The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

KM.การจัดการความรู้ (Knowledge Management KM)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Teerapong Panunchai, 2023-11-05 22:21:31

KM.การจัดการความรู้ (Knowledge Management KM)

KM.การจัดการความรู้ (Knowledge Management KM)

Keywords: KM.การจัดการความรู้

KM. การจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM)


คือ คื การรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ความรู้ใน องค์กร โดยพัฒนาระบบจากข้อ ข้ มูล ไปสู่สารสนเทศ เพื่อให้เกิดความรู้ และปัญญาในที่สุด


รูปแบบการจัดการองค์ความรู้จะถูกจัดให้ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ขององค์กรและ ประสงค์ที่จะได้ผลลัพธ์เฉพาะด้าน เช่น เพื่อ แบ่งปันภูมิปัญญา, เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ทำ งาน, เพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน, หรือ รื เพื่อเพิ่มระดับนวัตกรรมให้สูงขึ้น


ความรู้สามารถแบ่งออกเป็นสองประเภท คือ คื ความรู้ชัดแจ้ง จ้ (Explicit Knowledge) และ ความรู้แฝงเร้น หรือ รื ความรู้แบบฝังลึก (Tacit Knowledge)


1.ความรู้ชัดแจ้ง จ้คือ คื ความรู้ที่เขีย ขี นอธิบายออกมาเป็น ตัวอักษร เช่น คู่มือมืปฏิบัติงาน หนังสือ ตำ รา เว็บไซต์ Blog ฯลฯ 2.ความรู้แฝงเร้นคือ คื ความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวคน ไม่ได้ ถอดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร ความรู้ที่สำ คัญ ส่วนใหญ่ มีลั มีลั กษณะเป็นความรู้แฝงเร้น อยู่ในคน ทำ งาน และผู้เ ผู้ ชี่ยวชาญในแต่ละเรื่อง จึง จึ ต้องอาศัย กลไกแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้คนได้พบกัน สร้างความ ไว้ว ว้ างใจกัน และถ่ายทอดความรู้ระหว่างกันและกัน


สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ระดับ คือ คื 1.ความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้ เชิงข้อ ข้ เท็จจริง รู้อะไร เป็นอะไร จะพบในผู้ที่ ผู้ ที่ สำ เร็จการศึกษามาใหม่ๆ ที่มีคมี วามรู้โดยเฉพาะ ความรู้ที่จำ มาได้จากความรู้ชัดแจ้ง จ้ ซึ่งได้จากการ ได้เรียนมาก แต่เวลาทำ งาน ก็จะไม่มั่น มั่ ใจ มักจะปรึกษารุ่นพี่ก่อน ระดับของความรู้


2.ความรู้เชิงทฤษฏีแ ฏี ละเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลก ของความเป็นจริง ภายใต้สภาพความเป็น จริงที่ซับซ้อนสามารถนำ เอาความรู้ชัดแจ้ง จ้ ที่ได้มาประยุกต์ใช้ตามบริบทของตนเองได้ มักพบในคนที่ทำ งานไปหลายๆปี จนเกิด ความรู้ฝังลึกที่เป็นทักษะหรือ รืประสบการณ์ มากขึ้น


2.ความรู้เ รู้ ชิง ชิ ทฤษฏีและเชิง ชิ บริบ ริ ท (Know-How) เป็น ป็ ความรู้เ รู้ ชื่อ ชื่ มโยงกับโลก ของความเป็น ป็ จริง ริ ภายใต้สภาพความเป็น ป็ จริง ริ ที่ซับ ซั ซ้อ ซ้ นสามารถนำ เอาความรู้ชั รู้ ด ชั แจ้ง จ้ ที่ได้มาประยุกต์ใช้ต ช้ ามบริบ ริ ทของตนเองได้ มัก มั พบในคนที่ทำ งานไปหลายๆปี จนเกิด ความรู้ฝัรู้ ง ฝั ลึกที่เป็น ป็ ทักษะหรือ รืประสบการณ์ มากขึ้น ขึ้ 3.ความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือ รื เหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัก้ปั ญหาที่ ซับซ้อน และนำ ประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียน รู้กับผู้อื่ ผู้ อื่ น เป็นผู้ทำ ผู้ทำ งานมาระยะหนึ่งแล้วล้เกิดความ รู้ฝังลึก สามารถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมา แลกเปลี่ยนกับผู้อื่ ผู้ อื่ นหรือ รื ถ่ายทอดให้ผู้อื่ ผู้ อื่ นได้ พร้อมทั้งรับเอาความรู้จากผู้อื่ ผู้ อื่ นไปปรับใช้ใน บริบทของตนเองได้


4.ความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่ ผู้ ที่ สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมี อยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความ รู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบหรือ รื ทฤษฏีใฏี หม่ หรือ รื นวัตกรรม ขึ้นมาใช้ในการทำ งานได้


กรอบแนวคิดการจัดการความรู้


แผนผังอิชิคะวะ หรือ รื แผงผังก้าก้ งปลา หรือ รื ตัวแบบปลาตะเพีย พี น) เป็นกรอบแนวคิด อย่างง่ายในการจัดการความรู้ โดยให้การ จัดการความรู้เปรียบเสมือมืนปลา ซึ่ง ประกอบด้วยส่วนหัว ลำ ตัว และหาง แต่ละส่วนมีห มีน้าที่ที่ต่างกันดังนี้


ส่วนหัวและตา (Knowledge Vision - KV) มองว่ากำ ลังจะไปทางไหน ซึ่งต้องตอบให้ได้ ว่า "ทำ KM ไปเพื่ออะไร" ส่วนกลางลำ ตัว (Knowledge Sharing - KS) ส่วนที่เป็นหัวใจให้ความความสำ คัญกับการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ช่วยเหลือลื เกื้อกูลกันและกัน


ส่วนหาง (Knowledge Assets - KA) คือ คื สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือ รื ข่าย ประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีสา ยี รสนเทศ "สะบัดหาง" สร้างพลังจากชุมชนแนวปฏิบัติ


https://www.econ.cmu.ac.th/km/ อ้างอิง


Thank You! นายธีรพงค์ ปนันชัย รหัส 6690041042 SEC.2


Click to View FlipBook Version