1
แผนนิเทศภายในสถานศึกษา
ปกี ารศึกษา 2565
โรงเรยี นอนุบาลเมืองลาปาง (ธงชยั ศึกษา)
สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน
2
คานา
การนเิ ทศภายในโรงเรยี น เป็นกระบวนการสาคญั ในการพัฒนาครผู ู้สอน ให้สามารถจัดกิจกรรมการ
เรยี นการสอนที่มีคุณภาพ ซง่ึ จะสง่ ผลโดยตรงตอ่ การพฒั นาคุณภาพของนกั เรียน ใหม้ ีลักษณะอนั พึงประสงค์
ตามเปา้ หมายของหลักสตู ร
จากนโยบายการการนิเทศของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 โรงเรียนจงึ มี
ภารกจิ ท่ีจะทาให้นโยบายดงั กล่าวบรรลผุ ล ซึ่งไดด้ าเนินการประเมินมาตรฐานโรงเรียนด้านการเรียนการสอน
มาตรฐานดา้ นคุณภาพนักเรยี น และนาขอ้ มลู ในสว่ นที่ยังบกพร่องมาแก้ไข โดยนามาวางแผนการนิเทศ
แผนการนิเทศภายในโรงเรยี นฉบบั นี้ จะเป็นแนวทางทจี่ ะทาใหโ้ รงเรียนสามารถดาเนินงานตามแผน
เพ่อื ใหบ้ รรลุเปา้ หมาย และเจตนารมณข์ องการนเิ ทศ
ขอขอบคุณ คณะกรรมการนิเทศภายใน และผ้ทู ี่เกยี่ วข้องท่ีร่วมกนั วางแผนกาหนดกรอบงาน เพ่อื
พฒั นาคณุ ภาพของครู และผู้เรียนต่อไป
งานวิชาการ
3
สารบัญ
เรือ่ ง หนา้
ความสาคญั และความเปน็ มา 4
กระบวนการนิเทศภายใน 6
กจิ กรรมการนิเทศภายใน 7
8
การนิเทศการบริหารภายในโรงเรียน 9
การเย่ยี มชั้นเรยี น 10
การสังเกตการสอน 11
กจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) 12
ปฏทิ ินการนเิ ทศภายใน
ภาคผนวก 14
แบบประเมนิ โครงการนเิ ทศภายใน 16
แบบบันทกึ การตรวจเยีย่ มชัน้ เรียน 18
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการสอนของครู 20
การนาหลักสูตรสถานศึกษาใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียน 25
การสง่ เสรมิ และพัฒนาสอื่ นวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 27
การจัดการเรียนรเู้ พศวถิ ศี ึกษาและทกั ษะชวี ิต 30
การจดั กจิ กรรมการเรยี นรูแ้ บบ Active Learning 32
อ่านออกเขยี นได้ ลายมอื สวย 34
การจัดการศกึ ษาปฐมวัย 38
ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชพี (PLC)
คาสั่งแตง่ ต้ังคณะกรรมการนเิ ทศภายใน ปีการศึกษา 2565
4
แผนนเิ ทศภายในโรงเรียนอนุบาลเมืองลาปาง (ธงชัยศกึ ษา)
ปีการศกึ ษา 2565
.......................................................................................................................................................
ความสาคญั และความเปน็ มา
จากนโยบายการนเิ ทศภายในของสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ซึง่ ต้องการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เข้าสเู่ กณฑ์มาตรฐาน การนิเทศภายในสถานศึกษา เป็นกระบวนการที่ผูน้ ิเทศใน
สถานศกึ ษา ประกอบด้วย ผู้บริหาร ผู้ช่วยผบู้ ริหาร ครวู ิชาการ และครูทีผ่ ูบ้ รหิ ารมอบหมายดาเนนิ การโดยใช้
ภาวะผู้นาทาใหเ้ กดิ ความรว่ มมือรว่ มใจ ประสานงานและใชศ้ กั ยภาพการทางานอย่างเต็มที่ ซึ่งจะส่งผลต่อการ
พัฒนางานของสถานศกึ ษา โดยสว่ นรวม ใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานหลักสูตร มาตรฐานการศกึ ษา นอกจากนี้
พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มีเจตนารมณอ์ ย่างชดั เจนในเรอื่ งกระบวนการจดั การเรียนการสอน
โดยยดึ นักเรยี นเปน็ สาคญั จะต้องปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ให้เดก็ ได้คดิ และปฏบิ ตั ิกจิ กรรมดว้ ยตนเอง จึงต้องมี
การพฒั นาครใู หส้ อดคล้องกับหลกั การ ดงั กลา่ ว
แนวคิดการนิเทศภายใน
1. การนเิ ทศภายใน เปน็ การร่วมมอื กันของบคุ ลากรในโรงเรียน ในการปรับปรงุ แก้ไขหรือพฒั นาการ
เรียนการสอนให้มปี ระสิทธภิ าพ
2. กลวิธกี ารนิเทศภายในมหี ลายวธิ ี การเลือกกลวธิ ที ี่เหมาะสมกับสภาพปจั จบุ นั ปญั หาและสถานการณ์
ของโรงเรยี นจะช่วยให้การดาเนนิ การนิเทศประสบผลสาเร็จดยี ิง่ ข้ึน
3. คณุ สมบตั ดิ ้านมนุษยสัมพนั ธ์ ความรับผิดชอบ ความรูค้ วามสามารถ ทางวิชาการและความเขา้ ใจ
แนวคิดเก่ียวกบั การนิเทศการศกึ ษา เปน็ สงิ่ จาเปน็ สาหรบั ผู้นเิ ทศการศกึ ษา
4. การนิเทศที่พงึ ประสงค์ คือ การนเิ ทศระหว่างครูดว้ ยกันอนั จะสง่ ผลให้ สามารถพฒั นาตนเองและ
กลมุ่ ได้
5. การจดั การนเิ ทศภายในโรงเรียนจดั ทาได้หลายรปู แบบ การท่ผี ู้บรหิ ารจะเลอื กใช้รปู แบบใดน้นั ขนึ้ อยู่
กบั ขนาดของโรงเรยี นและความสามารถของบคุ ลากรในโรงเรยี นเป็นสาคัญ
หลกั การนเิ ทศภายใน
1. การปฏิบัตงิ านตามวธิ ีวทิ ยาศาสตร์ โดยดาเนนิ การอย่างมรี ะบบ ระเบียบ และครอบคลุมถงึ วิธี
การศึกษา สภาพปจั จบุ ัน ปัญหา ความตอ้ งการ การวางแผนการนเิ ทศ การปฏิบัติการนิเทศ การประเมนิ ผลการ
นเิ ทศ ซ่งึ ควรจะมาจากการรวบรวมข้อมลู วิเคราะห์และสรุปผลอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและเปน็ ทเ่ี ช่อื ถือได้
2. การปฏบิ ัตงิ านตามวถิ ีประชาธปิ ไตย เคารพในความแตกตา่ งระหว่างบุคลให้เกียรตซิ ่ึงกันและกนั
เปดิ ใจกว้างยอมรับผลการประเมินตนเอง ยอมรบั ในเหตุและผลและปฏิบัติตามข้อตกลง ตลอดจนใชค้ วามรู้ ความ
สารถในการปฏิบตั ิงาน เพอ่ื ให้งานบรรลเุ ปา้ หมาย
3. การปฏบิ ตั ิงานเพ่ือพัฒนา สร้างสรรค์ โดยการแสวงหาความสามารถพเิ ศษของครูแต่ละบุคคล เปดิ
โอกาสใหใ้ ห้ได้แสดงออกและสนบั สนุนส่งเสรมิ ความสารถเหลา่ น้ันอย่างเตม็ ที่
4. การปฏบิ ัติตามกระบวนการกลมุ่ และการมสี ่วนรว่ ม เน้นความรว่ มมือรว่ มใจในการดาเนนิ งาน โดย
ยดึ วัตถปุ ระสงค์การทางานร่วมกัน การชว่ ยเหลือแบ่งปนั ประสบการณ์ซ่งึ กนั และกัน รว่ มคิดรว่ มพัฒนา ทั้งนเี้ พื่อ
ความสาเร็จของงานโดยส่วนรวม
5
5. การปฏบิ ัติงานเพื่อประสิทธภิ าพ เน้นการปฏิบตั ิงานตามบทบาทหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบ มีการควบคมุ
ติดตาม ผลการดาเนนิ งาน และผลผลติ อย่างใกล้ชิด เพือ่ ใหม้ ีประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลตามมาตรฐาน
การศกึ ษา
6. การปฏิบตั งิ านโดยยึดวตั ถปุ ระสงค์ การดาเนนิ งานทุกคร้งั ตอ้ งกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ การทางานอย่าง
ชดั เจน ออกแบบการดาเนนิ งานอยา่ งเหมาะสม ทั้งนเี้ พื่อให้งานบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ทีก่ าหนดไว้
จุดมงุ่ หมายของการนเิ ทศภายใน
1. เพ่ือให้สถานศึกษามีศกั ยภาพในการพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นรู้ของผ้เู รยี น ให้สอดคล้องกับมาตรฐาน
หลกั สตู รและเปน็ ไปตามแนวทางของพระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542
2. เพือ่ ใหส้ ถานศึกษาสามารถบริหารและจดั การเรียนรู้ได้อย่างมคี ุณภาพ
3. เพอื่ พฒั นาหลักสูตรและการเรียนรู้ ใหม้ ีประสทิ ธิภาพสอดคลอ้ งกับความต้องการของชมุ ชน สังคม
ทันตอ่ การเปลี่ยนแปลงทุกดา้ น
4. เพื่อให้บุคลากรในสถานศึกษา ไดพ้ ัฒนาเพ่มิ พนู ความรู้ ทักษะ และประสบการณใ์ นการจัดกิจกรรม
การเรียนรูแ้ ละการปฏบิ ตั งิ าน ตลอดจนความต้องการในวิชาชพี
5. เพอื่ ส่งเสรมิ ใหโ้ รงเรยี นปฏริ ูประบบบริหาร โดยให้ทุกคนมีส่วนรว่ มคดิ ร่วมทา ร่วมตดั สนิ ใจ และ
รว่ มรบั ผิดชอบ ชน่ื ชมในผลงาน
6. เพอ่ื ให้เกิดการประสานงานและความรว่ มมือ ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาระหว่างผเู้ กี่ยวขอ้ ง
ได้แก่ ครู ผู้ปกครอง กรรมการสถานศกึ ษา และชมุ ชน
6
กระบวนการนเิ ทศภายในโรงเรียน TAMDIA Modle 4 ข้นั
สร้างความรู้ ความเข้าใจ
แก่บคุ ลากรในโรงเรียน
จดั ทาแผน และค่มู อื นิเทศ
ภายใน ตามบริบทของ
สถานศกึ ษา
นิเทศภายใน 100%
สรุปผล และรายงานผลการ
ดาเนินงาน
7
ประเมนิ ความต้องการในการพัฒนาครู
ตามนยั แห่งพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 ทต่ี อ้ งการให้สถานศกึ ษา จดั การศกึ ษาโดยยึด
นักเรียนเปน็ สาคัญ ครจู ะตอ้ งปฏิรูปกระบวนการเรียนการสอน เพือ่ ฝึกให้นักเรยี นรจู้ ักคิด วเิ คราะห์ และสร้าง
ความรดู้ ว้ ยตนเอง ด้วยหลกั การดงั กล่าว โรงเรยี นตระหนักถงึ ความจาเป็นที่ต้องพฒั นาทั้งตวั ครู และผู้เรยี น ให้มี
ศักยภาพทง้ั ด้านการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ และกระบวนการสรา้ งความรู้ จึงพยายามจัดประสบการณ์ให้ครู
ไดศ้ ึกษาในรปู แบต่างๆ ทงั้ ด้านเอกสารฝึกอบรม การประชุมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพ่ือปรบั แนวคิดใหเ้ กดิ
ความเข้าใจต่อการนาไปปฏิบัติ มกี ารนาผลจากการศกึ ษา ทดลองปฏิบตั กิ บั นักเรียนและแกป้ ัญหารว่ มกนั
โรงเรยี นได้สอบถามครเู ร่ืองทเ่ี กีย่ วกับความต้องการพฒั นาด้านต่างๆ ไดข้ ้อสรุป ซ่งึ เปน็ ความต้องการพัฒนา
ดงั นี้ การจัดการเรยี นการสอนโดยมุ่งเน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั การสอนและประเมินตามมาตรฐานและตวั ชว้ี ัด
การสอนทักษะการคดิ วเิ คราะห์ การประเมินผลตามสภาพจรงิ การวจิ ัยในช้ันเรยี น การสอนโดยโครงงาน
การใชส้ อ่ื เทคโนโลยเี พ่ือพัฒนาการเรยี นการสอน การใช้แหลง่ เรียนรู้ และภมู ิปญั ญาท้องถนิ่
กจิ กรรมนิเทศภายใน ปีการศกึ ษา 2565
นอกจากกิจกรรมการนิเทศเพื่อตอบสนองต่อจดุ ที่ต้องการพัฒนา ดังรายละเอียดข้างต้นแล้ว
คณะกรรมการนเิ ทศภายในยงั ได้กาหนดกจิ กรรมเสริม เพ่ือให้การนเิ ทศภายในบรรลเุ ป้าหมายทต่ี ้งั ไว้ โรงเรยี น
อนบุ าลเมืองลาปาง (ธงชยั ศึกษา) จงึ ได้มีการกาหนดกิจกรรมอีก 4 กิจกรรม ดังนี้
1. การนเิ ทศการบรหิ ารภายในโรงเรยี น
2. การเย่ยี มชนั้ เรยี น
3. การสงั เกตการสอน
- การติดตามการอา่ นออกเขียนได้ การคานวณ
- การตดิ ตามการจัดการเรียนรูเ้ ชิงรุก (Active Learning)
- การติดตามการจัดการเรยี นรูเ้ ศรษฐกิจพอเพยี ง
- การตดิ ตามการจดั การเรยี นรปู้ ฐมวัย
4. กจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (PLC)
8
1. การนิเทศการบรหิ ารภายในโรงเรียน
วัตถุประสงค์
1. เพือ่ วางแผนงาน กากับ ตดิ ตาม ตรวจสอบการดาเนนิ งานตามภาระงาน 4 งาน (วชิ าการ
งบประมาณ บคุ คล บรหิ ารทัว่ ไป) และงานตามนโยบาย งานที่ไดร้ ับมอบหมาย
เปา้ หมาย
1. ทมี บริหาร จานวน 6 คน ประชมุ รว่ มเดอื นละ 1 ครงั้
2. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา จานวน 18 คน ประชมุ รว่ มเดือนละ 1 คร้ัง
กิจกรรมและการดาเนินงาน
1. การประชุมทีมบริหาร และ การประชุมครูและบุคลากรทางการศึกษา
2. กาหนดปฏทิ นิ การประชมุ
3. ดาเนนิ การประชุม
4. สรุปผลการประชุม
ระยะเวลา ตลอดปกี ารศึกษา
สอ่ื และเครื่องมือ
- วาระการประชมุ
- สมุดบันทกึ การประชุม
การประเมินผล
- การรายงานผลการประชุม
ผปู้ ฏิบัติ
- ฝ่ายบคุ ลากร
9
2. การเย่ียมชั้นเรยี น
วัตถุประสงค์
1. เพอื่ สารวจปัญหาและความต้องการของครู
2. เพ่ือใหค้ าปรกึ ษาและคาแนะนาแกค่ รู
3. เพ่อื ดาเนินงานห้องเรยี นคุณภาพ
เปา้ หมาย
1. ห้องเรยี น อ.2 – ป.6 (ครทู ีไ่ ด้รบั การมอบหมาย) เยี่ยมชัน้ เรยี นภาคเรยี นละ 1 คร้งั
2. สภาพ บรรยากาศท้ังในและนอกห้องเรียนเอื้อต่อกีเ่ รยี นการสอน
3. ครแู ละนกั เรียนปฏิบัติงานตามภารกิจได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
กจิ กรรมและขั้นตอนดาเนินงาน
1. กาหนดจุดมงุ่ หมายในการเยย่ี มชัน้ เรยี น
2. กาหนดปฏิทนิ การเย่ียมชั้นเรียน
3. ดาเนินการเยีย่ มชั้นเรยี น
4. สรุปผล พฒั นา ปรบั ปรงุ แกไ้ ข
ระยะเวลา
ภาคเรยี นที่ 1 พฤษภาคม ภาคเรียนท่ี 2 พฤศจิกายน
สื่อและเครอื่ งมือ
- แบบบนั ทกึ การเยยี่ มช้นั เรียน
- แบบประเมินห้องเรียนคุณภาพ
การประเมินผล
- ประเมินผลจากบนั ทึกการเยี่ยมชนั้ เรียน
- ผลการประเมนิ ห้องเรียนคุณภาพ
ผปู้ ฏิบตั ิ
- ครูวิชาการโรงเรียน
- ครทู ไ่ี ด้รับมอบหมาย (นเิ ทศคู่ใจ)
10
3. การสังเกตการสอน
วัตถุประสงค์
1. เพื่อติดตามการดาเนินการอ่าน การเขียน การคานวณ
2. เพื่อติดตามการจดั การเรยี นรู้เชิงรกุ (Active Learning)
3. เพอ่ื ติดตามการจดั การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง
4. เพอื่ ติดตามการจัดการเรยี นรู้ปฐมวัย
เปา้ หมาย
1. ครผู ูส้ อน ระดบั ชั้นอนุบาล 2 – ประถมศกึ ษาปีที่ 6
กจิ กรรมและขนั้ ตอนการดาเนินงาน
- ประชมุ วางแผนเพ่ือกาหนดหัวข้อการสงั เกตการสอน
- ชีแ้ จงทาความเขา้ ใจถึงความจาเป็นทีต่ อ้ งมกี ารสงั เกตการสอน
- กาหนดปฏทิ นิ และบุคลากรเพื่อสงั เกตการสอน
- ดาเนนิ การสงั เกตการสอน
- ประเมนิ ผล
สอ่ื และเครื่องมือ
การอ่าน การเขียน การคานวณ
1. แบบมือติดตามการอ่านการเขียนของนักเรียน
2. เอกสาร สอื่ การอ่าน การเขียน การคานวณ
การจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รุก (Active Learning)
1. เครื่องมอื ติดตามการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รุก (Active Learning)
2. เอกสาร สือ่ การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
การจัดการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง
1. เครือ่ งมอื ตดิ ตามการจัดการเรียนร้เู ศรษฐกิจพอเพียง
2. เอกสาร สอื่ การจดั การเรยี นร้เู ศรษฐกิจพอเพียง
ระยะเวลา
1. สังเกตการณ์สอนในชัน้ เรียน ภาคเรียนท่ี 1 เดือน กรกฎาคม ภาคเรยี นท่ี 2 เดอื น ธันวาคม
ประเมินผล
สงั เกตการสอน และพจิ ารณาความกา้ วหนา้ ดา้ นผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรยี น
ผู้ปฏิบตั ิ
1. สังเกตการสอน (ครทู ไี่ ด้รบั มอบหมาย)
11
4. กจิ กรรมชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี (PLC)
วตั ถุประสงค์
1. เพอื่ ส่งเสรมิ การดาเนนิ การอ่าน การเขยี น การคานวณ
2. เพอ่ื สง่ เสริมการจดั การเรยี นรเู้ ชิงรกุ (Active Learning)
3. เพอื่ สง่ เสรมิ การจัดการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง
4. เพอื่ ส่งเสริมการจัดการเรยี นรู้ปฐมวยั
เป้าหมาย
1. ครผู สู้ อน ระดบั ชนั้ อนุบาล 2 – ประถมศึกษาปที ี่ 6
กจิ กรรมและข้นั ตอนการดาเนินงาน
- ประชมุ วางแผนเพ่ือกาหนดหัวข้อการ PLC
- ชแ้ี จงทาความเข้าใจถึงความจาเปน็ ทีต่ ้องมีการ PLC
- กาหนดปฏิทนิ PLC
- ดาเนนิ การ PLC
- ประเมินผล PLC
สอื่ และเคร่ืองมอื
การอา่ น การเขยี น การคานวณ
1. แบบมอื ติดตามการอ่านการเขียนของนักเรียน
2. บันทกึ PLC
3. เอกสาร ส่ือ การอา่ น การเขียน การคานวณ
การจัดการเรยี นรู้เชิงรุก (Active Learning)
1. เคร่อื งมอื ติดตามการจดั การเรียนรเู้ ชิงรุก (Active Learning)
2. บนั ทกึ PLC
3. เอกสาร สือ่ การจดั การเรียนรเู้ ชงิ รุก (Active Learning)
การจัดการเรียนร้เู ศรษฐกิจพอเพียง
1. เครอ่ื งมือติดตามการจดั การเรยี นรู้เศรษฐกิจพอเพียง
2. บนั ทกึ PLC
3. เอกสาร ส่ือ การจดั การเรียนรูเ้ ศรษฐกจิ พอเพียง
ระยะเวลา
1. สัปดาหล์ ะ 1 ครงั้
ประเมนิ ผล
- แบบบันทกึ PLC
ผู้ปฏิบัติ
1. ฝา่ ยวชิ าการ ดาเนินการ PLC ร่วมกับครูที่ไดร้ บั มอบหมาย
12
แผนนเิ ทศภายใน
โรงเรียนโรงเรยี นอนบุ าลเมืองลาปาง (ธงชัยศกึ ษา) ปกี ารศกึ ษา 2565
เดือน นเิ ทศการ เย่ียมช้ัน สังเกตการสอน
บรหิ าร เรยี น
พฤษภาคม ภายใน การอา่ น เศรษฐกิจ การเรียนรเู้ ชงิ กจิ กรรมชุมชนแห่งการ
มถิ ุนายน การเขียน พอเพียง รกุ เรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (PLC)
กรกฎาคม /คานวณ
สิงหาคม (Active สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
กันยายน Learning) สัปดาห์ละ 1 ครง้ั
ตุลาคม สปั ดาห์ละ 1 ครั้ง
พฤศจกิ ายน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
ธนั วาคม สปั ดาหล์ ะ 1 ครง้ั
มกราคม
กมุ ภาพันธ์ สัปดาห์ละ 1 ครง้ั
มีนาคม สปั ดาหล์ ะ 1 ครงั้
เมษายน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
สัปดาห์ละ 1 ครัง้
สัปดาห์ละ 1 ครงั้
13
ภาคผนวก
14
แบบประเมินโครงการนิเทศภายในโรงเรยี น
1. มกี ารประชุมของผปู้ ฏิบัติงานและบันทึกเพ่ือประเมินโครงการใชห่ รือไม่
มี
ไม่มี เพราะ………………………………………………………………………………………
2. ผปู้ ฏบิ ัตงิ านมคี วามรู้ ความเข้าใจเพิ่มขนึ้ เพียงใด
มคี วามรู้ความเข้าใจดี
ไมแ่ นใ่ จ เพราะ…………………………………………………………………………………….
3. การปฏบิ ัตงิ านสาเร็จตามเวลาของโครงการหรอื ไม่
สาเรจ็ ตามเวลาทกี่ าหนด
ไม่เป็นไปตามเวลา ขอ้ กาหนด เพราะ……………………………………………………………
4. ผลการปฏบิ ัตงิ านบรรลุวตั ถุประสงคท์ ุกข้อของโครงการหรือไม่
ครบทุกข้อ
ไมค่ รบทุกข้อ ข้อที่ไม่บรรลุวตั ถุประสงค์ คือ………………………………………………………
5. โครงการนส้ี ่งผลประโยชน์แก่นกั เรยี นเพยี งใด
เกดิ ประโยชนม์ าก
ไม่เกดิ ประโยชน์ เพราะ……………………………………………………………………………..
6. ผลของโครงการทง้ั ปรมิ าณและคณุ ภาพเปน็ ทนี่ ่าพอใจของทุกฝา่ ยหรอื ไม่
เป็นทนี่ ่าพอใจ
ไมน่ า่ พอใจ เพราะ…………………………………………………………………………………..
7. ผู้รว่ มปฏิบตั ิงานตามโครงการส่วนมากมีความเห็นอยา่ งไร
ตอ้ งการใหม้ โี ครงการนอี้ ีก
ไมต่ ้องการใหม้ โี ครงการนี้อีก เพราะ………………………………………………………………..
8. ผนู้ เิ ทศมคี วามเหน็ ตอ่ โครงการอย่างไร
ตอ้ งการใหม้ โี ครงการนี้อีก
ไม่ต้องการให้มโี ครงการน้ีอีก เพราะ……………………………………………………………….
9. ผู้รับการนเิ ทศมีความเหน็ ต่อโครงการอย่างไร
ใหค้ วามสนใจการดาเนนิ การตลอด
ใหค้ วามสนใจบางขณะ เพราะ…………………………………………………………………….
ไม่ใหค้ วามสนใจ เพราะ……………………………………………………………………………
10. ผู้บรหิ ารโรงเรยี นให้ความสนใจในการดาเนินการนิเทศภายในโรงเรยี นมากน้อย เพียงใด
ให้ความสนใจในการดาเนนิ การโดยตลอด
ให้ความสนใจบางขณะ เพราะ………………………………………………………………….
15
ไม่ให้ความสนใจ เพราะ…………………………………………………………………………
11. กระบวนการทางานส่งผลต่อความสาเรจ็ ของโครงงานอยา่ งไร
มีประสิทธภิ าพมากท่สี ดุ
ไมค่ ่อยมีประสิทธิภาพ เพราะ……………………………………………………………………
12. งบประมาณและส่ิงอานวยความสะดวกที่ได้รับจากโรงเรยี นเหมาะสมเพยี งใด
เหมาะสม
ไม่เหมาะสม เพราะ……………………………………………………………………………….
13. ส่ือ และเคร่ืองมือ วธิ ีการนิเทศถกู นามาใช้บา้ งหรือไม่
ใช้
ไมใ่ ช้ เพราะ……………………………………………………………………………………….
16
แบบบนั ทึกการตรวจเยี่ยมช้ันเรียน
โรงเรียนอนุบาลเมอื งลาปาง (ธงชยั ศึกษา)
สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1
ชนั้ ....................................................................
วันท่ี ............. เดือน........................................ พ.ศ. ……….. (คร้ังท่ี….. /2565)
รายการ การดาเนินการ
ปฏิบัตแิ ลว้ หรือ กาลังปฏบิ ตั หิ รอื ยงั ไม่ หมายเหตุ
เป็นปจั จุบนั ไมเ่ ปน็ ปจั จบุ นั ปฏบิ ตั ิ
1. ความสะอาด เปน็ ระเบยี บของห้องเรียน
2. น่าดู นา่ อยู่ น่าเรยี น
3. จดั แสดงผลงานสาระการเรียนรู้ 8 สาระ
4. เอกสารงานธุรการ ปพ.ต่างๆ
5. ผลติ สื่อ/ใชส้ ่อื การสอน
6. ข้อมูลนักเรียนพ้นื ฐาน
7. บันทกึ การสอนซอ่ มเสริม
8. แฟม้ สะสมงานนักเรียน
9. บันทกึ น้าหนกั สว่ นสงู ของนักเรยี น
10. ตารางสอน
11. มุมวชิ าการ (สง่ เสริมการอ่าน)
17
12. ปา้ ยชนั้ เรยี น
13. ปา้ ยครูประจาช้นั
14. ช่อื เพอื่ นร่วมชนั้ เรยี น
15. สถิตกิ ารมาเรียนของนักเรียน
16. ขอ้ ตกลงประจาห้องเรียน
17. เครอื่ งหมายแสดง 3 สถาบัน
18. มมุ แกว้ น้า แปรงสีฟัน
19. วัน เดอื น ปี
20 มุมสบาย มมุ พกั ผ่อนหรอื มมุ อา่ นหนังสือ
ลงช่อื …………………………………...ผูร้ ายงาน
( นายสรุ ชยั กมิ าคม )
ตาแหนง่ ผูอ้ านวยการโรงเรียนอนบุ าลเมอื งลาปาง (ธงชยั ศกึ ษา)
18
แบบสังเกตพฤตกิ รรมการสอนของครู
โรงเรยี นอนุบาลเมืองลาปาง (ธงชัยศึกษา)
ช่ือผูส้ อน…………………………………………………วิชาท่ีสอน......................................................... ช้นั ………………….
วันที่...................เดือน...................................................พ.ศ.....................................เวลา...............................น.
เกณฑก์ ารให้คะแนน ทาเครือ่ งหมาย / ระดับคะแนนในแต่ละข้อ
4 = ดมี าก 2 = พอใช้ / มพี ฤตกิ รรมทร่ี ะบไุ ว้
3 = ดี 1 = ควรปรับปรุงแกไ้ ข/หรือไมม่ ีพฤติกรรมที่ระบุไว้
รายการประเมนิ ระดับคะแนน หมายเหตุ/
4321 ข้อเสนอแนะ
1. การนาเข้าสู่บทเรียน
1) เรา้ ความสนใจของนักเรียน
2) เหมาะสมกบั เวลาและสาระการเรียนรู้ท่ีสอน
3) บอกจุดประสงค์การเรยี นรู้และแนวทางการเรยี น
2. การดาเนนิ การสอน
1) สาระการเรยี นรสู้ อดคล้องกบั จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
2) อธบิ ายตามขน้ั ตอนทาใหเ้ ข้าใจงา่ ยและใช้ภาษาถูกต้อง
3) ตวั อยา่ งทใ่ี ช้ประกอบเรอื่ งทีส่ อนเหมาะกบั สาระการ
เรยี นรแู้ ละสมั พนั ธ์กบั ชีวิตจรงิ
4) ใช้เทคนิคการต้งั คาถามหลาย ๆ แบบ เพอ่ื ใหน้ กั เรียน
มีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น
5) ใหค้ วามสนใจนักเรยี นอยา่ งทั่วถงึ
6) ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนระหว่างการสอน
รวมท้งั เปิดโอกาสใหน้ ักเรียนซักถาม
7) ใชเ้ ทคนิคการสอนเหมาะสมกับสาระการเรียนรู้
8) ใช้การเสรมิ แรงแก่นกั เรียนอย่างเหมาะสม
9) ใชส้ ่ือการสอนได้อย่างถูกต้องและคุ้มค่า
10) จัดกลมุ่ นักเรียนสัมพนั ธ์กบั การสอน
11) มอบหมายงานหรือแบบฝกึ หักอย่างเหมาะสมกับ
ความสามารถของกลุ่มผ้เู รยี นหรอื รายบุคคล
12) ฝึกใหน้ ักเรียนมีพฤติกรรมประชาธปิ ไตย เชน่ ยอมรับ
ความคดิ เห็นของผู้อน่ื รูจ้ กั หน้าทข่ี องตน เปน็ ผนู้ าและผู้
19
ตามท่ดี ี เป็นต้น
13) ช่วยเหลอื เด็กนักเรยี นช้าและสง่ เสรมิ เด็กเรยี นเก่ง
14) สอดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
3. การสรปุ
1) สรุปไดก้ ะทัดรดั ช่วยให้นักเรยี นเกิดแนวคดิ ตรง
จุดประสงค์การเรยี นรู้
2) สั่งงานหรอื ใหน้ กั เรียนเตรยี มตัวลว่ งหนา้ สาหรับการ
เรยี นครง้ั ตอ่ ไป
4. การประเมินการเรยี นการสอน
1) ตรงตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรทู้ ่ีกาหนดไว้
2) จัดให้ครอบคลุมสาระการเรียนรทู้ ั้งหมด
3) มกี ารประเมินผลสมั ฤทธ์ริ วมของการสอนแตล่ ะคร้งั
5. บรรยากาศและสภาพแวดล้อมในชั้นเรียนท่ีเอ้อื ต่อการเรียนรู้
6. การควบคุมช้นั เรียน
7. ประสิทธภิ าพของการใชเ้ วลาในการสอน
8. บคุ ลกิ ภาพ
1) การควบคมุ อารมณ์ขณะทส่ี อน
2) การยอมรับความคิดเห็นของนักเรียน
3) แต่งกายสภุ าพเรียบรอ้ ย
คะแนนรวม
สรุปผลการประเมิน
เกณฑ์การประเมิน 90 ขน้ึ ไป = ดีเยีย่ ม
80 – 89 = ดมี าก
70 – 79 = ดี
60 – 69 = พอใช้
ตา่ กวา่ 60 = ควรปรบั ปรุงแก้ไข
ความคิดเห็นเพิม่ เตมิ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ลงชื่อ…………………………………...ผู้รายงาน
( นายสุรชัย กิมาคม )
ตาแหน่ง ผ้อู านวยการโรงเรยี นอนบุ าลเมืองลาปาง (ธงชัยศกึ ษา)
20
เครอ่ื งมือการนิเทศ การนาหลกั สตู รสถานศึกษาใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น
โรงเรยี นอนุบาลเมืองลาปาง (ธงชยั ศึกษา)
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ .......................................................................................
ระดบั ชนั้ ...........................................................................................................................
(ชื่อ-สกลุ ผ้รู บั การนิเทศ) .....................................................................................
ครงั้ ท่ี........................................ วนั ท่ี............................................................................
คาชี้แจง
ให้ผ้บู ริหารโรงเรียน หรอื ผทู้ ่ีเก่ียวขอ้ งดาเนินการนิเทศ ติดตาม และให้ข้อเสนอแนะในการนา
หลกั สตู รสถานศึกษาไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียน ดงั นี้
1. ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐานตามรายการทก่ี าหนด แลว้ เขยี นเครอ่ื งหมาย ✓ ลงในชอ่ งผลการปฏบิ ตั ติ ามความ
เป็นจรงิ
1.1 การจดั ตารางเรยี น/จดั ครเู ขา้ สอน
1.2 การจดั ทาโครงสรา้ งรายวชิ า
1.3 การจดั ทาหน่วยการเรยี นรู้
1.4 การจดั ทาแผนจดั การเรยี นรู้
1.5 การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
1.6 การออกแบบและจดั กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามธรรมชาตขิ องวชิ าในแต่ละกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
2. บนั ทกึ ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ /แกไ้ ขแต่ละรายการเพอ่ื ใหโ้ รงเรยี นนาไปใชป้ ระโยชน์ในการพฒั นาแนว
ทางการนาหลกั สตู รสถานศกึ ษาไปใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นต่อไป
ตอนที่ 1 การนาหลกั สตู รสถานศึกษาใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน
ท่ี การนาหลกั สตู ร การดาเนิ นงาน เอกสาร/หลกั ฐานอ้างอิง
สถานศึกษาไปใช้ใน (✓ปฏิบตั ิ)
ระดบั ชนั้ เรียน
จดั ตารางเรียน/ช่ัวโมงเรียนแต่ละช้นั / ตารางเรยี นทุก
1 การจดั ตารางเรียนและการ
จดั ครูเข้าสอน แตล่ ะรายวชิ าสอดคล้องกบั โครงสร้างเวลาเรยี น ระดับชัน้
ที่กาหนดไว้ในหลกั สตู รสถานศกึ ษา คาสงั่ การจดั ชน้ั
จดั ครูเข้าสอนตามตารางทก่ี าหนด เรยี น/คาสง่ั แต่งตั้ง
ผรู้ บั ผดิ ชอบในการสอน
21
รายวิชา/กิจกรรมตา่ ง ๆ
หลกั ฐานอ่นื ๆ
(ระบุ)
2 การจัดทาโครงสรา้ ง มีการระบุรหสั วชิ า ชื่อรายวิชา กลมุ่ โครงสรา้ งรายวิชา
รายวิชา สาระการเรยี นรู้ ระดับช้ัน จานวนช่วั โมงและ/ พ้ืนฐาน/เพ่มิ เตมิ
(ครูต้องจดั ทาอย่างน้อย หรือหน่วยกติ อย่างครบถว้ น ชัดเจน
คนละ 1 รายวชิ า) ช่อื หน่วยการเรียนรู้ น่าสนใจ กะทดั รัด
ชัดเจน สอดคลอ้ งกับสาระสาคัญ/ความคิดรวบ
ยอด
การจัดกลุ่มตวั ชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ ใน
แต่ละหน่วยการเรยี นรมู้ ีความสัมพนั ธ์เชือ่ มโยง
และสามารถจัดการเรียนรู้ร่วมกนั ได้
สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด แสดง
ใหเ้ หน็ แก่นความรรู้ วมถงึ สาระการเรียนร้ขู อง
ตัวชวี้ ดั /ผลการเรยี นรูใ้ นแต่ละหน่วยการเรียนรู้
เวลาเรียน ในแตล่ ะหนว่ ยการเรียนรู้
เหมาะสมกบั จานวนตวั ช้วี ดั /ผลการเรียนรู้
ความยากงา่ ยของสาระสาคญั และกระบวนการ
เรยี นรู้ท่ีจะใชใ้ นการพฒั นาผู้เรยี นตามตัวชีว้ ดั /
ผลการเรยี นรู้
นา้ หนัก/สัดส่วนของคะแนน เหมาะสม
กับเวลาเรยี น ความยากง่ายของสาระสาคญั
และกระบวนการเรยี นรู้ท่ีจะใชใ้ นการพฒั นา
ผูเ้ รียนตามตวั ช้วี ดั /ผลการเรยี นรู้
ชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด สอดคล้อง
สัมพันธ์ ครอบคลุม และสะท้อนให้เห็นผลการ
พัฒนาผ้เู รยี นตามตวั ช้วี ัด/ผลการเรียนรใู้ นแต่
ละหนว่ ยการเรยี นรู้
3 การจดั ทาหน่วยการเรียนรู้ มกี ารระบุรหัสวิชา ช่ือรายวชิ า กลมุ่ หนว่ ยการเรียนรู้
(ครตู ้องจดั ทาหน่วยการ สาระการเรียนรู้ ระดับช้นั จานวนช่วั โมงและชือ่
เรียนร้ใู ห้ครบตามโครงสร้าง หนว่ ยเรยี นร้อู ยา่ งครบถว้ น ชดั เจนและ
รายวชิ า อย่างน้อยคนละ 1 สอดคล้องกบั โครงสร้างรายวิชา
รายวชิ า) มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ัด/ผลการ
เรียนรู้ สมรรถนะสาคญั และคณุ ลกั ษณะอนั พึง
ประสงค์มีความสมั พนั ธ์ เช่อื มโยงกนั
22
4 การจัดทาแผนการเรยี นรู้ สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด มี
(ครตู ้องจดั ทาแผนการ ความถกู ตอ้ ง สอดคล้อง และครอบคลุม
เรยี นรใู้ ห้ครบตามจานวน มาตรฐาน/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้
ชว่ั โมงที่กาหนดไวใ้ น สาระการเรียนรู้ มีความถกู ต้อง และ
โครงสร้างรายวชิ า อยา่ ง สอดคล้องกับมาตรฐาน/ตวั ชี้วดั /ผลการเรียนรู้
น้อยคนละ 1 รายวิชา) หลกั ฐานการเรียนรู้ (ช้ินงาน/ภาระงาน)
สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ดั /ผล
การเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล และกิจกรรม
การเรียนรู้
การวัดและประเมินผล เปน็ การ
ประเมินตามสภาพจริง ใชว้ ิธกี ารทห่ี ลากหลาย
สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผล
การเรยี นรู้ และกิจกรรมการเรยี นรู้
การวัดและประเมนิ ผล ระบุวิธกี าร
เครื่องมอื และเกณฑ์การประเมินท่ีสะท้อน
คณุ ภาพผเู้ รยี นตามมาตรฐานการเรยี นรู้/
ตัวช้วี ัด/ผลการเรยี นรู้
กิจกรรมการเรยี นรู้ ใชร้ ูปแบบ/วธิ กี าร/
เทคนิค/ทักษะกระบวนการตามธรรมชาตขิ อง
วิชา ท่ีชว่ ยพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐาน/
ตวั ช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ สมรรถนะสาคญั ของ
ผูเ้ รยี นและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ไดอ้ ยา่ ง
เหมาะสมและมปี ระสทิ ธิภาพ
กจิ กรรมการเรยี นรู้ สามารถนาพาให้
ผเู้ รียนสรา้ งสรรคช์ ิ้นงานหรือภาระงานตามที่
กาหนด
สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้ มคี วามเหมาะสม
กบั กิจกรรมการเรียนรู้ ผ้เู รียน และเวลา ชว่ ยให้
ผู้เรยี นเกดิ การเรยี นรู้ไดด้ ีและรวดเรว็ ขึน้
มีการระบชุ อ่ื แผนการเรียนรู้ ชอ่ื หนว่ ย แผนจัดการเรยี นรู้
การเรียนรู้ รหสั วิชา ช่อื รายวิชา กลมุ่ สาระการ ปีการศึกษา 2565
เรยี นรู้ ระดับชนั้ จานวนชัว่ โมงอยา่ งครบถ้วน
ชดั เจน สอดคลอ้ งกับหน่วยการเรียนรู้
มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ สาระสาคญั /ความคิด
รวบยอด มคี วามสอดคล้องกัน
จุดประสงค์การเรียนรู้ ครอบคลุมการ
พัฒนานกั เรยี นในด้านความรู้และ/หรอื ทกั ษะ
กระบวนการ และ/หรือคณุ ลักษณะตาม
23
ตวั ชี้วัด/ผลการเรียนรู้ เหมาะสมกับเวลาและ
สาระการเรียนรู้
สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอดมคี วาม
ถกู ต้อง ชดั เจน กะทดั รดั ครอบคลมุ ประเดน็
สาคัญของสาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้เหมาะสมกับเวลา วัย
ระดบั ชน้ั และพ้ืนฐานของผูเ้ รียน สอดคลอ้ งกบั
จดุ ประสงค์ และสาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด
หลกั ฐานการเรยี นรู้ (ช้นิ งาน/ภาระงาน)
ทกี่ าหนดสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู้/
ตวั ชวี้ ดั /ผลการเรยี นรู้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
การวดั และประเมินผล มกี ารระบุ
วธิ ีการ เครือ่ งมือการวดั และประเมินผล และ
เกณฑ์การประเมนิ ทส่ี อดคล้องกบั จดุ ประสงค์
การเรยี นรู้
กจิ กรรมการเรียนรู้ มีความหลากหลาย
โดยใช้ทักษะกระบวนการเรยี นรู้ตามธรรมชาติ
ของวชิ า และเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นมสี ่วนรว่ มใน
กิจกรรมอยา่ งท่วั ถึง
กิจกรรมการเรยี นรู้ สามารถนาผู้เรียน
ใหบ้ รรลุจดุ ประสงค์การเรยี นรทู้ ่กี าหนดไว้ได้
อยา่ งเหมาะสมและมีประสทิ ธิภาพ
กิจกรรมการเรยี นรู้ สามารถนาพาให้
ผู้เรยี นสรา้ งสรรคช์ ้นิ งานหรอื ภาระงานตามที่
กาหนด
ส่อื และแหล่งเรยี นรู้ มคี วามเหมาะสม
กับกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้เรยี น และเวลา และ
ชว่ ยให้ผู้เรยี นเกิดการเรยี นรู้ไดด้ แี ละรวดเร็วข้ึน
5 การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ เปน็ ไปตามตาราง แผนจดั การเรียนรู้
เรยี น/ตารางการจดั กิจกรรมท่ีโรงเรียนกาหนด ผลงานที่เกดิ จาก
กจิ กรรมการเรียนรู้เป็นไปตามลาดบั การเรยี นรู้ของผ้เู รียน
กระบวนการหรือขน้ั ตอนที่กาหนดไวใ้ นหน่วย หลักฐานอนื่ ๆ
การเรียนรู้/แผนจัดการเรียนรู้ (ระบุ)
กจิ กรรมการเรยี นรู้มคี วามหลากหลาย ......................................
สอดคล้องกับธรรมชาติของวชิ า ......................................
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ตอบสนองความ ......................................
แตกตา่ งของผู้เรียน เปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นมสี ่วน ......................................
ร่วมในกจิ กรรมอยา่ งท่วั ถึง ......................................
กิจกรรมการเรียนรู้ ช่วยพัฒนาให้ ......................................
24
ผเู้ รียนมที กั ษะการเรียนรู้ โดยการจดั การเรียนรู้
เชิงรกุ (Active Learning)
กิจกรรมการเรยี นรู้ชว่ ยใหส้ รา้ งสรรค์
ชนิ้ งาน/ภาระงาน และบรรลุวัตถปุ ระสงคต์ ามท่ี
กาหนดไว้
การจดั บรรยากาศการเรยี นรู้เออื้ ต่อ
การพฒั นาผ้เู รยี นทั้งดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ
สงั คม และสติปญั ญา
สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้เหมาะสมกบั สาระและ
กิจกรรมการเรียนรู้
มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ
ดว้ ยวิธกี ารทีห่ ลากหลาย สอดคลอ้ งกับชิน้ งาน/
ภาระงาน และวตั ถุประสงค์ที่กาหนดไว้
มบี ันทึกหลังการสอนที่สะท้อนผลการ
จดั กิจกรรม พฤติกรรมการเรียนรูข้ องผเู้ รียน
อุปสรรค/ปญั หา/ปจั จยั ทม่ี ีผลต่อการจดั
กิจกรรม รวมทงั้ แนวทางในการแก้ไขปรบั ปรุง
การสอนให้ดีข้นึ
6 การออกแบบและจดั กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย แผนจดั การเรยี นรู้
กจิ กรรมการเรยี นรูต้ าม กระบวนการอ่าน ผลงานท่เี กดิ จาก
ธรรมชาติของวชิ าในแตล่ ะ กระบวนการเขยี น การเรยี นรู้ของผูเ้ รยี น
กลุ่มสาระการเรยี นรู้
กระบวนการคิด (วิเคราะห์ วพิ ากษ์ หลักฐานอ่ืน ๆ
(ครู 1 คน : 1 รายวิชา/กลุ่ม วิจารณญาณ)
สาระ) (ระบุ)
โครงงานภาษาไทย ......................................
อน่ื (ระบุ)..............................................
ตอนท่ี 2 ข้อเสนอแนะในการนาหลกั สตู รสถานศกึ ษาไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น
……………………………………………………………………………………………………………………..................................................
.............................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………........
.......................................................................................... ...........................................................….....
ลงช่ือ................................................... ผนู้ เิ ทศ
(.......................................................)
ตำแหนง่ ………………………………………………..
25
เครอ่ื งมือการนิเทศ
การส่งเสริมและพฒั นาสื่อนวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
โรงเรียนอนุบาลเมืองลาปาง (ธงชยั ศึกษา)
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1
ระดบั ชนั้ ............................................................................................................................
(ชื่อ-สกลุ ผรู้ บั การนิเทศ) ...................................................................................
ครงั้ ท่ี........................................ วนั ที่............................................................................
คาช้แี จง
ให้ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา หรือผู้ทีเ่ กี่ยวข้องดาเนินการนิเทศ ตดิ ตาม และให้ข้อเสนอแนะในการใช้สือ่
นวัตกรรมและเทคโนโลยที างการศึกษาเพ่อื การจดั การเรยี นรู้ ดงั น้ี
1. ตรวจสอบสภาพการดาเนนิ งาน/หลกั ฐานร่องรอยตามรายการทีก่ าหนด แลว้ เขียนเครอ่ื งหมาย ลงใน
ช่องผลการปฏบิ ตั ติ ามความเป็นจรงิ
2. บันทกึ ความต้องการ ส่ิงท่โี รงเรยี นอยากไดร้ ับการสนับสนุน และข้อเสนอแนะในการนเิ ทศติดตาม
เพื่อให้โรงเรียนนาไปใช้ประโยชนต์ อ่ ไป
ประเดน็ การนิเทศ ติดตาม สภาพการดาเนนิ งาน หลกั ฐาน / ร่องรอย
1.การวางแผน การเลือกใช้
หรือ ผลิต สื่อ นวัตกรรม
2. การเลอื กใช้หรือสร้าง มกี ารวิเคราะห์ แผนการจดั การเรียนรู้
มาตรฐานตวั บง่ ช้ีหลักสูตรปฐมวยั สอ่ื นวัตกรรม ท่ี
และมาตรฐานตวั ช้ีวดั ของหลักสูตร เลอื กใช้หรือสรา้ งขึ้นเอง
ขนั้ พ้ืนฐาน อืน่ ๆ..........................
มกี ารออกแบบส่อื
นวตั กรรมใหส้ อดคล้องกับ
มาตรฐานตัวบง่ ช้หี ลักสตู รปฐมวัย
และมาตรฐานตวั ช้วี ดั ของหลักสตู ร ทะเบยี น ส่ือ นวตั กรรม ฯ
ข้นั พนื้ ฐาน
มีการเลอื กวัสดุและ
อปุ กรณ์ที่เหมาะสมประหยดั และ
ปลอดภยั
26
สอื่ นวตั กรรมมาใชใ้ นการ มกี ารเลือกใชห้ รือสรา้ ง ภาพกจิ กรรมการใชส้ อ่ื
จัดการเรียนรู้
ส่อื นวัตกรรมทเี่ อ้ือกบั กิจกรรม/ นวตั กรรม
3. ประเมนิ ผลการใช้ สอ่ื
นวตั กรรม สาระการเรยี นรู้
ส่อื นวัตกรรมมคี วาม
เหมาะสมกบั วัย ความสนใจและ รอ่ งรอยการหา
ความสามารถของผู้เรยี น ประสทิ ธิภาพของสือ่
ส่อื นวตั กรรมมคี วาม นวัตกรรม ท่ีสร้างข้นึ
แปลกใหมส่ ามารถกระตุ้นให้
อื่น ๆ.....................
ผ้เู รียน เกดิ การเรยี นรู้
ปรากฏร่องรอยการหา
ประสิทธิของสอื่ นวัตกรรม ท่สี รา้ ง
ขนึ้
มีร่องรอยการบนั ทึกผลการ สรุปรายงานผลการใช้
ใช้สือ่ นวตั กรรม ในการจดั การเรยี นรู้ สื่อ
มกี ารสรุปรายงานผลการใช้
นวตั กรรม
สอื่ นวัตกรรม บนั ทึกหลงั การจดั
มีกำรเผยแพร่และ
กิจกรรม
ประชำสมั พนั ธ์
ข้อเสนอแนะในการนเิ ทศติดตาม
……………………………………………………………………………………………………………………..................................................
............................................................................................................................. ................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
............................................................................................................................. ................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
............................................................................................................................. ................................
ลงชอ่ื ................................................... ผนู้ ิเทศ
(.......................................................)
ตาแหน่ง ..................................................
27
เครื่องมือการนิ เทศ
“การจดั การเรยี นร้เู พศวิถศี ึกษาและทกั ษะชีวิต”
โรงเรียนอนุบาลเมอื งลาปาง (ธงชยั ศึกษา)
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1
ระดบั ชนั้ .............................................................................................................................
(ช่ือ-สกลุ ผ้รู บั การนิเทศ) ....................................................................................
ครงั้ ที่........................................ วนั ท่ี............................................................................
คาชีแ้ จง
1. แบบนเิ ทศ ตดิ ตาม “การจัดการเรียนรเู้ พศวถิ ีศึกษาและทักษะชวี ติ ” ฉบับน้ีใช้เป็นเครื่องมือในการ
นิเทศ ตดิ ตาม การจัดการเรยี นรเู้ พศวถิ ีศึกษาและทกั ษะชีวติ ในโรงเรียนอนบุ าลเมืองลาปาง (ธงชัยศกึ ษา) สงั กดั
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1
2. แบบนเิ ทศ ตดิ ตาม “การจดั การเรียนรูเ้ พศวถิ ศี ึกษาและทกั ษะชวี ติ ” ฉบับน้มี ี 3 ตอน
ตอนท่ี 1 การส่งเสริมการจัดการเรยี นรู้เพศวิถศี ึกษาและทักษะชวี ติ การบนั ทึกผลการนิเทศใหผ้ ู้นเิ ทศทา
เครื่องหมายถกู ในชอ่ ง ซึ่งตรงกบั ประเด็นทีโ่ รงเรยี นปฏบิ ตั จิ ริงโดยสามารถเลือกได้มากกวา่ 1
รายการ
ตอนท่ี 2 การวัดและประเมินผลการจัดการเรยี นรู้เพศวถิ ีศึกษา
ตอนท่ี 3 การอบรมผ่านโปรแกรมพัฒนาครเู พศวิถีศกึ ษาแบบออนไลน์ ทางเว็บไซต์ http://cse-
elearning.obec.go.th
3. ให้ศึกษานิเทศก์ ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา หรือผทู้ ่เี กี่ยวขอ้ งดาเนนิ การนเิ ทศ ตดิ ตาม และให้ขอ้ เสนอแนะ
ในการดาเนนิ งานเพศวถิ ศี ึกษาและทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ดังนี้
คร้ังท่ี 1 ตอนท่ี 1 และ 2
คร้งั ท่ี 2 ตอนท่ี 1 - 3
ตอนท่ี 1 การส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เพศวถิ ศี ึกษาและทักษะชีวติ
ประเดน็ การนิเทศ การดาเนินการ รอ่ งรอย/หลกั ฐาน เพ่ิมเตมิ
มี ไม่มี
1. โครงการ/กิจกรรม แนวทางการจัดกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ……………………...
การขับเคลอื่ นการ โครงการ/กจิ กรรม............................... ……………………...
สง่ เสริมการจัดการ ................................................................... ……………………...
เรียนรู้เพศวิถศี ึกษา หลักฐานอน่ื ๆ (ระบ)ุ .......................... ……………………...
28
และทักษะชีวติ (ระบุ) ........................................................ ……………………...
2. การสนับสนุน …………………………………………………………. ……………………...
และส่งเสริมการ …………………………..……………………………. ……………………...
จดั การเรยี นร้เู พศ ………………………………..………………………. ……………………...
วิถีศึกษาและทกั ษะ
ชีวิตในชนั้ เรียน
3. การบริหาร โครงสร้ำงเวลำเรียน ……………………...
จัดการการเรยี นรู้
เพศวิถีศึกษาและ หนว่ ยกำรเรียนรู้ ……………………...
ทักษะชีวติ ในช้ัน ตำรำงเรียน ……………………...
เรียน กำรมอบหมำยครูผ้สู อน ……………………...
……………………...
4. การนเิ ทศ สือ่ และแหล่งการเรียนรู้
ภายในสถานศึกษา ……………………...
เพอื่ ส่งเสริมการ หลักฐานอน่ื ๆ ระบุ) ............................ . ……………………...
พฒั นาครผู ู้สอน
เพศวถิ ศี กึ ษาและ ……………………...
ทกั ษะชีวิต
บนั ทกึ กำรนิเทศภำยใน ……………………...
5. ระบบการดแู ล
ชว่ ยเหลือ และ / หลักฐานอ่นื ๆ ระบุ) ............................ ……………………...
หรือการส่งต่อ …………………………………………………………. ……………………...
ความสามารถให้ …………………………………………………………. ……………………...
คาปรึกษาแนะนา
กรณเี ด็กเผชิญ ……………………...
สถานการณ์เรอ่ื ง
เพศ ……………………...
6. การรายงานผล
การดาเนนิ งานการ (ระบุ) ......................................................... ……………………...
จดั การเรียนรู้เพศ
วิถีศกึ ษาและ ………………………………….………………………. ……………………...
ทักษะชวี ิต
7. การมสี ่วนรว่ มของ ………………………………….………………………. ……………………...
เครือขา่ ยผู้ปกครอง
ชมุ ชน หรือภาคี …………………………………..……………………… ……………………...
เครอื ข่ายสหวิชาชีพ
หรืออนื่ ๆ …………………………………..……………………… ……………………...
……………………...
……………………...
(ระบุ) ......................................................... ……………………...
………………………………….………………………. ……………………...
………………………………….………………………. ……………………...
…………………………………..……………………… ……………………...
(ระบุ) ......................................................... ……………………...
………………………………….………………………. ……………………...
………………………………….………………………. ……………………...
…………………………………..……………………… ……………………...
29
ตอนท่ี 2 การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้เพศวถิ ีศึกษา (อธิบำยถึงผลท่ีเกิดขนึ ้ กบั นกั เรียนท่ี
แสดงให้เหน็ วำ่ นกั เรียนมีควำมรู้ ทกั ษะ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ตอ่ กำรจดั กำรเรียนรู้เพศวถิ ี
ศกึ ษำ).................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
.......................................................................................
ตอนที่ 3 การอบรมผา่ นโปรแกรมพฒั นาครเู พศวิถศี ึกษาแบบออนไลน์ ทางเวบ็ ไซต์ http://cse-
elearning.obec.go.th
พฒั นาตนเองต่อการจดั การเรยี นรูเ้ พศวิถีศึกษาอยา่ งไร
.........................................................................................................................................................................
ผา่ นการอบรมแลว้
ข้อเสนอแนะในการปรับปรงุ /พฒั นา การดาเนินงานเพศวิถศี ึกษาและทกั ษะชีวติ ในชั้นเรยี น
....................……………………………………………………………………………….……………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่อื ................................................... ผูน้ ิเทศ
(.......................................................)
ตาแหนง่ ..................................................
30
เคร่อื งมอื การนิเทศ
การจดั กิจกรรมการเรียนร้แู บบ Active Learning
โรงเรียนอนุบาลเมืองลาปาง (ธงชยั ศึกษา)
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1
ระดบั ชนั้ .....................................................
(ชื่อ-สกลุ ผรู้ บั การนิเทศ) ...................................................................................
ครงั้ ท่ี........................................ วนั ท่ี............................................................................
คาชี้แจง โปรดทาแบบนเิ ทศ ตดิ ตามการจดั กจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบ Active Learning โดยใชต้ ารางเมททรกิ ซ์
ขอ้ คน้ พบการพฒั นาการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ แบบ Active Learning ของครรู ายบคุ คล/รายภาคเรียน
การกาหนดสญั ลกั ษณ์เพอ่ื เป็นตวั แทนการปฏบิ ตั งิ านของครู ดงั น้ี
สญั ลกั ษณ์ = ครทู าไดด้ มี าก
= ครทู าไดบ้ า้ งแตต่ อ้ งพฒั นาเพม่ิ เตมิ
= ครไู มไ่ ดท้ าหรอื ตอ้ งการพฒั นามาก
S 1 = การประเมนิ รอบท่ี 1 (หลงั การสงั เกตชนั้ เรยี นครงั้ ท่ี 1)
S 2 = การประเมนิ รอบท่ี 2 (หลงั การสงั เกตชนั้ เรยี นครงั้ ท่ี 2)
ที่ องคป์ ระกอบ นางวชั ราภรณ์ เทพรกั ษาฤาชยั
ระยะเวลา S1 S2
ด้านครผู ้สู อน
1 สรา้ งบรรยากาศการเรยี นรแู้ บบมสี ว่ นรว่ ม
2 สรา้ งแรงจงู ใจจากตวั อยา่ ง เหตกุ ารณ์ และสถานการณ์ท่ี
น่าสนใจ
3 สรา้ งแรงจงู ใจใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรจู้ ากการลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ
4 ฝึกใหม้ กี ารนาเสนอผลงาน และยอมรบั แนวคดิ จากผอู้ น่ื
5 แบ่งกลุม่ การทางาน หรอื ฝึกใหท้ างานเป็นทมี
6 จดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ส่ี อดคลอ้ งกบั มาตรฐาน และตวั ชว้ี ดั
ตามหลกั สตู รแกนกลาง
7 สรา้ งแรงจงู ใจ และแรงบนั ดาลใจแกผ่ เู้ รยี น โดยการกาหนด
โจทย์ เงอ่ื นไข สถานการณ์ ทน่ี ่าสนใจและทา้ ทาย
8 ฝึกใหผ้ เู้ รยี นไดป้ ฏบิ ตั งิ านจากสถานการณ์จาลองและ
สถานการณ์จรงิ
ที่ องคป์ ระกอบ 31
ระยะเวลา
นางวชั ราภรณ์ เทพรกั ษาฤาชยั
S1 S2
9 มกี ารวดั ประเมนิ ผลในรปู แบบทห่ี ลากหลาย ทงั้ ก่อนเรยี น
ระหวา่ งเรยี น และหลงั เรยี น
10 มกี ารประยกุ ตใ์ ชส้ อ่ื นวตั กรรมและเทคโนโลยี กบั การจดั
กจิ กรรมเพอ่ื กระตนุ้ ความความสามารถและสรา้ งทกั ษะแก่
ผเู้ รยี น
11 ใจกวา้ ง ยอมรบั ในความสามารถ การแสดงออก และความ
คดิ เหน็ ของทผ่ี เู้ รยี น
12 วางแผนเกย่ี วกบั เวลาในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรอู้ ยา่ ง
ชดั เจน ทงั้ ในสว่ นของเน้ือหา และกจิ กรรม
ด้านผ้เู รียน
13 ผเู้ รยี นสรา้ งองคค์ วามรแู้ ละจดั ระบบการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง
14 ผเู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมการเรยี นการสอน
15 ผเู้ รยี นมคี วามกระตอื รอื รน้ ในการเรยี นรู้
16 ผเู้ รยี นมปี ฏสิ มั พนั ธท์ ด่ี กี บั ผสู้ อนและเพอ่ื นในชนั้ เรยี น
17 ผเู้ รยี นกลา้ นาเสนอและแสดงความคดิ เหน็ และโตแ้ ยง้ อยา่ งมี
เหตผุ ล
18 ผเู้ รยี นมคี วามรบั ผดิ ชอบ สามารถทากจิ กรรมจนสาเรจ็ ลลุ ่วง
19 ผเู้ รยี นรว่ มกนั จดั เกบ็ ทาความสะอาดอปุ กรณ์และสถานทห่ี ลงั
การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
ด้านกระบวนการ
20 เป็นกจิ กรรมทใ่ี หผ้ เู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการเรยี นรู้
21 เป็นกจิ กรรมการเรยี นรทู้ เ่ี น้นใหผ้ เู้ รยี นฝึกทกั ษะการอา่ น การ
ฟงั การพดู และการคดิ เชน่ การคดิ วเิ คราะห์ คดิ สงั เคราะห์ คดิ
สรา้ งสรรค์
22 เป็นกจิ กรรมทส่ี รา้ งสถานการณ์ใหผ้ เู้ รยี นไดล้ งมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ
23 เป็นกจิ กรรมทเ่ี ปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นบรู ณาการขอ้ มลู , ขา่ วสาร,
สารสนเทศ, และหลกั การสกู่ ารสรา้ งความคดิ รวบยอด
24 เป็นกจิ กรรมทม่ี กี ารสรา้ งองคค์ วามรู้ ทงั้ จากการปฏบิ ตั ิ จาก
ประสบการณ์ และจากการสรปุ ทบทวนของผเู้ รยี น
รวม ด้านครผู สู้ อน
รวม ด้านผเู้ รียน
รวม ด้านกระบวนการ
สรปุ
ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/พฒั นา การดาเนนิ งานการจัดกจิ กรรมการเรียนรแู้ บบ Active Learning
32
....................……………………………………………………………………………….……………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่ือ................................................... ผนู้ เิ ทศ
(.......................................................)
ตาแหน่ง ..................................................
33
เครอ่ื งมอื การนิเทศ
กากบั ติดตามการดาเนินงานการพฒั นา
“ปี 2565 เดก็ อนุบาลเมืองลาปาง (ธงชยั ศึกษา) อ่านออกเขียนได้ ลายมอื สวย”
ระดบั ห้องเรียน
โรงเรียนอนุบาลเมืองลาปาง (ธงชยั ศึกษา)
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1
ระดบั ชนั้
(ช่ือ-สกลุ ผ้รู บั การนิเทศ) ..................................................................................
ครงั้ ที่........................................ วนั ท่ี............................................................................
คาชแ้ี จง
ใหผ้ ้บู ริหารสถานศึกษา หรอื ผทู้ เ่ี กี่ยวข้องดาเนนิ การนเิ ทศ ติดตาม และให้ขอ้ เสนอแนะ ตรวจสอบสภาพ
การดาเนินงาน/หลักฐานร่องรอยตามรายการที่กาหนด แล้วเขยี นเคร่ืองหมาย ลงในชอ่ งผลการปฏิบตั ิตาม
ความเปน็ จรงิ
ที่ รายการปฏิบตั ิ การปฏบิ ัติ บนั ทึกข้อคน้ พบ/
1 สารวจขอ้ มลู นักเรียนทุกระดับช้นั ทม่ี ีปัญหาการอา่ นการ ปฏิบัติ ไมป่ ฏิบตั ิ ข้อเสนอแนะเพ่ิมเตมิ
เขยี นภาษาไทยทุกระดบั ชัน้ เป็นรายบคุ คล จดั ทาเป็น
สารสนเทศแสดงจานวนนักเรียน
2 ศกึ ษานักเรียนเปน็ รายบุคคล สารวจขอ้ มลู นกั เรยี นทุก
คน จดั ทาสารสนเทศแสดงจานวนนกั เรียนอ่านไม่ออก
เขียนไม่ได้ โดยระบปุ ัญหาสาเหตเุ ป็นรายบคุ คล ตาม
แบบฟอร์มเอกสาร
3 ประเมนิ ความสามารถในการอา่ นการเขยี นของนกั เรยี น
4 จดั กลุ่มนกั เรียนตามสภาพปญั หา
5 จดั ทาแผนการสอนซอ่ มเสริมนกั เรยี นเป็นรายบุคคลทุก
คนตามสภาพปัญหา/ข้อบกพรอ่ ง
6 จัดทาโครงการ/แผนพัฒนาการอา่ นการเขียนเพ่ือพฒั นา
นักเรยี น ตามสภาพปัญหา
7 เสนอโครงการ/แผนพฒั นาต่อผบู้ รหิ าร
8 ดาเนนิ การจัดกิจกรรมในโครงการ/แผนพฒั นา
9 วัดและประเมนิ ผลความก้าวหนา้ ประเมินการอา่ น การ
34
เขยี นของนักเรยี น มเี ปน็ ระยะเพ่ือดูพฒั นาการ
10 จัดเตรยี มส่ือ สร้างนวตั กรรม/จัดหา/จัดทา แล้วนามาใช้
ในการพัฒนาการอา่ น การเขียน
11 จดั ทาแผนการสอนซ่อมเสรมิ และบันทึกผลทกุ วนั
12 จัดทาบัญชีคาพ้ืนฐาน คาใหม่ ทกุ ระดบั ช้นั ใหน้ ักเรยี น
ทุกคน
13 นกั เรียนอ่านคาใหม่พรอ้ มความหมายทุกวัน (วนั ละ 4-5
คา ) เป็นอยา่ งนอ้ ย
14 นักเรียนเขียนตามคาบอก คาใหม่ (่ สปั ดาห์ละคร้ัง)
15 นกั เรียนคดั ลายมือ
16 นกั เรยี นฝกึ เขยี นเร่ืองจากภาพ
17 จดั ปา้ ยนเิ ทศ/บตั รคาศัพทใ์ หม่จากบทเรียน/จดั มมุ
หนังสอื ในห้องเรยี น
ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรงุ /พัฒนา การดาเนินงานการจัดกิจกรรมการเรยี นร้แู บบ Active Learning
....................……………………………………………………………………………….……………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชอ่ื ................................................... ผ้นู เิ ทศ
(.......................................................)
ตาแหน่ง ..................................................
35
แบบนิเทศ ตดิ ตาม การจัดการศกึ ษาปฐมวัย
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
โรงเรยี นอนบุ าลเมอื งลาปาง (ธงชัยศกึ ษา)
สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1
ช้ันอนุบาลปที ่ี …………… จานวนนักเรยี นทั้งหมด...................คน ชาย.............คน หญงิ .................คน
ผ้รู บั การนิเทศ.............................................................................................................................
...................................................................
คาชแี้ จง ให้ผูบ้ รหิ าร หรือผทู้ ีเ่ กีย่ วข้องดาเนินการตรวจสอบการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ตามลาดบั ดังน้ี
1. ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน ตามประเด็นการนเิ ทศทก่ี าหนด และเขียนเคร่ืองหมาย ✓ลงในชอ่ ง
ตามสภาพการดาเนนิ งานของสถานศึกษาตามความเป็นจรงิ
2. บนั ทึกขอ้ สงั เกต/ขอ้ เสนอแนะ ในแต่ละประเด็นการนเิ ทศ ตดิ ตาม เพือ่ ใหส้ ถานศึกษานาไปใช้
ประโยชน์ในการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวยั ใหม้ ีประสิทธิภาพ
1. การจดั การศกึ ษาและการจัดประสบการณ์สาหรบั เด็กปฐมวัย
คาช้ีแจง ให้ผนู้ เิ ทศดาเนินการนิเทศตามรายการนิเทศ ประเด็นการพิจารณา และเอกสาร/ร่องรอย
หลกั ฐานอา้ งอิง พรอ้ มกับให้ข้อเสนอแนะการจัดการศกึ ษาและการจัดประสบการณ์สาหรับเดก็ ปฐมวัยตามสภาพ
จริงทพ่ี บเห็นในโรงเรียน
รายการนเิ ทศ ประเดน็ การพจิ ารณา เอกสาร/ร่องรอยหลักฐาน
อ้างอิง
1. การจดั สภาพ
แวดล้อมภายใน 1. หอ้ งเรยี น
และภายนอก หอ้ งเรียนสะอาดเป็นระเบียบและ 2. ปา้ ยนเิ ทศ
ห้องเรียน ปลอดภยั 3. ผลงานเดก็
หอ้ งเรียนถูกสุขลกั ษณะมีแสงสวา่ ง 4. มุมประสบการณ์
เพียงพอ 5. สอบถามผบู้ ริหารโรงเรียน
อากาศถา่ ยเทไดส้ ะดวก ไมม่ เี สียงดงั รบกวน ครผู ู้สอน และผ้เู รยี น
มีพ้นื ท่ีเพียงพอตอ่ การปฏิบตั ิกิจกรรม ขอ้ เสนอแนะ/ข้อคน้ พบ
ท้ังรายบคุ คล กลุ่มย่อย และกลมุ่ ใหญ่ .................................................
หอ้ งเรียนมีมุมประสบการณ์อยา่ งนอ้ ย ..................................................
4 มุม เชน่ มมุ บทบาทสมมติ มมุ บล็อก มมุ ..................................................
..................................................
36
หนงั สือ มมุ วทิ ยาศาสตร์ มุมเครื่องเลน่ สมั ผสั ..................................................
และ ..................................................
ภายในมุมมีส่อื ของเล่นอยา่ งหลากหลาย เพยี งพอ
กบั จานวนเดก็
พื้นทจี่ ดั แสดงผลงานของเด็กปฐมวยั ทเ่ี ก็บ
แฟ้มผลงาน เครื่องใช้สว่ นตัวของเด็กและครู
มีการจดั ป้ ายนิเทศ/ มมุ
ประสบการณ์ ที่สอดคลอ้ งกบั หน่วยการเรียนรู้
หรือ สถานการณป์ จั จุบนั หรือสงิ่ ทเี่ ดก็ สนใจ
จดั สภาพห้องเรยี นนา่ สนใจและเอ้ือต่อ
พฒั นาการการเรยี นรู้ของเด็ก
จัดสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ป็นธรรมชาติ
สวยงาม ร่มรื่น ปลอดภัยและมบี รรยากาศเอื้อ
ต่อการเรยี นรู้
2. การจัดกจิ กรรม ครูจัดประสบการณต์ ามแผนการจดั 1. แผนการจัดประสบการณ์
ประสบการณ์
ประสบการณ์ 2. ปา้ ยนเิ ทศ
3. การประเมนิ
พฒั นาการ ครจู ดั ประสบการณ์โดยบูรณาการกิจกรรม 3. ผลงานเด็ก
ผา่ นการเลน่ กระต้นุ ให้เดก็ ทุกคนมสี ่วนรว่ มใน 4. มุมประสบการณ์
การทากิจกรรม 5. สือ่ การเรยี นรู้
ครจู ดั ประสบการณ์สง่ เสรมิ พฒั นาการทุก 6. ตารางกิจกรรม
ด้านดว้ ยการปฏิบตั จิ รงิ และสอดคล้องกับการ 7. สอบถามผ้บู ริหารโรงเรยี น
ทางานของสมอง ครูผู้สอน และผูเ้ รยี น
ครูจัดประสบการณ์ทส่ี ่งเสริมความคิด ขอ้ เสนอแนะ/ข้อคน้ พบ
สร้างสรรคแ์ ละจนิ ตนาการ .................................................
เดก็ ได้แสดงออกอยา่ งอิสระและเรียนรู้ ..................................................
อยา่ งมีความสขุ ..................................................
สอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรมและ ..................................................
คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์
มีการนาหรือใชส้ ื่อ/แหล่งเรียนรู้และภูมิ
ปัญญาท้องถ่ินในการจัดประสบการณ์ได้
เหมาะสมกบั เนือ้ หาและวยั ของเดก็
จดั กิจกรรมตามตารางกิจกรรมประจาวนั
ยืดหยนุ่ ได้อย่างเหมาะสม
สอดคลอ้ งกบั จุดประสงคท์ ่ีกาหนดไว้ 1. บัญชเี รียกชือ่ และแบบ
เครอ่ื งมือประเมนิ พัฒนาการเหมาะสมกบั บนั ทึกผลประเมินพัฒนาการ
นกั เรียน
วยั ของเด็ก
มีการประเมินพฒั นาการครบทกุ ดา้ นตาม 2. สมุดรายงานประจาตัวเด็ก
3. เครื่องมือประเมนิ พฒั นาการ
สภาพจริงโดยใช้วธิ ีการและเครื่องมืออยา่ ง
37
หลากหลาย 4. สอบถามผบู้ ริหารโรงเรียน
มีการบันทกึ ผลการประเมนิ พฒั นาการเด็ก ครูผูส้ อน และผูเ้ รียน
รายบุคคลอยา่ งเปน็ ระบบถูกตอ้ งและเปน็ ปจั จุบัน ข้อเสนอแนะ/ข้อค้นพบ
.................................................
มีการสรุปผลการประเมินพฒั นาการเด็ก .................................................
..................................................
เป็นรายด้าน ทั้ง 4 ดา้ น ..................................................
มกี ารนาผลการประเมินพฒั นาการไปใช้ ..................................................
ปรับปรุงและพฒั นาเดก็
มีเกณฑก์ ารประเมินพฒั นาการที่ชดั เจน
มกี ารสรุปผลการประเมินพฒั นาการและ
รายงานผล ให้ผู้บริหารโรงเรียน พอ่ แม่/
ผู้ปกครองและผเู้ กี่ยวข้อง
พอ่ แม่/ผู้ปกครองมสี ว่ นรว่ มในการ
ประเมนิ พฒั นาการ
2. การดาเนนิ งานโครงการบ้านนักวทิ ยาศาสตร์นอ้ ย ประเทศไทย
คาช้ีแจง ให้ผู้นเิ ทศดาเนนิ การนเิ ทศตามรายการนเิ ทศ ประเดน็ การพิจารณา และเอกสาร/รอ่ งรอย
หลักฐานอ้างอิง พร้อมกับ พร้อมกบั ให้ข้อเสนอแนะ การดาเนนิ งานโครงการบา้ นนักวิทยาศาสตรน์ อ้ ยประเทศไทย
ตามสภาพจริงที่พบเห็นในโรงเรยี น
รายการนเิ ทศ ประเดน็ การพิจารณา เอกสาร/ร่องรอยหลักฐาน
1. การจัดกิจกรรมการ อ้างองิ
ทดลองบา้ นนักวทิ ยาศาสตร์ กจิ กรรมสอดคล้องกบั ชอื่ เรือ่ งการทดลอง
น้อยประเทศไทย ที่กาหนดไว้ 1. แบบรายงานการจัดกิจกรรม
กิจกรรมสอดคลอ้ งกบั จุดประสงคท์ ี่ การทดลอง 20 กจิ กรรม
2. การจดั กิจกรรมโครงงาน 2. แผนการจดั ประสบการณ์
บ้านนกั วิทยาศาสตรน์ ้อย กาหนดไว้ การทดลอง (ถ้าม)ี
3. สอบถามผู้บริหารโรงเรียน
อุปกรณ์การทดลองเหมาะสมกบั กิจกรรม ครูผูส้ อน และผู้เรียน
ข้อเสนอแนะ/ขอ้ ค้นพบ
มีการจดั กิจกรรมการทดลองอยา่ งนอ้ ย .................................................
..................................................
20 กิจกรรม ..................................................
มกี ารรายงานการจดั กิจกรรมตามแบบ ..................................................
รายงานการจัดกจิ กรรมการทดลอง ..................................................
มกี ารสรปุ ผลการจดั กิจกรรมการทดลอง
สอดคล้องกับการประเมนิ พัฒนาการเด็กทั้ง 4 1. แบบรายงานการจัดกจิ กรรม
ดา้ น โครงงานแบบวัฏจกั รการ
กิจกรรมสอดคล้องกบั ชื่อเร่อื งโครงงานท่ี
กาหนดไว้
38
ประเทศไทย กิจกรรมสอดคลอ้ งกบั จุดประสงคท์ ่ี สบื เสาะ 1 โครงงาน
2. สอบถามผูบ้ ริหารโรงเรยี น
3. การจัดประสบการณ์ การ กาหนดไว้ ครูผู้สอน และผูเ้ รยี น
เรียนร้วู ิทยาการคานวณ ข้อเสนอแนะ/ขอ้ คน้ พบ
อปุ กรณ์การจัดกิจกรรมโครงงานมีความ .................................................
เหมาะสมกับกิจกรรม ..................................................
มีการจดั กิจกรรมโครงงาน 1 โครงงาน ..................................................
(แบบ 2 กิจกรรม) โครงงานตามรปู แบบวัฏจักร ..................................................
การสบื เสาะ ..................................................
มกี ารรายงานโครงงานตามแบบรายงาน
โครงงานบา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์นอ้ ยประเทศไทย 1. รายงานการจัดประสบการณ์
มีการสรปุ ผลการจดั กิจกรรมโครงงาน การเรียนรวู้ ิทยาการคานวณ
สอดคลอ้ งกับการประเมินพัฒนาการเด็กท้งั 4 2. แผนการจดั ประสบการณ์
ดา้ น การเรียนร้วู ทิ ยาการคานวณ
3. สอบถามผูบ้ ริหารโรงเรยี น
ครูผู้สอน และผ้เู รยี น
4. รปู ถ่าย/เอกสารอน่ื ๆ
มีแผนการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ ข้อเสนอแนะ/ข้อคน้ พบ
วทิ ยาการคานวณ .................................................
มกี ารจดั ประสบการณ์การเรยี นรตู้ าม ..................................................
แผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้วทิ ยาการ ..................................................
คานวณ
มกี ารจดั ประสบการณ์การเรียนรวู้ ทิ ยาการ
คานวณใหเ้ ดก็ อย่างน้อย 5 กจิ กรรมตอ่ ภาคเรียน
มกี ารจัดประสบการณ์การเรยี นรวู้ ทิ ยาการ
คานวณโดยมีการบรู ณาการกับกจิ กรรมหลกั 6
กิจกรรม
ข้อเสนอแนะเพิม่ เติม
................................................................................................... .....................................................................
............................................................................................................................. ...........................................
............................................................................................................................................ ............................
..................................................................................................... ...................................................................
............................................................................................................................. ...........................................
.............................................................................................................................................. ..........................
ลงชอ่ื .........................................................ผ้นู ิเทศ
(.......................................................)
ตาแหนง่ ..................................................................
วันที่ ..............เดือน...................................พ.ศ. .......................
39
บันทึกข้อความ
สว่ นราชการ โรงเรียนอนุบาลเมอื งลาปาง (ธงชัยศกึ ษา)
ท.ี่ ......................................................... วันท่ี……… เดือน ……………. พ.ศ. …………..
เรื่อง รายงานผลการบนั ทึกกจิ กรรมชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (PLC)
เรยี น ผู้อานวยการโรงเรยี นอนบุ าลเมืองลาปาง (ธงชยั ศึกษา)
สงิ่ ท่ีสง่ มาดว้ ย รายงานผลการบันทึกกิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชพี (PLC)
ดว้ ยขา้ พเจ้า.………………………..................ครกู ล่มุ สาระการเรียนรู้………………….....................................ได้
ดาเนนิ การบันทึกกจิ กรรมชมุ ชุมแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community) ภายใตช้ ่อื
กล่มุ ………………..………………………………………….. ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ เปน็ ทเ่ี รียบรอ้ ยแล้ว
บัดน้ี การปฏิบตั ิกิจกรรมดงั กล่าวไดเ้ สร็จส้นิ เป็นท่เี รียบร้อยแล้ว ข้าพเจา้ ขออนญุ าตสง่ รายงานผลการ
บันทกึ กจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี (PLC) กล่มุ …………………………………………………….ดังเอกสาร
แนบมาพร้อมหนงั สือฉบับน้ี
จงึ เรียนมาเพื่อโปรดพจิ ารณา ลงชือ่ ............................................................
(………………………….…………………)
ลงชือ่ ตาแหน่ง…………………………………
()
ความคิดเห็นของผูอ้ านวยการโรงเรยี น
ตาแหน่ง รองผอู้ านวยการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ ......................................................................
......................................................................
(นายสรุ ชยั กมิ าคม)
ผอู้ านวยการโรงเรยี นอนุบาลเมอื งลาปาง (ธงชยั ศกึ ษา)
ครงั้ ที่ วัน/เดือน/ปี ตารางสรุปแบบบนั ทึกกิจกรรม PLC 40
ที่ทากิจกรรม ปกี ารศกึ ษา 2565
จานวนชวั่ โมง
เรอ่ื ง/หวั ข้อ/ประเด็นที่แลกเปล่ยี นเรยี นรู้
จานวนช่ัวโมงท้งั หมดทีบ่ นั ทึกกิจกรรม PLC จานวน ………………………………….. ช่ัวโมง
* ตอ้ งได้อยา่ งน้อย 25 ช่ัวโมงต่อภาคเรียน 50 ชั่วโมง ต่อปีการศึกษา เชน่ ภาคเรียนท่ี 1 อาจได้ 24ช่วั โมง
ภาคเรียนท่ี 2 ได้ 26 ชั่วโมง รวม 1 ปีการศึกษา ได้ 50 ช่ัวโมง
* ปญั หาของกลุ่มใหค้ านงึ ถึงปัญหาทีแ่ กไ้ ขแลว้ ส่งผลโดยตรงให้เกดิ กับผู้เรียน
41
แบบบันทกึ การปฏบิ ัติกิจกรรม พัฒนาการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการ
“การสรา้ งชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (PLC)”
Professional Learning Community
คาชี้แจง
แบบบนั ทึกนีส้ รา้ งขน้ึ เพอ่ื เป็นแนวทางให้ครูใช้ในการดาเนินกิจกรรมเพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนรู้
ผ่านกระบวนการ PLC โดยมีการวิเคราะห์ปัญหา ร่วมกันหาแนวทางในการแก้ปัญหา และสะท้อนความ
คิดเหน็ เพอ่ื สรปุ เปน็ แนวปฏบิ ตั ทิ ี่ดใี นการจัดการเรยี นรู้
โดยแบบบันทกึ การปฏบิ ัติกิจกรรมนี้ แบ่งออกเปน็ 4 สว่ น ดังน้ี
1. การวเิ คราะห์ปัญหา
2. การกาหนดแนวทางการแก้ปัญหา
3. การปฏบิ ัติ สังเกต และเก็บข้อมูล
4. การสะท้อนความคิดเห็น
คร้งั ที่ …………. 42
วนั ท่ี………………………………….………...
สถานท่ี หอ้ ง ………………………………..
บันทกึ กจิ กรรม เวลา………………... ถงึ …….………….
ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
คดิ เป็น …………. ชั่วโมง
ช่อื กลุ่ม/กลุ่มสาระการเรยี นรู้…………………………………………………………………………………………………………..
สมาชกิ ในกลุ่ม PLC ทีเ่ ข้ารว่ มแลกเปลย่ี นเรียนรู้
ลาดับท่ี ช่ือ-นามสกลุ ตาแหน่ง บทบาทใน PLC ลายมือชอื่
ผ้เู ข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรยี นรู้อื่น ๆ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เร่อื ง/หัวขอ้ /ประเด็นทแ่ี ลกเปลี่ยนเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………
1. ปญั หา สาเหตขุ องปัญหา และ ผลกระทบทีเ่ กดิ ข้ึน (Plan)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………
……………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………
………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………..…………..............................
.........................................................................................................................................................................
43
2. รูปแบบ/วิธีการ/เทคนิค/กิจกรรมเพือ่ แกป้ ัญหา (Plan)
จากปัญหาที่พบ จงึ ไดใ้ ชว้ ิธีการแกป้ ัญหาดังตอ่ ไปนี้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……
………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………
………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………..…
3. นาไปสูก่ ารปฏบิ ัติ (Do)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….….…………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………
…………………………………………………………………………………………………………………………….….………………………
………………………………………………………………………………………………………………………..……
4. ข้อเรียนรู้ แนวความคิด ส่ิงทน่ี า่ สนใจและเปน็ ประโยชน์ (See)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..…
()
ผูบ้ ันทึก
........../.........../..........
(นายวฒุ ชิ ยั วงศ์เขียว) (นายสุรชยั กมิ าคม)
รองผูอ้ านวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ ผูอ้ านวยการโรงเรียนอนุบาลเมอื งลาปาง (ธงชยั ศกึ ษา)
........../.........../.......... ........./.........../..........
44
ภาพกจิ กรรม
45
แผนนิเทศภายในสถานศึกษา
ปีการศกึ ษา 2565
โรงเรยี นอนุบาลเมืองลาปาง (ธงชยั ศึกษา)
สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
46
คานา
การนเิ ทศภายในโรงเรยี น เป็นกระบวนการสาคญั ในการพัฒนาครผู ูส้ อน ใหส้ ามารถจัดกจิ กรรมการ
เรียนการสอนท่ีมคี ุณภาพ ซึง่ จะสง่ ผลโดยตรงต่อการพัฒนาคุณภาพของนกั เรียน ใหม้ ลี ักษณะอันพึงประสงค์
ตามเปา้ หมายของหลักสูตร
จากนโยบายการการนิเทศของสานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 โรงเรยี นจึงมี
ภารกจิ ท่ีจะทาใหน้ โยบายดังกลา่ วบรรลผุ ล ซึ่งได้ดาเนนิ การประเมนิ มาตรฐานโรงเรียนด้านการเรียนการสอน
มาตรฐานดา้ นคุณภาพนักเรียน และนาข้อมูลในสว่ นท่ียังบกพร่องมาแก้ไข โดยนามาวางแผนการนเิ ทศ
แผนการนิเทศภายในโรงเรียนฉบับน้ี จะเป็นแนวทางที่จะทาให้โรงเรยี นสามารถดาเนินงานตามแผน
เพือ่ ใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย และเจตนารมณข์ องการนเิ ทศ
ขอขอบคุณ คณะกรรมการนเิ ทศภายใน และผู้ท่ีเกย่ี วข้องที่ร่วมกนั วางแผนกาหนดกรอบงาน เพ่อื
พฒั นาคณุ ภาพของครู และผู้เรียนต่อไป
งานวชิ าการ
47
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ความสาคัญและความเป็นมา 1 -
วตั ถปุ ระสงค์ของการนเิ ทศภายใน 2
กระบวนการนิเทศภายใน 3
บทบาทของผบู้ รหิ าร 4
กจิ กรรมการนเิ ทศภายใน 4
5
การนเิ ทศการบริหารภายในโรงเรยี น 6
การเยี่ยมชน้ั เรยี น 7
การสังเกตการสอน 8
- การนเิ ทศตดิ ตามการอา่ นการเขียน 9
- การนิเทศตดิ ตามการจดั การเรยี นรู้เชิงรุก (Active Learning)
- การนเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรยี นรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง 10
กจิ กรรมชุมชนแห่งการเรยี นรูท้ างวิชาชีพ (PLC) 11
ภาคผนวก 11
แบบประเมนิ สาหรบั งานนเิ ทศภายใน 16
คาสงั่ แต่งต้งั คณะกรรมการนิเทศภายใน ปีการศึกษา 2565