๑. นักเรยี นสามารถบอกความหมาย ประเภท และประโยชนข์ องบทอาขยานได้
๒. นกั เรียนสามารถอธิบายความรูเ้ กยี่ วกบั บทอาขยาน โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการได้
หมายถึง บททอ่ งจา ท่บี อก หรือสวด หรือเลา่ เรื่องราว
จากนทิ านหรอื จากเร่ืองตา่ งๆ
“อาขยาน” อา่ นออกเสยี งได้ 2 อย่าง คือ
หรือ
๑. คือ บทอาขยานทก่ี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารกาหนดใหน้ กั เรยี นทอ่ งจา
๒. คือ บทอาขยานทีโ่ รงเรยี นหรอื ครผู สู้ อนกาหนดใหน้ กั เรียนทอ่ งจา
๓. คือ บทอาขยานที่นักเรยี นเลือกท่องเองตามความชน่ื ชอบ
อาจเป็นบทร้อยกรองทมี่ ีผู้แต่งไว้แลว้ หรอื ท่นี ักเรียนแตง่ ข้นึ มาเองกไ็ ด้
แปลว่า ไม่มีอาการเสียใจ
อ่านว่า
อา่ นวา่ หมายถึง ปราศจาก
อ่านวา่ หมายถงึ ไม่ด,ี เสยี
อ่านวา่ หมายถึง ใจ
อ่านวา่ หมายถึง สภาพกิรยิ า
จดุ ประสงค์ของการแต่งโคลงสภุ าษติ นฤทมุ นาการ
เพ่ือต้องการจะอธบิ ายสุภาษิตทเ่ี กย่ี วกบั นามธรรม ทีเ่ ป็นเร่อื งใกล้ตวั ท่ที ุกคนสามารถนาไปประพฤติ
โดยแนะนาทางดา้ น (การคดิ ) (การพูด) และ (การกระทา)
อันจะเปน็ เกราะปอ้ งกันใหผ้ ้นู าไปประพฤตปิ ฏิบตั ิมิต้องเสยี ใจ
เดมิ เป็นภาษาอังกฤษ แลว้ แปลมาเป็นโคลงสสี่ ภุ าพ
โดยมี
- บทนา ๑ บท
- เนื้อเรื่อง ๑๐ บท รวม ๑๒ บท
- บทสรปุ ๑ บท
- บทหนงึ่ ๔ บาท (๔ บรรทดั )
- วรรคหน้าของทกุ บรรทัด มี ๕ พยางค์
- วรรคหลงั ของบรรทัดท่ี ๑ - ๓ มี ๒ พยางค์
บรรทดั ท่ี ๔ มี ๔ พยางค์
- สามารถท่องจานวนพยางค์ในแต่ละบรรทดั ดังนี้ หา้ – สอง,
หา้ – สอง, ห้า – สอง, ห้า – สี่
- มีตาแหนง่ สัมผสั ตามเส้นโยง
- บงั คับรูปวรรณยกุ ต์ เอก ๗ โท ๔ ตามตาแหน่งแผนผัง
ลาดับการฝึกอา่ นบทอาขยาน
โดยอา่ นออกเสียง
เหมอื นรอ้ ยแกว้ ไม่มที านอง หรอื การเอ้อื น
โดยอ่านออกเสยี งแบบ
ร้อยกรอง มีจังหวะ ทานอง และการเออื้ น