอยู ๔ ประการ คือ

๑. กรรมเปนเร่ืองของความเปนเหตุเปนผล เปนเรื่องของ
กฎเกณฑแหงเหตุปจจัย ถาจะอธิบายลงลึก ก็ตองโยงเขาไปใน
เร่อื งไตรวัฏฏ คือ กิเลส กรรม และวบิ าก เขา สหู ลกั ปฏิจจสมุปบาท

๒. จะตองรูวากรรมนี้เปนนิยามหนึ่ง หรือกฎหนึ่งในบรรดา
นิยาม ๕ เทานั้น อยาเหมาทุกอยางเขาเปนกรรมหมด ตอง
แยกแยะเหตุปจ จัยใหถ กู ตอง

๓. ตองแยกหลักกรรมออกจากลัทธิผิดสามอยางใหไดดวย
คอื ลัทธปิ ุพเพกตวาท ลัทธอิ ศิ วรนริ มติ วาท และลัทธอิ เหตุวาท

๔. ใหน าํ ความเขา ใจความหมายของกุศล อกศุ ล มาชวยใน
การอธิบายแงลึก ใหเห็นผลตางๆ ที่เกิดข้ึนในระดับจิตใจ ใหเขาใจ
ความหมายของกรรมท่ีแทจริง ที่เปนสภาวะอยูในจิตใจ ซ่ึงมีผล
ประจกั ษท ันที

ตอน ๒

กรรม โดยใชก าร

ความสาํ คัญของมโนกรรม/
คา นิยมกําหนดวิถีชวี ติ และสังคม

ขอผานไปยังเรื่องการใหผลของกรรม อยางท่ีบอกแลววา
เราไดยินบอยๆ เก่ียวกับคําอธิบายการใหผลของกรรมแบบโลดโผน
ซึ่งเปนเร่ืองนาตื่นเตน เปนเหตุการณใหญๆ แบบที่วาทําใหสัตวขา
หัก แลวตอมาตัวเองไปถูกรถทับขาหัก อะไรทํานองนี้ ซ่ึงไดยินกัน
บอย จนบางทีทําใหรูสึกวา กรรมเปนอํานาจเรนลับอยางหนึ่งซ่ึง
ลอยอยูท่ีไหนก็ไมรู มันคอยจองจะมาลงโทษเรา ถาอธิบายแบบนี้
กม็ ปี ญ หาท่บี อกแลว วา คนที่เปน นักคิดเหตผุ ลจะไมค อ ยยอมรับ

ลองพจิ ารณาดูวา เราจะสามารถอธบิ ายกรรมในแงสืบสาว
เหตุปจจัยไดอยางไร ความเปนเหตุเปนผลนั้นอยูท่ีการสืบสาวเหตุ
ปจจัย ใหเห็นวาแตละอยางเชื่อมโยงกัน สืบทอดและตอเน่ืองกัน
อยางไร จึงมาออกผลอยางนี้ ถาอธิบายตรงนไี้ ด คนจะตองยอมรบั

การท่ีจะอธิบายอยางนี้ได ก็ตองลงไปถึงจุดเริ่มของมัน คือ
ถึงขางในจิตใจ พระพุทธเจาตรัสวา กรรม มี ๓ คือ กายกรรม
วจีกรรม มโนกรรม

๑๐๔ บุญ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกันไดทุกคน

ในบรรดากรรม ๓ อยางน้ัน กรรมท่ีละเอียดออนท่ีสุดก็
ไดแ ก มโนกรรม คือ กรรมทางใจ

กรรมทางใจ นอกจากเปนเรื่องละเอียดออนแลว ก็เปนจุด
เริ่มดวย หมายความวา การกระทําที่จะออกมาเปนวจีกรรมและ
เปน กายกรรมได ก็เพราะเกิดขนึ้ เปนมโนกรรมกอน

คนเราตองคิดกอน คิดขึ้นมาในใจ คิดชั่วแลว จึงพูดชั่ว ทํา
ชั่ว ถาพูดชั่วข้ึนเฉยๆ อาจเปนเพียงเคยปากหรือใชคําพูดไมถูก
เทานน้ั ไมใชเปน กรรม

คนจะทําอะไร ก็เริ่มจากความนึกคิดในใจ ที่เรียกวา
มโนกรรม ในทางพระพุทธศาสนาถือวามโนกรรมสําคัญท่ีสุด
พระพุทธเจาตรสั โดยทรงเปรียบเทียบกับลทั ธินคิ รนถ

ในลัทธินิครนถเขาเรียกกรรมวา ทัณฑะ ซึ่งแบงเปน ๓ คือ
กายทัณฑะ วจีทัณฑะ มโนทัณฑะ และถือวากายทัณฑะสําคัญ
ท่ีสุด เพราะลําพังคิดอยางเดียว ไมทําใหตายได แตถาเปนกาย
ทัณฑะ เอามีดมา ฟนคอ ก็ตายแนๆ หรือฉวยปนมายิง ก็ตาย แค
คดิ ไมตาย เพราะฉะนนั้ ลัทธนิ ิครนถถอื วา กายทัณฑะสําคญั ทีส่ ดุ

แตพระพุทธศาสนาถือวา มโนกรรมสําคัญที่สุด เพราะ
มโนกรรมเปนจุดเรมิ่ ตน เปน ตัวการใหญ เปนเจา ของแผนการ

บุคคลก็ดี สังคมก็ดี จะเปนไปอยางไร ก็ดําเนินไปตาม
มโนกรรมเปนใหญ มโนกรรมเปนตวั กําหนดวถิ ีหรือช้ีแนวทางใหแก
แนวคิด ความนิยม ความเช่ือถือ เปนตัวกํากับการ เชน คนๆ หน่ึง
มีความชอบในอะไร ใฝในอะไร ชีวิตของเขาก็จะดําเนินไปตาม
วิถีทางทีช่ อบที่ใฝน ั้น

๓. หลกั กรรมสาํ หรับคนสมยั ใหม ๑๐๕

สมมติวา เด็กคนหน่ึงเกิดชอบบวชพระ ชอบหมผาเหลือง
เห็นเณรแลวก็อยากเปนเณรบาง ความฝกใฝพอใจอันนี้ก็มาหลอ
หลอมทําใหเขาคิดที่จะบวช ตอมาเขาก็อาจจะบวชแลวก็อยูใน
พระศาสนาไป แตอีกคนหน่ึงจิตชอบใฝไปในทางท่ีอยากไดของ
ของคนอน่ื โดยไมตองทําอะไร ก็อาจจะไปลักขโมย วิถีชีวิตก็จะหัน
เหไปอีกแบบหนงึ่

นี้ก็คือเรื่องของมโนกรรม ท่ีมีผลบันดาลชีวิตทั้งชีวิตให
เปนไปตางๆ กัน ความนิยม ความชอบ แนวคิด ความเชื่อถือตางๆ
น้ี เปนเครื่องกําหนดชะตาและสรางชีวิตของคน กับท้ังวิถีของ
สังคม พระพุทธศาสนามองในข้ันลึกซ้ึงอยางน้ี จึงถือวามโนกรรม
สําคญั

สังคมมนุษยจะเปนไปอยางไร ก็เร่ิมมาจากมโนกรรม ไม
ตองสืบไปไกลถึงอารยธรรม เอาอยางงายๆ เชน ส่ิงท่ีปจจุบันนี้
ชอบเรียกวา “คานิยม” เมื่อสังคมมีคานิยมอยางไร ก็จะชักนํา
ลักษณะการดําเนนิ ชีวติ ของมนษุ ยใ นสงั คมนั้นใหเ ปนอยางนั้น

ยกตัวอยางเชน คนในสังคมหนึ่งถือวา ถาเรารักษา
ระเบียบวินัยเครงครัดได ก็เปนคนเกง ความเกงกลาสามารถอยูที่
การทําไดตามระเบียบแบบแผน ความนิยมความเกงในแงน้ี ก็
เรียกวาเปนคานิยมในการรกั ษาระเบียบวินยั

คนพวกที่มีคานิยมแบบน้ี ก็จะพยายามรักษาระเบียบวินัย
ใหเครงครดั จนอาจทําใหป ระเทศนน้ั สงั คมน้ัน มรี ะเบยี บวนิ ัยดี

สวนในอีกสังคมหน่ึง คนอาจจะมีคานิยมตรงขาม โดยมี
ความช่ืนชมวา ใครไมตองทําตามระเบียบได ใครฝนระเบียบได
ใครมอี ภิสทิ ธ์ิ ไมต องทาํ ตามกฎเกณฑได เปน คนเกง

๑๐๖ บุญ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกนั ไดทุกคน

ในสังคมแบบหลังนี้ คนก็จะไมมีระเบียบวินัย เพราะถือวา
ใครไมตองทําตามระเบยี บได คนนัน้ เกง

ขอใหลองคิดดูวา สังคมของเรา เปนสังคมแบบไหน มี
คา นิยมอยางไร

น้ีเปนตัวอยางที่แสดงใหเห็นวา ความใฝความชอบ อะไร
ตางๆ ท่ีอยูในจิตใจเปนตัวนํา เปนเคร่ืองกําหนดวิถีชีวิตของบุคคล
และเปนเครือ่ งช้ีนําชะตากรรมของสงั คม

สังคมใดมีคานิยมท่ีดีงาม เอ้ือตอการพัฒนา สังคมน้ันก็มี
ทางที่จะพัฒนาไปไดดี สังคมใดมีคานิยมต่ําทราม ขัดถวงการ
พัฒนา สังคมน้ันก็มีแนวโนมท่ีจะเสื่อมโทรม พัฒนาไดยาก จะ
ประสบปญ หาและอปุ สรรคในการพัฒนาอยา งมากมาย

ถาจะพัฒนาสังคมใหกาวหนา ถาตองการใหสังคมเจริญ
พัฒนาไปไดดี ก็จะตองแกคานิยมท่ีผิดพลาดใหได และตองสราง
คา นิยมที่ถูกตองใหเ กดิ ข้นึ ดว ย

เร่ืองคานิยมน้ีเปนตัวอยางเดนชัดอยางหน่ึงของมโนกรรม
มโนกรรมเปนสิ่งสําคัญมาก มีผลระยะยาว ลึกซึ้งและกวางไกล
ครอบคลุมไปหมด พระพุทธศาสนาถือวาคานิยมนี้เปนสิ่งสําคัญ
มาก และมองทีจ่ ิตใจเปน จดุ เริม่ ตน

เพราะฉะนน้ั ในการพจิ ารณาเร่ืองกรรม จะตองใหเขาใจถึง
หลักการของพระพุทธศาสนา ที่ถือวา มโนกรรมสําคัญที่สุด และ
ใหเ หน็ วา สําคญั อยางไร นี้คอื จดุ ท่หี น่ึง

๓. หลกั กรรมสาํ หรบั คนสมัยใหม ๑๐๗

จติ สาํ นึก-จติ ไรส ํานึก/ภวังคจติ -วถิ ีจติ

สืบเน่ืองจากเร่ืองมโนกรรมน้ัน ก็ทําใหตองมาศึกษาเรื่อง
จิตใหมากขึ้น จิตใจของคนเรานี้คิดนึกอะไรตางๆ สิ่งที่พูดและทําก็
เปนไปตามจิตใจ แตจิตใจเปนเร่ืองละเอียดซับซอน บางครั้งและ
ในเร่ืองบางอยาง เราบอกไมถูกดวยซ้ําวาตัวเราเองเปนอยางไร
บางทเี ราทําอะไรไปอยางหนงึ่ เราบอกไมถูกวา ทาํ ไมเราจงึ ทําอยาง
นนั้ เพราะวาจติ ใจมคี วามสลับซบั ซอนมาก

ตามหลักพุทธศาสนานั้น มีการแบงจิตเปน ๒ ระดับ คือ
จติ ระดับวิถี กบั จิตระดับภวังค (วิถีจิต กับ ภวังคจิต)

จิตระดับภวังค เปนจิตท่ีเปนองคแหงภพ เปนระดับที่เราไม
รูตัว เรียกไดวาไรสํานึก ภพจะเปนอยางไร ชีวิตแทๆ ที่กรรมออก
ผลจะเปนอยางไรน้ัน อยูท่ีภวังค แมแตจุติปฏิสนธิ ก็เปนภวังคจิต
ฉะน้ัน เราจะมาพิจารณาเฉพาะจิตในระดับที่เรารูสํานึกกันนี้ไมได
การพิจารณาเรื่องกรรมนี้ จะตองลึกลงไปถึงขั้นจิตตํ่ากวาหรือเลย
สาํ นึกไป อยางทีใ่ ชศพั ทว า ภวังค

ในจิตวิทยาสมัยนี้ ซึ่งมีหลายสาขา หลายสํานัก ก็มีกลุม
สําคัญท่ีเขาศึกษาเร่ืองจิตแบบนี้เหมือนกัน เขาแบงจิตเปน
จิตสํานกึ กบั จติ ไรส าํ นกึ

จิตสํานึก ก็คือจิตที่รูตัว ที่พูดสิ่งตางๆ ทําสิ่งตางๆ อยางที่
รูๆ กันอยู แตมีจิตอีกสวนหนึ่งเปนจิตไรสํานึก ไมรูตัว จิตที่ไรสํานึก
นีเ้ ปนจิตสวนใหญข องเรา

๑๐๘ บญุ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกนั ไดทกุ คน

เขาเทียบวา เหมือนภูเขาน้ําแข็งท่ีอยูในน้ํา น้ําแข็งสวนที่
อยูใตน้ํามีมากกวา และมากกวาเยอะแยะดวย สวนท่ีโผลมามีนิด
เดียว คือจิตสํานึกที่เรารูตัวกันอยู พูดจาทําอะไรกันอยูนี้ แตสวนที่
ไมรูสํานึก หรือไรสํานึกนั้น เหมือนกอนน้ําแข็งที่อยูใตพ้ืนนํ้า ซ่ึงมี
มากกวาเยอะแยะ เปนจติ สว นใหญข องเรา

การศึกษาเร่ืองจิตนั้น จะตองศึกษาไปถึงขั้นจิตไรสํานึก ท่ี
เปนจิตสวนใหญ มิฉะน้ันจะรูเร่ืองจิตนิดเดียวเทานั้น การพิจารณา
เรือ่ งกรรมกจ็ ะตองเขาไปใหถ ึงจุดนี้

ในเร่ืองจิตไรสํานึกน้ี มีแงท่ีเราควรรูอะไรบาง แงควรรูท่ี
หน่ึง คือท่ีบอกวา ส่ิงท่ีเราไดรับรูเขามาทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย
เหลา น้ี จติ จะบันทกึ เกบ็ ไวหมด ไมม ลี มื เลย

ตามที่เขาใจกัน ตามธรรมดานี้ สิ่งทั้งหลายท่ีไดประสบนั้น
เราลืมแทบทั้งหมด จําไดนิดเดียวเทาน้ัน น่ีเปนเรื่องของจิตสํานึก
แตตามความเปนจริง ความจําเหลาน้ันยังคงอยูในจิตไรสํานึก ส่ิง
ท่ีสบทราบคิดนึกทุกอยางต้ังแตเกิดมา มันจําไวหมด แลวถารูจัก
ฝกดๆี กด็ งึ เอามนั ออกมาไดด วย

นักจิตวิทยาบางสมัยสนใจเรื่องการสะกดจิตมาก เพราะ
เหตุผลหลายอยาง เหตุผลอยางหน่ึงก็คือ เมื่อสะกดจิตแลว
สามารถทําใหค นน้ันระลกึ เร่อื งราวเกา ๆ สมยั เดก็ เชนเมื่อ ๑ ขวบ ๒
ขวบ เอาออกมาได ซ่ึงแสดงวาประสบการณเหลาน้ันไมไดหายไป
ไหน ยังอยหู มด น้เี ปน แงท ี่หน่ึง

๓. หลกั กรรมสาํ หรับคนสมยั ใหม ๑๐๙

จิตไรสาํ นกึ : จดุ เรมิ่ แหงการใหผลของกรรม

ท่ีวามานี้มีความหมายอยางไรเกี่ยวกับกรรม ความหมายก็
คือ มันแสดงวา สิ่งที่เราทําไวทั้งหมด สิ่งท่ีเราคิด เรานึก ทุกอยาง
ไมไดหายไปไหนเลย ยังคงอยูในจิตใจของเราท้ังหมด เพียงแตเรา
ไมร ตู วั และระลึกออกมาโดยจติ สํานึกไมไ ดเ ทา นน้ั

เราสามารถเอาวิชาการสมยั ใหมท ีเ่ ขาศึกษา วจิ ัย วิเคราะห
กันทีหลังน้ี มาประกอบการศึกษาเร่ืองกรรมไดดวย ทําใหเห็นวา
วิธีการสมัยใหมในยุคหลังนี้ ก็เปนเครื่องชวยย้ําสนับสนุนใหคน
ปจ จบุ ันเขา ใจหลกั ความจริงของจิตท่ีทานสอนไววาเปน อยางไร

ก. จติ สะสมประสบการณ์ทกุ อยา่ ง และปรงุ แตง่ ชีวิตเรา

ส่ิงท่ีเปนประสบการณของมนุษยนี้ จิตเราไมไดลืมเลย
และก็เปน อันวา จิตส่ังสมไวทุกอยาง เมื่อส่ังสมแลว ก็ไมไดส่ังสมไว
เฉยๆ มันมีผลตอตัวเราทั้งหมดดวย โดยท่ีเราไมรูตัว สภาพจิตสวน
ที่ปรุงแตงชีวติ ของเรานี้ สวนมากเปนจิตท่ีไมรตู ัว

ตัวอยางงายๆ ถาเรามีจิตโกรธบอยๆ เปนคนฉุนเฉียว พบ
อะไรขัดใจนิด ก็เกิดโทสะ และแสดงความเกร้ียวกราดออกมาให
จิตกําเริบอยูเสมอ ตอไป ถาสั่งสมสภาพจิตอยางนี้อยูเร่ือยๆ ก็จะ
กลายเปนนิสัย ทําใหเปนคนมักโกรธ ความโกรธงายจะเปน
ลักษณะจิตใจ เปน นิสยั

ตอมา สภาพจิตก็แสดงออกทางหนาตา หนาน่ิวคิ้วขมวด
อยูเสมอ กลายเปนสิ่งท่ีเราเรียกวาบุคลิกภาพ และออกมามีผลทั้ง
ตอและจากผูอ่ืน คนที่พบเห็น ก็ไมอยากคบ ไมอยากพูดจาดวย
เขาอยากจะหลีกเล่ียง กลัวจะเกิดเรื่อง อะไรทํานองนี้ แลวก็
กลบั มามีผลตอชวี ติ ของตนเอง

๑๑๐ บุญ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกันไดทุกคน

รวมความวา เรือ่ งก็ดําเนนิ ไปในลักษณะท่วี า จากความคิด
จติ ใจ ก็ออกมาเปน ลักษณะนิสัย เปนบุคลิกภาพ แลวก็เปนวิถีชีวิต
ของคนน้ัน และความมีนิสัยอยางน้ี หรือมีความโนมเอียงอยางนี้ ก็
ชักจูงตัวเขาเอง ชวนใหไปพบกับประสบการณตางๆ และ
สถานการณที่ทําใหเ กดิ เรอ่ื งอยางน้นั ๆ ขึน้ มา

สวนในทางตรงขาม คนที่มีจิตเมตตา ย้ิมแยมแจมใส คิด
นึกเรื่องดีๆ เสมอ เวลาพบอะไร จิตใจก็มองไปในแงดี สบายใจ ย้ิม
แยมแจมใส ตอมา หนาก็เปนหนาตาท่ีย้ิมแยม เปนคนมีเสนห
นารัก นาชม ชวนใหคบหา แลวท้ังหมดนั้น ก็ออกมาเปนผลตอวิถี
ชีวิตของเขาตอไปดวย นก่ี เ็ ปนเร่อื งของการสั่งสม

ข. จติ ส่วนใหญ่และขุมพลงั แท้ อยู่ท่ีจิตไร้สํานึก

แงตอไปคือ เมื่อจิตไรสํานึกนี้เปนสวนใหญ ก็เปนสวนที่มี
กําลังมาก จิตของเราน้ี เราเอามาใชงานนิดหนอยเทานั้น ความ
จริง มนั มพี ลงั มากมายทีเ่ ราไมรูตัว และยงั ไมรจู กั ดึงเอามาใช

เราจะเห็นไดวา จิตมีกําลังขนาดไหน ในเม่ือมีเหตุการณท่ี
บังคับตัวไมได เชน เวลาเกิดไฟไหมขึ้น บางคนยกตุมน้ําได หรือวิ่ง
หนีดวยความตกใจ มาถึงรั้วแหงหน่ึงซ่ึงสูง ปรกติแลวกระโดดขาม
ไมไ ด แตด วยความกลัวหนีภัยมาน้ัน สามารถกระโจนขามไปได

เรื่องอยางน้ีเราไดยินกันบอยๆ แสดงใหเห็นวา ที่จริงจิต
ของเรานั้นมีความสามารถอะไรบางอยางอยูขางใน แตตามปกติ
เราไมรจู กั ใชม ัน มนั ก็เลยไมเปนประโยชน

๓. หลกั กรรมสาํ หรบั คนสมัยใหม ๑๑๑

ความสามารถน้ีอยูท่ีไหน ก็อยูที่จิตไรสํานึกนั้น ตอนตกใจ
หนีภัยก็ดี ตอนที่ไฟไหมแบกตุมนํ้าหรือของหนักไปไดก็ดี เวลานั้น
เราคมุ สติไมอยู จิตสํานึกของเราไมทํางาน แตถูกจิตไรสํานึกกํากับ
การออกมาแสดงบทบาท ทําใหท ําอะไรไดแ ปลกๆ พเิ ศษออกไป

อยางในเวลาสะกดจิต ทําใหเอาเข็มแทงไมเจ็บ ตลอดจน
สามารถสะกดจิตแลว ผา ตดั บางอยา งได ไมร ูสกึ เจ็บปวดอะไรเลย

นเี้ ปน เร่ืองของจติ ใจ ซึ่งมีสวนท่ีเราไมรูอีกมาก นักจิตวิทยา
ก็มาศึกษากัน นักจิตวิเคราะหคนสําคัญ ช่ือซิกมุนด ฟรอยด
(Sigmund Freud) ไดศกึ ษาเร่อื งจติ สาํ นึกและจิตไรส าํ นกึ น้มี าก

ที่วาจิตเปนตัวปรุงแตงสรางสรรคนั้น จิตสํานึกคิดปรุงแตง
เบ้ืองตนเทาน้ัน ตัวปรุงแตงสรางสรรคแทจริง ที่สรางผลออกมาแก
ชีวิตสวนใหญ เปนนิสัย เปนบุคลิกภาพ ตลอดจนเปนชะตากรรม
ของชีวิตน้ัน อยูท่ีจิตไรสํานึกท่ีเราไมรูตัว ซึ่งทํางานของมันอยู
ตลอดเวลา

จะขอชักตัวอยางหนึ่งมาแสดงใหเห็นเก่ียวกับเร่ืองกรรม
ซ่ึงอาจจะชวยใหเห็นทางเปนไปไดมากขึ้น วาวิธีการศึกษาแบบ
สมัยใหมจะมาสนบั สนนุ การอธิบายเรือ่ งกรรมอยางไร

ซิกมุนด ฟรอยด เลาถึงกรณีหนึ่งวา เด็กผูหญิงอายุ ๑๗ ป
ชอบออกไปเท่ยี วนอกบา นกบั ผชู ายคนหนึง่ พอไมพอใจมาก

วันหน่ึงก็ทะเลาะกับพอ พอโกรธมาก ก็ทุบหนาเด็กหญิง
คนนี้ เด็กคนน้ีเจ็บ ก็โกรธมาก อารมณวูบข้ึนมา ก็เงื้อแขนขวา
ขึ้นมาจะทุบพอบาง พอเง้ือขึ้นไปแลวจะทุบลงมา ก็ชะงักเง้ือคาง
นึกขึ้นไดวานี่เปนพอของเรา เราไมควรจะทําราย ก็ย้ังไวได แตก็ยัง
ถือวาตวั ทาํ ถูก ไมเ ชอื่ ฟง พอ แม พอกโ็ กรธ ไมย อมพดู ดวย

๑๑๒ บญุ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกันไดทกุ คน

ตอมาเชาวันหนึ่ง อยูดีๆ เด็กคนน้ียกแขนขวาไมข้ึน แขนที่
จะใชตีพอนั้น ขยับเขยื้อนไมไดเลย เรียกวา ใชไมได เหมือนเปน
อัมพาต หมอทางกายตรวจดูแลว ก็ไมเห็นมีอะไรผิดปกติเลย แขน
ก็แข็งแรง เสนเอน็ ประสาทอะไรก็ไมบ กพรองเสยี หาย

(ลองนกึ ถึงคนทไ่ี ปฟงผลสอบ พอรูวาสอบตกก็เขาออน ยืนไมอยู
ทงั้ ที่รา งกายกาํ ยําล่าํ สัน หรือคนที่ไดยินศาลตัดสินประหารชีวติ ฯลฯ)

เรอ่ื งนี้ ถา เราอธิบายแบบหกั ขาไกแลวตอมาตัวเองขาหัก ก็
เรียกวาเปนกรรมสนองแลว แตในกรณีน้ี เขาเอาเรื่องจริงมาศึกษา
วิเคราะหในเชิงวิทยาศาสตร และพยายามอธิบายตามแบบนักจิต
วิเคราะห ศึกษาไปไดความแลว เขาก็อธิบายวา จิตไรสํานึกของ
เด็กคนน้ีแสดงตัวออกมาทํางาน ในเวลาที่จิตไรสํานึกทํางานแลว
จติ สาํ นึกสไู มไ ด ตอ งอยูใตอํานาจของมนั

จิตไรสํานึกทํางานเพราะอะไร ดวยเหตุผลอะไร เหตุผลคือ
ความรูสึกขัดแยงเกิดข้ึน เด็กนั้นรูวาการตีพอนี้ไมดี ถึงแมวาเขาจะ
ไมไดทุบตีจริง แตเขาก็เงื้อแขนข้ึนกําลังจะทําอาการน้ันแลว
อยางไรก็ตาม เขาก็ไมอาจยอมรับผิดได เพราะเขาถือวาเรื่องท่ีเขา
ทะเลาะกับพอน้ันเขาไมผิด จิตสํานึกแกปญหาใหเขาไมได
ความรูส ึกขดั แยง กห็ นกั หนวงทว มทบั ฝง ลึกลงไป

ในทสี่ ดุ ทเี่ ขาเกิดอาการแขนขยับเขย้อื นไมไ ดนัน้ เปน ดวย

๑. จิตไรสํานึกตองการขอความเห็นใจจากพอ ดวยอาการ
ท่ีเขาขยับเขยื้อนแขนไมได เขาเกิดไมสบาย มีอาการผิดปกติไป
แลว มันจะชวยใหพอเห็นใจเขาได เหมือนกับยกโทษใหโดยออม
โดยไมตองพูดขอโทษ (และก็ไมตองบอกวายกโทษ) แตท่ีแสดง
ออกมาอยางนี้ จิตสํานึกไมร ูตวั จิตไรสํานกึ เปนผทู ํางาน และ

๓. หลกั กรรมสาํ หรบั คนสมัยใหม ๑๑๓

๒. เปนการชดเชยความรูสึกที่วาไดทําผิด เหมือนวาไดมี
การลงโทษตัวเองเสร็จไปแลว เพราะความคิดขางนอกถือวาตัวทํา
ถูก ไมยอมขอโทษพอ ยังไปคบผูชาย ยังออกไปนอกบานตามเดิม
แตจิตขางในสวนหนึ่งรูสึกวาที่ไดทะเลาะกับพอ แสดงกับพออยาง
นน้ั เปนความผดิ

ความรสู ึกขัดแยงนี้ ลงลึกไปอยูในจิตไรสํานึก แลวก็ชดเชย
ออกมา โดยแสดงอาการใหเห็นวามันไดถูกลงโทษแลว เปนอันวา
ฉนั ไดชดใชค วามผิดนัน้ แลว จะไดพนความรสู ึกขดั แยงนีไ้ ปได

ดวยเหตุผลที่กลาวมาน้ี เด็กน้ันก็เลยขยับเขยื้อนแขนไมได
ทั้งๆ ท่ีไมมีโรคหรือความผิดปรกติทางรางกายเลยสักนิดเดียว
แพทยค น หาเหตแุ ลวไมพ บ

ปจจุบันก็มีอยางนี้บอยๆ คนท่ีเปนโรคทางกาย มีอาการ
ปวดศีรษะ ฯลฯ หาสาเหตุไมพบ จิตแพทยตองคนหาเหตุทางจิตใจ
นี้ก็เปนตัวอยางหนึ่ง ซึ่งถามองเผินๆ หรือมองชวงยาวขามข้ันตอน
กพ็ ดู ถงึ เหตุ-ผลแควา จะตพี อ ตอ มาแขนท่จี ะตพี อ กเ็ สีย ใชไมได

ค. จิตทาํ งานตลอดเวลา และนาํ พาชีวิตไป

รวมความวา จิตไร้สํานึกของเราทํางานอยู่เสมอ สิ่งที่เกิดขึ้น
ในจิตใจแลวมันไมลืม ถาไดทําความช่ัวอะไรสักอยาง จิตก็ไป
พวั พนั แลวปรุงแตงอยูขางใน เชนชักพาใหจิตโนมเอียงไปหาสภาพ
อยา งนนั้ อยูเร่อื ย หรอื ปรุงแตงความคดิ วนเวียนอยกู บั เรอ่ื งแบบนัน้

สมมติวาไปหักขาไกไว จิตก็สะสมความรูสึกและภาพน้ีไว
ในจิตไรสํานึก แลวมันก็ปรุงแตงของมันวนเวียนอยูน่ันเอง ออกไป
ไมไ ด จิตครุน คิดแตเ รื่องขาหักๆๆ

๑๑๔ บุญ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกนั ไดทุกคน

แ ล ว จิ ต ไ ร สํ า นึ ก น้ั น ก็ ค อ ย โ อ ก า ส ชั ก พ า ตั ว เ อ ง ไ ป ห า
เหตุการณที่จะนําไปสูการท่ีตัวเองจะตองขาหัก หรือตอไประยะยาว
เมื่อไปเกิดใหม มันกเ็ ลยปรุงแตงขาตัวเองใหพิการไปเลย เปนตน

น้ีเปนการอธิบายรวบรัดใหเห็นทางเปนไปไดตางๆ ซึ่งทาง
จิตวิทยาสมัยใหมก็เห็นวามีความสัมพันธกันอยู แตผลที่สุดก็เปน
เรื่องเหตุปจ จยั ในกระบวนการของจติ เปนเรือ่ งของกรรมนีเ้ อง

นี้เปนเพียงตัวอยา งใหเ ห็นอยางผิวเผิน ขณะที่เรื่องจิตนี้เรา
ยังจะตองศึกษาใหละเอียดย่ิงขึ้นไป ไมควรผลีผลามเอาความคิด
เหตุผลอยางงายๆ ของตน ไปตัดสินเหตุผลที่อยูในวิสัยอีกระดับ
หนึ่งท่ีเลยข้นึ ไป หรือสรปุ เร่อื งทส่ี ลบั ซับซอนลงไปอยางงา ยๆ

พรอมกันนั้นก็ใหเห็นอีกอยางหน่ึงวา วิชาการสมัยใหม
บางอยาง อาจมาชวยอธิบายสนับสนุนใหคนสมัยน้ีเขาใจคําสอนของ
พระพุทธเจาไดเปนอยางดี และเด๋ียวนี้นักจิตวิทยาสมัยใหมอยางนัก
จิตวิเคราะหหลายคน ก็มาเลื่อมใสในหลักธรรมของพระพุทธศาสนา
แลวเอาไปใชใ นการศกึ ษาเรอื่ งจิตใจและแกปญ หาโรคจิต

เทาที่พูดแทรกเขามาในตอนน้ี ก็เปนเรื่องเก่ียวกับจิตของ
คน หลักกรรมหรือกฎแหงกรรมก็ทํางานสัมพันธกับจิตใจนั่นเอง
คือสัมพันธกับจิตตนิยาม จิตตนิยาม กับกรรมนิยาม ตองไป
ดว ยกนั ตอ งอาศยั ซง่ึ กันและกนั

ในที่นี้เปนเพียงตองการชี้ใหเห็นวา สิ่งที่เราคิดวาเปน
อํานาจเรนลับมหัศจรรยนั้น ก็เปนเรื่องธรรมดานี่เอง ซึ่งเปนไป
ตามเหตุปจจัย มีความสัมพันธสืบเน่ืองโยงกันอยูใหเห็นได เปนแต
วาตอนน้ีเรายังไมมีความสามารถท่ีจะเแยกแยะเหตุปจจัยนั้น
ออกมาใหเหน็ ชัดเจนเทานนั้ เอง

๓. หลักกรรมสาํ หรับคนสมัยใหม ๑๑๕

เมื่อพูดถึงความเปนไปไดอยางนี้ พอใหเห็นแนวทางแลว
ถาทานสนใจกอ็ าจจะศกึ ษาตอ ไป เปน เรือ่ งของการคน ควา

เราอาจจะโยงหลักอภิธรรม เรื่องของจิต ท้ังเร่ืองวิถีจิตและ
ภวังคจิต กับเรื่องจิตสํานึก และจิตไรสํานึก ของจิตวิทยาสมัยใหม
เอามาเทียบเคียงกัน อันไหนเสริมกัน ก็จะไดนํามาชวย
ประกอบการอธิบายแกคนยุคนี้ใหด ียง่ิ ข้ึนไป ขอผานเรื่องน้ีไปกอน

การใหผ ลของกรรมระดบั ภายนอก: สมบตั ิ ๔ - วบิ ัติ ๔

แงตอไป เก่ียวกับการไดรับผลกรรมอีกระดับหนึ่ง อยางท่ี
เราพูดอยูเสมอวา ทําดีไดดี ทําช่ัวไดชั่ว และมีผูชอบแยงวา ทําดีไม
เห็นไดดีเลย ฉันทําดี แตไดชั่ว ไอคนนั้นทําชั่ว มันกลับไดดี น้ีก็เปน
อีกระดบั หน่งึ ท่นี า สนใจ ซึง่ ก็ตองมแี งม ีแนวในการท่จี ะอธบิ าย

เบื้องแรก ตองแยกการใหผลของกรรมออกเปน ๒ ระดบั
ก) ระดับทเ่ี ปนผลกรรมแทๆ หรอื เปนวบิ าก กบั
ข) ระดับผลขา งเคียงทีไ่ ดร ับภายนอก
ยกตัวอยางเปนอุปมาจึงจะพอมองเห็นชัด เชน คนหน่ึง
บอกวา ผมขยันทาํ งาน แตไ มเห็นรวยเลย แลวก็บอกวาทําดีไมไดดี
ในทน่ี ี้ ขยัน คอื ทําดี และ รวย คอื ไดด ี
ทําดี คือ ขยัน ก็ตองไดดี คือ รวย ปญหาอยูที่วารวยน้ัน
เปนการไดด ี จริงหรือเปลา
ถา จะใหชัด ก็ตอ งหาตวั อยางทเ่ี ปนรปู ธรรมยิง่ ขึ้น เชน นาย
ก. ขยันปลูกมะมวง ตั้งใจพยายามหาวิธีปลูกอยางดี จนไดผลวา
มะมวงงอกงามจริงๆ นาย ก. มีมะมวงเต็มสวน แตเขาขายมะมวง
ไมไ ด มะมว งเสยี เปลา มากมาย นาย ก. ไมไดเงนิ นาย ก. ไมรวย

๑๑๖ บญุ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกันไดทกุ คน

นาย ก. บน วา ผมขยันปลกู มะมวง=ทาํ ดี แตผมไมไ ดด ี=ไมร วย

ปญหาที่เกิดขึ้น คือ นาย ก. ลําดับเหตุและผลไมถูก แยก
ขั้นตอนของการไดรับผลไมถูกตอง นาย ก. ทําเหตุ คือขยันปลูก
มะมวง ก็จะตองไดรับผล คือไดมะมวง มะมวงก็งอกงาม มีผลดก
บรบิ ูรณ นผ่ี ลตรงกับเหตุ ปลูกมะมว งไดมะมวง ขยันปลูกมะมวง ก็
ไดมะมวงมากมาย แตน าย ก. บอกวา ไมไ ดเงนิ ไมร วยคอื ไมไ ดเ งิน

ปลูกมะมวงแลวไมไดเงิน น่ีไมถูกแลว ปลูกมะมวงแลวจะ
ไดเงินไดอยางไร ปลูกมะมวง ก็ตองไดมะมวง นี่แสดงวา นาย ก.
ลําดับเหตผุ ลผดิ เหตผุ ลทถ่ี กู คือปลูกมะมวงแลวไดมะมวง แตปลูก
มะมวงแลวรวย หรอื ปลกู มะมวงแลว ไดเงนิ นี้ ยงั ตอ งดูขนั้ ตอไป

ถาปลูกมะมวงแลว ไดมะมวงมากมาย มะมวงลนตลาด
คนปลูกทั่วประเทศ เลยขายไมออก ก็เสียเปลา เปนอันวาไมไดเงิน
ฉะน้นั กไ็ มรวย อาจจะขาดทนุ ยบุ ยบั กไ็ ด เราตอ งแยกเหตุผลใหถกู

เปนอันวา อยามาเถียงกฎแหงกรรมเลย ไปศึกษาพัฒนา
ปญญาของคุณเองน่ันแหละ กฎไมผิดหรอก คุณปลูกมะมวงก็ได
มะมวง สวนจะไดเงินหรือไม ตองอยูที่เหตุปจจัยอื่น ซึ่งเปนลําดับ
เหตุและผลอกี ชว งตอนหน่ึง ท่ีจะตอ งแยกแยะวินิจฉัยตอ ไปอีก

เหตุและผลชวงตอไปก็เชนวา คุณขายเปนไหม รูจักตลาด
ไหม ตลาดตอนนี้มีความตองการมะมวงไหม ตองการมากไหม
ราคาดไี หม ถา ตอนนค้ี นตองการมะมวงมาก ราคาดี จัดการขายได
เกง คุณกไ็ ดเงินมากจากการขายมะมวง กร็ วย นี่เปนอีกตอนหนงึ่

คนเราทัว่ ไปมกั จะเปนอยาง นาย ก. นี้ คือมองขามขั้นตอน
ของเหตผุ ล จะเอาปลกู มะมว งแลว รวย จงึ ยุง เพราะตัวเองคิดผดิ

๓. หลกั กรรมสาํ หรบั คนสมยั ใหม ๑๑๗

ในเร่ืองนี้จะตองแบง ลําดับเรือ่ งเปน ๒ ขั้น
ขัน้ ท่ี ๑ ดังวา แลว ปลกู มะมว งไดมะมว ง เม่อื ไดมะมว งแลว
ขน้ั ที่ ๒ ทําอยา งไรกบั มะมว ง จึงจะไดเ งนิ จึงจะรวย
เราตองคิดใหต ลอดท้ัง ๒ ตอน

ตอนที่ ๑ ถูกตองตามเหตุปจจัยแนนอนแลว คือปลูก
มะมวง ไดมะมวง หลักกรรมก็เหมือนกัน หลักกรรมในขั้นที่ ๑ คือ
ปลูกมะมวง ไดมะมวง เหตุดี ผลก็ดี เม่ือทานปลูกเมตตาขึ้นในใจ
ทานก็มีเมตตา มีความแชมชื่น จิตใจสบาย ยิ้มแยมผองใส มี
ความสุขใจ แตจะไดผ ลอะไรตอ ไป เปนอีกข้นั ตอนหน่ึง

สําหรับ ตอนที่ ๒ ทานใหขอพิจารณาไวอีกหลักหนึ่ง ดังที่
ในอภิธรรมบอกไววา การที่กรรมจะใหผลตอไป จะตองพิจารณา
เร่ืองสมบัติ ๔ และวิบัติ ๔ ประกอบดวย คือ ตอนไดมะมวงแลวจะ
รวยหรอื ไม ตอ งเอาหลกั สมบัติ ๔ วบิ ัติ ๔ มาพิจารณา

สมบัติ คือองคประกอบท่ีอํานวยชวยเสริมกรรมดี มี ๔
อยา ง คือ

๑. คติ คือ ถ่นิ ที่ เทศะ ทางไป ทางดําเนนิ ชีวติ
๒. อุปธิ คือ รางกาย
๓. กาล คอื กาลเวลา ยคุ สมยั
๔. ปโยค คอื การประกอบ หรอื การลงมอื ทาํ

น้ีเปนความหมายตามศัพท ฝายตรงขาม คือ วิบัติ ก็มี ๔
เหมือนกัน คือ ถา คติ อุปธิ กาล ปโยค ดี ชวยเสริม ก็เรียกวาเปน
สมบัติ ถาไมดี กลายเปนจุดออน เปนขอดอย หรือบกพรอง ก็
เรียกวา เปนวิบตั ิ

๑๑๘ บญุ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกนั ไดทกุ คน

ลองมาดวู า หลกั ๔ นมี้ ีผลอยางไร
สมมติวา คุณ ก. กับ คุณ ข. มีวิชาดีเทากัน ขยัน นิสัยดีท้ัง
คู แตเขาตองการรับคนทํางานที่เปนพนักงานตอนรับ อยางที่
ปจ จบุ ันเรียก receptionist ทาํ หนา ทีร่ บั แขก หรอื ปฏสิ ันถาร
คุณ ก. ขยัน มีนิสัยดี ทําหนาท่ีรับผิดชอบดี แตหนาตาไม
สวย คุณ ข. ก็ขยัน มีนิสัยดี มีความรับผิดชอบดี และหนาตา
สวยงาม เขากเ็ ลือกเอาคุณ ข.
แลวคุณ ก. จะบอกวา ฉันขยันอุตสาหทําดี ไมเห็นไดดีเลย
เขาไมเลอื กไปทาํ งาน นก่ี เ็ พราะตวั เองมีอปุ ธวิ บิ ัติ เสยี ดา นรางกาย
อีกกรณีหน่ึง คน ๒ คน ตางก็มีความขยันหม่ันเพียร มี
ความดี แตคนหน่ึงรางกายไมแข็งแรง เปนโรคออดๆ แอดๆ เวลา
เลือก คนขโี้ รคก็ไมไ ดร บั เลือก นี้กเ็ รยี กวา อุปธิวิบตั ิ
ในเร่ือง คติ คือ ท่ีไปเกิด ถ่ินฐาน ทางดําเนินชีวิต ถาจะ
อธิบายแบบชวงยาวขามภพขามชาติ ก็เชนวา คนหน่ึงทํากรรมมา
ดีมากๆ เปน คนที่สง่ั สมบญุ มาตลอด แตพลาดนิดเดียว ไปทํากรรม
ชั่วนิดหนอย แลวเวลาจะตาย จิตไปประหวัดถึงกรรมช่ัวนั้น
กลายเปน อาสันนกรรม ทําใหไปเกดิ ในนรก
พอดีชว งนนั้ พระพทุ ธเจามาอบุ ัติ ทงั้ ท่ีแกสั่งสมบุญมาเยอะ
ถาไดฟงพระองคตรัส แกมีโอกาสมากท่ีจะบรรลุธรรมขั้นสูงได แต
แกไปเกิดอยใู นภพที่ไมม โี อกาสเลย กจ็ งึ พลาด นี่เรยี กวา คติวิบัติ
ทีนี้ดูงายๆ สมมติวาเราเกิดมามีปญญาดี แตไปเกิดในดงคน
ปา แทนที่จะเปนนักวิทยาศาสตรเลิศล้ําอยางไอนสไตน ก็ไมไดเปน
อาจจะมีปญญาดีกวาไอนสไตนอีก แตเพราะไปเกิดในดงคนปา จึงไมมี
โอกาสพฒั นาปญญานั้น นีค่ ือคตเิ สยี กไ็ มไดผ ลน้ี เปน คติวิบตั ิ

๓. หลกั กรรมสาํ หรบั คนสมยั ใหม ๑๑๙

ขอตอไป กาลวิบัติ เชน ทานอาจจะเปนคนเกงในวิชาการ
บางอยาง ศิลปะบางอยาง แตทานมาเจริญเติบโตอยูในสมัยที่เขา
เกิดสงครามกันวุนวาย และในระยะท่ีเกิดสงครามนี้เขาไมตองการ
ใชวิชาการหรือศิลปะดานนั้น เขาตองการคนท่ีรบเกง มีกําลังกาย
แขง็ แรง กลาหาญ เกงกาจ และมีวิชาทตี่ อ งใชในการทําสงคราม

เปน อนั วา วิชาการและศิลปะท่ีทานเกง เขาไมเอามาพูดถึง
เขาพูดถงึ แตคนทร่ี บเกง สามารถทําลายศัตรูไดม าก ทานก็ไมไดรับ
การยกยอ งเชิดชู เปน ตน น่ีเรียกวาเปนกาลวบิ ัติ สําหรบั ตวั ทา น

ขอสุดทายคือ ปโยควิบัติ มีตัวอยางเชน ทานเปนคนว่ิงเร็ว
ถาเอาการว่ิงมาใชในการแขงขันกีฬา ทานก็อาจมีชื่อเสียง เปนผู
ชนะเลศิ ในทมี ชาติ หรอื ระดับโลก แตทา นไมเ อาความเกงในการว่ิง
มาใชในทางดี ทานเอาไปวิ่งราว ลักของเขา ก็เลยไดรับผลราย ถูก
จับขงั คุก หรอื เสยี คนไปเลย นเี้ ปน ปโยควบิ ตั ิ

วาท่ีจริง ถาไมมุงถึงผลภายนอกหรือผลขางเคียงสืบเน่ือง
การเปนคนดี มคี วามสามารถ การเปน คนปาที่มีสติปญญาดี การมี
ศิลปวิทยาท่ชี ํานาญ ตลอดจนการว่ิงไดเรว็ ก็มีผลดีโดยตรงของมัน
อยแู ลว และผลดีอยางน้ัน มีอยใู นตวั ในทนั ทตี ลอดเวลา

แตในการท่ีจะไดรับผลตอเน่ืองอีกข้ันหน่ึงน้ัน เราจะตอง
เอาหลักสมบัติ-วบิ ัติเขา ไปเกีย่ วขอ ง เอาไปใช หรือเอามาพจิ ารณา

เหมือนปลูกมะมวงเม่ือกี้น้ี ผลที่แนนอน คือ ทานปลูก
มะมวง ทานก็ไดมะมวง นี้ตรงกัน เปนระดับผลกรรมแทๆ ขั้นตน
สวนในขั้นตอมา ถาตองการใหปลูกมะมวงแลวรวยดวย ทาน
จะตองรูจักทําใหถูกตองตามหลักสมบัติ-วบิ ัติเหลา นด้ี วย

๑๒๐ บญุ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกนั ไดทุกคน

ขั้นสมบัติ-วิบัติน้ันก็เชน ตองรูจักกาละ เปนตนวา ตอนน้ี
คนตอ งการมะมวงมากไหม ตลาดตอ งการมะมว งไหม มะมวงพันธุ
อะไรท่ีคนกําลังตองการ สภาพตลาดเปนอยางไร มีมะมวงลน
ตลาดเกินความตองการไหม จะประหยัดตนทุนในการปลูกและสง
ใหถึงตลาดไดอยางไร เราควรจะจัดดําเนินการในเรื่องเหลาน้ีให
ถูกตองดว ย ไมใชคิดแตเพียงวา ฉันขยันหม่ันเพียรแลวก็ทําไป เลย
ไดค วามโงมาเปนปจจยั ใหไ ดร บั ผลของอกุศลกรรม

เปนอันวา ตองเอาเรื่อง สมบัติ-วิบัติ ๔ น้ีเขามาพิจารณา
ประกอบ วา ทําเลท่ีแหลงน้ีเปนอยางไร กาลสมัยนี้เปนอยางไร การ
ประกอบการของเรา เชนการจัดการขายสงตางๆ นี้ เราทําได
ถูกตองดีไหม ถาเราปลูกมะมวงไดมะมวงดีแลว แตเราปลูกไมถูก
กาลสมัย เราไมรูจักประกอบการใหถูกตอง อยางนอยก็มีกาลวิบัติ
และ ปโยควิบัติข้ึนมา เราก็ขายไมออก เลยตองขาดทุน ถึงขยัน
ปลูกมะมว ง กไ็ มรวย (อาจจะจนหนักลงไปอกี )

การปฏบิ ัติท่ถี กู ตองในการทํากรรม

เปนอันวา ถาชาวพุทธเราฉลาดรอบคอบในการทํากรรม ก็
จะตองทาํ ใหถกู ท้ัง ๒ ชัน้

ชั้นท่ี ๑ ตัวกรรมน้ัน ตองเปนกรรมดี ไมใชกรรมช่ัว แลว
ผลดีข้ันที่ ๑ ก็เกิดขึ้น จิตใจของเราก็ไดรับผลดีท่ีเปนความสุข เปน
ตน ตลอดจนผลดีท่ีออกมาทางวิถีชีวิตทั่วๆ ไป เชน ความ
เจรญิ กาวหนา ความนิยมนบั ถอื เรยี กวามดี เี ขามาในตัวอยแู ลว

แตในช้ันที่ ๒ เราจะใหการงานกิจการของเราไดผลดีมากดี
นอ ย เราจะตองพจิ ารณาเรอื่ งคติ อปุ ธิ กาล ปโยค เขามาประกอบ

๓. หลกั กรรมสาํ หรับคนสมยั ใหม ๑๒๑

ตอ งพจิ ารณา ๒ ช้นั ไมใ ชค ิดจะทาํ ดี กท็ าํ ดีดมุ ๆ ไป

อยางไรก็ตาม คนบางคนอาจจะเอาเร่ือง คติ อุปธิ กาล ปโยค
เขามาใชโดยวิธีฉวยโอกาส เชน กาลสมบัติ ก็ฉวยโอกาสวา กาลสมัย
นี้ คนกําลังตองการส่ิงน้ี ฉันก็ทําส่ิงที่เขาตองการ โดยจะดีหรือไมก็
ชางมัน ใหไดผลท่ีตองการก็แลวกัน น้ีเรียกวา มุงแตผลช้ันที่ ๒ แต
ผลชัน้ ที่ ๑ ไมคาํ นึง กเ็ ปน สิง่ ทเี่ สยี หายและเปน ขอ ดอ ยในทางกรรม

ฉะนั้น ในฐานะท่ีเปนชาวพุทธ จะตองมองผลชั้นที่ ๑ กอน
คือจะทาํ อะไร ก็หลกี เลยี่ งกรรมชั่ว และทํากรรมดีไวกอ น

เม่ือไดพ้ืนฐานดีน้ีแลว ก็คํานึงถึงชั้นท่ี ๒ เปนผลสืบเนื่อง
ภายนอก ซึ่งขึ้นตอ คติ อุปธิ กาล ปโยคดวย ก็จะทําใหงานของตน
ไดผ ลดีโดยสมบรู ณ

เปนอันวา ในการสอนเรื่องกรรมตอนน้ีมี ๒ ช้ัน คือ ตัว
กรรมท่ดี ที ่ีช่วั เอง และองคประกอบเรื่องคติ อปุ ธิ กาล ปโยค

ถาตองการผลภายนอกเขามาเสริม เราจะตองใหชาวพุทธ
รูจ ักพจิ ารณา และมีความฉลาดในเร่ือง คติ อปุ ธิ กาล ปโยคดว ย

สมมติวาคน ๒ คน ทํางานอยางเดียวกัน โดยมีคุณสมบัติ
เหมือนกัน ดีทั้งคู แตถารางกายคนหนึ่งดี อีกคนหน่ึงไมดี คนที่
รา งกายไมดี กเ็ สยี เปรียบ และตองยอมรับวาตัวเองมีอุปธวิ ิบัติ

เมื่อรูอยางนี้แลว ก็ตองแกไขปรับปรุงตัว ถาแกท่ีรางกาย
ไมได ก็ตองเพิ่มพูนคุณสมบัติท่ีดีใหดีย่ิงข้ึน เม่ือดีย่ิงขึ้นแลว คนที่
รางกายไมดี แตมีคุณสมบัติอื่น เชน ชํานิชํานาญงานกวามากมาย
หรือมีความสามารถพิเศษ จนกระท่ังชดเชยคุณสมบัติในดาน
รางกายดีของอีกคนหนึ่งไปได แมตัวเองจะรางกายไมดี เขาก็ตอง
เอา นก้ี ็เปนองคป ระกอบท่ีมาชว ย

๑๒๒ บุญ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกันไดทกุ คน

ถาเรามรี า งกายไมดี บกพรองในดานอุปธิวิบัติ เราก็จะตอง
สรางกรรมดีในสวนอ่ืนใหเหนือย่ิงข้ึนไป ไมใชมัวแตทอใจวาทําดี
แลวไมไดดี นเี้ ปนการรูจ ักเอาหลกั เรื่อง คติ อุปธิ กาล ปโยค เขามา
ประกอบ และใชใ หเ ปน ประโยชน

นี่คือเร่ืองการใหผลของกรรมในแงตางๆ นํามาถวายเปน
เพียงแงคิด เพื่อใหเห็นวา เรื่องกรรมนี้ตองคิดหลายๆ แง หลายๆ
ดาน แลวเราจะเห็นทางออกในการอธิบายไดดีย่ิงขึ้น และมีความ
รอบคอบสมบูรณย ่งิ ข้นึ

อยางไรก็ตาม จุดสําคัญก็คือ ตองการเชื่อมโยงใหเห็น
ความเปนเหตุเปนปจจัย เพื่อเราจะไมใชพูดแตเพียงวามีเหตุอันนี้
เกิดขึ้นในท่ีแหงหนึ่ง ในเวลาหนึ่งนานมาแลว สัก ๒๐–๓๐ ป
ตอมาเกิดผลดีอันหนึ่ง แลวเราก็จับมาบรรจบกัน โดยเชื่อมโยงเหตุ
ปจจัยไมได ซึ่งแมจะเปนจริง ก็มีนํ้าหนักนอย ไมคอยมีเหตุผลให
เห็น คนกจ็ ะไมค อยเชื่อ

เราจึงควรพยายามศึกษา สืบสาวเหตุปจจัยใหละเอียด
ยิ่งขึ้น ถึงแมวามันจะยังไมชัดละเอียดออกมา ไมปรากฏออกมา
เต็มที่ แตก็พอใหเห็นทางเปนไปได คนสมัยนี้ก็ตองยอมรับในเรื่อง
ความเปนไปได เพราะมนั เขา ในแนวทางของเหตุปจ จัยแลว

ผมคดิ วาเรอื่ งกรรมจะพดู ไวเปน แนวทางเทาน้ีกอน

ทา ทีท่ถี กู ตองตอกรรมเกา

มีปญหาที่ทานถามมาหลายขอดวยกัน ปญหาหน่ึง
เกี่ยวกับเรื่องปพุ เพกตวาท เปนเรือ่ งที่ถามในหลกั น้ี จงึ นาจะตอบ

๓. หลักกรรมสาํ หรบั คนสมัยใหม ๑๒๓

ทานถามวา ทารกท่ีคลอดมา บางครั้งมีโรคท่ีหาสาเหตุ
ไมได หรือถือกําเนิดในครอบครัวท่ีลําบากขาดแคลน ถาไมอธิบาย
ในแนวปพุ เพกตวาทแลว เราควรอธิบายอยางไรใหเ ขาใจงา ย

ในการตอบปญหานี้ ตอ งพูดใหเขาใจกันกอนวา การปฏิเสธ
ปพุ เพกตวาท ไมไ ดห มายความวา เราถือวากรรมเกา ไมมผี ล

ลัทธิปุพเพกตวาท ถือวาเปนอะไรๆ ก็เพราะกรรมเกาท้ังส้ิน
เอากรรมเกาเปนเกณฑตัดสินโดยสิ้นเชิง ฉะน้ัน จะทําอะไรในปจจุบัน
ก็ไมมีความหมาย เพราะแลวแตกรรมเกา ตอไปจะเปนอยางไร ก็ตอง
แลว แตกรรมเกา จะใหเ ปนไป ทาํ ไปก็ไมม ปี ระโยชน น้คี อื ลทั ธกิ รรมเกา

แตในทางพระพุทธศาสนา กรรมเกานั้น ทานก็ถือวาเปน
กรรมอยา งหนง่ึ ทเี่ กิดขึ้นแลว มผี ลมาถึงปจจุบัน แต ชาวพุทธไมติด
ตนั อบั จนอยูแคก รรมเกา

ทีน้ีมาถึงเร่ืองเด็กคลอดออกมามีโรคท่ีหาสาเหตุไมได หรือ
เกดิ ในครอบครวั ทลี่ าํ บากขาดแคลน นี้เราสามารถอธบิ ายดวยเรื่อง
กรรมเกาตามหลกั กรรมนิยามไดด วย และตามหลกั นยิ ามอื่นๆ ดวย

นิยามอื่นก็เชน ในดานพีชนิยามวา ในสวนกรรมพันธุ พอ
แมเปนอยางไร เพราะกรรมพันธุเปนตัวกําหนดไดดวย ถาพอแมมี
ความบกพรองในเร่ืองบางอยาง เชน เปนโรคเบาหวาน ลูกก็มีทาง
เปนไดเ หมอื นกัน นี้พีชนยิ าม

ในหลายกรณี อุตุนิยามเปนตัวกําหนดใหญ เชน คุณแมกิ
นยาสารเคมีบางอยางเขาไป เปน เหตใุ หลูกพกิ ารโดยรไู มท นั

สวนกรรมนยิ าม กอ็ าจจะอธิบายในแงความเหมาะกันสอด
สมกันของคนท่ีจะมาเกิด กับคนท่ีจะเปนพอแม ทําใหมาเกิดเปน
ลูกของคนนี้ และมีความบกพรอ งตรงน้ี เขา กบั พีชนยิ ามทน่ี ่ี

๑๒๔ บญุ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกันไดทกุ คน

สําหรับกรณีท่ีมาเกิดในครอบครัวที่ลําบากขาดแคลน ถา
เราจะยกใหเ ปน เรอ่ื งกรรมเกา กต็ ดั ตอนไป

ในเมื่อเขาเกิดมาแลว ในครอบครัวอยางน้ี เราก็ตามสืบสาว
ไปไมไหววา เขาทํากรรมไมดีอะไรไว จึงมาเกิดในครอบครัวขาด
แคลน ตรงนี้เราลวงรูลงไปไมถึง แตในเมื่อผลจากเกาเสร็จไปแลว
ก็เปนอันตัดตอนจบขั้นไป เรื่องอะไรจะมัวอั้นตื้อจับเจาจอดอยูกับ
ที่ ตอนน้ีถงึ เวลาของการทํากรรมใหมแลว

กรรมเกาผานไปแลว ไมใชเรื่องที่จะไปมัวติดของอยู และ
เราก็ไมใชจะตองอับจน ตอนนี้เปนเรื่องของปจจุบันที่จะสืบตอไป
ขา งหนา เตรียมจดั การกบั ปจ จบุ ันนแ่ี หละใหด ีท่สี ุด

น่ไี มใ ชเ วลาทีจ่ ะมวั หนั ดูขางหลัง แตจะตองรูท่ัวทันสภาพที่
มาถึง โดยมองตอกับทางที่จะไปขางหนา อดีตมาเทาไร ก็คือเปน
ฐานใหเ ร่ิมดวยความไมป ระมาท ไมใหเ ร่มิ อยา งเลอ่ื นลอย

ถาเจอสภาพอยางท่ีวาน้ัน ก็เริ่มต้ังแตเห็นใจกัน แลวก็คิด
หาทางวาจะชวยกันอยางไร แมแตคนที่เกิดมายากจน ก็สามารถ
เห็นใจการุณยตอคนที่เกิดมารํ่ารวยแตพิการ โลกน้ีมีปญหามีทุกข
ภยั มากแลว ก็ควรจะมองในแงท ี่จะเกื้อกูลรวมชวยกนั

เมื่อเกิดมาอยางน้ันแลว ตามหลักกรรมท่ีถูก ก็ตองคิด
ตอไปอีกวา เพราะเหตุท่ีเกิดในครอบครัวขาดแคลน ก็แสดงวาเรา
มีทุนเกาที่ดีมานอย เราก็ยิ่งจะตองพยายามทํากรรมดีใหมากข้ึน
เปนพิเศษ เพ่อื จะปรับแกช ดเชยใหผ ลตอไปขางหนา ดี

อยางท่ีวานั้น ถาคนท่ีมีทุนเกาดีเพียรแคนี้ ทําเทาน้ี เรา
จะตองมทุ ํา ๒-๓ เทา พอต้งั ใจถกู แลว จะมกี าํ ลงั เขม แขง็ ขึ้นมาเลย

๓. หลักกรรมสาํ หรับคนสมยั ใหม ๑๒๕

ไมใชคิดวา ทํากรรมมาไมดี ก็ตองปลอยแลวแตกรรมเกา
จะใหเปนไป ถา คดิ อยา งน้ันกไ็ มถ ูก น่ันคอื เขาปพุ เพกตวาทไปแลว

ในทางที่ถูก จะตองคํานึงใหครบทั้งกรรมเกาและกรรมใหม
เมื่อกรรมเกาท่ีสงมาไมดี ก็ยิ่งตองใหเปนตัวกระตุนเตือนเราใหมี
กําลังใจเพียรพยายามแกไขปรบั ปรงุ ทาํ กรรมใหมทด่ี จี รงิ ๆ

อยางที่วาเมื่อก้ี เชน ถาหากคนที่เขาเกิดมารํ่ารวยแลว เขา
มีความเพียรพยายามเทาน้ี สามารถประสบความสําเร็จกาวหนา
ได เราเกิดมาในตระกูลท่ีขาดแคลน เราก็ยิ่งตองมีความเพียร
พยายามใหมากกวาเขาอีกมากมาย เราจึงจะมีชีวิตที่
เจริญกา วหนาได ตองตง้ั จติ อยา งนี้ จึงจะถกู ทาง

ในสวนท่ีเปนกรรมเกาน้ัน พระพุทธเจาตรัสไวอยางน้ีวา
ภกิ ษุทัง้ หลาย ตา หู จมูก ลนิ้ กาย ใจ นี้ ชอื่ วา กรรมเกา

กรรมเกา ก็คือ สภาพชีวิตท่ีเรามีอยูในปจจุบันขณะนี้
สภาพชวี ติ ของเรากค็ ือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ท่ีเปนอยู มีอยู น้ีคือ
กรรมเกา คือผลจากกรรมเทาท่ีเปนมากอนหนาเวลาน้ีท้ังหมด ไม
วาจะไดทาํ อะไรมา ส่ังสมอะไรมา กร็ วมอยูท น่ี ี่

กรรมเกา่ มีเทา่ ไร กค็ ือ มที นุ เทา่ นัน้

กรรมเกา ก็คือทุนเกา ก็ตัวเรานี่แหละ มีอยางไรเทาไร ก็ดูได
มองเห็นอยู เทาไรก็เทานน้ั จะมวั เมา หรอื มวั เศรา ก็ไมถูกทง้ั นัน้

พอดูรูทุนเกาชัดดีแลว ก็มองเห็นไดงายวา จะตองปรับตอง
แกตองเสริมตองเนนอะไรตรงไหน ยิ่งเห็นชัด ก็ย่ิงวางแผนทํากรรม
ใหมไดม ัน่ ใจ มันก็เปน จดุ ตงั้ ตน ของเรา ทนี ก้ี ็เดนิ หนากรรมใหมไปสิ

๑๒๖ บุญ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกันไดทกุ คน

เปนธรรมดาอยูแลววา จะทํางานอะไรก็ตาม จะตองมองดู
ทนุ ในตวั กอน เมื่อรวมทุนรกู ําลงั ของตัวถูกตองแลว ก็เร่ิมงานตอไป
ได ถาเรารูวาทุนของเรานอยแพเขา เราก็ตองพิจารณาหาวิธีท่ีจะ
ลงทุนใหไดผลดี บางคนทุนนอย แตมีวิธีการทํางานดี รูจักลงทุน
อยา งไดผล กลับประสบความสาํ เร็จดกี วา คนที่มีทนุ มากก็มี

ฉะนั้น แมวากรรมเกาอาจจะไมดี คือรางกายตลอดจน
สภาพชีวิตท้ังหมดของเราไมดี แตเราฉลาดและเขมแข็งไมทอถอย
ก็พยายามปรับปรุงตัว วางแผนใหคลุมหลักสมบัติ-วิบัติ ๔ หา
วิธีการท่ีดีมาใช ถึงแมจะมีทุนไมคอยดี มีทุนนอย ก็ทําใหเกิดผลดี
ได กลบั บรรลผุ ลสาํ เร็จ กาวหนาย่ิงกวาคนที่มที ุนเกา ดดี วยซา้ํ ไป

สวนคนท่ีมีทุนดีน้ัน หากรูจักใชทุนดีของตัว ก็ยิ่งกาวหนา
งอกงามมีความสําเร็จมากข้ึน แตหลายคนมีทุนดี ไมรูจักใช หรือ
หนักกวาน้ัน ก็ไปมัวเมาประมาทเสียจนหมดทุน เลยกลับยิ่งแยลง
ไปอกี กลายเปนกระตายท่ีแพเตา

ดังน้ัน ในการปฏิบัติที่ถูกตอง จึงไมใชมัวทอแทหรือทรนง
อยูกบั ทุนเกา หรอื กรรมเกา

กรรมเกาน้ัน เปนทุนเดิม ซ่ึงจะตองกําหนดรู แลวใชกรรม
ใหมเพยี รแกไ ข ปรับปรงุ สงเสรมิ เพิ่มพูนใหด ใี หก า วหนา ยิง่ ๆ ขึน้ ไป

เวลาหมดแลว ปญหามีอีกหลายขอ ไมอาจจะตอบได
เอาไวไปตอบเปน สวนตัวทีหลงั

๓. หลักกรรมสาํ หรบั คนสมัยใหม ๑๒๗

ปดทา ย:

ไยมวั กลัวกรรมเกา กรรมดียงั ตอ งกา วอีกมากมาย

เม่ือรูเขาใจหลักกรรมถูกตองตามความจริงของธรรมดา ตรง
ตามคําสอนของพระพุทธเจาแลว ก็มองเห็นกรรมเปนเน้ือตัวของชีวิต
เปนเนื้อตัวของคน ท่ีขยับเขย้ือนเคลื่อนไหวไหลเล่ือนตอเนื่องไป
เรื่อยๆ ยืดยาวเปนกระแสหรือเปนกระบวน ตั้งแตกรรมของแตละคน
กรรมท่ีบรรดาคนทําตอกัน รวมกันทํา ทํารวมกัน จนเห็นเปนสังคม
เปนโลกมนุษย คือโลกแหงกรรม โลกแหงเจตจํานงและการกระทํา ทั้ง
พดู คิด เคลอ่ื นไหว ของคน อยา งทปี่ รากฏและเปนไปอยู

ไมวาจะจองจับดูตรงไหน กรรมก็โยงตอเช่ือมกับตอนอื่น
จับท่ีอดีตเปนกรรมเกา ก็สงตอมาถึงขณะน้ี ดูที่ปจจุบันก็สะทอน
ไปถึงอนาคต พูดแยกใหญๆ ก็จึงเปน ๓ ตอน คือ กรรมเกาในอดีต
ท่ีเสร็จไปแลว กรรมใหมในปจจุบันที่กําลังทําดําเนินไปอยู และ
กรรมในอนาคตขางหนา ทย่ี งั ไมม ี แตต ั้งเคา วาจะเกดิ มสี บื ตอไป

เมอ่ื ความจรงิ เปน ของมันอยางน้ัน สําหรับคน ความสําคัญ
ก็อยูที่ตองทํากับมันใหถูก คือปฏิบัติตออดีต ปจจุบัน และอนาคตน้ัน
ใหถูกเรื่องท่ีจะเปนผลดีแกตน แกทุกคน แกโลก วาจะทําอยางไรกับ
กรรมเกา กบั กรรมใหม ทีอ่ ยูต อหนา และจะตอไปขา งหนา

กรรมเกาน้ันผานไปแลว เอากลับมาไมได และทําอะไร
ไมได นอกจากรู กับรูส ึก และท่จี ะไดประโยชนก็คือรู แตนาเสียดาย
วา คนมากทีเดียว ไมเอารู มัวไปอยูกับรูสึก ไดแตขุนของหมองมัว
กลัวกรรมเกา ของอดตี เลยไมไ ดอะไร แลวกม็ ีแตแย และทกุ ข

๑๒๘ บญุ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกนั ไดทุกคน

ตรงน้ี พระพุทธศาสนาก็จึงมาเตือนให รวมความก็คือทาน
สอนวา คนเรามีชีวิตอยนู ้ี จะตองใหดีข้ึน ตองเจริญงอกงามขึ้น พูด
งายๆ วาตองพัฒนาขน้ึ

ถาเปนคนชั่ว ก็ตองกาวมาเปนคนดี ถาเปนคนดี ก็ตองดี
ขึ้นๆ ถาทุกขมาก ก็ทุกขนอยลง เปล่ียนมาเปนสุข และสุขข้ึนๆ จน
ไมมีทุกขเหลือเลย ถาเปนอันธพาลปุถุชน ก็กาวมาเปนปุถุชนที่ไม
เปนอันธพาล มาเปนกัลยาณชน แลวก็เปนสัตบุรุษ เปนบัณฑิต
เปนอริยชน จนกระท่ังเปนอเสขชน เปนพุทธะ ซึ่งเปนไดทุกคน นี่
คอื วถิ ีของการพฒั นา ทางที่จะตองกา วไปขางหนา อกี ยาวไกล

ทีนี้ คนท่ีจะพัฒนากาวหนาไปนั้น ก็ตั้งตนจากฐานท่ีตัวยืน
โดยอาศัยทุนท่ีตัวมี ดวยตัวเองเทาท่ีเปนไดทําได ทานก็เลยใหรูจัก
ตัวตามฐานที่อยู ตามทุนท่ีมี ซึ่งเปนผลรวมสืบมาจากอดีต คือเหตุ
ปจจัยสะสมสงทอดมา ทีเ่ รียกงายๆ คําเดยี ววา “กรรมเกา ”

เรารูกรรมเกา ก็คือรูจักตัวเอง รูฐาน รูทุน รูสภาพ เชนรู
กําลังของตัว รูแลวก็ไดประโยชนมากมาย เชน รูจุด รูแง ที่จะปรับ
จะเพ่ิม จะเติม จะแก ที่จะใชทุนทําใหเหมาะ ถูกทางท่ีจะไปไดรุด
ลิ่ว บทเรียนก็ได แลวก็กระตุนความไมประมาท รวมแลวก็วากรรม
เกานั้น สําหรบั ใหป ญ ญาจัดการใช ไมตองเอาจิตใจไปขุนขอ ง

เร่ืองทุนเดิมกรรมเกา ก็เทานั้น แครูทันและเอาความรูมาใช
แตการท่ีจะพัฒนากาวตอไปขางหนา ก็คือการทํากับปจจุบันท่ีตอ
หนาแลวติดเนือ่ งเนอื งไป

คราวน้ีละคือโดยตรง จะตองทํากันใหญ และตรงน้ีแหละท่ี
ควรใสใจเอาจรงิ จัง ไมใชไ ปมวั หวงกรรมเกา เอาแตถ อย

๓. หลกั กรรมสาํ หรบั คนสมยั ใหม ๑๒๙

ตอนน้ีแหละคือเร่ืองของพุทธศาสนา คือการท่ีวาจะทําอะไร
กับปจจุบันที่จะสืบไปขางหนา ใหพัฒนาไปดี จะไดกาวไปถูกทาง
จนถึงท่ีหมาย นี่ก็คือ มีกรรมดีที่เหมือนกับรอเราอยู ซึ่งจะทํากันได
มากมาย เปนกระบวนการละอกุศล เจริญกุศล หรือละเลิกกรรมชั่ว
ราย พัฒนากรรมดี

กรรมดี หรือกุศลอะไรบาง ที่รอเราใสใจมุงไปทํา ทานบอก
ให สอนไวมากมาย บรรยายไมจบส้ิน เปนเร่ืองของการที่จะพัฒนา
ชีวิตกาวหนา ไปในทางแหง อรยิ ธรรมของอารยชนท้งั น้ัน

กุศล หรือกรรมดี มีในชื่อตางๆ สารพัด ไมวาจะเปนบุญ
กิริยา ไตรสิกขา สังคหวัตถุ ๔ บารมี ๑๐ ตลอดจนโพธิปกขิยธรรม
๓๗ ที่รวมท้ังโพชฌงค ๗ มรรคมีองค ๘ ที่พระพุทธเจาตรัสไววา
เปน กรรมไมด ําไมขาว เปน ไปเพอ่ื ความหมดสน้ิ กรรม

ถึงนี่แลว จึงจะจบหนาท่ีของเราในการทํากรรม อะไรท่ีดีๆ
กาวผานหมด เปนกัลยาณชน เปนบัณฑิต เปนอริยชน รวมทั้งเปน
มนุษย เปนเทพ เปนพรหม รวมอยูในนี้ เราทํากรรมท่ีวามาแลวนั้น
เปนไดทั้งหมด พอเปนอเสขชน เปนอันจบเร่ืองกรรมแลว การ
กระทําเปน กริ ิยา บริสทุ ธิ์สะอาด ปราศกิเลสปลอดทกุ ข

เลิกเสียที ไมตองขุนของหมองมัวอยูกับกรรมเกา ทํากรรม
ใหมใหถ กู เถิด กรรมเกามาเจอกรรมอยางโพชฌงคเขา กห็ มดไปเอง

เปนอันวา เอากรรมดีๆ ที่ทานสอนไวมากมายขางบนนั้นมา
พูดจาหารือเลือกสรร วาเราจะทําอยางไหนอะไรกันบาง อันไหนเรา
ไปไดแคไหนแลว จะไปตออยางไร ถาไดอยางนี้ พระพุทธศาสนาก็
จะมา และพวกเราก็จะกาวในอริยมรรคาเดินหนากันไป

๑๓๐ บญุ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกันไดทกุ คน

ขอถวายเร่ืองกรรมไวเพียงเทานี้ ถือวาเปนเพียงแงคิดบางอยาง
อยางนอยก็ถือเอาขอพิจารณาท่ีนั่นที่น่ีในคัมภีรมาชวยประกอบการอธิบาย
บางแงบ างดาน สวนเรื่องทลี่ ะเอยี ดลกึ ซง้ึ กเ็ ปนสิ่งที่จะตองไปศึกษาพิจารณา
กันตอไป รวมทั้งการแยกแยะสืบสาวเหตุปจจัย และการแกไขปญหาในระดับ
สงั คม

ขออนุโมทนาทุกทานท่ีไดสละเวลา กําลังกาย กําลังใจ มารวม
กันอบรมพระธรรมทูตคร้ังน้ี ดวยจิตมีกุศลเจตนาที่จะไปปฏิบัติศาสนกิจ
เพอ่ื ประโยชนแกพระศาสนา และประโยชนสขุ แกป ระชาชน

ดว ยอานุภาพแหงคณุ พระรัตนตรัย พรอ มท้ังกุศลเจตนาน้ัน จงเปน
ปจจัยใหทุกทานมีกําลังกาย กําลังใจ กําลังสติปญญาเขมแข็ง ปฏิบัติ
ศาสนกจิ ไดสําเร็จผลดวยดีจงทกุ ประการ โดยทัว่ กันทกุ ทาน เทอญ



นรก-สวรรค

ในพระไตรปฎ ก∗

ทานอาจารยไดต้ังหัวขอเร่ืองไวใหอาตมากอน กลาวคือขอใหพูด
เร่ือง นรก-สวรรคในพระไตรปฎก นรก-สวรรคนี้เปนเร่ืองใหญ และเปน
เรือ่ งยากอยแู ลว ทานยังจํากดั ขอบเขตดว ยวา ใหพ ูดในพระไตรปฎก

กอนจะเขาสูเนื้อหา มีเร่ืองที่ควรทําความเขาใจในตอนเร่ิมแรกกัน
นิดหนอย คือทําความเขาใจเกี่ยวกับตัวผูพูด และเรื่องท่ีจะพูดในแงของ
พระพุทธศาสนาวามีความสําคัญแคไหนเพียงไร อันเปนเรื่องท่ีควรทํา
ความเขาใจกันเบอื้ งตน

ตองออกตัวเสียกอน คือ สําหรับอาตมาถือวา นรก-สวรรคเปน
เร่ืองสําคัญ และเปนเร่ืองใหญมาก แตกระน้ันอาตมาเองขณะนี้ ยังไมได
ใหความสนใจเทาท่ีควร ยังไมไดเอาจริงเอาจังอะไรนักในเร่ืองน้ี ก็กําลัง
คนควา เร่อื งพระพุทธศาสนาอยู แตตอนนี้ยังไมไดมาเนนเรื่องนี้ คิดวาเปน
เร่อื งท่ตี อ งคอยๆ วา กันทลี ะข้ันละตอน



บรรยายแกคณะอาจารยและนักศึกษาวิทยาลัยครูสวนดุสิต ในรายการของภาควิชาปรัชญาและ
ศาสนา ระหวางภาคท่ี ๒ ปการศึกษา ๒๕๒๒ ณ วัดพระพิเรนทร (ในการพิมพครั้งลาสุด พ.ย.
๒๕๔๕ ไดจดั ปรับรูปแบบ เชน ซอยยอ หนา จัดระบบหวั ขอ ยอย ขัดเกลาภาษา ใหอ า นงายขึ้น)

๑๓๒ บญุ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกนั ไดทุกคน

ความสําคญั ของนรก-สวรรค ในแงพทุ ธศาสนา

เริ่มแรกมาดูวา ในแงพุทธศาสนา นรก-สวรรคมี
ความสําคญั แคไหน

ศาสนาทุกศาสนามีเร่ืองนรก-สวรรค ซ่ึงเปนเรื่องที่คนถาม
กนั มาตลอดวามจี รงิ ไหม เปนอยางไร

ในประเพณีของเรา ก็มีเร่ืองราวเกี่ยวกับนรก-สวรรค ใน
วรรณคดีกต็ าม ศลิ ปกรรมก็ตาม ก็มีเร่ืองนรก-สวรรคไปเก่ียวของดวย
เชน ภาพฝาผนังตามปชู นียสถานตางๆ มีเรอ่ื งเหลา นีม้ ากมาย

แตเราควรมาดูในแงหลักการกอนวา เรื่องนรก-สวรรค กับ
พระพุทธศาสนา มคี วามสมั พันธก ันแคไหนเพยี งใด

ไดบอกแลววา นรก-สวรรคเปนเร่ืองสําคัญ เปนเรื่องใหญ
แตถาเทียบกับศาสนาทั่วๆ ไปแลว มาดูในแงพระพุทธศาสนา
ความสาํ คญั ของนรก-สวรรคลดลงไป

ทําไมจงึ วา อยา งนัน้ คือ ในศาสนาเปนอันมาก นรก-สวรรค
เปนจดุ สุดทายแหงการเดนิ ทางชวี ติ ของมนุษย

บางศาสนาบอกวามีนรกนิรันดร สวรรคนิรันดร เชนวา เรา
อยูในโลกมีชีวิตคร้ังนี้ ทําความดีความช่ัว เมื่อตายไป วิญญาณจะ
ไปรอจนถึงวันส้นิ โลก แลวกม็ ีการตดั สิน ผทู ี่ควรไดรับรางวัลก็จะได
ไปอยูสวรรคนิรันดรตลอดไป สวนผูที่ควรไดรับโทษก็จะถูกตัดสิน
ใหตกนรกนิรันดร

ในแงน้ี นรก-สวรรคเปนเร่ืองสําคัญมาก เพราะเปนจุด
สุดทาย เปน จุดหมาย

๔. นรก-สวรรค ในพระไตรปฎก ๑๓๓

ทีน้ีมามองดูในพระพุทธศาสนา เม่ือเปรียบเทียบกันแลว
ความสาํ คญั ของนรก-สวรรคจ ะดอยลงไป

เอาสวรรคก็แลวกัน เพราะเปนส่ิงที่เราตองการ สวรรค
ไมใชจุดหมายของพระพุทธศาสนา แตพระพุทธศาสนาบอกวา มี
สิ่งที่สูงกวานั้น สิ่งที่สําคัญกวาสวรรค คือนิพพาน เม่ือสวรรคไมใช
จุดหมาย ความสําคญั ของมนั กด็ อยลงไป

เมื่อเราปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา ถาจะปฏิบัติให
แทจริง ใหตรงตามหลักการ เราก็บอกวาไมใชเพ่ือจะไปสวรรค แต
เพื่อนิพพาน สวรรคกลายเปนเร่ืองขั้นตอนท่ีอยูในระหวาง หรือเปน
เร่ืองขางๆ ความสําคัญของสิ่งท่ีอยูขางๆ หรืออยูในระหวาง ยอมจะ
ลดนอ ยลงไป นอยกวา ส่ิงทเี่ ปนจุดหมายสุดทาย นีเ้ ปน เร่ืองธรรมดา

ประการตอไป นรก-สวรรคตามท่ีรูกัน หรือพูดถึงกันอยู
เปน เรื่องท่ีไดร บั หรอื ไปประสบหลังจากตายแลว ศาสนาอื่นๆ ท่ัวไป
วา อยา งน้ี เม่ือตายแลว จะไปนรกหรือสวรรค ดังนั้น จุดหมายสูงสุด
ของศาสนาเหลานัน้ จึงเปน เรื่องของชีวิตขางหนา

แต จุดหมายของพระพุทธศาสนา เปนส่ิงที่บรรลุไดใน
ชาตินี้ นพิ พานสามารถบรรลุไดใ นชาตนิ ้ี ตง้ั แตย ังเปน ๆ อยู

น่ีเปนแงท่ีสอง ที่ทําใหความสําคัญของนรก-สวรรคนอยลง
ไป เราอาจบรรลุจุดหมายสูงสุดไดในชาตินี้แลว เราก็ไมตองพูด
เร่ืองหลังจากตายแลว เรอ่ื งนรก-สวรรคก ไ็ มตองมาเก่ียวของ

ตอไปขอท่ีสาม ในพระพุทธศาสนา นรก-สวรรคเปนเพียง
สวนหน่งึ ในสังสารวัฏ คือการเวียนวา ยตายเกิด

๑๓๔ บญุ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกันไดทกุ คน

สังสารวัฏมีการเปลี่ยนแปลงได ชีวิตเราเดินทางไปใน
สงั สารวฏั มหี มุนขึน้ หมนุ ลง

ตกนรกแลว ตอไป ถาเรามีกรรมดี ก็กลับไปข้ึนสวรรค หรือ
มาเกิดเปนมนุษย คนท่ีเกิดเปนพระพรหมดวยกรรมดีบําเพ็ญฌาน
สมาบัติ ตอไปเมื่อสิ้นบุญแลว กลับไปตกนรก เพราะมีกรรมชั่วใน
หนหลงั กไ็ ด หมนุ เวยี นไปมา

เม่ือเปนเชนน้ี นรก-สวรรคจึงเปนเพียงสวนท่ีหมุนเวียนอยู
ในระหวาง แลวก็เปนของช่ัวคราว เพราะฉะนั้น ความสําคัญก็
ลดลง เพราะเรามีโอกาสท่ีจะแกไขตัวไดมาก พูดอีกอยางหนึ่งวา
เปน ขน้ั ตอนของความกาวหนาในวถิ ีของการพัฒนาสงู ข้ึนไป

น้ีเปนเร่ืองท่ีควรทําความเขาใจในเบื้องตน เพื่อจะไดเห็น
ฐานะของนรก-สวรรคใ นพระพุทธศาสนา

ในแงนี้ ถาเราเปรียบเทียบกับศาสนาท่ีถือเรื่องนรก-สวรรค
เปนนิรันดร เปนส่ิงสุดทายที่มนุษยจะประสบ ซ่ึงไมมีทางแกไขได
เลย ก็จะมีความแตกตางกันอยางมาก เม่ือทําความเขาใจเบื้องตน
อยา งนแ้ี ลว ก็พดู ถงึ เนือ้ หาของเรือ่ งนรก-สวรรคไ ดโ ดยตลอด

ขอพิจารณาเกี่ยวกบั เร่ืองนรก-สวรรค

เอาละ ทีน้ีมาพูดถึงเรื่องนรก-สวรรค เขาสูเนื้อหาของเร่ือง
นรก-สวรรค ซึ่งมีแงท ีต่ อ งแยกอกี ๒ อยาง

แงท ีห่ นึ่ง คอื ความมีอยจู ริงหรือไม นรก-สวรรคม ีจรงิ ไหม
แงท่ีสอง คือ ทาทีของชาวพุทธ หรือทาทีของพุทธศาสนา
ตอเรอื่ งนรก-สวรรค

๔. นรก-สวรรค ในพระไตรปฎ ก ๑๓๕

ตองพูดท้ังสองแง จะพูดแงเดียวไมพอ เพราะมันสัมพันธ
ซึ่งกันและกัน สําหรับพุทธศาสนานี้ ขอพูดไวกอนวา เรื่องทาทีตอ
นรก-สวรรคเ ปนส่ิงสาํ คญั มาก เราจะตองวางทาทีใหถูกตอ ง

พูดเกริ่นไวหนอยวา เรื่องนรก-สวรรคจัดอยูในประเภทสิ่งท่ี
พิสูจนไมได สาํ หรับคนสามัญ

ที่วาพิสูจนไมไดนี้ หมายถึงทั้งในแงลบและแงบวก คือจะ
พิสูจนวามี ก็ยังเอามาแสดงใหเห็นไมได จะพิสูจนวาไมมี ก็ยังไม
สามารถแสดงใหเ ห็นวาไมม ีใหม นั เดด็ ขาด พูดไมไดทงั้ สองอยาง

บางคนบอกวา เม่ือพิสูจนไมไดวามี มันก็ไมมี อยางนั้นก็
ไมถูก ในเมอื่ ตัวเองไมม คี วามสามารถท่จี ะพิสจู น

ในการพิสูจนน้ัน ตองพิสูจนดวยอายตนะที่ตรงกัน ส่ิงท่ีจะ
รดู วยการเหน็ กต็ อ งเอามาใหดูดวยตา ส่ิงท่ีจะรูไดดวยการไดยิน ก็
ตองพสิ จู นดวยการเอามาทําใหฟงไดดวยหู ฯลฯ

เปนอันวา ตองพิสูจนใหตรงตามอายตนะ จะพิสูจนวา
เสียงมีหรือไมมี พิสูจนดวยตาไดไหม ก็ไมได พิสูจนวารสมีไหม จะ
พสิ ูจนด ว ยหูกไ็ มได ไมไ ดเรือ่ ง มนั ตอ งตรงอายตนะกนั

ทีน้ี นรก-สวรรคพิสูจนดวยอะไร พิสูจนดวยตา ดวยหู ดวย
จมูก ลน้ิ กายไมได มนั ตองพสิ จู นดว ยชีวิตท่ีใจน่นั เอง

ดูหลักงายๆ ไมตองพูดลึกซ้ึง เราถือวาจิตเปนแกนของชีวิต
เปนตัวทําหนาท่ีเกิด จะพิสูจนเร่ืองนรก-สวรรควาตายแลวไปเกิด
หรอื ไม กต็ อ งพิสจู นดวยจติ คอื ลองตายดู

๑๓๖ บญุ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกันไดทกุ คน

ทีน้ี พอบอกวาจะพิสูจนดวยตาย ก็ไมมีใครยอม เพราะ
ตอ งพิสจู นดวยตนเอง จะใหค นอนื่ พิสูจนไมได

เราบอกวาคนหน่งึ ตายแลว เขาไปเกิดท่ีไหน เราไมรู ตัวเขา
เปนผูพิสูจน เราเปนแตผูไปดู เหมือนเขาลิ้มรส แลวเราดูเขาลิ้มรส
เราจะไปรูไ ดอ ยา งไรวาเขารูรสจริงหรือเปลา และรสนั้นเปนอยางไร
เราไมไดลม้ิ รส ก็ไดแ ตดูเทานั้นเอง

เร่ืองของชีวิตน้ีก็ตองพิสูจนดวยตัวจิต เม่ือจะพิสูจนดวย
การที่ตองตาย เราก็ทําไมได ไมมีใครกลาทํา เกิดเปนปญหาติดอยู
ตรงน้ีที่พิสูจนไมได นี่เปนเรื่องเกร็ดแทรกเขามา เราจะตองพูดกัน
ตอ ไปอกี

รวมความในตอนน้ีวา นรก-สวรรคเปนเร่ืองพิสูจนไมได ท้ัง
ในแงบ วกและแงลบ วามหี รือไมมี

สําหรับสิ่งท่ีพิสูจนออกมาใหเห็นชัดไมไดอยางน้ี ทางพุทธ
ศาสนามีหลกั ใหป ฏบิ ัติ คอื ถอื การวางทาทีเปน สาํ คัญ

เรื่องบางอยาง ถารอใหพิสูจนเสร็จ มนุษยเลยไมตองทํา
อะไร ไดแ ตรอแบบพวกนักปรชั ญา

พวกนักปรัชญาจะเอาใหรูความจริงเสียกอน เชน รูความ
จริงเกี่ยวกับโลกวา โลกนี้เปนอยางไรแน มันเกิดเมื่อไร มันจะไป
อยางไร พวกนักปรัชญาจะเถียงกัน ใชสมองใชสติปญญาในการ
โตเถียง เม่ือแกยังตอบเร่ืองโลกและชีวิตไมได เชน ดวยวิธี
อภิปรัชญาแกก็ตองเถียงกันตอไป นี่ก็เถียงกันมาหาพันปแลว
โดยประมาณ

๔. นรก-สวรรค ในพระไตรปฎก ๑๓๗

ทีนี้ ถาแกจะตองเถียงกันจนกวาจะรูคําตอบ แลวจึงจะ
ปฏิบัติได เพราะแกอาจจะบอกวา เรายังไมรูความจริงวามันเปน
อยางไร เราจะไปปฏิบัติกับมันอยางไร แกจะตองรอใหรูความจริง
อันนั้นแลวจึงจะวางหลักปฏิบัติ แกตายไปแลวกี่ครั้งตอก่ีครั้ง
จนกระท่งั ลูกหลานเหลนของแกเองก็ตายไป โดยที่ยังทําอะไรไมได
และยงั ไมไดท าํ อะไร

พระพุทธศาสนาบอกวา สําหรับเร่ืองอยางน้ี คือสําหรับ
เรื่องทยี่ งั พสิ จู นไ มไ ด มันสําคญั ที่ปฏบิ ตั ิ

พระพทุ ธศาสนาเปน ศาสนาแหง การปฏิบตั ิ

เรามีวิธีปฏิบัติตอสิ่งท่ียังพิสูจนไมได โดยใหถือการ
ปฏบิ ัตทิ ่ีไมผดิ

อยางท่ีบอกเม่ือก้ีวา การวางทาทีเปนสําคัญ นรก-สวรรคก็
อยูในประเภทนี้ การวางทาทีหรือการที่จะปฏิบัติตอมันอยางไร
เปน เรอื่ งสาํ คญั กวา

เปนอันวา มีเร่ืองที่ตองพูดสองแง คือ แงวามีจริงไหม กับ
จะวางทาทีตอมันอยางไร และเนนแงการวางทาที หรือการปฏิบัติ
ทนี ี้ มาพดู ถงึ หัวขอ สองอยางนัน้ เอาแงทห่ี นงึ่ กอน

๑. นรก-สวรรค มีจริงหรือไม?

แงท่ีหนึ่งคือ มีจริงไหมในแงของพระพุทธศาสนา และก็จะ
พูดจํากัดตามที่อาจารยไดกําหนดไวว าเฉพาะในพระไตรปฎก

ขอแบง วา พระพุทธศาสนาพดู เร่ืองน้ีไวเปน ๓ ระดบั

๑) นรก-สวรรค หลงั ตาย

ระดับท่ีหนึ่ง คือเร่ืองนรก-สวรรคที่เราพูดกันท่ัวๆ ไปวา
หลงั จากชาตนิ ้ี ตายแลวไปรับผลกรรมในทางท่ีดีและไมดี ถารับผล
กรรมดี ก็ถือวาไปสวรรค ถารับผลกรรมชั่ว ก็ไปเกิดในนรก เร่ือง
นรก-สวรรคแ บบนี้ เรยี กวาระดบั ทห่ี น่งึ พระพทุ ธศาสนาวาอยา งไร

สําหรับระดับนี้ ถาถือตามตัวอักษร พระไตรปฎกกลาวไว
มากมาย เม่ือพูดกันตามตัวอักษรก็ตองบอกวามี มีอยางไร นรก-
สวรรคหลังจากตายน้ี มักจะมีในขั้นเอยถึงเทาน้ัน ไมคอยมีคํา
บรรยาย

ในพระไตรปฎก เร่ืองนี้หาไดทั่วไป ในคําสรุปทายท่ี
แสดงผลของการประพฤตดิ ปี ระพฤตชิ ว่ั คือ

ในแงสวรรคบ อกวา เมื่อแตกกายทําลายขันธลวงลับดับชีพ
ไปแลว จะเขาถึงสคุ ติโลกสวรรค นีฝ่ ายดี

สวนในฝา ยรา ยก็กลาววา เบ้ืองหนา แตตายเพราะกายแตก
กจ็ ะเขาถงึ อบาย ทุคติ วินิบาต นรก

สํานวนในบาลี มีอยา งนี้มากมายเหลือเกนิ

๔. นรก-สวรรค ในพระไตรปฎ ก ๑๓๙

สํานวนความน้ี ไมไดบรรยายวาสวรรคเปนอยางไร นรก
เปนอยางไร ไดแตสรุป และโดยมากมาหอยทายกับคําแสดงผล
ของกรรมดีกรรมช่วั ซึ่งจะเร่ิมดว ยผลที่จะไดรับในชาติน้ีกอนวา ผูมี
ศีลประพฤติดีแลว จะไดผลอยางนั้นๆ หน่ึง สอง สาม ส่ี หา แลว
สดุ ทาย หลังจากแตกกายทําลายขันธแลว จะไปสุคติ

ดังเชนวา เจริญเมตตา มีอานิสงสอยางนี้ คือ หลับเปนสุข
ฝนดี… บอกผลดีในปจจุบันเสร็จแลว จึงหอยทายวา ตายแลวไป
สวรรค ไปพรหมโลก นเี่ ปน เพยี งการเอยถงึ ผลของการทาํ ดี ทาํ ชัว่

นอกจากนัน้ เราตองสังเกตดวยวา เม่ือพระพุทธเจาตรัสถึง
เรื่องนรก-สวรรคนั้น พระองคตรัสในขอความแวดลอมอยางไร มี
เร่ืองราวเปนมาอยางไร เราจะสังเกตไดวา พระพุทธเจาตรัสถึงผล
ในปจจุบันมากมายกอน แลวอันนี้ไปหอยทายไว

เมื่อทราบอยางนี้แลว จะไดจัดฐานะของนรก-สวรรคได
ถกู ตอง น้ีบอกไวใหเปนขอ สงั เกต

เปน อนั วา เราจะพบคาํ บาลที พ่ี ระพุทธเจาตรัสอยูบอยๆ วา
เมื่อตายแลว จะไปนรกหรือสวรรค หลงั จากไดรบั ผลกรรมดีกรรมช่ัว
ในปจจุบนั น้แี ลว ตรสั บอ ยๆ โดยไมม ีคําบรรยาย

ขอความในพระไตรปฎกสวนท่ีมีคําบรรยายวานรก-สวรรค
เปนอยางไร มนี อ ยแหง เหลอื เกนิ

แหงท่ีนับวามีคําบรรยายมากหนอย กลาวถึงการลงโทษใน
นรก เริ่มจากวา ตายไปแลวเจอยมบาล

พญายมถามวา ตอนมีชีวิตอยูเคยเห็นเทวทูตไหม? เทวทูต
ทหี่ นึง่ เปนอยางไร? … เขาตอบไมได

๑๔๐ บุญ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกันไดทกุ คน

ยมบาลตองช้แี จงวา เทวทูตท่ีหน่ึง คือเด็กเกิดใหม ที่สอง คือ
คนแก ที่สาม คือคนเจ็บ ที่สี่ คือคนถูกลงโทษทัณฑอาญา ที่หา คือ
คนตาย

ยมบาลอธิบายใหฟงแลวก็ซักตอวา ทานเคยเห็นไหม เคย
เห็นแลว เคยไดความคิดอะไรบางไหม มีความสลดใจบางไหม ใน
การท่ีจะตองคิดเรงทําความดี ทานเคยรูสึกบางไหม ไมเคยเลย ถา
อยางนั้นก็เปนเร่ืองของตัวเองทํากรรมไมดี ก็ตองไดรับโทษ มีการ
ลงอาญา เรยี กวากรรมกรณ ซงึ่ เปน วิธีลงโทษประการตา งๆ ในนรก

เรื่องนี้มีมาใน พาลบัณฑิตสูตร และเทวทูตสูตร ใน
พระไตรปฎ กเลม ๑๔ ถาตองการคน ก็บอกขอบอกหนาไปดวย คือ
เลม ๑๔ ขอ ๔๖๗ หนา ๓๑๑ และเลม ๑๔ ขอ ๕๐๔ หนา ๓๓๔
(สําหรับพระไตรปฎกแปลภาษาไทย ก็ไปคนดูตามขอ หนาไมตรงกัน
เพราะนีเ่ ปน หนา บาลี) โดยมากพดู ถงึ นรก ไมคอ ยพดู ถึงสวรรค

นอกจากน้ีก็ยังมีบางแหงพูดถึงอายุเทวดาในช้ันตางๆ เชน
ชั้นจาตุมหาราช หรือช้ันโลกบาล ๔ ชั้นดาวดึงส ชั้นยามา ช้ันดุสิต
ช้ันนิมมานรดี และช้ันปรนิมมิตวสวัตดี แตละชั้นมีอายุอยูนาน
เทาไร อยางนี้มีในพระไตรปฎกเลม ๒๐ ขอ ๕๑๐ หนา ๒๗๓ และ
ไปมซี ํา้ ในเลม ๒๓ ขอ ๑๓๑–๑๓๕ หนา ๒๕๓–๒๖๙ และยังมีอายุ
มนุษย ถึงรูปพรหม แสดงไวในฝายอภิธรรม พระไตรปฎกเลม ๓๕
ขอ ๑๑๐๖–๑๑๐๗ หนา ๕๖๘–๕๗๒

บางแหงแสดงเรื่องราววา ในวัน ๘ ค่ํา ทาวมหาราช ๔ คือ
ทาวจตุโลกบาล สงอํามาตยมาตรวจดูโลก วามนุษยประพฤติดี
ปฏบิ ัตชิ อบหรอื เปลา ถา เปน วนั ๑๔ คา่ํ โอรสมาเท่ียวดู

๔. นรก-สวรรค ในพระไตรปฎ ก ๑๔๑

ถึงวัน ๑๕ คํ่า ก็เสด็จมาเที่ยวตรวจดูเอง แลวกลับไปแจง
ตอที่ประชุมเทวดาในสุธรรมสภา สวรรคช้ันดาวดึงส ซึ่งมีพระ
อินทรเปนประธานวา เด๋ียวน้ีมนุษยโดยมากประพฤติดี หรือ
ประพฤตชิ ่ัว

ถามนุษยประพฤติดี เทวดาก็จะดีใจ วาตอไปสวรรคจะมี
คนมาเกิดเยอะ ถาหากมนุษยประพฤติช่ัวมาก เทวดาก็จะเสียใจ
วา ตอไปฝายเทวโลกจะมีแตเ สอื่ มลง อะไรทํานองนี้

เรื่องอยางน้ีก็มีในเลม ๒๐ เหมือนกัน ขอ ๔๗๖ หนา ๑๘๐
เปนการกลา วแทรกอยบู างแหง มไี มสูมาก

นอกจากนี้ก็มีกระเส็นกระสาย เล็กๆ นอยๆ ชื่อนรก ๑๐
ขุม ก็มีในพระไตรปฎกดวย คือในเลม ๒๔ อังคุตตรนิกาย ทสก-
นิบาต ขอ ๘๙ หนา ๑๘๕ และนรก ๘ มีในคาถาชาดก เลม ๒๘
ขอ ๙๒ หนา ๓๙

อันนี้ก็เปนฐานใหอรรถกถานํามาช้ีแจงอธิบายเร่ืองนรก
ตา งๆ แจกแจงใหเ หน็ เร่อื งราวพสิ ดารยิง่ ข้ึน แตในทน่ี ้ีจะไมพูดถึง

คมั ภรี ก ลุมชาดก ในขทุ ทกนิกาย เปนแหลง ทจี่ ะหาเรื่องราว
คําบรรยายเกี่ยวกับสภาพในนรกและสวรรคไดมากกวาที่อื่น เนมิ-
ราชชาดก ในพระไตรปฎกเลม ๒๘ ขอ ๕๒๕–๕๙๙ หนา ๑๙๘–
๒๒๓ เปนเรอื่ งการไปทศั นาจรนรกและสวรรคโ ดยตรงทีเดียว

(ในมฆเทวสูตร ในพระไตรปฎกเลม ๑๓ ขอ ๔๕๘–๔๖๐
หนา ๔๒๑–๔๒๔ ก็มีเรื่องท่ีพระเจานิมิ หรือนิมิราช กษัตริยทรง
ธรรม เปนธรรมราชา แหงมิถิลานคร ไดรับเชิญจากพระอินทรไป
พบกบั เหลาเทวดาท่ีสธุ รรมเทวสภา ในสวรรคชนั้ ดาวดึงส)

๑๔๒ บญุ กรรม นรก-สวรรค เลอื กกันไดทุกคน

คัมภีรเปตวัตถุ ที่วาดวยเรื่องของเปรต แมจะตางภพกับ
นรก แตก อ็ ยใู นประเภทอบายเหมอื นกัน

ถารับเขามาพิจารณาดวย ก็จะไดคัมภีรเปตวัตถุ และ
วิมานวัตถุ เขามารวมในกลุมน้ีดวย และจะพบเร่ืองราวมากมาย
ทเี ดียว ไดแก พระไตรปฎก เลม ๒๖ ขอ ๑–๑๓๖ หนา ๑–๒๕๙

แมในพระไตรปฎกจะไดพูดถึงนรก-สวรรคแบบนี้ เราก็อยา
เอาไปวุนกับการเขียนภาพและคําบรรยายในวรรณคดีใหมากนัก
เพราะวรรณคดีบวกจินตนาการเขาไป ซึ่งเปนเร่ืองธรรมดาของกวี
แมจะบรรยายอารมณมนุษย ก็ตองบรรยายใหเห็นภาพ เมื่อจะ
บรรยายนรก-สวรรค ก็ตองพูดใหเห็นจริงเห็นจัง หรือจะมาเขียน
เปนภาพประกอบ จะใหคนธรรมดาเกิดความสนใจ ก็ตองนําเสนอ
ในรูปแบบที่ทําใหเกิดความเขาใจงาย เทียบเคียงหรือประยุกตเขา
กบั สง่ิ ทีค่ นรเู หน็ กันในยคุ นั้นถิ่นนั้น

เพราะฉะนั้น เราจะเอาวรรณคดีรุนหลังๆ หรือภาพตามฝา
ผนังเปนมาตรฐานไมได เพราะน่ีเปนรูปของการทําใหงายแลว จะ
วา ตามนัน้ ทเี ดยี วไมได

ก็เปนอันวา ในแงท่ีหนึ่ง สําหรับคําถามวา นรก-สวรรค
หลังจากตายในพระไตรปฎกมีไหม? เม่ือถือตามตัวอักษร ก็
เปน อันวา มี ดังท่กี ลาวมาแลว

สวนที่วาอาจมีบางทานแสดงความเห็นวา เร่ืองน้ีสัมพันธ
กบั ความเชื่อท่ีมีดั้งเดิม เชนวาพระพุทธเจาอาจจะตรัสไปตามท่ีคน
เช่ือกันอยู นั่นก็เปนเร่ืองที่เราจะตองศึกษาคนควากันตอไป
นอกจากนี้ใครจะตีความอยางไรตอไป อาตมาไมเก่ียว


Click to View FlipBook Version