The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายวิชาETP105 คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ เเละจิตวิณญาณความเป็นครู คณะครุศาสตร์ เอกการประถมศึกษา ปีการศึกษา 2563 (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kanza709, 2021-03-04 01:29:14

รายวิชาETP105 คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ เเละจิตวิณญาณความเป็นครู คณะครุศาสตร์ เอกการประถมศึกษา ปีการศึกษา 2563 (1)

รายวิชาETP105 คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ เเละจิตวิณญาณความเป็นครู คณะครุศาสตร์ เอกการประถมศึกษา ปีการศึกษา 2563 (1)

รายวชิ าETP105 คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ
เเละ จิตวณิ ญาณความเป็ นครู

คณะครุศาสตร์ เอกการประถมศึกษา ปี การศึกษา 2563





สมัยสุโขทัย

รูปแบบการจัดการศึกษาในสมัยน้ี แบง่ ออกเปน็ 2 ฝา่ ยคอื
ฝ่ายที่หนง่ึ เปน็ การจัดการศึกษาสาหรับผู้ชายที่เป็นทหาร เชน่ มวย กระบี่
กระบองและอาวุธตา่ ง ๆ ตลอดจนวธิ กี ารบงั คบั ม้า ชา้ ง ตาราพชิ ยั ยทุ ธ์
ฝ่ายทส่ี องศาสนาจกั ร เปน็ การศกึ ษาเก่ยี วกบั พระพุทธศาสนาการจดั
การศกึ ษาในสมัยสโุ ขทัย จึงเป็นการจดั การศกึ ษาทีเ่ น้นพระพุทธศาสนา
และศลิ ปะศาสตร์
สอนท่ี บ้านและสานักสงฆ์เป็นสว่ นใหญ่

home.acn.ac.th/html_edu/cgibin/acn/main_php/print_informed.php?id_count_inform=266&fbclid=IwAR0DoPgPMlFpPZ0TkdGis7x-
FYuWNLXB2DPeDX9CIIkNoPcE7fU88iMz1Yg สืบคน้ เมื่อ 13 ธนั วาคม 2563

ส มั ย ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย า อ ยุ ธ ย า

การศกึ ษาในสมยั นี้ เน้นการอา่ น เขียน เรยี นเลข อนั เป็นวิชาพืน้ ฐาน สาหรบั การ
ประกอบสัมมาอาชีพของคนไทย พระโหราธิบดไี ดแ้ ต่งแบบเรยี นภาษาไทย
ชื่อ จินดามณี ถวายสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราชซ่ึงใช้เป็นแบบเรยี นสบื มา
สถานศกึ ษา ในสมัยกรุงศรีอยุธยานย้ี งั คงเหมอื นกับสมัยสุโขทยั ท่ีตา่ งออกไป คือ
มีโรงเรียนมิชชนั นารี เปน็ โรงเรยี นทช่ี าวตะวนั ตกได้เขา้ มาสรา้ งเพือ่ เผยแพร่ศาสนาและ
ขณะ เดียวกันก็สอนวิชาสามัญดว้ ย

สาหรบั เด็กผชู้ ายไดเ้ รยี นวชิ าวาดเขยี น แกะสลกั และชา่ งฝีมอื ตา่ ง ๆ ทพี่ ระสงฆเ์ ป็น
ผ้สู อนให้ ส่วนเดก็ ผ้หู ญิงเรยี นรกู้ ารบา้ นการเรอื นโดยมแี ม่เป็นคนสอน

www.baanjomyut.com/library_3/extension1/study_of_thailand/04.html?fbclid=IwAR1xs2ds_j6qFT12-
XJlkfoETKxARkS7xBeuurXz4OLRKj6hce7EoF8JDC8สืบคน้ เมื่อ 13 ธนั วาคม 2563

ส มั ย ก รุ ง ธ น บุ รี

การศกึ ษาในสมยั นเี้ ช่นเดยี วกับสมัยอยธุ ยา บา้ นและวดั ยังคงมีบทบาท
เหมอื นเดมิ การจดั การศึกษา เป็นระยะเก็บรวบรวมสรรพตาราจากแหล่ง
ตา่ ง ๆ ทรี่ อดพ้นจากการทาลายของพมา่ เน้นการทานุบารงุ ตาราทาง
ศาสนา ศิลปะและวรรณคดี ฟ้นื ฟกู ารศกึ ษาดา้ นอกั ษรศาสตร์ วรรณคดี มี
การแต่งรามเกียรตไิ ดเ้ คา้ โครงเรอ่ื งมาจากอนิ เดียเรื่อง รามายณะ ศิลปะ
กฎหมาย เชน่ กฎหมายตรา3ดวง และหลกั ธรรมทางศาสนา มีการ
สังคายนาพระไตรปฎิ ก

www.baanjomyut.com/library_3/extension-
1/study_of_thailand/04.html?fbclid=IwAR1eFhjEfCogGoSn82f0F_vqBVMaYn5fN4tfLTucmv8gK-

1O6YbAEeJ8NzIสืบคน้ เมื่อ 13 ธนั วาคม 2563

สมัยรัตนโกสินทร์

รชั กาลที่ 1 ทรงฟื้นฟูการศึกษาดา้ นอกั ษร ศาสตรโ์ บราณคดีวรรณคดีศิลปะ กฎหมาย วชิ าแพทย์
แผนโบราณ สังคายนาพระไตรปฎิ ก ทรงโปรดให้มกี ารสอนและการสอบพระปรยิ ัตธิ รรม
รัชกาลที่ 2 การศึกษา ของไทยจงึ เรม่ิ เปล่ยี นแปลงไป มีความเจริญรงุ่ เรอื งทางดา้ นอักษรศาสตร์
รัชกาลที่ 3 ไดจ้ ัดตง้ั โรงพมิ พ์หนงั สอื ไทยได้สร้างประโยชนอ์ ย่างมาก แกก่ ารศกึ ษาไทย เนือ่ งจากทา
ให้ประเทศสามารถผลติ หนงั สือเรียนภาษาไทยไดเ้ ป็นจานวนมาก
รัชกาลที่ 4 ไดม้ ีการจา้ งครฝู รง่ั มาสอนหนงั สือและภาษาอังกฤษแก่บุตรหลานทบี่ า้ น
รัชกาลที่ 5 ทรงสนบั สนนุ การศึกษาอย่างจริงจงั มกี ารจัดการเรยี นการสอนในชน้ั เรียน การสอบไล่
และจัดให้มีทนุ เลา่ เรยี นหลวงเพอ่ื ใหร้ าษฎร

สมยั รตั นโกสนิ ทร.์ (2551).



ความเป็นมา

• พ.ศ.2434 มกี ารกอ่ ตั้ง “วทิ ยาทานสถาน” โดยเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) เสนาบดคี นแรก ต้ังอยูท่ ีส่ ีก่ ัก๊ พระยาศรี เปิดเป็นหอ้ งสมุด
และสโมสรสาหรบั ประชาชน โดยมีท้ังหนงั สอื ไทยและต่างประเทศต่อมาได้ยา้ ยไปตั้งทโ่ี รงเลย้ี งเดก็ หรอื โรงเรยี นสายสวลสี ณั ฐานคาร

• พ.ศ.2438 มกี ารจดั อบรมครูครง้ั แรก เพ่ือเพ่ิมพนู ความรใู้ หมๆ่ ใหแ้ ก่ครู โดยผู้อบรมครคู นแรก คือ เจา้ พระยาธรรมศักดมิ์ นตรี (นายสนั่น เทพ
หสั ดนิ ณ อยุธยา)
16 มกราคม 2488ประกาศใช้ พระราชบัญญตั ิครู พุทธศักราช 2488 ให้มสี ภาในกระทรวงศึกษาธิการ เรียกว่า “คุรสุ ภา” กาหนดใหค้ รูทุก
คนเปน็ สมาชกิ ของครุ สุ ภา
2 มีนาคม 2488 คณะกรรมการอานวยการครุ ุสภา ไดป้ ระชมุ และมีมติแตง่ ต้ังข้าราชการประจาของกระทรวงศึกษาธกิ ารมารกั ษาการใน
ตาแหน่งเลขาธกิ ารและหวั หน้าแผนกต่างๆ ชดุ แรก จานวน 9 คน เพ่ือเปน็ เจา้ หนา้ ท่ผี ปู้ ฏิบัติงาน มีพระยาจินดารกั ษ์ (อธิบดกี รมพลศึกษา)
รักษาการในตาแหน่งเลขาธิการคุรุสภา

• ปี พ.ศ.2546 ไดม้ ีการตราพระราชบญั ญัตสิ ภาครูและบุคลากรทางการศึกษาข้นึ เพ่ือปรบั ปรุงคุรสุ ภาเดมิ ตามพระราชบญั ญัตคิ รพู ุทธศกั ราช
2488 เปน็ 2 องคก์ ร คือ 1) สภาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา เรยี กชอ่ื เหมอื นเดมิ วา่ “ครุ สุ ภา” มีฐานะเป็นนิตบิ คุ คลอยใู่ นกากับของ
กระทรวงศึกษาธิการ 2) สานักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ สวสั ดกิ ารและสวัสดิภาพครแู ละบุคลากรทางการศึกษา เรียกวา่ “สกสค.”

www.ksp.or.th/ksp2018/ksp_history/สืบคน้ เม่ือ 13 ธนั วาคม 2563

วัตถุประสงค์ของคุรุสภา

1. กาหนดมาตรฐานวชิ าชีพ ออกและเพิกถอนใบอนญุ าต กากบั ดูแลการ
ปฏบิ ัติตามมาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณวชิ าชพี รวมทงั้ การพัฒนา
วิชาชพี
2. กาหนดนโยบายและแผนพัฒนาวชิ าชีพ
3. ประสาน สง่ เสรมิ การศึกษาและการวิจัยเก่ยี วกบั การประกอบวชิ าชีพ

www.ksp.or.th/ksp2018/objectives/สืบคน้ เม่ือ 13 ธนั วาคม 2563

อานาจหน้าที่ของคุรุสภา

• 1.กาหนดมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณของวิชาชีพ
2. ควบคุม ความประพฤติและการดาเนนิ งานของผู้ประกอบวิชาชพี
ทางการศกึ ษา
• 3. ออกใบอนญุ าตใหแ้ ก่ผขู้ อประกอบวิชาชีพ
• 4. พักใช้ใบอนญุ าตหรือเพิกถอนใบอนญุ าต
• 5. รบั รองปรญิ ญา ประกาศนยี บัตร หรอื วฒุ บิ ัตรของสถาบันต่าง ๆ ตาม
มาตรฐานวชิ าชีพ

www.ksp.or.th/ksp2018/objectives/สบื คน้ เม่ือ 13 ธนั วาคม 2563

บ ท บ า ท ข อ ง คุ รุ สภ า

1 ด้านมาตรฐานและจรรยาบรรณวชิ าชพี
2 ด้านการพิทักษส์ ิทธิ
3 ด้านการเปน็ ศนู ย์กลางองคก์ รวิชาชพี
4 ดา้ นการบรกิ ารสงั คม
5 ด้านการพัฒนาวิชาชพี
6 ด้านใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพ
7 ดา้ นการจัดสวสั ดกิ าร
8 ดา้ นการมีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษา

www.ksp.or.th/ksp2018/objectives/สบื คน้ เม่ือ 13 ธนั วาคม 2563

ข้ อ บั ง คั บ คุ รุ สภ า

• ครุ สุ ภามีอานาจพักใช้หรือเพกิ ถอนใบอนญุ าต ออกขอ้ บังคบั เก่ียวกบั
ใบอนญุ าต จรรยาบรรณวิชาชพี
• คณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชีพวินิจฉยั ลงโทษ กรณีตามมาตรา 51 หากไม่
ผิดก็ไมม่ โี ทษ (ยกขอ้ กล่าวหา) หากผิดโทษทีไ่ ด้รับจากระดบั เบาไปหนกั คือ
ตกั เตอื น ภาคทณั ฑ์ พักใช้ และ เพกิ ถอนใบอนญุ าต น้นั คอื โทษ 5 สถาน
• ผ้ปู ระกอบวิชาชพี ไม่มีใบอนุญาตฯ แล้วไปทาหนา้ ทนี่ น้ั ๆ จบั ไดจ้ ะถูก
ลงโทษจาคกุ ไมเ่ กนิ 1 ปี ปรบั ไมเ่ กิน 2 หมืน่ บาทหรือทั้งจาและปรับ

www.kruwandee.com/news-id31547.htmlสืบคน้ เม่ือ 13 ธนั วาคม 2563

จรรยาบรรณ

ความหมายของจรรยาจริยคือ ธรรมที่เป็นขอ้ ปฎบิ ัติ ศีลธรรม กฎศีลธรรม

(ราชบัณฑิตยสถาน: 2557)ความหมายของจรรยาบรรณคือ ประมวลความประพฤติ

ทีผ่ ูป้ ระกอบวิชาชพี การงานแต่ละอย่าง (ราชบัณฑติ ยสถาน. 2546 : 289)

ความหมายของวิชาชีพคอื งานท่ีตนได้ปฏญิ าณวา่ จะอทุ ิศตัวทาไปตลอดชีวิต เป็น

งานที่ต้องไดร้ ับการอบรมสั่งสอนมานาน เป็นงานท่ีมีขนบธรรมเนียมและจรรยาของ

หมคู่ ณะโดยเฉพาะความหมายของจรรยาบรรณวชิ าชพี คอื แบบแผนท่ขี ้าราชการ

ตอ้ งประพฤติปฎบิ ัติ (ยนตช์ ุมจติ . 2531 : 131)“จริย” และ“จรรยา” นัน้ นัยของ 2

คานห้ี มายถึง พฤติกรรมที่แสดงออกโดยมีเป้าหมายให้ผูป้ ฏบิ ตั ิมีความประพฤติท่ดี อี ยู่

ในครรลองครองธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพครู. 2525. [ระบบออนไลน]์ . แหล่งท่ีมา
http://www.korsornorphayathai.com/

จรรยาบรรณวิชาชีพบุคลากรทางการศึกษา

การศึกษาของไทยในสมัยปฏิรูปการศกึ ษาที่เกย่ี วข้องกับครมู กี ารพฒั นา ดงั นี้

พ.ศ.2414 ตงั้ โรงเรียนหลวงขนึ้ ในพระบรมมหาราชวงั โดยมีพระยาศรสี นุ ทรโวหาร(นอ้ ย อาจารยิ างกูล)
เป็นอาจารยใ์ หญ่ และมกี ารจัดตัง้ โรงเรยี นประเภทอนื่ ๆ เชน่ โรงเรยี นหลวงสาหรับสอนภาษาองั กฤษใน
พระบรมมหาราชวงั

พ.ศ.2427 ทรงตง้ั โรงเรียนหลวงสาหรับราษฎรขน้ึ ตามวัดในกรงุ เทพหลายแห่ง แหง่ แรกคือโรงเรียนวดั

มหรรณพาราม
พ.ศ.2435 ตัง้ โรงเรียนฝึกหัดครเู ป็นแห่งแรกท่ตี าบลโรงเลย้ี งเด็ก ตอ่ มายา้ ยไปอย่ทู ี่วดั เทพศิรนิ ทร์ทราวาส
พ.ศ.2437 นักเรียนฝกึ หัดครูยุคแรกมี 3 คน สาเรจ็ การศึกษา ได้รับประกาศนียบัตรวชิ าชีพครสู อน

ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
พ.ศ.2449 ยกระดับโรงเรยี นฝึกหัดครู โดยปรับปรุงหลักสูตรใหส้ ูงข้ึนเปน็ โรงเรยี นฝึกหัดอาจารยส์ อน

หลักสูตร 2 ปี รบั นกั เรียนทส่ี าเรจ็ มัธยมศกึ ษา
ทมี่ า:http://rittichai02.blogspot.com/2015/10/blog-post.html สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ีนฐาน

พ.ศ.2456 ตงั้ โรงเรียนฝึกหดั ครูหญงิ ขนึ้ เปน็ ครง้ั แรกทโ่ี รงเรยี นเบญจมราชาลัย ใน
พ.ศ.2414นนั้ ไดม้ พี ระบรมราชโองการตงั้ โรงเรยี น จงึ ทาใหม้ องเหน็ ระบบโรงเรยี นได้ 6
ประการ มอี ยู่ 2 ประการ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั ครอู ยา่ งชดั เจนคอื (เจริญ ไกรวจั นกูล. ม.ป.ป. : 64)

1) โรงเรยี นแหง่ แรกทส่ี อนหนังสือไทยตง้ั ข้ึนในพระบรมมหาราชวัง มีขนุ นางและเจา้
พนักงานจากกรมพระอาลักษณเ์ ปน็ ครูสอน

2) ผู้เปน็ ครเู ป็นข้าราชการ มีเงนิ เดอื น ผู้เรียนมีเสอื้ ผา้ และอาหารกลางวนั พระราชทาน
พ.ศ.2461 ปรับปรงุ และขยายการฝึกหัดครู โอนกลบั มาขึ้นกบั กระทรวงศกึ ษาธิการ เดิมเป็น
แผนหนงึ่ ของโรงเรียนขา้ ราชการพลเรอื น

สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ีนฐาน

ครูยุคการศกึ ษาไทยในสมยั ไทยในสมยั การปกครองระบอบประชาธิไตย พ.ศ.2475-2487

วนั ท่ี 24 มถิ นุ ายน พ.ศ.2475 ประเทศไทยมกี ารเปลยี่ นแปลงการปกครองจากระบอบ
สมบูรณาญาสิทธริ าชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย โดยบคุ คลคณะหน่งึ เรยี กวา่ “คณะราษฎร์” เมอื่
เปล่ยี นแปลงการปกครองแลว้ อุดมการณ์ของคณะราษฎร์ทีม่ เี ปา้ หมายสาคญั ในการพฒั นาประเทศ เรียกว่า
หลกั 6 ประการ

สาหรับในประการที่ 6 มีความว่า “จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มท่ีแก่ราษฎร” ในส่วนท่ีเกี่ยวกับครู
พบว่าในปี พ.ศ.2484 มีการจัดต้งั กองฝึกหดั ครูในกระทรวงธรรมการ (วิทยาลยั ครูสวนสุนันทา 2525 : 107-
3108 และสถาบนั ราชภัฏสวนสุนนั ทา 2539 : 55-62)
ที่มา:http://rittichai02.blogspot.com/2015/10/blog-post.html

สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ีนฐาน

จรรยาบรรณตอ่ จรรยาบรรณต่อ จรรยาบรรณตอ่ จรรยาบรรณต่อผู้ร่วม จรรยาบรรณตอ่
ประกอบวชิ าชพี
ตนเอง วชิ าชพี ผู้รับบริการ สังคม

ครู - ครูต้องมวี ินยั ในตนเอง(1) - ครตู ้องรกั ศรทั ธา ซ่ือสัตย์ - ครูตอ้ งกตญั ญูกตเวที เปน็ - ครพู งึ ช่วยเหลือเก้อื กลู ซ่ึงกัน - ครตู อ้ งรู้จกั เสยี สละ
สจุ ริต รับผดิ ชอบตอ่ วชิ าชีพ แบบอย่างที่ดแี กศ่ ษิ ย์(5) และกนั อย่างสร้างสรรค์ โดย - ครูตอ้ งเอาใจใส่ช่วยเหลอื ผอู้ น่ื

และเป็นสมาชกิ ทด่ี ี ขององคก์ ร ยดึ ม่นั ใน ระบบคุณธรรม สร้าง อย่เู สมอ

วชิ าชพี (2) ความสามคั คี ในหมูค่ ณะ(8)

ผบู้ รหิ ารการศกึ ษา -เปน็ แบบอย่างท่ดี ี และพัฒนา - ซือ่ สัตย์ตอ่ วิชาชพี (2) - ซือ่ สัตย์ต่อผู้รับบรกิ ารรกั ษา - พงึ ชว่ ยเหลือเก้อื กลู ซ่งึ กันและ - พึงปฏิบตั ิตนเปน็ ผูน้ าในการ
ตนใหม้ คี ณุ ธรรม(1) - ใชว้ ชิ าชพี ในการบริหาร ความลับและผลประโยชน์
ผบู้ รหิ าร - มคี วามซ่ือสตั ย์ต่อตนเอง(1) จัดการดว้ ยความซ่ือสัตย์ สจุ ริต ในทางทีถ่ กู ของผรู้ บั บริการ(7) กนั อยา่ งสร้างสรรค์ โดยยึดมนั่ อนุรกั ษ์และพฒั นาเศรษฐกิจ
สถานศกึ ษา (2)
- ต้องมีวนิ ัยในตนเอง พฒั นา - ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่
ตนเองดา้ นวชิ าชพี บคุ ลิกภาพ - ต้องรกั ศรัทธา ซอื่ สัตย์สุจริต ชว่ ยเหลือ ส่งเสริม ใหก้ าลังใจ
และวสิ ัยทศั น์(1) รับผิดชอบตอ่ วิชาชพี (2) แกศ่ ิษย์(3)

ในระบบคณุ ธรรม(8) สังคม ศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม

ภูมิปัญญา ส่ิงแวดล้อม รกั ษา

ผลประโยชนส์ ว่ นรวม(9)

ศกึ ษานิเทศก์ - ตอ้ งมวี นิ ัยในตนเอง พฒั นา - ตอ้ งรกั ศรัทธา ซอื่ สตั ย์ สุจริต - พึงชว่ ยเหลอื เก้ือกูลซ่งึ กันและ - พึงปฏิบัตติ นเปน็ ผู้นาในการ
ตนเองด้านวชิ าชพี บคุ ลกิ ภาพ รับผิดชอบตอ่ วิชาชพี และเปน็
และ วิสยั ทัศน์ ให้ทันตอ่ การ สมาชิกทดี่ ขี ององค์กรวิชาชีพ กันอยา่ งสรา้ งสรรค(์ 8) อนรุ กั ษ์และพฒั นาเศรษฐกจิ
พัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ (2)
สังคม และ การเมือง อยู่เสมอ - ยดึ ม่ันระบบคณุ ธรรม มีความ สงั คม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
(1)
ยุติธรรม (8) ภูมปิ ัญญา ส่ิงแวดลอ้ ม รักษา

- สร้างความสามคั คีในหมคู่ ณะ ผลประโยชน์สว่ นรวม(9)

(8)

ฉบบั ที่ 1 เรยี กวา่ ระเบียบครุ สุ ภาว่าด้วยวินยั ตาม ฉบบั ท่ี 2 เรียกวา่ ระเบยี บคุรสุ ภาวา่ ด้วยจรรยามรรยาท ระเบียบคุรุสภา
ว่าด้วยจรรยามรรยาทและวนิ ัยตามระเบยี บ
ระเบยี บประเพณขี องครู พ.ศ. 2506 ตามระเบยี บประเพณขี องครู พ.ศ. 2506
ประเพณขี องครู พ.ศ. 2526

1. ครตู ้องสนบั สนุนและปฏิบตั ิตามกฎของรฐั ด้วยความ 1. ครตู ้องสนับสนนุ และปฏิบตั ิตามกฎของรัฐดว้ ยความ 1.เล่อื มใสการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมี

บริสทุ ธ์ิใจ บริสุทธิ์ใจ พระมหากษตั รยิ ์เป็นประมขุ

2. ครูต้องต้งั ใจปฏิบัตหิ นา้ ท่ีของครู 2. ครคู วรบาเพ็ญตนให้สมกบั ที่ได้ช่อื วา่ เปน็ ครู 2.ยึดม่นั ในศาสนาทต่ี นนับถอื ไมล่ บหลูด่ หู มน่ิ ศาสนาอื่น
3. ครูควรใฝใ่ จศึกษาหาความร้คู วามชานาญอยเู่ สมอ 3.ตั้งใจส่งั สอนศิษย์
3. ครตู อ้ งสภุ าพเรียบรอ้ ย เชื่อฟงั และไม่แสดงความ
กระดา้ งกระเดอ่ื งต่อผู้บังคบั บัญชา

4. ครูต้องอทุ ิศเวลาของตนให้สถานศกึ ษา 4. ครคู วรต้งั ใจฝกึ สอนศษิ ย์ ให้เปน็ พลเมอื งดขี องชาติ 4.รกั ษาช่ือเสยี งของตนมิให้ข้ึนชอ่ื ว่าเปน็ ผู้ประพฤติชวั่
5. ครตู อ้ งมีความซอื่ สัตยส์ ุจริต
5. ครคู วรร่วมมือกับผปู้ กครอง ในการอบรมสงั่ สอนเดก็ 5.ถือปฏบิ ตั ติ ามระเบียบและแบบธรรมเนียมอันดีงามของ
6. ครูตอ้ งรกั ษาช่ือเสยี งของครูมิให้ข้ึนชอื่ วา่ เปน็ ผู้ สถานศกึ ษา
ประพฤตชิ ่ัว อย่างใกล้ชิด

6. ครูควรรู้จักเสยี สละและรบั ผิดชอบในหน้าท่กี ารงานทั้ง 6.ถ่ายทอดวชิ าความร้โู ดยไม่บดิ เบือน
ปวง

สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ีนฐาน

ฉบบั ท่ี 1 เรยี กวา่ ระเบยี บครุ สุ ภาว่าด้วยวนิ ยั ตาม ฉบบั ท่ี 2 เรียกว่าระเบยี บคุรุสภาวา่ ดว้ ยจรรยามรรยาท ระเบยี บคุรสุ ภา
ว่าด้วยจรรยามรรยาทและวินยั
ระเบียบประเพณขี องครู พ.ศ. 2506 ตามระเบียบประเพณขี องครู พ.ศ. 2506 ตามระเบยี บประเพณีของครู พ.ศ. 2526

7. ครตู อ้ งประพฤติตนเป็นแบบอยา่ งทีด่ แี กศ่ ษิ ย์ 7. ครคู วรรกั ษาชอ่ื เสยี งของคณะครู 7.ใหเ้ กยี รติแกผ่ อู้ ืน่ ทางวิชาการโดยไม่นาผลงานของผ้ใู ดมาแอบ
อ้างเป็นผลงานของตน

8. ครูตอ้ งถอื และปฏิบัติตามแบบธรรมเนียมของ 8. ครูควรรู้จักมัธยสั ถ์และพยายามสร้างฐานะของตนเอง 8.ประพฤติตนอยูใ่ นความซอ่ื สัตย์สุจริต
สถานศกึ ษา

9. ครูต้องรกั ษาความสามคั คีระหวา่ งครู และชว่ ยเหลอื ซงึ่ 9. ครูควรยึดมัน่ ในศาสนาทต่ี นนบั ถือ และไมล่ บหลู่ 9.สภุ าพเรยี บรอ้ ย ประพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีแกศ่ ษิ ย์

กนั และกัน ศาสนาอ่นื

10. ครูต้องรกั ษาความลับของศษิ ย์ ผ้รู ่วมงาน และ 10. ครคู วรบาเพ็ญตนใหเ้ ปน็ ประโยชน์แกส่ งั คม 10.รักษาความสามัคคีระหว่างครู และชว่ ยเหลือกันในหนา้ ที่การ
สถานศกึ ษา งาน

สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ีนฐาน

ระเบียบคุรุสภาว่าด้วยจรรยาบรรณครู

พ.ศ. 2539

ขอ้ 1 ระเบียบน้เี รยี กวา่ “ระเบยี บครุ สุ ภาวา่ ดว้ ยจรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539”

ขอ้ 2 ระเบียบใหใ้ ชบ้ ังคับตงั้ แต่วนั ถดั จากวันประกาศเป็นต้นไป

ข้อ 3 ให้ยกเลิกระเบยี บครุ ุสภาว่าดว้ ยจรรยามารยาทและวินัยตามระเบยี บประเพณีของครู พ.ศ. 2526 และให้ใช้ระเบียบน้ี

แทน

ขอ้ 4 กาหนดให้ครูมจี รรยาบรรณดงั ต่อไปน้ี

(1) ครตู อ้ งรักและเมตตาศิษย์

(2) ครูตอ้ งอบรม สัง่ สอน ฝกึ ฝน สร้างเสริมความรู้ ใหเ้ กดิ แกศ่ ิษย์

(3) ครตู อ้ งไม่กระทาตนเป็นปฏปิ กั ษต์ ่อความเจรญิ ทางกาย สิติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสงั คมของศษิ ย์

(4) ครตู อ้ งไม่แสวงหาผลประโยชน์อันเปน็ อามสิ สนิ จ้างจากศษิ ย์ในการปฏบิ ตั ิหน้าที่

(5) ครตู อ้ งพฒั นาตนเองทัง้ ในด้านวิชาชพี ด้านบคุ ลิกภาพและวิสยั ทศั น์ใหท้ นั ตอ่ การพฒั นาทางวิทยาการ

(6) ครูยอ่ มรักและศรัทธาในวชิ าชพี ครู

(7) ครพู งึ ชว่ ยเหลือเก้ือกลู ครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์

(8) ครตู ้องปฏิบัตติ นเป็นผู้นาในการอนุรักษ์และพัฒนาภมู ิปญั ญาและวฒั นธรรมไทย

ขอ้ 5. ใหเ้ ลขาธิการครุ ุสภารักษาการใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บนี้ สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ีนฐาน

ขอ้ บงั คับคุรุสภา ขอ้ บงั คับครุสภา ข้อบังคับครุสภา
ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณของวชิ าชพี วา่ ด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2556 ว่าดว้ ยจรรยาบรรณของวชิ าชพี พ.ศ. 2562

พ.ศ. 2548

หมวด 3จรรยาบรรณของวิชาชพี หมวด 1 จรรยาบรรณต่อตนเอง ด้านท่ี 1 จรรยาบรรณต่อตนเอง
สว่ นท่ี1 จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง 1.ผูป้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ตอ้ งมวี ินยั ในตนเอง พฒั นา 1.ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมวี นิ ัยในตนเอง พัฒนา
1.ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องมีวินัยในตนเอง พฒั นา ตนเองดา้ นวิชาชพี บคุ ลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทนั ต่อการ ตนเองด้านวิชาชีพ บคุ ลิกภาพ และวิสัยทศั น์ ใหท้ ันตอ่ การ
ตนเองดา้ นบคุ ลกิ ภาพและวิสัยทศั น์ ให้ทนั ตอ่ การพัฒนาทาง พัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมอื งอยู่เสมอ พฒั นาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สงั คม และการเมืองอยูเ่ สมอ
วทิ ยาการ เศรษฐกิจ สงั คม และการเมอื งอยู่เสมอ

ส่วนท่ี2 จรรยาบรรณต่อวชิ าชีพ หมวด 2 จรรยาบรรณตอ่ วิชาชพี ด้านที่ 2 จรรยาบรรณตอ่ วิชาชีพ
2.ผ้ปู ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษาตอ้ งรกั ศรัทธา ซอ่ื สัตย์
2.ผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ต้องรัก ศรทั ธา ซ่ือสัตย์ 2.ผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษาตอ้ งรัก ศรทั ธา ซอื่ สตั ย์ สจุ รติ รบั ผดิ ชอบตอ่ วชิ าชพี และเป็นสมาชกิ ทด่ี ขี ององค์กร
วิชาชีพ
สุจรติ รบั ผิดชอบตอ่ วชิ าชีพและเป็นสมาชิกทดี่ ขี ององค์กร สุจรติ รบั ผิดชอบตอ่ วิชาชีพและเปน็ สมาชกิ ที่ดขี ององค์กร

วิชาชีพ วิชาชพี

ส่วนท่ี3 จรรยาบรรณต่อผรู้ ับบรกิ าร หมวด 3 จรรยาบรรณตอ่ ผรู้ ับบรกิ าร ด้านท่ี 3 จรรยาบรรณต่อผู้รบั บรกิ าร
3.ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ 3.ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ 3.ผ้ปู ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ต้องรกั เมตตา เอาใจใส่
ชว่ ยเหลอื ส่งเสรมิ ให้กาลังใจแก่ศิษย์ และผ้รู บั บริการ ตาม ชว่ ยเหลอื สง่ เสรมิ ให้กาลังใจแก่ศษิ ยแ์ ละผูร้ ับบริการ ตาม ชว่ ยเหลือส่งเสรมิ ใหก้ าลงั ใจแก่ศิษยแ์ ละผ้รู บั บรกิ าร ตาม
บทบาทหน้าทโ่ี ดยเสมอหน้า บทบาทหนา้ ทีโ่ ดยเสมอหน้า บทบาทหน้าที่โดยเสมอหนา้
4.ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ตอ้ งส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ การ 4.ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาตอ้ งส่งเสริมให้เกิดการเรยี นรู้ 4.ผ้ปู ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษาตอ้ งส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้
เรียนรู้ ทักษะ และนิสัยท่ีถูกต้องดงี ามแกศ่ ิษย์ และผรู้ ับบรกิ าร ทักษะ และนสิ ัย ท่ีถูกตอ้ งดงี ามแกศ่ ษิ ย์และผรู้ ับบรกิ าร ตาม ทักษะ และนิสัย ทีถ่ ูกตอ้ งดงี ามแกศ่ ิษย์และผูร้ ับบรกิ าร ตาม
ตามบทบาทหนา้ ทอี่ ย่างเตม็ ความสามารถ ด้วยความบริสทุ ธ์ใิ จ บทบาทหน้าทอี่ ยา่ งเต็มความสามารถ ดว้ ยความบรสิ ุทธใ์ิ จ บทบาทหน้าท่ีอยา่ งเต็มความสามารถ ดว้ ยความบริสุทธิ์ใจ
5.ผูป้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ต้องประพฤติปฏบิ ัติตนเปน็ 5.ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องประพฤตปิ ฏิบัติตนเปน็ 5.ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ตอ้ งประพฤตปิ ฏบิ ัตติ นเป็น
แบบอยา่ งท่ีดี ทงั้ ทางกายวาจา และจติ ใจ แบบอยา่ งท่ดี ี ทั้งทางกาย วาจา และจติ ใจ แบบอยา่ งทดี่ ี ทัง้ ทางกาย วาจา และจติ ใจ

สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ีนฐาน

ขอ้ บังคบั ครุ ุสภา ข้อบังคบั ครสุ ภา ข้อบงั คับครสุ ภา
ว่าดว้ ยมาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณของวชิ าชีพ ว่าด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2556 ว่าด้วยจรรยาบรรณของวิชาชพี พ.ศ. 2562

พ.ศ. 2548

6.ผ้ปู ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ตอ้ งไม่กระทาตนเปน็ 6.ผูป้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ตอ้ งไมก่ ระทาตนเป็น 6.ผ้ปู ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตอ้ งไม่กระทาตนเป็น
ปฏปิ กั ษต์ อ่ ความเจรญิ ทางกายสตปิ ญั ญา จติ ใจ อารมณ์ และ ปฏิปักษต์ ่อความเจริญทางกาย สตปิ ญั ญา จิตใจ อารมณ์ และ ปฏิปกั ษ์ต่อความเจรญิ ทางกาย สตปิ ัญญา จิตใจ อารมณ์ และ
สังคมของศิษย์ และผ้รู บั บรกิ าร สงั คมของศษิ ย์และผู้รบั บริการ สงั คมของศิษยแ์ ละผรู้ ับบรกิ าร
7.ผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ตอ้ งให้บรกิ ารด้วยความ 7.ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ตอ้ งใหบ้ ริการด้วยความ 7.ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องให้บรกิ ารด้วยความ
จรงิ ใจและเสมอภาคโดยไม่เรียกรบั หรือยอมรับผลประโยชน์ จรงิ ใจและเสมอภาค โดยไมเ่ รียกรับหรอื ยอมรบั ผลประโยชน์ จรงิ ใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรอื ยอมรบั ผลประโยชน์
จากการใช้ตาแหนง่ หนา้ ท่ีโดยมิชอบ จากการใชต้ าแหน่งหนา้ ท่ีโดยมิชอบ จากการใชต้ าแหนง่ หน้าที่โดยมชิ อบ

ส่วนท4ี่ จรรยาบรรณต่อผูร้ ่วมประกอบวชิ าชีพ หมวด 4 จรรยาบรรณต่อผ้รู ่วมประกอบวิชาชีพ ด้านที่ 4 จรรยาบรรณต่อผ้รู ่วมประกอบวิชาชีพ
8.ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา พึงช่วยเหลือเก้ือกูลซง่ึ กนั 8.ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา พึงช่วยเหลอื เกอื้ กูลซึ่งกัน 8.ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พงึ ช่วยเหลอื เก้อื กูลซึง่ กัน
และกันอยา่ งสรา้ งสรรค์โดยยดึ มน่ั ในระบบคุณธรรม สร้าง และกันอยา่ งสรา้ งสรรค์โดยยดึ มน่ั ในระบบคุณธรรม สรา้ ง และกนั อยา่ งสรา้ งสรรค์โดยยดึ มั่นในระบบคณุ ธรรม สร้าง
ความสามคั คีในหมู่คณะ ความสามัคคีในหมู่คณะ ความสามคั คใี นหม่คู ณะ

ส่วนท5่ี จรรยาบรรณต่อสังคม หมวด 5 จรรยาบรรณต่อสงั คม ดา้ นที่ 5 จรรยาบรรณตอ่ สงั คม
9.ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา พงึ ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นเปน็ 9.ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา พึงประพฤติปฏบิ ตั ิตนเปน็ 9.ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตนเปน็
ผ้นู าในการอนรุ กั ษ์ และพัฒนาเศรษฐกจิ สังคม ศาสนา ผ้นู าในการอนุรักษ์ และพฒั นาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ผนู้ าในการอนุรกั ษ์ และพฒั นาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา
ศิลปวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาส่งิ แวดล้อม รักษาผลประโยชนข์ อง ศลิ ปวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาสิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของ ศิลปวัฒนธรรม ภมู ิปัญญาสิง่ แวดล้อม รกั ษาผลประโยชน์ของ
สว่ นรวม และยดึ มน่ั ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมี สว่ นรวม และยดึ มนั่ ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมี สว่ นรวม และยดึ ม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ พระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ พระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ

สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ีนฐาน

ครยู ุคมพี ระราชบัญญตั กิ อ่ นมีใบประกอบวิชาชพี (พ.ศ.2488-2545)

พัฒนาการของครใู นยคุ นี้เปน็ ยุคท่ีมีกฎหมายเป็นของตนเอง มศี กั ดข์ิ องอาชีพทีจ่ ะทาภารกิจตามบทบาท หนา้ ที่ และ

สิทธิตา่ งๆ ภายใต้ของการรบั รองของกฎหมายครู โดยเฉพาะสถานภาพของครูในชว่ งระหว่างเวลาดังกล่าวมีการพัฒนาการ

ดังต่อไปน้ี

1. พระราชบัญญตั คิ รู พุทธศกั ราช 2488 ไดบ้ ัญญัตสิ าระสาคัญเกยี่ วขอ้ งกบั พฒั นาการของครู

2. พระราชบญั ญตั คิ ณะกรรมการการประถมศึกษา พ.ศ. 2523 ไดบ้ ัญญตั ิสาระสาคญั เกยี่ วขอ้ งกับพัฒนาการของ
ครู ดงั น้ี

2.1 ไดใ้ หค้ วามหมาย “ขา้ ราชการครู” หมายความวา่ ข้าราชการสังกดั สานกั งานคณะกรรมการประถมศกึ ษา

แห่งชาติ

2.2 ในคณะกรรมการการประถมศึกษาแหง่ ชาติมขี ้าราชการครรู วมอยู่ด้วย เปน็ ขา้ ราชการครผู ู้ได้รบั เลือกต้งั เปน็

ผแู้ ทนราชการครู จานวน 12 คน (มาตรา 5) ในคณะกรรมการ การประถมศกึ ษาจังหวัดทเี่ ปน็ ข้าราชการครู สังกัด

สานักงานการประถมศึกษาจงั หวดั

ผไู้ ด้รบั เลอื กตัง้ เปน็ ผูแ้ ทนราชการครู ผู้ไดร้ ับเลือกต้ังเป็นผแู้ ทนขา้ ราชการครทู างกลมุ่ โรงเรยี นภายในเขตอาเภอกลุ่ม

โรงเรียนละ 1 คน (มาตรา 23 ) ในทุกคณะกรรมการมวี าระอยใู่ นตาแหน่งคราวละ 4 ปี

ที่มา:http://rittichai02.blogspot.com/2015/10/blog-post.html สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ีนฐาน

ใบประกอบวิชาชีพ

ใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา เป็นหลักฐานการอนญุ าตให้ผปู้ ระกอบ
วชิ าชีพควบคมุ ตามมาตรา 43 แหง่ พระราชบญั ญตั ิสภาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
พ.ศ. 2546 เปน็ ผมู้ สี ิทธิ์ในการประกอบวชิ าชีพ ซึง่ ไดแ้ ก่ ครู ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
ผู้บริหารการศึกษา และบคุ ลากรทางการศกึ ษาอืน่ ซงึ่ หนว่ ยงานท่มี ีหน้าท่ใี นการออก
ใบอนญุ าตฯ คอื ครุ สุ ภา
ประเภทของใบอนญุ าต

ใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี ครู
ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพผู้บรหิ ารสถานศึกษา
ใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพผูบ้ รหิ ารการศกึ ษา
ใบอนุญาตประกอบวิชาชพี บคุ ลากรทางการศึกษาอ่ืน
ผูท้ ่จี ะขอรบั ใบประกอบวชิ าชีพ ตอ้ งมอี ายไุ ม่ตา่ กว่า 20 ปีบริบรู ณ์



ความหมายของบุคลากรทางการศึกษา

บุคลากรทางการศกึ ษา หมายความว่า ผ้บู ริหารสถานศึกษา ผูบ้ รหิ ารการศึกษา
รวมทงั้ ผู้สนับสนุนการศึกษาซึง่ เป็นผู้ทาหน้าทใ่ี หบ้ ริการ หรือปฏบิ ัตงิ านเกี่ยวเน่ืองกบั
การจดั กระบวนการเรยี นการสอน การนิเทศ การบริหารการศึกษา และปฏบิ ตั งิ านอืน่
ในหนว่ ยงานการศึกษา

บคุ ลากรทางการศึกษามี 4 ประเภท

ครู อาจารย์

ผู้บริหารการศกึ ษา

ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา

ศกึ ษานิเทศก์ www.auttapontme35851n.blogspot.com สืบคน้ เม่ือ 14 ธนั วาคม 2563

ครู

ผขู้ อรบั ใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี ครตู อ้ งมคี ุณสมบัตแิ ละไม่มีลกั ษณะต้องห้ามดังตอ่ ไปนี้
ก. คุณสมบตั ิ
(1) มอี ายุไม่ต่ากว่ายสี่ ิบปบี รบิ ูรณ์
(2) มีวุฒปิ ริญญาทางการศกึ ษา หรอื เทยี บเทา่ หรือมีคณุ วุฒิอ่นื ท่ีคุรสุ ภารบั รอง

(3) ผา่ นการปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษาตามหลักสตู รปรญิ ญาทางการศกึ ษาเป็นเวลาไม่น้อยกวา่
หนง่ึ ปี และผา่ นเกณฑ์การประเมินปฏบิ ตั กิ ารสอนตามหลกั เกณฑ์วธิ ีการ และเงอื่ นไขท่ีคณะกรรมการ
กาหนด

ข. ลักษณะต้องหา้ ม

(1) เปน็ ผูม้ คี วามประพฤตเิ สอื่ มเสียหรอื บกพรอ่ งในศีลธรรมอันดี

(2) เป็นคนไรค้ วามสามารถหรอื คนเสมอื นไร้ความสามารถ

(3) เคยต้องโทษจาคุกในคดีทคี่ ุรสุ ภาเหน็ ว่าอาจนามาซง่ึ ความเสื่อมเสยี เกียรติศกั ดแิ์ หง่ วชิ าชพี

ครู

ระดบั อัตราเงินเดือน เงนิ ประจาตาแหน่ง ดังนี้
ครผู ู้ชว่ ย เปน็ ตาแหนง่ ทบ่ี รรจแุ ตง่ ตั้งในระดบั แรก (หลกั สตู ร 5 ปี ป.ตรี 15,800 บาท หลกั สูตร 4 ปี
ป.ตรี 15,050 บาท หลกั สูตร 4 ปี + วุฒิประกาศนียบตั รบัณฑติ ทางการศึกษาไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ปี
15,800 บาท)
ครู คศ. 1 ครู คศ. 2 เป็นวทิ ยฐานะครชู านาญการ (≥ 3,500)
ครู คศ. 3 เปน็ วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ (≥5,600×2)
ครู คศ. 4 เป็นวิทยฐานะครูเชย่ี วชาญ (≥9,900×2)
ครู คศ. 5 เป็นวิทยฐานะครูเชย่ี วชาญพเิ ศษ (≥13000×2)

www.auttapontme35851n.blogspot.comสืบคน้ เม่ือ 14 ธนั วาคม 2563

ผู้บริหารสถานศึกษา

คุณสมบตั ิของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา

๒.๑ ต้องเปน็ ขา้ ราซการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน

๒.๒ มีคุณสมบตั ทิ ว่ั ไปตามมาตรา ๓๐ แห่งพระราซบญั ญัติระเบยี บข้าราซการครูแลบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ.๒๕๔๗ และทแี่ กไ้ ขเพิ่มเติม

๒.๓ มีวุฒไิ มต่ ่ากว่าปริญญาตรที างการศึกษา หรือทางอืน่ ท่ี ก.ค.ศ.กาหนดเปน็ คณุ สมบัตเิ ฉพาะสาหรับดาแหน่งน้ี

๒.๔ ดารงตาแหนง่ หรอื เคยดารงตาแหน่งอย่างใดอย่างหนึ่ง ต่อไปน้ี

(๑) รองผอู้ านวยการสถานศึกษา มาแล้วไม่นอ้ ยกวา่ ๑ ปี หรอื รองผู้อานวยการสถานศึกษาทเี่ คยดารงตาแหน่งครู ทีม่ ีวทิ ยฐานะ'ไมต่ ากวา่ คร'ู
ชานาญการ

(๒) รองผ้อู านวยการสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา

(๓) ผูช้ ว่ ยผูอ้ านวยการสานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา

(๔) เจ้าหน้าท่ีบริหารการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

(๕) ศึกษานเิ ทศกแ์ ละมปี ระสบการณ์การบริหารไมต่ า่ กว่าหัวหน้ากลุ่ม หรอื หวั หน้าหนว่ ย หรือผู้อานวยการกลมุ่ มาแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ ๒ ปี

(๖) บคุ ลากรทางการศึกษาอืน่ ตามมาตรา ๓๘ ค.(๒) และมปี ระสบการณ์การบรหิ ารไม่ตา่ กว่าหัวหน้ากลมุ่ หรอื หัวหน้าหน่วย หรือผู้อานวยการ
กล่มุ มาแล้วไมน่ ้อยกวา่ ๒ ปี

(๗) ตาแหนง่ ครู ท่มี วี ทิ ยฐานะไม่ต่ากวา่ ครูขานาญการ

(๘) ศึกษานิเทศก์ที่เคยดารงตาแหนง่ ครูที่มีวทิ ยฐานะไม่ตา่ กว่าครูขานาญการ

(๙) ตาแหนง่ อ่ืนท่ี ก.ค.ศ.เทยี บเทา่

๒.๕ มีใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพผ้บู ริหารสถานศกึ ษา สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ีนฐาน

ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา

1.รองผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา
2.ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา
3.รองผ้อู านวยการสานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา
4.ผู้อานวยการสานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา
5.ตาแหน่งที่เรยี กชอ่ื อยา่ งอื่นตามท่ี ก.ค.ศ. กาหนด
*ก.ค.ศ.=สานักงานคณะกรรมการขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา*

www.lampangcity.go.thสืบคน้ เม่ือ 13 ธนั วาคม 2563

การขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ผู้บริหารสถานศึกษา/ผู้บริหารการศึกษา

ศึกษานิเทศก์

ศึกษานิเทศ กค็ อื ไกดข์ องครู ดงั นั้นศกึ ษานิเทศก็ตอ้ งเป็ นครูทม่ี ปี ระสบการณใ์ นระดบั หนึ่ง
มาก่อนจงึ จะมาเป็ นศกึ ษานิเทศเพอื่ ไกดค์ นอน่ื ได้ เรียนศกึ ษาศาสตร์ ครุศาสตร์ หรือสาขา
อน่ื ที่ กคศ รับรองใหส้ อบบรรจุครูผู้ช่วยได้ + ป.บณั ฑติ ใหม้ ใี บประกอบวชิ าชีพครู แล้วก็
สอบเข้ามาในตาแหน่งครูผู้ช่วย เข้ามาเป็ นครู ตอ้ งมีอายุราชการ 6 ปี กรณีจบ ป.ตรี และ 4
ปี กรณีจบ ป.โท แล้วไปทาเรื่องขอใบประกอบวิชาชพี ศึกษานิเทศกจ์ ากคุรุสภาเพมิ่ เตมิ เมื่อ
เวลาถึงเกณฑแ์ ล้ว และมีใบประกอบวชิ าชีพศกึ ษานิเทศแล้ว จงึ สามารถสอบเป็ น
ศึกษานิเทศได้ ซงึ่ เกณฑก์ าหนดว่าตอ้ งเป็ นข้าราชการครู (เทา่ นั้น) ทม่ี ีอายุตามเกณฑ์ 4-6 ปี
และตอ้ งมีใบประกอบศึกษานิเทศ ถ้าสอบผ่าน ก็จะเป็ นการโอนย้าย และแตง่ ตงั้ เป็ น
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาตาแหน่งศกึ ษานิเทศก์ มปี ระสบการณก์ ารสอน
มาแล้วไม่น้อยกวา่ 5 ปี

www.sesao24.esdc.go.thสืบคน้ เมื่อ 13 ธนั วาคม 2563

พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2562

ผปู้ ระกอบวิชาชีพครู ผปู้ ระกอบวชิ าชีพครู ผปู้ ระกอบวิชาชีพครู

มาตรฐานความรู้และ มาตรฐานความรู้ มาตรฐานประสบการณ มาตรฐานความรู้ มาตรฐานประสบการณ มาตรฐานความรู้ มาตรฐานประสบกา
ประสบการณว์ ชิ าชีพ (๑) ภาษาและเทคโนโลยี วชิ าชพี ๑) ความเป็นครู วิชาชพี ตอ้ งมีความรอบรแู้ ละเขา้ ใจใน รณวิชาชีพ
สาหรับครู ๑) การฝกึ ปฏิบัตวิ ชิ าชพี ๒) ปรชั ญาการศึกษา ๑) การฝึกปฏบิ ตั ิวชิ าชีพ เรือ่ งดงั ต่อไปน้ี ๑) การฝกึ ปฏบิ ัติ
(๒) การพัฒนาหลักสตู ร ระหว่างเรียน ๓) ภาษาและวัฒนธรรม ระหว่างเรยี น 1 การเปลย่ี นแปลงบริบทของ วชิ าชีพระหว่างเรียน
(๓) การจดั การเรยี นรู ๒) การปฏบิ ตั กิ ารสอนใน ๔) จติ วทิ ยาสาหรับครู ๒) การปฏิบตั กิ ารสอนใน โลก สังคม และแนวคิดของ ๒) การปฏิบตั ิการ
(๔) จิตวทิ ยาสาหรบั ครู สถานศึกษาในสาขาวชิ า ๕) หลักสูตร สถานศึกษาในสาขาวิชา ปรชั ญาเศรษฐกิจ สอนในสถานศึกษาใน
(๕) การวัดและประเมนิ ผล เฉพาะ ๖) การจดั การเรียนรู้และการ เฉพาะ พอเพียง สาขาวชิ าเฉพาะ
การศกึ ษา จดั การช้ันนเรียน 2 จติ วทิ ยาพัฒนาการ จติ วิทยา
(๖) การบริหารจดั การในห ๗) การวิจัยเพ่อื พฒั นาการ การศึกษา และจติ วิทยาให้
องเรยี น เรยี นรู้ คาปรกึ ษาในการวเิ คราะหแ์ ละ
(๗) การวิจัยทางการศึกษา ๘) นวัตกรรมและเทคโนโลยี พัฒนาผูเ้ รยี นตามศักยภาพ
(๘) นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศกึ ษา 3 เนอ้ื หาวิชาทส่ี อน หลกั สูตร
สารสนเทศทางการศึกษา ๙) การวัดและการประเมนิ ผล ศาสตรก์ ารสอน และเทคโนโลยี
(๙) ความเปนครู การเรียนรู้ ดิจิทลั ในการจดั การเรยี นรู้
๑๐) การประกันคุณภาพ 4 การวดั ประเมนิ ผลการเรียนรู้
การศกึ ษา และการวจิ ยั เพือ่ แกป้ ญั หาและ
๑๑) คุณธรรม จรยิ ธรรม และ พฒั นาผู้เรยี น
จรรยาบรรณ 5 การใชภ้ าษาไทย ภาษาอังกฤษ
เพอื่ การสอื่ สาร และการใช้
เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพ่อื การศึกษา
6 การออกแบบและการ
ดาเนนิ การเก่ยี วกบั งานประกนั
คุณภาพการศึกษา

พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2562
ผปู้ ระกอบวชิ าชีพผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
ผปู้ ระกอบวิชาชีพผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ผปู้ ระกอบวชิ าชีพผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา

มาตรฐานความรู้

(๑) หลกั และกระบวนการบรหิ าร มาตรฐานประสบกา

การศึกษา รณวชิ าชีพ มาตรฐานประสบการณ
วชิ าชีพ
(๒) นโยบายและการวางแผน (๑) มีประสบการณ ๑) มีประสบการณด้าน
ปฏิบตั ิการสอนมาแลวไม
การศึกษา ดา้ นปฏบิ ตั ิการสอนมา มาตรฐานความรู้ น้อยกวาห้าป หรอื
๒) มปี ระสบการณด้าน
(๓) การบรหิ ารดา้ นวชิ าการ แลวไมนอ้ ยกวาห้าป ๑) การพัฒนาวิชาชพี ปฏบิ ตั กิ ารสอนและตอง
มปี ระสบการณในตา
ราชกิจจานเุ บกษา ๕ กนั ยายน หรือ ๒) ความเปน็ ผนู้ าทางวชิ าการ แหนง
หัวหน้าหมวด หรอื
๒๕๔๘ (๒) มปี ระสบการณ ๓) การบริหารสถานศกึ ษา หัวหน้าสาย หรอื หัวหนา้
งาน หรอื ตาแหนงบรหิ าร
มาตรฐานความรู้และ (๔) การบรหิ ารด้านธรุ การ ด้านปฏิบัตกิ ารสอน ๔) หลักสูตร การสอน การวัด อนื่ ๆ ในสถานศึกษา
ประสบการณว์ ิชาชีพ มาแลว้ ไม่น้อยกวาสองปี
การเงนิ พสั ดุ และอาคารสถานที่ และตองมีประสบกา และประเมินผลการเรยี นรู้

(๕) การบริหารงานบคุ คล รณในตาแหนง ๕) กิจการและกจิ กรรมนกั เรยี น

(๖) การบรหิ ารกจิ การนักเรียน หวั หน้าหมวด หรือ ๖) การประกนั คุณภาพ

(๗) การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา หัวหน้าสาย หรือ การศึกษา

(๘) การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยี หัวหนา้ งาน หรือตา ๗) คุณธรรม จริยธรรมและ

สารสนเทศ แหนงบรหิ ารอืน่ ๆ ใน จรรยาบรรณ

(๙) การบรหิ ารการประชาสมั พนั ธ สถานศึกษามาแล้วไม่

และความสมั พนั ธชุมชน น้อยกวาสองป

(๑๐) คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม

สาหรบั ผบู ริหารสถานศึกษา

พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2562
ผปู้ ระกอบวิชาชีพผบู้ รหิ ารการศกึ ษา
ผปู้ ระกอบวิชาชีพผบู้ รหิ ารการศกึ ษา ผปู้ ระกอบวชิ าชีพผบู้ รหิ ารการศกึ ษา

มาตรฐานความรู้และ มาตรฐานความรู้ มาตรฐานประสบการณวชิ าชพี มาตรฐานความรู้ มาตรฐานประสบการณวิชาชีพ
ประสบการณว์ ชิ าชีพ (๑) หลกั และ (๑) มปี ระสบการณดา้ นปฏิบตั กิ าร ๑) การพฒั นาวชิ าชีพ (๑) มีประสบการณด้านปฏิบตั กิ าร
กระบวนการบรหิ าร สอนมาแลวไมนอ้ ยกวาแปดป หรอื ๒) ความเปน็ ผู้นาทาง สอนมาแลวไมน้อยกวาแปดป หรอื
การศกึ ษา (๒) มปี ระสบการณในตาแหนงผู วิชาการ (๒) มีประสบการณในตาแหนงผู
(๒) นโยบายและการ บรหิ ารสถานศกึ ษามาแล้วไม ๓) การบริหาร บริหารสถานศกึ ษามาแล้วไมน้อยกว
วางแผนการศกึ ษา นอ้ ยกวาห้าป หรือ การศึกษา าห้าป หรอื
(๓) การบรหิ ารจดั การ (๓) มปี ระสบการณในตาแหนงผู ๔) การส่งเสรมิ คณุ ภาพ (๓) มปี ระสบการณในตาแหนงผู
การศึกษา บรหิ ารนอกสถานศกึ ษาที่ไมต่ากวา่ การศึกษา บรหิ ารนอกสถานศึกษาท่ีไมตา่ กว่า
(๔) การบรหิ าร ระดับกองหรอื เทยี บเทากองมาแลว้ ๕) การประกันคณุ ภาพ ระดับกองหรอื เทียบเทากองมาแลว้
ทรัพยากร ไมน่ ้อยกวา่ ห้าปหรือ การศึกษา ไม่นอ้ ยกว่าห้าปหรือ
(๕) การประกันคณุ ภาพ (๔) มปี ระสบการณในตาแหนงบุ ๖) คณุ ธรรม จรยิ ธรรม (๔) มีประสบการณในตาแหนงบคุ ลา
การศึกษา คลากรทางการศกึ ษาอน่ื ตามที่ และจรรยาบรรณ กรทางการศกึ ษาอ่นื ตามที่กาหนดใน
(๖) การนเิ ทศการศึกษา กาหนดในกฎกระทรวงมาแลว้ ไม่ กฎกระทรวงมาแล้วไม่นอ้ ยกวา่ หา้ ป
(๗) การพฒั นาหลักสตู ร น้อยกว่าห้าป หรอื หรอื
(๘) การบริหารจดั การ (๕) มปี ระสบการณดา้ นปฏบิ ตั กิ าร (๕) มีประสบการณด้านปฏิบตั ิการ
เทคโนโลยีสารสนเทศ สอน และมปี ระสบการณใน สอน และมีประสบการณใน
(๙) การวิจัยทาง ตาแหนงผูบรหิ ารสถานศกึ ษา หรือ ตาแหนงผูบริหารสถานศกึ ษา หรอื ผู
การศึกษา ผูบรหิ ารนอกสถานศกึ ษา หรือ บรหิ ารนอกสถานศึกษา หรือ
(๑๐) คณุ ธรรมและ บคุ ลากรทางการศึกษาอนื่ ตามที่ บุคลากรทางการศกึ ษาอืน่ ตามที่
จรยิ ธรรมสาหรับผูบริหาร กาหนดในกฎกระทรวงรวมกัน กาหนดในกฎกระทรวงรวมกนั มาแล้ว
การศกึ ษา มาแล้วไมน่ อ้ ยกวาสบิ ป ไมน่ ้อยกวาสิบป

พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2562
ผปู้ ระกอบวิชาชีพศกึ ษานิเทศก์ ผปู้ ระกอบวชิ าชีพศกึ ษานเิ ทศก์ ผปู้ ระกอบวิชาชีพศกึ ษานิเทศก์

มาตรฐานความรแู้ ละ มาตรฐานความรู้ มาตรฐานประสบการณ
ประสบการณ์วิชาชพี ๑) การพฒั นาวิชาชพี ๑) มปี ระสบการณด์ ้าน
๒) การนิเทศการศกึ ษา ปฏิบตั ิการสอนมาแลว้ ไม่
๓) แผนและกจิ กรรมการนเิ ทศ น้อยกวา่ ห้าปีหรือ
๔) การพฒั นาหลักสตู รและการ มปี ระสบการณ์ดา้ น
จัดการเรยี นรู้ ปฏิบัติการสอนและมี
๕) การวิจยั ทางการศึกษา ประสบการณ์ในตาแหน่ง
๖) นวตั กรรมและเทคโนโลยี ผู้บรหิ ารสถานศึกษา
สารสนเทศทางการศึกษา หรอื ผบู้ รหิ ารการศึกษา
๗) การประกันคุณภาพ รวมกนั มาแลว้ ไม่นอ้ ย
การศึกษา กว่าห้าปี
๘) คุณธรรม จริยธรรมและ ๒) มผี ลงานทางวชิ าการ
จรรยาบรรณ ที่มีคุณภาพและมีการ
เผยแพร

พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2562

ผปู้ ระกอบวิชาชีพครู ผปู้ ระกอบวิชาชีพครู ผปู้ ระกอบวิชาชีพครู

มาตรฐานการ (๑) ปฏิบัตกิ จิ กรรมทางวชิ าการเกี่ยวกบั ๑) ปฏิบตั กิ จิ กรรมทางวชิ าการเพ่อื พัฒนา การปฏบิ ัติหน้าทีค่ รู การจัดการเรียนรู้ ความสัมพนั ธก์ บั ผู้ปกครอง
ปฏบิ ัติงาน การพัฒนาวิชาชีพครูอยูเสมอ วิชาชีพครูใหก้าวหนา้ อยเู่ สมอ 1 ม่งุ มัน่ พฒั นาผเู้ รียน ด้วย 1 พัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษา การ และชมุ ชน
(๒) ตัดสนิ ใจปฏิบัตกิ ิจกรรมตา่ ง ๆ โดย ๒) ตดั สินใจปฏิบัติกจิ กรรมตา่ ง ๆโดยคานงึ ถงึ จติ วิญญาณความเปน็ ครู จดั การเรียนรู้ สื่อ การวัดและ (๑) รว่ มมือกับผูป้ กครองใน
คานงึ ถึงผลที่จะเกดิ แกผูเรียน ผลทจ่ี ะเกิดแกผ่ เู้ รยี น 2 ประพฤติตนเป็น ประเมินผล การพัฒนาและแกป้ ญั หา
(๓) มงุ ม่นั พฒั นาผูเรยี นใหเตม็ ตาม ๓) มงุ่ ม่นั พัฒนาผเู้ รยี นใหเตบิ โตเต็มตาม แบบอย่างที่ดี มคี ณุ ธรรม การเรียนรู้ ผูเ้ รียนใหม้ ีคณุ ลกั ษณะที่พงึ
ศกั ยภาพ ศกั ยภาพ จริยธรรม และมคี วามเปน็ 2 บรู ณาการความร้แู ละศาสตรก์ าร ประสงค์
(๔) พัฒนาแผนการสอนใหสามารถปฏบิ ตั ิ ๔) พฒั นาแผนการสอนให้สามารถปฏิบัตไิ ด้ พลเมืองทเ่ี ข้มแข็ง สอนในการวางแผนและจัดการเรยี นรู้ (๒) สร้างเครือขา่ ยความ
ไดเกดิ ผลจริง จรงิ ในช้ันเรียน 3 สง่ เสริมการเรียนรู้ เอาใจ ที่สามารถพฒั นาผ้เู รียนใหม้ ีปญั ญารูค้ ิด รว่ มมือกบั ผปู้ กครองและ
(๕) พฒั นาสือ่ การเรียนการสอนใหมปี ระ ๕) พัฒนาสอ่ื การเรยี นการสอนใหม่ให้มี ใส่ และยอมรับความ และมคี วามเป็นนวตั กร ชมุ ชน เพอ่ื สนับสนุนการ
สิทธภาพอย่เู สมอ ประสิทธภิ าพอยู่เสมอ แตกตา่ งของผเู้ รยี นแตล่ ะ 3 ดูแล ช่วยเหลอื และพฒั นาผูเ้ รียน เรยี นรู้ทมี่ คี ุณภาพของผเู้ รยี น
(๖) จดั กจิ กรรมการเรียนการสอน โดยเน ๖) จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนใหผ้ ้เู รียนรู้จัด บุคคล เปน็ รายบุคคลตามศกั ยภาพ สามารถ (3) ศึกษา เข้าถงึ บริบทของ
นผลถาวรทีเ่ กิดแกผูเรียน วเิ คราะห์ คิดสรา้ งสรรค์ 4 สรา้ งแรงบนั ดาลใจ รายงานผลการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นได้ ชมุ ชน และสามารถอยู่
(๗) รายงานผลการพฒั นาคุณภาพของผู โดยเนน้ ผลถาวรท่ีเกดิ แก่ผูเ้ รียน ผู้เรียนให้เปน็ ผใู้ ฝเ่ รียนรู้ อยา่ งเปน็ ระบบ ร่วมกนั บนพืน้ ฐานความ
เรยี นไดอยางมีระบบ ๗)รายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรยี นได้ และผสู้ รา้ งนวตั กรรม 4 จัดกิจกรรมและสร้างบรรยากาศการ แตกต่างทางวฒั นธรรม
(๘) ปฏบิ ัติตนเปนแบบอยางท่ีดแี กผูเรยี น อยา่ งมรี ะบบ 5 พฒั นาตนเองให้มีความ เรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความสขุ ในการเรยี น (๔) ส่งเสรมิ อนุรกั ษ์
(๙) รวมมอื กับผูอ่นื ในสถานศึกษาอยาง ๘) ปฏิบัติตนเป็นแบบอยา่ งทีด่ แี ก่ผ้เู รียน รอบรู้ ทนั สมยั และทันต่อ โดยตระหนกั ถงึ สขุ ภาวะของผ้เู รียน วัฒนธรรม และภูมปิ ัญญา
สรางสรรค ๙) ร่วมมือกับผู้อื่นในสถานศึกษาอยาง การเปล่ยี นแปลง 5 วจิ ัย สรา้ งนวัตกรรม และประยุกตใ์ ช้ ท้องถ่นิ
(๑๐) รวมมือกบั ผูอ่นื ในชุมชนอยางสราง สรา้ งสรรค์ เทคโนโลยีดจิ ิทลั ให้เกิดประโยชน์
สรรค ๑๐) ร่วมมอื กบผูอ้ นื่ ในชุมชนอยางสรา้ งสรรค์ ต่อการเรยี นรขู้ องผเู้ รียน
(๑๑) แสวงหาและใชข้อมลู ขาวสารในการ ๑๑) แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการ 6 ปฏบิ ัติงานรว่ มกบั ผู้อ่นื อย่าง
พัฒนา พฒั นา สร้างสรรค์และมีส่วนรว่ มในกจิ กรรม
(๑๒) สรางโอกาสใหผูเรยี นได ๑๒) สรา้ งโอกาสใหผเู้ รยี นไดเ้ รียนรู้ในทกุ
เรียนรูในทุกสถานการณ์ สถานการณ์

พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2562

มาตรฐาน ผปู้ ระกอบวิชาชีพผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ผปู้ ระกอบวชิ าชีพผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
ปฏิบัติงาน และผปู้ ระกอบวชิ าชีพผบู้ รหิ ารการศกึ ษา และผปู้ ระกอบวชิ าชีพผบู้ รหิ ารการศกึ ษา

(๑) ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมทางวชิ าการเกี่ยวกับการพฒั นา ๑) ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมทางวชิ าการเพือ่ พฒั นาวิชาชพี การบริหาร
วชิ าชพี การบริหารการศกึ ษา การศกึ ษาใหก้าวหนา้ อยู่เสมอ
(๒) ตดั สนิ ใจปฏิบัตกิ จิ กรรมตาง ๆ โดยคานงึ ถงึ ผลท่จี ะ ๒) ตัดสนิ ใจปฏิบัติกิจกรรมตา่ ง ๆโดยคานงึ ถึงผลทจี่ ะเกดิ
เกิดข้นึ กบั การพฒั นาของบคุ ลากรผูเรยี น และชมุ ชน ข้ึนกับการพฒั นาของ ผ้เู รยี น บคุ ลากรและชุมชน
(๓) มงุ มนั่ พฒั นาผรู วมงานใหสามารถปฏิบตั ิงานไดเตม็ ๓) มุ่งมัน่ พัฒนาผรู้ ว่ มงานใหสามารถปฏบิ ัติงานไดเ้ ต็ม
ศักยภาพ ศักยภาพ
(๔) พฒั นาแผนงานขององคการใหสามารถปฏบิ ตั ิได ๔) พฒั นาแผนงานขององค์การใหม้ คี ณุ ภาพสงู สามารถ
เกิดผลจริง ปฏบิ ัตใิ ห้เกิดผลไดจ้ รงิ
(๕) พัฒนาและใชนวตั กรรมการบรหิ ารจนเกิดผลงานท่ีมี ๕) พฒั นาและใช้นวตั กรรมการบรหิ ารจนเกิดผลงานทีม่ ี
คุณภาพสูงขน้ึ เปนลาดับ คุณภาพสูงขึน้ เป็นลาดับ
(๖) ปฏิบัตงิ านขององคการโดยเนนผลถาวร ๖) ปฏบิ ตั งิ านขององค์การโดยเนน้ ผลถาวร
(๗) รายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาไดอยางเป ๗) ดาเนินการและรายงานผลการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
นระบบ ได้อย่างเป็นระบบ
(๘) ปฏิบตั ิตนเปนแบบอยางท่ดี ี ๘) ปฏบิ ตั ิตนเป็นแบบอย่างทด่ี ี
(๙) รวมมือกบั ชุมชนและหนวยงานอนื่ อยางสรางสรรค ๙) ร่วมมอื กับชุมมชนและหนว่ ยงานอื่นอยางสร้างสรรค์
(๑๐) แสวงหาและใชขอ้ มลู ขาวสารในการพฒั นา ๑๐) แสวงหาและใชข้ อ้ มลู ขา่ วสารในการพฒั นา
(๑๑) เปนผนู าและสรางผนู า ๑๑) เป็นผ้นู าและสรา้ งผู้นาทางวิชาการในหนว่ ยงานของตน
(๑๒) สรางโอกาสในการพฒั นาไดทกุ สถานการณ ได้
๑๒) สร้างโอกาสในการพฒั นาไดท้ ุกสถานการณ์

พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2562
ผปู้ ระกอบวชิ าชีพศกึ ษานเิ ทศก์ ผปู้ ระกอบวชิ าชีพศกึ ษานเิ ทศก์
ผปู้ ระกอบวชิ าชีพศกึ ษานิเทศก์
มาตรฐานปฏบิ ัตงิ าน
๑) ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมทางวชิ าการเพื่อพัฒนาการนิเทศ
การศึกษาเพือ่ ให้เกิดการพฒั นา วชิ าชีพทางการ
ศึกษาอยางสม่าเสมอ
๒) ตดั สนิ ใจปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการนเิ ทศการศกึ ษาโดย
คานงึ ถงึ ผลท่ีจะเกดิ แกผ่ รู้ บั การนเิ ทศก์
๓) มงุ่ ม่ันพัฒนาผรู้ ับการนิเทศก์ให้ลงมือปฏบิ ัติ
กจิ กรรมจนเกิดผลตอ่ การพัฒนาอย่างมคณุ ภาพ เตม็
ศกั ยภาพ
๔) พัฒนาแผนการนิเทศกใ์ หม้ คี ุณภาพสงู สามารถ
ปฏิบตั ใิ หเ้ กดิ ผลไดจ้ รงิ
๕) พฒั นาและใช้นวัตกรรมการนิเทศกก์ ารศึกษาจน
เกดิ ผลงานทีม่ คี ุณภาพสูงข้ึนเปน็ ลาดับ
๖) จัดกิจกรรมการนเิ ทศกก์ ารศึกษาโดยเน้นผลถาวรที่
เกิดแก่ผู้รบั การนเิ ทศ
๗) ดาเนินการและรายงานผลการนเิ ทศการศกึ ษาใหม่
คุณภาพสงู ไดอ้ ย่างเปน็ ระบบ
๘) ปฏบิ ัตติ นเป็นแบบอยา่ งที่ดี
๙) รว่ มพฒั นางานกบั ผอู้ ่ืนอยางสร้างสรรค์
๑๐) แสวงหาและใช้ข้อมูลขา่ วสารในการพัฒนา
๑๑) เปน็ ผูน้ าและสร้างผ้นู าทางวชิ าการ
๑๒) สร้างโอกาสในการพฒั นางานได้ทกุ สถานการณ์

จรรยาบรรณวชิ าชีพครูมี 5 ด้าน 9 ขอ้ มาตรฐานปฏิบัติตน
1)จรรยาบรรณต่อตนเอง

ขอ้ ที่ 1 ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ตอ้ งมวี ินัยในตนเอง พฒั นาตนเองดา้ นวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวสิ ยั ทศั น์ ใหท้ ันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สงั คม และการเมอื ง
อยู่เสมอ

2)จรรยาบรรณตอ่ วชิ าชพี

ขอ้ ท่ี 2 ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ตอ้ งรัก ศรทั ธา ซอื่ สัตยส์ จุ รติ รับผดิ ชอบต่อวชิ าชีพและเป็นสมาชกิ ท่ีดีขององคก์ รวิชาชพี

3)จรรยาบรรณตอ่ ผรู้ บั บริการ

ข้อที่ 3 ผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ตอ้ งรกั เมตตา เอาใจใส่ ชว่ ยเหลอื ส่งเสริมใหก้ าลังใจแก่ศิษย์ และผรู้ ับบริการ ตามบทบาทหนา้ ท่โี ดยเสมอหน้า

ขอ้ ที่ 4 ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ตอ้ งส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสยั ทถ่ี กู ต้องดงี ามแก่ศิษย์ และผู้รับบริการ ตามบทบาทหนา้ ทอ่ี ยา่ งเต็มความสามารถ ดว้ ยความ
บรสิ ทุ ธใ์ิ จ

ขอ้ ท่ี 5 ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องประพฤตปิ ฏิบตั ติ นเปน็ แบบอย่างท่ดี ี ทัง้ ทางกายวาจา และจติ ใจ

ขอ้ ท่ี 6 ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ต้องไม่กระทาตนเปน็ ปฏปิ กั ษต์ อ่ ความเจรญิ ทางกายสตปิ ัญญา จติ ใจอารมณ์ และสงั คมของศษิ ย์ และผรู้ บั บริการ

ข้อท่ี 7 ผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ตอ้ งให้บริการดว้ ยความจรงิ ใจและเสมอภาค โดยไมเ่ รยี กรับหรือยอมรบั ผลประโยชน์จากการใช้ตาแหนง่ หน้าท่โี ดยมชิ อบ

4)จรรยาบรรณตอ่ ผู้ร่วมประกอบวชิ าชพี

ข้อท่ี 8 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงชว่ ยเหลอื เก้อื กลู ซึ่งกนั และกันอยา่ งสร้างสรรค์โดยยดึ มนั่ ในระบบคณุ ธรรม สร้างความสามัคคีในหมูค่ ณะ

5)จรรยาบรรณตอ่ สังคม

ขอ้ ท่ี 9 ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา พงึ ประพฤติปฏิบตั ติ นเปน็ ผนู้ าในการอนรุ กั ษแ์ ละพัฒนาเศรษฐกิจ สงั คม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญั ญา สงิ่ แวดล้อม รกั ษา
ผลประโยชน์ของส่วนรวม และยึดมัน่ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข



จรรยาบรรณฝ่ังตะวันตก

จรรยาบรรณต่อวชิ าชพี ผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ตอ้ งประพฤตติ น
จรรยาบรรณตอ่ วชิ าชพี และแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณตอ่ วิชาชีพ

จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง ผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ตอ้ งมีวีนยั ในตนเอง
พฒั นาตนเองดา้ นวชิ าชีพ บุคลกิ ภาพและวิสัยทศั น์ ให้ทันต่อการพฒั นา
วิทยาการ เศรษฐกิจ สงั คมและการเมอื งอยูเ่ สมอ

จรรยาบรรณตอ่ ผรู้ บั บรกิ าร ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ตอ้ งรกั เมตตา

เอาใจใส่ชว่ ยเหลือ ส่งเสรมิ ใหก้ าลงั ใจ ศษิ ย์ และผรู้ ับบรกิ าร ตามบทบาท

หน้าท่โี ดยเสมอ (จรรยาบรรณครูในต่างประเทศ. 2544 : 73)

ประเทศสงิ คโ์ ปร์ ประเทศจนี

- มคี ณุ ลกั ษณะดังน้ี มคี ุณลกั ษณะดังนี้
- มคี วามเปน็ ครู - รกั เกียรติ
- มีความรอบรู้ - เคารพกฎหมาย
- มีศลี ธรรม - ทางานเป็นทมี
- มคี วามคดิ เชงิ มาก

จรรยาบรรณฝ่ั งตะวันออก

1.รูแ้ ละเขา้ ใจในสิ่งท่สี อน
2.ชว่ ยใหน้ กั เรยี นไดเ้ รียนรู้
3.ใหช้ ุมชนมสี ว่ นรว่ มในการสอน
4.เปน็ ครทู ีด่ ีขน้ึ ทกุ วัน

(จรรยาบรรณครูในต่างประเทศ. 2544 : 73)

จติ วญิ ญาณความเป็ นครู

ความหมายของจติ วญิ ญาณความเป็ นครู

ความหมายของคาว่าจติ วญิ ญาณ

คาวา่ จิตวญิ ญาณ มีรากศพั ทม์ าจากคาวา่ spiritus ในภาษาลาตินหมายถึง ลมหายใจ
ท่ีหมายถึงพลงั อานาจศกั ด์ิสิทธ์ิของชีวิต
(โกมาตร จึงเสรียถทรัพย.์ 2549)
ในพจนานุกรมฉบบั องั กฤษไทย ใหค้ วามหมายวา่ วญิ ญาณ จิตใจ เก่ียวกบั ใจ
ความองอาจ เจตน ผมู้ ีปัญญา ความอดทนและภูตผปี ี ศาจ
(สอ เสถบุตร:ฉบบั ภาษาองั กฤษ-ไทย.2541:562)
องค์การอนามัยโลก กล่าวถึงมิติทางจิตวิญญาณของสุขภาพว่า มิติทางวิญญาณ หมายถึง
ปรากฏการณ์ในส่วนที่ไม่ใช่วตั ถุ แต่หมายถึงเขตของความคิด ความเชื่อคานิยม และจริยธรรมท่ี
เกิดข้ึนในจิตใจและมโนธรรมของมนุษย์ โดยเฉพาะความคิดดีๆ ท้งั หลาย
(ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ.์ 2552;อา้ งอิงจาก องคก์ ารอนามยั โลก.2537)

ความหมายของคาว่าจติ วญิ ญาณของการเป็ นครู

จิตวิญญาณความเป็ นครู คาว่า “จิตวิญญาณ” มาจากคาว่า “จิต” และ “วิญญาณ” โดยสรุป
หมายถึงส่ิงท่ีอยใู่ น ตนเอง ทาใหเ้ ป็นบุคคลข้ึน เป็นความรู้แจง้ ความรู้สึกตวั จิตใจ นกั วิชาการ
ไดจ้ าแนกความหมาย ของจิตวิญญาณไวด้ งั น้ี
-สุมน อมรวิวฒั น์ (2535) ใหค้ วามหมายของคาว่า จิตวิญญาณความเป็ นครู หมายถึง การเป็ น
กลั ยาณมิตร การเป็ นผนู้ าทางปัญญาและวิญญาณ การมีความเป็นมนุษยแ์ ละดารงค้าจุนความ
เป็นไทยและมีศาสตร์และศิลป์ ในการสอน
-ธวชั ชยั เพง็ พินิจ (2550) ใหค้ วามหมายของคาวา่ จิตวิญญาณความเป็นครู หมายถึง จิตสานึก
ความคิด ทศั นคติ พฤติกรรมการแสดงออกที่ดี ลุ่มลึกสงบเยน็ เป็ นประโยชน์ตามกรอบของ
จริยธรรมคุณธรรม คานิยม จารีตประเพณี วฒั นธรรม และความคาดหวงั ของสังคมอนั เป็ น
องคร์ วม ธาตุแทข้ องบุคคลผูใ้ ฝ่ รู้ คน้ หา สร้างสรรค์ ถ่ายทอดปลูกฝัง และเป็ นแบบอย่างที่ดี
ของสงั คม ซ่ึงมีไดใ้ นทุกคนไม่เฉพาะผปู้ ระกอบอาชีพครู

-ชูชาติ เทศสีแดง (2550) ใหค้ วามหมายของคาวา่ จิตวิญญาณความเป็นครูหมายถึง ครูท่ีมีความรักและ
ความศรัทธาในวิชาชีพครู ปฏิบตั ิตนเป็นแบบอยา่ งท่ีดี มีความเป็นกลั ยาณมิตร รักและเมตตาศิษยย์ อมรับ
ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และมีความมุ่งมนั่ ท่ีจะพฒั นาผเู้ รียนใหเ้ ตม็ ตาม
ศกั ยภาพ
-พะนอม แกว้ กาเนิด (2552) ใหค้ วามหมายของคาวา่ จิตวิญญาณความเป็นครูหมายถึง ความรู้สึกนึกคิดท่ี
เกิดจากความตระหนกั (เห็นคุณคา่ ตนเอง) และศรัทธา (ความเช่ือความเคารพในความเป็นตนเอง) เป็น
ความเช่ือท่ีอยเู่ หนือเหตุผล ใหค้ วามสาคญั กบั บทบาทหนา้ ที่ในการพฒั นาเยาวชน มีความผกู พนั มุ่งมนั่
กระทาหนา้ ท่ีใหเ้ กิดความสมั ฤทธ์ิสูงสุด
-ณฏั ฐภรณ์ หลาวทอง และปิ ยวรรณ วิเศษสุวรรณภูมิ (2553)ใหค้ วามหมายของคาวา่ จิตวิญญาณความเป็น
ครู หมายถึง คุณลกั ษณะของบุคคลในการมีจิตใจท่ีปฏิบตั ิตนเพ่อื นาไปสู่การเป็นที่ยอมรับและภาคภูมิใจ
ในการถ่ายทอดความรู้ใหแ้ ก่ผอู้ ่ืน


Click to View FlipBook Version