การพฒั นาความคิดสรา้ งสรรค์ วชิ าทัศนศิลป์ โดยการจัดการเรียนรู้
แบบเนน้ ประสบการณ์ (Experiential Learning)
ของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 โรงเรยี นบางปะอนิ "ราชานุเคราะห์ ๑"
จังหวดั พระนครศรีอยุธยา
นางสาวศภุ สิริ สอนสิทธิ์
ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
โรงเรียนบางปะอนิ “ราชานุเคราะห์ ๑”
สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาพระนครศรีอยุธย
เรอื่ งที่วจิ ยั การพฒั นาความคิดสร้างสรรค์ วิชาทศั นศิลป์ โดยการจดั การเรยี นรู้แบบเนน้ ประสบการณ์
ผ้วู จิ ัย (Experiential Learning) ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3
โรงเรยี นบางปะอิน "ราชานุเคราะห์ ๑" จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
นางสาวศภุ สริ ิ สอนสิทธิ์
1. ทีม่ าและความสำคัญของปญั หา
สงั คมไทยในปัจจบุ ันเป็นที่ยอมรบั กันโดยทว่ั ไปแล้ววา่ การศกึ ษา คือ เครอื่ งมือสำคัญ ในการพัฒนาคน
ใหม้ ีคุณลกั ษณะตามทีส่ ังคมต้องการ โดยปัจจุบนั สังคมไทย กําลงั ก้าวเข้าสู่ศตวรรษท่ี 21 ส่งผลใหก้ ารศึกษาของ
ไทยถึงเวลาปรับเปลีย่ น ให้สอดคล้องกับความตอ้ งการและบริบทของสังคมได้อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ
สมเกียรติ ต้ังกิจวานิชย์และคณะ (2556) ได้นําเสนอเรื่องวรรณกรรม ด้านการศึกษาร่วมสมัย ชี้ไปใน
ทศิ ทางเดียวกนั ว่า ทักษะและความรทู้ ี่จําเป็นต่อการเป็นพลเมือง และการทำงานในศตวรรษที่ 21น้ัน ค่อนข้าง
แตกต่างจากศตวรรษที่ 20 บางทักษะแม้จะมีลักษณะถาวร กล่าวคือ มีความสำคัญมาในทุกยุคทุก สมัย ไม่ใช่
เฉพาะในศตวรรษที่ 21น้ัน ก็คือ ทักษะ 4C ได้แก่ 1) การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking)
2) การสื่อสาร (Communication) 3) การทำงานเป็นทีม (Collaboration) และ 4) ความคิดสร้างสรรค์
(Creativity) จะพบว่าทักษะในศตวรรษที่ 21 จึงเป็นทักษะท่ีจําเป็นต่อการดำรงชีวิตของคนในยุคปัจจุบัน
ในฐานะการเป็นพลเมืองของโลก ท่ีมีการดำรงชีวิตท่ามกลางโลกท่ีเปล่ียนแปลง ซ่ึงคนไทยยังติดกับดัก
และวงั วนของการเป็นผู้ใช้ ผู้บรโิ ภค และผู้ซอื้ ไม่สามารถเป็นผ้ทู ่ีมีความคดิ สร้างสรรค์ ทีส่ ามารถพัฒนาตอ่ ยอด
การใช้งาน และก้าวไมผ่ ่านไปสกู่ ารเป็นผคู้ ดิ นวัตกรรม สร้างและผลิตภณั ฑ์นําไปใช้เพ่ือดำรงชวี ิตในสังคม อย่างมี
คุณภาพอย่างเหมาะสม (ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2549) ความคิดสร้างสรรค์จึงมีความสำคัญต่อชีวิตคนใน
ยุคศตวรรษท่ี 21 เป็นอย่างมาก ด้วยความเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆ ท่ีอยู่รอบตัวนั้น ล้วนเกิดจากการใช้
ความคิดสร้างสรรค์ของคน ซ่ึงนอกจากจะทำให้โลกมสี ิ่งใหม่เกิดขึ้นแล้วยังช่วยให้คนมีวิธีคิดแก้ปัญหาต่างๆ ได้
ถ้าคนได้ฝึกการคิด และคดิ ไดอ้ ย่างสร้างสรรค์มาแล้ว ปญั หาทกุ อย่างยอ่ มมที างแก้ไข เชน่ การ แข่งขันทางธรุ กิจ
ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ เป็นต้น (คณะกรรมการวิชาการคิดสร้างสรรค์เพ่ือการจัดการ คุณค่าศูนย์วิชา
บรู ณาการ หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไปมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, 2555)
กลุ่มการเรียนรู้วิชาศิลปะเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการส่งเสริมให้มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์
มจี นิ ตนาการทางศิลปะ ชนื่ ชมความงาม สุนทรียภาพ สง่ ผลให้ผ้เู รยี นมีมมุ มองทส่ี ร้างสรรค์ ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มี
โอกาสแสดงออกอย่างเสรีทางความคิด การคิดสร้างสรรค์ จินตนาการตามความสนใจ และความถนัดตาม
ธรรมชาติของเด็กแต่ละคน (กรมวิชาการ, 2551) การจัดกระบวนการเรียนรู้ของวิชาศิลปะ มีรูปแบบของ
กิจกรรมอยู่หลากหลายรูปแบบ ซึ่งเน้นการปฏิบัติ ท่ีสามารถต่อยอดความคิด ทางศิลปะได้ในอนาคต
เพ่ือให้ผู้เรียนใช้กระบวนการการคิดสร้างสรรค์ และสามารถนําไปใช้ในชีวิต ประจำวันได้ ฝึกให้ผู้เรียน
เป็นเดก็ ช่างคิด ช่างทำ ช่างจินตนาการ สร้างสรรค์ ทดลอง ลงมือปฏบิ ัติจริง
การจัดการเรียนรู้แบบประสบการณ์เป็นการเรียนรู้อย่างมีความหมายสำหรับผู้เรียน ปัจจุบันได้มี
การเปล่ียนความคดิ เก่ียวกบั การเรียนรู้ (Conception of Learning) ซึ่งมกี ารยดึ ครูเป็นศนู ยก์ ลาง และนักเรียน
ไม่มีส่วนร่วม (Passive Receivers) ในการเรียนมาเป็นการเน้ นด้านการคิด (Cognitive) มนุษยนิยม
(Humanistic) สังคม (Social) และรูปแบบการเรียนที่เรียกว่า Constructivist Learning Models นอกจากนี้
ยังพบว่าสังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มีความจําเป็นที่ต้องเพิ่มในเรื่องความยืดหยุ่นและ
ศักยภาพในการผสมผสานความรู้เดิมกับประสบการณ์ ในรูปแบบที่ใหม่และแตกต่างกันออกไป ดังน้ัน
การ ออกแบบการเรียนรู้จึงต้องเน้นการวัดความสามารถภาคปฏิบัติของการเรียน และใช้เทคนิคการเรียนแบบ
ประสบการณ์ (Experiential Techniques) ที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาทักษะใหม่ๆ ให้แก่ผู้เรียน เช่น
ทักษะความสามารถในการทำงานเป็นทีม เป็นต้น ซึ่งประสบการณ์เป็นแหล่งที่มาของการเรียนรู้และ
เป็นพ้ืนฐานสำคัญของการเกิดความคิด ความรู้ และการกระทำต่างๆ สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจท่ี
ชัดเจนและมีความหมายต่อตน เน่ืองจากเป็นการเรียนรู้ที่เร่ิมจากประสบการณ์ที่เป็นรูปธรรมเห็นได้ชัดเจน
จงึ สามารถนําไปสู่การเรยี นรู้เชิงนามธรรม การท่ีผู้เรียนได้รบั ประสบการณ์ตรงและค้นพบการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
จะช่วยให้การเรียนรู้น้ันมีความหมายต่อตนเอง และจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกผูกพัน ความต้องการและ
ความรับผดิ ชอบทีจ่ ะเรียนรู้ต่อไป (สมศกั ด์ิ ภูว่ ิภาดาวรรธณ์, 2544. น.41)
จากแนวคิดดังกล่าวข้างต้นสรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้แบบประสบการณ์จึงเป็นการจัดการเรียนรู้ท่ี
ผวู้ จิ ัยคาดวา่ จะพัฒนาความสามารถในความคิดสร้างสรรคข์ องผเู้ รียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงผ้วู ิจัยต้องการท่ี
จะพัฒนากิจกรรมทางทัศนศิลป์ให้กับผู้เรียน และเพ่ือแก้ปัญหาผู้เรียนขาดความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนบางปะอิน “ราชานุเคราะห์ ๑” โดยให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ ใช้การจัดการเรียนรู้
แบบเน้นประสบการณ์ (Experiential Learning) เช่น การวาดภาพ การระบายสี ศิลปะจากสิ่งแวดล้อมรอบตัว
เปน็ กจิ กรรมสว่ นหนึ่งในการฝกึ พัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์ และความรู้ความเข้าใจในการ ปฏิบตั ิงานทัศนศิลป์ให้
สามารถพัฒนาขึน้ ได้ตามลำดบั
2. ความมุง่ หมายของการวิจยั
2.1 เพ่ือพัฒนาความสามารถการคิดสร้างสรรค์ วิชาทัศนศิลป์ โดยใช้กิจกรรมการแบบเน้น
ประสบการณ์ (Experiential Learning) ของนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3
2.2 เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนรู้ วิชาทัศนศิลป์ โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ
ประสบการณ์ (Experiential Learning)
3. ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะได้รบั
3.1 ผู้เรียนได้เรยี นรูแ้ บบเนน้ ประสบการณ์ (Experiential Learning) ในวิชาทัศนศลิ ป์
3.2 ได้ทราบความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนรู้ วิชาทัศนศิลป์ โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ
ประสบการณ์ (Experiential Learning) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการความคดิ สรา้ งสรรค์ตอ่ ไป
4. ตัวแปรท่ศี ึกษา
4.1 ตัวแปรตน้ คอื การจดั การเรยี นรู้แบบเนน้ ประสบการณ์ (Experiential Learning)
4.2 ตวั แปรตาม คอื ประสิทธภิ าพความคิดสรา้ งสรรค์ของนักเรยี น
5. กลมุ่ เป้าหมายของการวจิ ยั
นกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3/4 จำนวน 40 คน โรงเรยี นบางปะอนิ “ราชานุเคราะห์ ๑”
อำเภอบางปะอิน จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
6. กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย
การจัดการเรยี นรู้แบบ ประสทิ ธิภาพความคิดสรา้ งสรรค์ของนักเรยี น
เนน้ ประสบการณ์
(Experiential Learning)
7. ระยะเวลาในการดำเนนิ การวจิ ยั
ระยะเวลาในการดำเนินการวจิ ยั ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564
8. วิธกี ารดำเนินการวจิ ยั
ผศู้ กึ ษาได้แบ่งวธิ ีการดำเนินการวิจัยออกเปน็ 5 ขนั้ ตอน ดังตอ่ ไปนี้
ขนั้ ท่ี 1 การศกึ ษาขอ้ มลู พ้ืนฐาน
ข้ันท่ี 2 สรา้ งแผนการจัดการเรียนร้แู บบเน้นประสบการณ์ (Experiential Learning)
ขัน้ ที่ 3 การทดลองใช้แผนการจดั การเรียนรู้แบบเนน้ ประสบการณ์ (Experiential Learning)
ขัน้ ที่ 4 วิเคราะห์พฒั นาการความคิดสร้างสรรค์ของผเู้ รยี นจากการใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรู้
แบบเนน้ ประสบการณ์ (Experiential Learning)
ขน้ั ที่ 5 สรปุ ความพึงพอใจของผู้เรยี นทม่ี ีตอ่ การเรียนรู้ วิชาทัศนศิลป์ โดยใชก้ ิจกรรมการเรียนรู้แบบ
ประสบการณ์ (Experiential Learning)
ขน้ั ที่ 1 การศกึ ษาข้อมูลพื้นฐาน
ผู้ศึกษาไดศ้ กึ ษาข้อมลู พน้ื ฐาน เพือ่ นำมาเปน็ แนวทางในการสรา้ งแผนการจัดการเรยี นร้แู บบ
เนน้ ประสบการณ์ (Experiential Learning) ดังต่อไปน้ี
1.1 สำรวจความพร้อมทางด้านอุปกรณก์ ารเรียน ทกั ษะการสรา้ งสรรค์งานทัศนศิลป์ของนกั เรยี น
1.2 ศกึ ษาขอ้ มูลเกีย่ วกับการพฒั นาทักษะการสร้างสรรค์งานทศั นศิลปข์ องผเู้ รียน
1.3 ศึกษาข้อมลู เกยี่ วกับการพฒั นาความคิดสรา้ งสรรคข์ องผเู้ รยี น
ข้ันท่ี 2 สรา้ งแผนการจดั การเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์ (Experiential Learning)
2.1 สร้างแผนการจัดการเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์ (Experiential Learning) และ
แบบฝกึ หัดพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
2.2 สรา้ งเครอ่ื งมอื ทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล เพอื่ ประเมินประสทิ ธิภาพของค่มู อื และ
ประเมนิ พฒั นาการความคดิ สร้างสรรคข์ องผู้เรยี น
ขนั้ ท่ี 3 การทดลองใช้แผนการจัดการเรยี นรู้แบบเนน้ ประสบการณ์ (Experiential Learning)
3.1 กล่มุ ตัวอยา่ ง คือ นักเรยี นระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3/4 โรงเรียนบางปะอิน
“ราชานเุ คราะห์ ๑” ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564
3.2 เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการศกึ ษา ไดแ้ ก่ แบบประเมนิ ความคิดสร้างสรรค์ก่อนเรียน
แบบประเมินความคิดสร้างสรรค์หลังเรียน และแบบประเมินความพึงพอใจมีต่อการเรียนรู้
วชิ าทศั นศิลป์ โดยใช้กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบ ประสบการณ์ (Experiential Learning)
3.3 วิธีดำเนินการ
3.3.1 วางแผนการจดั การเรียนรูโ้ ดยใชก้ ิจกรรมการเรยี นรู้แบบประสบการณ์
(Experiential Learning) ทผี่ ้วู ิจยั สร้างข้นึ
3.3.2 ประเมินความคิดสรา้ งสรรค์ ใชแ้ บบประเมินความคิดสรา้ งสรรคก์ อ่ นเรียน
3.3.3 จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนโดยแผนการจัดการเรียนรแู้ บบเนน้ ประสบการณ์
(Experiential Learning) ใหก้ บั นักเรียนในกลุ่มตัวอย่าง
3.3.4 ประเมนิ ความคิดสร้างสรรค์หลงั เรยี น
3.3.5 ความพึงพอใจท่ีมีตอ่ การเรยี นรู้ วิชาทัศนศลิ ป์ โดยใชก้ ิจกรรมการเรยี นรู้แบบ
ประสบการณ์ (Experiential Learning)
ขั้นท่ี 4 วิเคราะห์พัฒนาการความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนจากการใช้แผนการจัดการเรยี นรู้แบบ
เน้นประสบการณ์ (Experiential Learning)
4.1 การวิเคราะห์ขอ้ มูล
วเิ คราะห์พัฒนาการความคดิ สร้างสรรค์ของผู้เรียน จากแบบประเมินความคิดสรา้ งสรรคก์ ่อนเรียน โดย
การหาคา่ เฉลี่ย
การเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ผ้วู ิจัยจงึ ได้กำหนดสญั ลักษณ์ทใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ ดังนี้
แทน ระดับคะแนนเฉลย่ี (Means)
สตู รในการคำนวณหาค่าเฉล่ยี
คือ ค่าเฉล่ีย
คอื ผลรวมของขอ้ มลู ท้งั หมด
คือ จำนวนขอ้ มูลท้ังหมด
4.2 นำข้อมูลที่ได้จากแบบประเมินความคิดสร้างสรรค์ก่อนเรียน มาเปรียบเทียบกับคะแนน
แบบประเมินความคดิ สรา้ งสรรค์หลงั เรียน มาวิเคราะห์ประสทิ ธิผลการจดั การเรยี นการสอนโดยแผนการจัดการ
เรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์ (Experiential Learning) ท่ีสร้างข้ึน เพ่ือเปรียบเทียบพัฒนาการความคิด
สรา้ งสรรค์ วิชาทศั นศลิ ป์ของนักเรยี น
4.3 สรุปและอภิปรายผลเก่ียวกับประสิทธิภาพแผนการจัดการเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์
(Experiential Learning) และพัฒนาการความคิดสร้างสรรค์ วชิ าทัศนศิลป์ของนกั เรยี น
ขั้นที่ 5 สรุปความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนรู้ วิชาทัศนศิลป์ โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ
ประสบการณ์ (Experiential Learning)
การวิเคราะห์หาระดับความพึงพอใจของผู้เรียนท่ีมีต่อการเรียนรู้ วิชาทัศนศิลป์ โดยใช้กิจกรรมการ
เรยี นรู้แบบ ประสบการณ์ (Experiential Learning) ผู้วจิ ัยจะเก็บข้อมูล โดยใชแ้ บบประเมินและวเิ คราะห์ข้อมูล
ด้วยการหาค่าเฉลยี่
ระดับคะแนนเฉลี่ยระดับความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนรู้ วชิ าทัศนศิลป์ โดยใช้กิจกรรมการ
เรียนรู้แบบประสบการณ์ (Experiential Learning) มีคา่ เฉล่ียทกั ษะทั้งหมด 5 ระดับ
4.1 – 5 จัดอยใู่ นเกณฑ์ ดีมาก
3.1 - 4 จัดอยใู่ นเกณฑ์ ดี
2.1 – 3 จดั อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง
1.1 – 2 จัดอยใู่ นเกณฑ์ พอใช้
0– 1.00 จัดอยู่ในเกณฑ์ ควรปรับปรงุ
9. เครอ่ื งมือทีใ่ ช้ในการทำวิจยั
9.1 แบบประเมินความคดิ สร้างสรรคก์ ่อนเรยี น
9.2 แบบประเมนิ ความคิดสร้างสรรค์หลงั เรยี น
9.3 แบบประเมินความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ วิชาทัศนศิลป์ โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ
ประสบการณ์ (Experiential Learning)
10. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
10.1 เก็บรวบรวมขอ้ มูลจากแบบประเมินความคิดสร้างสรรค์กอ่ นเรียน โดยมคี รูผู้สอนเป็นผปู้ ระเมิน
10.2 เก็บรวบรวมข้อมลู จากแบบประเมนิ ความคิดสรา้ งสรรคห์ ลังเรยี น โดยครผู ู้สอนเป็นผู้ประเมนิ
10.3 เก็บรวบรวมขอ้ มลู จากการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล โดยมีครูผสู้ อนเป็นผู้ประเมนิ
11. การวิเคราะหข์ ้อมลู
ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลเปรยี บเทียบผลการประเมินความคดิ สร้างสรรค์ของผู้เรยี น
ตารางที่ 1 ตารางเปรียบเทียบผลการประเมนิ ความสามารถการคิดสรา้ งสรรค์ วิชาทัศนศลิ ป์
กอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น โดยใช้กจิ กรรมการแบบเนน้ ประสบการณ์ (Experiential Learning)
ของนกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3
ระดับ
ความคิด ประเมินความคิด ประเมินความคิด
สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์กอ่ นเรยี น สรา้ งสรรคห์ ลังเรยี น
ความคิดริเร่มิ 3.2 8.8
2.8 8.7
ความคิด
คล่องแคลว่ 2.5 8.5
ความคิด 1.7 8.3
ยดื หยุ่น
10.2 34.3
ความคิด
ละเอียดละออ
รวม
จากการศึกษาความสามารถในการคิดสร้างสรรค์วิชาทัศนศิลป์ โดยใช้กิจกรรมการแบบเน้น
ประสบการณ์ (Experiential Learning) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 พบว่า ภาพรวมนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3/4 มีค่าเฉลี่ยผลการประเมินความคิดสร้างสรรค์ก่อนเรียน เร่ือง ความคิดริเร่ิม เท่ากับ 3.2
ความคิดคล่องแคล่ว เท่ากับ 2.8 ความคิดยืดหยุ่น เท่ากับ 2.5 ความคิดละเอียดลออ เท่ากับ 1.7 อยู่ในเกณฑ์
ระดบั ปรับปรุง
จากตารางที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการแบบเน้นประสบการณ์ (Experiential
Learning) มีผลการประเมินความคิดสร้างสรรค์หลังเรียนในระดับที่สูงข้ึน พบว่า ภาพรวมนักเรียนระดับช้ัน
มัธยมศึกษาปีท่ี 3/4 มีค่าเฉลี่ยผลการประเมินความคิดสร้างสรรค์หลังเรียน เร่ือง ความคิดริเร่ิม เท่ากับ 8.8
ความคิดคล่องแคล่ว เท่ากับ 8.7 ความคิดยืดหยุ่น เท่ากับ 8.5 ความคิดละเอียดลออ เท่ากับ 8.3 อยู่ในเกณฑ์
ระดับปรับปรงุ
จากตารางสรปุ ได้ว่า เมอื่ ผู้เรียนได้ผ่านการพัฒนาความสามารถในการคิดสร้างสรรค์วิชาทัศนศิลป์ โดย
ใช้กิจกรรมการแบบเน้นประสบการณ์ (Experiential Learning) ส่งผลให้ผู้เรียน มีผลการประเมินพัฒนาการ
ความคิดสร้างสรรค์ที่สงู ขึ้นท้ัง 4 ระดับความคิดสร้างสรรค์ ได้แก่ ความคดิ ริเร่ิม ความคดิ คล่องแคล่ว ความคิด
ยืดหยนุ่ ความคดิ ละเอียดละออ
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจท่ีมีต่อการเรียนรู้ วิชาทัศนศิลป์ โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบประสบการณ์
(Experiential Learning)
ตารางท่ี 2 วเิ คราะหร์ ะดับความพึงพอใจของผ้เู รียนหลงั การใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบประสบการณ์
(Experiential Learning)
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควร
หวั ขอ้ ประเมิน (5) (4) (3) (2) ปรบั ปรุง
(1)
1. รูปแบบกจิ กรรมแบบเนน้ ประสบการณ์ 33 7 4.82
2. ระยะเวลาการกจิ กรรมแบบเนน้ ประสบการณ์ 34 6 4.85
3. จำนวนแผนการจัดการเรยี นรู้แบบเนน้ 30 10 4.75
ประสบการณ์
4. การกระตุ้นความสนใจในการเรยี นรู้ 35 4 1 4.85
จากตารางที่ 2 พบผู้เรียนส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ วิชาทัศนศิลป์ โดยใช้กิจกรรม
การเรียนรู้แบบประสบการณ์ (Experiential Learning) อยู่ในระดับ ดีมาก ในเร่ือง รูปแบบกิจกรรมแบบเน้น
ประสบการณ์ ( = 4.82) ระยะเวลาการกิจกรรมแบบเน้นประสบการณ์ ( = 4.85) จำนวนแผนการจัดการ
เรียนร้แู บบเนน้ ประสบการณ์ ( = 4.75) และการกระตนุ้ ความสนใจในการเรียนรู้ ( = 4.85)
12. สรุปผลการวจิ ยั
การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนเรือ่ ง การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ วิชาทศั นศลิ ป์ โดยการจดั การเรียนรู้
แบบเน้นประสบการณ์ (Experiential Learning) ของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียนบางปะอิน "ราชานุเคราะห์ ๑"
จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ซ่ึงมวี ัตถุประสงคก์ ารวิจัย คอื
1 เพื่อพัฒนาความสามารถการคิดสรา้ งสรรค์ วิชาทัศนศลิ ป์ โดยใชก้ จิ กรรมการแบบเน้นประสบการณ์
(Experiential Learning) ของนกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3
2 เพ่ือศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนรู้ วิชาทัศนศิลป์ โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ
ประสบการณ์ (Experiential Learning) มเี นอ้ื หาสาระโดยสรุปได้ดงั ตอ่ ไปนี้
การจัดการเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์(Experiential Learning) เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ วิชา
ทัศนศิลปท์ ผี่ วู้ ิจัยสรา้ งข้ึน ผเู้ รียนมีความพึงพอใจอยู่ในเกณฑ์ดมี าก ได้แก่ รปู แบบกิจกรรมแบบเนน้ ประสบการณ์
ระยะเวลาการกิจกรรมแบบเน้นประสบการณ์ จำนวนแผนการจัดการเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์ การกระตุ้น
ความสนใจในการเรียนรู้ ส่งผลให้ผลการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ วิชาทัศนศิลป์ของผู้เรียน พบว่า
มีการพัฒนาเพ่ิมขึ้นในระดับดีมาก 4 ระดับความคิดสร้างสรรค์ ได้แก่ ความคิดริเริ่ม ความคิดคล่องแคล่ว
ความคดิ ยดื หยนุ่ ความคิดละเอียดลออ โดยมีค่าเฉลี่ยผลรวมการประเมนิ ความคดิ สร้างสรรค์หลังเรียน (34.3) สูง
กวา่ ก่อนเรียน (10.2) รอ้ ยละ 69.39
นางสาวศุภสริ ิ สอนสทิ ธ์ิ
ตำแหน่ง ครูผู้ชว่ ย
ผวู้ จิ ัย
บรรณานุกรม
กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2551). หลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์องคก์ ารรรบั สง่ สนิ ค้าและพัสดภุ ัณฑ์
คณะกรรมการวชิ าการคิดสรา้ งสรรคเ์ พ่ือการจัดการคณุ คา่ ศูนยว์ ชิ าบรู ณาการ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสต.์ (2555), คิดสรา้ งสรรค์เพื่อการจัดการคุณคา่ . กรุงเทพ สํานกั พิมพ์
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
แคทลียา ปกั โคทานงั และจมุ พล ราชวิจิต. (2558, ตลุ าคม - ธันวาคม). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ศลิ ปะ
โดยใช้การสอนท่ีสง่ เสรมิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ สำหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 1. วารสาร
ศึกษาศาสตร์ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 9(4): 28-35.
ชโลธร ใจหาญ. (2558). การใช้การเรียนร้แู บบโครงงานเพ่อื พฒั นาความคดิ สร้างสรรค์ของนกั เรยี นชนั้
ประถมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรียนเทศบาลรตั นบุรี วิทยานพิ นธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชา
หลกั สูตรและการสอน มหาวิทยาลยั ธรุ กิจบณั ฑิตย์
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2549). การศกึ ษาเชงิ สรา้ งสรรค์และผลิตภาพ. กรุงเทพมหานคร : จฬุ าลงกรณ์
มหาวิทยาลัย
สมเกียรติ ตงั้ กิจวานิชย์และคณะ (2556). ปฏริ ปู การศกึ ษาข้นั พื้นฐานเพือ่ การเรียนร้แู หง่ ศตวรรษที่ 21
กรงุ เทพฯ : สาํ นกั งานสถิติแห่งชาติ
สมศกั ด์ิ ภ่วู ภิ าดาวรรธน์. (2544). การยดึ ผเู้ รียนเปน็ ศูนย์กลาง และการประเมินตามสภาพจริง. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 4
เชยี งใหม่ : โรงพิมพ์แสงศลิ ป์