The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตัวอย่างวิจัย1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by มนทิวา สุทธิประภา, 2019-12-18 21:16:46

ตัวอย่างวิจัย1

ตัวอย่างวิจัย1



คานา

การประเมินหลักสูตรโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ เป็นกระบวนการในการวัดและเก็บรวบรวม
ขอ้ มลู เพื่อนามาวิเคราะห์พจิ ารณาตัดสินคุณค่าของหลักสูตรว่า หลักสูตรสถานศึกษามีประสิทธิภาพเพียงใด
เม่ือนาไปใช้แล้ว บรรลุตามจุดมุ่งหมายท่ีกาหนดหรือไม่เพียงใด มีอะไรต้องแก้ไข เพ่ือนาผลมาใช้ในการ
ตดั สนิ ใจหาทางเลอื กท่ดี กี วา่ จุดมุ่งหมายของการประเมินหลักสูตร เพ่ือหาคุณค่าของหลักสูตรนั้น โดยดูว่า
หลักสูตรท่ีจัดทาข้ึนนั้นสามารถสนองวัตถุประสงค์ ที่หลักสูตรน้ันต้องการหรือไม่ สนองความต้องการของ
ผเู้ รยี นและสงั คมอยา่ งไร และเพือ่ อธบิ ายหรือพิจารณาว่าลักษณะของส่วนประกอบต่างๆ ของหลักสูตรในแง่
ตา่ งๆ เช่น หลกั การ จุดมงุ่ หมาย เนอื้ หาสาระ การเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นการสอน ส่ือการเรียนการสอน
และการวดั ผลว่าสอดคลอ้ งต้องกันหรอื ไม่ หรอื สนองความตอ้ งการหรือไม่รวมทั้งเพ่ือตัดสินว่า การบริหารงาน
ด้านวิชาการและบริหารงานด้านหลกั สูตร เป็นไปในทิศทางท่ีถกู ตอ้ งหรือไม่ เพ่ือหาทางแก้ไขระบบการบริหาร
หลักสตู ร การนาหลักสูตรไปใช้ให้มีประสิทธภิ าพ การประเมินผลหลักสูตร เป็นส่ิงสาคัญและมีความจาเป็น
อย่างยิ่งท่ีจะทาให้เราทราบถึงคุณภาพและประสิทธิภาพของหลักสูตร การประเมินผลมีประโยชน์ในการจัด
การศกึ ษา การจดั ทาหรอื พฒั นาหลักสตู รต้องอาศัยผลจากการประเมินผลเป็นสาคญั ทาให้ทราบว่าหลักสูตรที่
สร้างหรือพัฒนาข้นึ นน้ั มจี ดุ ดหี รือจดุ เสียตรงไหน ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ในการวางแผนปรับปรุงให้ถูกจุด ส่งผล
ให้หลักสูตรมีคุณภาพดีย่ิงข้ึน สร้างความน่าเชื่อถือ ความมั่นใจ และค่านิยมท่ีมีต่อโรงเรียนให้เกิดในหมู่
ประชาชนช่วยในการบรหิ ารทางด้านวชิ าการ ผบู้ ริหารจะได้รู้ว่าควรจะตัดสินใจและสนับสนุน ช่วยเหลือหรือ
บริการทางใดบ้าง ส่งเสริมให้ประชาชนมีความเข้าใจในความสาคัญของการศึกษา รวมทั้งส่งเสริมให้
ผปู้ กครองมีความสมั พันธ์ใกล้ชิดกบั โรงเรยี นมากยิง่ ข้ึน ทงั้ นเ้ี พอ่ื ใหก้ ารจัดเรยี นการสอนแก่นักเรยี นได้ผลดี ด้วย
ความร่วมมือกันท้ังทางโรงเรียนและทางบ้านจากความจาเป็นดังกล่าว งานพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนจอมสรุ างค์อุปถมั ภ์ ตระหนักในความจาเปน็ ดังกล่าว จึงได้จดั การประเมนิ การใชห้ ลักสูตรสถานศึกษา
ขนึ้ เพื่อทาการทบทวนตรวจสอบหลักสูตรสถานศึกษาและพัฒนาให้หลักสูตรมีความสมบูรณ์สนองต่อความ
ต้องการของนักเรียน ผู้ปกครอง สนองนโยบายของภาครัฐ รวมทั้งการพัฒนาหลักสูตรให้เทียบเคียง
มาตรฐานสากล

หวังเป็นอยา่ งยง่ิ วา่ เอกสารฉบับนจ้ี ะเป็นประโยชนต์ ่อการพฒั นางานทางดา้ นวชิ าการของโรงเรียน
และเป็นแนวทางแก่ผู้ที่สนใจนาขอ้ มลู ไปพัฒนาผเู้ รียนใหส้ นองเจตนารมณข์ องหลักสูตรสถานศกึ ษาต่อไป

(นายสชุ ีพ บุญวงษ์)
ผอู้ านวยการโรงเรยี นจอมสุรางค์อปุ ถมั ภ์



สารบญั หนา้

บทที่ ก

คานา
สารบัญ 1
บทท่ี 1 บทนา 3
3
- หลกั การและเหตุผล 4
- วัตถปุ ระสงค์ 4
- ขอบเขตการศึกษา
- นิยามศัพท์เฉพาะ 5
- ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั 5
บทที่ 2 6
- วรรณกรรมและงานวิจยั ท่ีเกย่ี วข้อง 7
- แนวคิดเกย่ี วกบั หลักสูตร 8
- ความสาคญั ของหลักสตู ร 9
- การพฒั นาหลักสูตร 12
- การบริหารหลกั สูตร 21
- สาระสาคัญเกี่ยวกับหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 22
- หลกั สตู รโรงเรยี นจอมสรุ างค์อุปถัมภ์ พุทธศักราช 2552 (ฉบบั ปรับปรงุ 2561) 24
- แนวคดิ เก่ียวกบั การประเมินหลักสตู ร
- จุดมงุ่ หมายของการประเมินหลักสตู ร 25
- การประเมินหลกั สตู ร 25
บทท่ี 3 วิธีดาเนินการ
- กลุม่ เป้าหมาย 26
- เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 29
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู 31
- ประเมินการใช้และพฒั นาหลกั สูตรจากผ้บู ริหารและครูผ้สุ อน
- ประเมนิ ความพึงพอใจของนกั เรยี นตอ่ การจัดหลกั สูตรโรงเรียนจอมสรุ างค์อุปถมั ภ์ 33
- ประเมนิ ความพงึ พอใจของผูป้ กครองตอ่ การจัดการศึกษาของโรงเรยี นจอมสุรางค์อปุ ถัมภ์ 37
บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 37
- สรุปผลการประเมินหลกั สูตรโรงเรยี นจอมสรุ างคอ์ ุปถมั ภ์ 39
- อภิปรายผลการประเมินหลกั สตู ร 41
- ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก

- แบบประเมนิ ทใี่ ช้ในการเกบ็ ข้อมลู
- รายช่ือคณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและวิชาการโรงเรยี นจอมสุรางค์อปุ ถมั ภ์
- คณะกรรมการรายงานการใช้และพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นจอมสุรางคอ์ ปุ ถัมภ์
ประจาปศี ึกษา 2561

1

บทที่ 1
บทนา

1. หลักการและเหตุผล
การศึกษามีบทบาทและความสาคญั ในการพฒั นาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ในยุคปัจจบุ ันที่มี

การเปลย่ี นแปลงทงั้ ทางดา้ นเศรษฐกจิ และสังคม การศึกษาจะเปน็ พนื้ ฐานในการคิด เพื่อพัฒนาตนเองให้ทัน
ต่อสังคมโลก และสามารถดารงชีวติ อยา่ งมคี วามสุข หลักสูตรโรงเรยี นจอมสรุ างคอ์ ุปถมั ภ์ พทุ ธศักราช 2552
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) เป็นหลักสูตรท่ีพัฒนาจากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช
2551 โดยมีการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรของสถานศึกษามาอย่างต่อเน่ือง เพ่ือสนองแนวนโยบายใหม่ๆ
ของภาครัฐสนองความต้องการของชุมชนท้องถิ่นและสอดคล้องกับบริบทของสังคม ที่เปล่ียนไปตลอดเวลา
รวมทั้งเมื่อกระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศคาสั่งที่ สพฐ 1239/2560 เร่ืองให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และ
ตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม
ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ( ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560 ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551เพื่อให้การจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ท่ีเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วเป็น
การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนของชาติ ใหส้ ามารถเพิม่ ขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ
การยกระดับคณุ ภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล สอดคล้องกับประเทศ
ไทย 4.0 ในโลกศตวรรษท่ี 21 และทดั เทียมกบั นานาชาติ ผเู้ รียนมีศักยภาพในการแข่งขันและดารงชีวิตอย่าง
สร้างสรรค์ในประชาคมโลก ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศใช้
มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชว้ี ดั กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่ม
สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 แทนมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เงื่อนไขและระยะเวลาการใช้มาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระ
การเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ใหเ้ ป็นไปดังน้ี

1. ปกี ารศึกษา 2561 ใหใ้ ชใ้ นชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 และ 4 และช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 และ 4
2. ปีการศกึ ษา 2562 ให้ใช้ในช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 2 4 และ 5 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2

45
3. ตง้ั แต่ปกี ารศึกษา 2563 เป็นต้นไป ใหใ้ ช้ในทกุ ชัน้ เรียน
ดงั นนั้ โรงเรียนจอมสรุ างคอ์ ปุ ถมั ภ์ จึงมกี ารพัฒนาปรบั ปรงุ หลกั สูตร ใหส้ อดคล้องกบั
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ( ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551

2

สถานศึกษาจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาขึ้นใช้เองในโรงเรียนของตน คณะกรรมการบริหารหลักสูตร
และวชิ าการของสถานศึกษา โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ ซึง่ ประกอบด้วยผู้บริหารสถานศึกษา คณะครูผู้สอน
คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และตัวแทนผู้ปกครอง จึงร่วมกันจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาข้ึน โดยมี
จดุ หมายท่จี ะพัฒนาผ้เู รยี นให้เป็นมนุษยท์ ี่มคี วามสมดุลทัง้ ด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรมมีจิตสานึกในการเป็น
พลเมืองไทยและพลโลก มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ
ซ่ึงสอดคล้องกับเป้าหมายและจุดเน้นของ ซ่ึงมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ
การจัดการเรียนการสอนที่กาหนดไว้ในหลักสูตรสถานศึกษา จึงมุ่งให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงและมีทักษะ
สามารถนาความรู้ ไปใช้ในการดารงชีวิตประจาวันได้ กิจกรรมการเรียนมุ่งเน้นทั้งด้านความรู้ ความคิด
ความสามารถ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคม ในการจดั ทาหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนได้
ศึกษาสภาพต่าง ๆ ท่ีเป็นปัญหา จุดเด่น/เอกลักษณ์ของชุมชนสังคมศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถ่ิน
มีการระดมทรัพยากรทง้ั ของสถานศกึ ษา และชมุ ชนมาใช้ และใช้ศักยภาพท่ีมีอยู่อย่างเต็มที่ ท้ังในด้านการจัด
เนือ้ หาสาระ ส่อื การเรยี น เทคนิควธิ ีการสอนกจิ กรรมการเรยี น และการวัดผลประเมินผล เพื่อให้ได้หลักสูตรที่
ดีมคี วามทนั สมัยเหมาะสมกับสถานการณ์ ความก้าวหน้าของวิทยาการต่างๆ และตอบสนองความต้องการ
ของสังคม และสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังที่ กรมวิชาการกาหนดไว้ว่า
หลักสูตรสถานศึกษาที่มีคุณภาพต้องเป็นหลักสูตรที่พัฒนามาจากข้อมูลของสถานศึกษาและชุมชน
(กรมวิชาการ,2545)3 หลักสูตรใดก็ตามท่ีสามารถทาให้นักเรียนทุกคนสาเร็จการศึกษาและมีคุณภาพตาม
หลักสูตรกาหนด หลักสูตรน้นั ย่อมมปี ระสทิ ธิภาพ ผลติ ผลของการศึกษาจะดหี รือไม่ ยอ่ มข้ึนอยู่กับคุณภาพของ
หลักสูตร ในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษานั้นผู้จัดทาหลักสูตรต้องศึกษาข้อมูลอย่างกว้างขวาง เพื่อให้
สามารถกาหนดเป้าหมาย ส่วนประกอบ และเนื้อหาสาระของหลักสูตรจนนาไปสู่การจัดประสบการณ์ให้กับ
ผเู้ รียน หลังจากได้จดั ทาและใชไ้ ประยะหนึ่งแลว้ ตอ้ งมกี ารประเมนิ หลกั สูตร ซ่ึงจะเป็นการรวบรวมและศึกษา
ข้อมูล รวมทั้งการวเิ คราะหข์ ้อมูลเพ่อื ตรวจสอบหลักสูตรวา่ มคี ุณคา่ บรรลผุ ลตามเป้าหมายที่กาหนดไว้หรือไม่
หลักสูตรมีข้อดีในเรื่องใดและมีส่วนใดที่ต้องปรับปรุงและพัฒนาให้ดีย่ิงข้ึน (สมคิด พรมจุ้ย, 2551) โรงเรียน
จอมสุรางค์อุปถัมภ์ ได้ดาเนินการใช้หลักสูตรโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ พุทธศักราช 2552 (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2561) ในปีการศึกษา 2561 กับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ดังนั้น
คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและวชิ าการของโรงเรยี น จงึ เห็นวา่ ควรจะได้มีการประเมนิ หลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ พุทธศักราช 2552 (ฉบับปรับปรุง 2561) เพื่อจะได้ทราบว่าสภาพการใช้
หลักสตู รสถานศึกษาเปน็ อย่างไร มีปัญหาขอ้ บกพรอ่ ง และส่วนที่ควรปรบั ปรุงแก้ไขอย่างไรและเป็นแนวทางให้
ผู้บริหาร คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา ได้นาข้อมูลจากผลการประเมินไป
ปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรให้เกิดประสิทธิภาพสูงย่ิงข้ึน อีกทั้งครูผู้สอนยังใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุง
กระบวนการจัดการเรียนรู้ให้สามารถตอบสนองความต้องการของท้องถิ่น และนักเรียนมีคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ตามเจตนารมณข์ องหลกั สูตร โดยได้ศึกษาวิธีการประเมินหลักสูตรจากตารา เอกสารและงานวิจัยที่
เก่ียวข้อง พบว่า มีรูปแบบการประเมินหลักสูตรอยู่หลายรูปแบบ ผู้ศึกษาได้เลือกใช้รูปแบบการประเมิน
CIPP Model ของสตฟั เฟลิ บมี (Stufflebeam, 1973) มาเปน็ แนวทางในการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาใน
คร้ังน้ี เพราะพิจารณาเห็นว่า รูปแบบการประเมิน CIPP Model เป็นการประเมินท้ังระบบ โดยมองทุกส่วน
และทุกองค์ประกอบ และให้ความสาคัญของแต่ละส่วนใกล้เคียงกัน สามารถประเมินข้อมูลที่เก่ียวข้องกับ
หลักสตู รไดค้ รอบคลุมทุกดา้ นทง้ั ในดา้ นตัวหลักสูตร กระบวนการเรยี นการสอน ผูส้ อน ผู้เรียนอุปกรณ์การสอน
และสิ่งอานวยความสะดวกอ่ืนๆ (บุญศรี พรหมมาพันธ์ุ, 2551) เพื่อนาไปสู่คาตอบว่า หลักสูตรมีความ
เหมาะสมเพียงไร การดาเนินงานเป็นไปตามความมุ่งหมายทว่ี างไวห้ รอื ไม่ มีปัญหา อปุ สรรค หรือข้อผดิ พลาด

ประการใด ซึง่ จะชว่ ยใหส้ ามารถตดั สนิ ใจได้วา่ ควรมีการปรบั ปรุงและพัฒนาหลักสูตรในด้านใด เพ่ือให้
เปน็ หลกั สูตรที่มปี ระสิทธภิ าพตอ่ ไป

3

2. วตั ถปุ ระสงค์
2.1 ประเมินด้านการจัดโครงสรา้ งรายวชิ าและเวลาเรยี นของหลักสตู รโรงเรียนจอมสรุ างค์อปุ ถมั ภ์
2.2 ประเมินด้านกิจกรรมการเรียนรู้ / กิจกรรมอนื่ ๆ ในการใชห้ ลกั สูตรโรงเรยี นจอมสรุ างค์อุปถมั ภ์
2.3 ประเมนิ การใช้และพัฒนาหลักสูตรจากผูบ้ รหิ ารและครผู ู้สอน
2.4 ประเมนิ ความพงึ พอใจของนกั เรยี นตอ่ การจดั หลกั สูตรโรงเรยี นจอมสุรางค์อุปถมั ภ์
2.5 ประเมินความพงึ พอใจของผูป้ กครองต่อการจดั การศึกษาของโรงเรียนจอมสุรางคอ์ ุปถมั ภ์
2.6 จดั ทารายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นจอมสรุ างคอ์ ุปถมั ภเ์ พ่อื สนองระบบประกนั
คุณภาพการศึกษา

3. ขอบเขตของการศกึ ษา
เพ่ือใหก้ ารศึกษาอสิ ระคร้ังน้เี ป็นไปตามวัตถปุ ระสงคท์ ก่ี าหนดไว้ ผู้ศกึ ษาจงึ กาหนดขอบเขต

การศกึ ษาไว้ ดังน้ี
3.1 ขอบเขตด้านกลุม่ เป้าหมาย
3.1.1 แหลง่ ขอ้ มลู ใช้ในการศึกษาครั้งน้ี คอื ผบู้ ริหารโรงเรยี น ครูผู้สอน นกั เรยี นโรงเรยี น

จอมสรุ างค์อุปถัมภ์และผู้ปกครอง
3.1.2 ผูใ้ ห้ข้อมลู หลัก คอื กลุม่ ตัวอย่างท่ีให้ขอ้ มลู ในการประเมินคร้ังนี้ ประกอบดว้ ย
- ผูบ้ ริหารโรงเรยี น คณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและวชิ าการ และครูผู้สอน
ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 และชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 104 คน
- นักเรยี นระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 หอ้ งเรียนละ 20 คน จานวน
14 หอ้ งเรยี น รวม 420 คน
- นกั เรยี นระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ปกี ารศกึ ษา 2561 หอ้ งเรยี นละ 20 คน จานวน
12 หอ้ งเรยี น รวม 360 คน

3.2 ขอบเขตด้านเนอื้ หา
การประเมินผลหลักสูตรสถานศึกษาในครั้งนี้ เป็นการประเมินหลักสูตร โดยใช้แบบนิเทศ ติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3
และรูปแบบของแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจต่อหลักสูตรโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ เพ่ือรวบรวม
ข้อมูล
3.3 พน้ื ทีด่ าเนินการ คือ โรงเรียนจอมสุรางคอ์ ปุ ถัมภ์
3.4 ระยะเวลาในการดาเนินการ ปีการศึกษา 2561

4

4. นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ
เพือ่ ให้เกิดความเขา้ ใจถกู ตอ้ งตรงกนั ผศู้ กึ ษาจงึ กาหนดนยิ ามศัพท์เฉพาะไว้ใช้ในการศึกษาไว้ ดังนี้
4.1 การประเมินหลกั สูตร หมายถึง กระบวนการรวบรวม พิจารณา วิเคราะห์หลักสูตร เพื่อพิจารณา

ตัดสินคุณค่าของหลักสูตรสถานศึกษา ในด้านบริบทของหลักสูตร ด้านปัจจัยในการใช้ หลักสูตร
ด้านกระบวนการใชห้ ลกั สูตร และด้านผลผลิตของหลกั สตู รโรงเรียนจอมสุรางค์อปุ ถัมภ์

4.2 การประเมินบริบทของหลกั สูตร หมายถึง การประเมินความสอดคล้องของหลักสูตรสถานศึกษา
กบั สภาพความตอ้ งการของชุมชน ท้องถิ่นตลอดจนความถนัด ความสนใจและความสามารถของผู้เรียน และ
ความสอดคล้องของหลักสูตรสถานศึกษากับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
ในด้านวิสัยทัศน์ โครงสร้างของหลักสูตร และเนื้อหาหลักสูตรตามเกณฑ์ท่ีกาหนดของหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ในโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถมั ภ์ ดงั นี้

4.3 หลักสตู รสถานศึกษา หมายถงึ หลักสูตรโรงเรยี นจอมสรุ างคอ์ ุปถมั ภ์ พทุ ธศกั ราช 2552
(ฉบับปรับปรงุ 2561)

4.4 สถานศกึ ษา หมายถงึ โรงเรยี นจอมสรุ างคอ์ ุปถัมภ์ สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 3
4.5 ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา หมายถงึ ผอู้ านวยการโรงเรยี นจอมสุรางคอ์ ุปถมั ภ์ ปีการศึกษา 2561
4.6 ครู หมายถึง ผู้ปฏิบัติหน้าท่ีสอน ซึ่งทาหน้าที่หลักในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนระดับ
การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานในโรงเรียนจอมสรุ างค์อปุ ถัมภ์ ปีการศกึ ษา 2561
4.7 นักเรียน หมายถึง นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ ปีการศึกษา 2561 ที่จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโรงเรียนจอมสุรางค์
อุปถมั ภ์ สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 3

5. ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะได้รับ
ผลการศึกษาคร้ังนี้จะมีประโยชน์ต่อผู้บริหารสถานศึกษา ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาและ

ผ้ทู ่เี กยี่ วข้องในสถานศึกษา ดงั นี้
1) โรงเรียนจอมสรุ างคอ์ ุปถัมภ์นาผลการศึกษาไปใช้ในการพฒั นาการบรหิ ารจัดการหลักสตู ร

สถานศึกษา เพือ่ ให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ และมปี ระสทิ ธิภาพ เกิดประสิทธผิ ลอย่างยง่ิ ต่อการพฒั นาผูเ้ รียน
2) โรงเรียนท่วั ไป ผู้บรหิ ารโรงเรียนและและผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการจัดการศึกษา นาผลการศึกษาที่

ได้ ไปเปน็ แนวทางหรือประยุกต์ใช้ในการบริหารจดั การหลักสตู รสถานศึกษาของตนเองใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพยิ่งขน้ึ
3) สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 3 สามารถรวบรวมขอ้ มลู ผลการศกึ ษาเกีย่ วกับ

การประเมินหลักสูตรสถานศึกษาในสังกัด มาวางแผนพัฒนาการบริหารจัดการ และการพัฒนาหลักสูตรให้มี
ประสทิ ธภิ าพย่งิ ข้นึ

4) ใชผ้ ลการประเมนิ หลกั สูตรสถานศึกษารองรับระบบประกันคุณภาพการศกึ ษา

5

บทที่ 2
วรรณกรรมและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วขอ้ ง

การศึกษาอสิ ระ เร่อื ง การประเมินหลักสูตรโรงเรียนจอมสุรางค์อปุ ถมั ภ์ สงั กัดสานกั งานเขตพนื้ ท่ี
การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 3 เพอ่ื จดั ทารายงานการใช้และพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา
2561 ผ้ศู ึกษาได้ทาการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยทีเ่ กย่ี วขอ้ งตามลาดบั ดงั ต่อไปนี้

1. แนวคิดเกีย่ วกับหลกั สตู ร
2. สาระสาคญั เก่ียวกบั หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551
3. หลกั สูตรโรงเรยี นจอมสุรางคอ์ ปุ ถัมภ์ พุทธศักราช 2552 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2561)
4. แนวคดิ เก่ยี วกบั การประเมินหลักสตู ร
5. การประเมนิ หลกั สตู รสถานศึกษา
6. บรบิ ทของโรงเรียนจอมสรุ างคอ์ ุปถมั ภ์
7. งานวจิ ัยทเ่ี ก่ยี วข้อง
8. กรอบแนวคิดการวจิ ัย
1. แนวคดิ เกี่ยวกบั หลักสูตร
จากการศกึ ษาเอกสารทเี่ ก่ยี วกบั หลักสูตรและการพฒั นาหลกั สตู รพบว่า แนวคิดพ้นื ฐานสาคัญของ
หลักสตู ร ครอบคลุมความหมายของหลกั สูตร ความสาคญั ของหลักสตู ร รูปแบบของหลักสตู ร การพัฒนา
หลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้ และการบรหิ ารหลกั สูตร ดงั มีนักการศกึ ษาหลายท่าน ได้ให้ความหมายไว้อยา่ ง
กว้างขวางแตกตา่ งกัน มีรายละเอียดดังต่อไปน้ี
1.1 ความหมายของหลักสตู ร
ธารง บัวศรี (2542) ได้ให้ความหมายของหลักสูตรว่า คือ แผนท่ีซ่ึงได้ออกแบบจัดทาข้ึนเพื่อแสดงถึง
จดุ หมาย การจัดเนอื้ หาสาระ กจิ กรรม และมวลประสบการณ์ในแตล่ ะโปรแกรมการศึกษา เพ่ือให้ผู้เรียนมีการ
พัฒนาการในด้านต่าง ๆ ตามจุดหมายที่ได้กาหนดไว้ เปรื่อง จันดา (2549) ได้ให้ความหมายของหลักสูตรว่า
หลักสตู ร หมายถงึ แนวความรแู้ ละมวลประสบการณ์ต่าง ๆ ทจ่ี ัดให้แก่ผู้เรียน ซ่ึงอาจอยู่ในรูปของเอกสารก็ได้
โดยประกอบด้วยหลักการ จุดหมาย เนื้อหาสาระ และประสบการณ์การเรียนรู้ การจัดกระบวนการเรียนท่ี
หลากหลายตลอดจนการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ อันแสดงถึงประสิทธิผลที่เกิดข้ึนในตัวผู้เรียน
เพ่ือพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้เป็นผลเมืองดีของสังคม และประเทศชาติต่อไปตามจุดหมายและแนวทาง
ของหลักสูตรท่ีได้กาหนดไว้ พยนต์ ง่วนทอง (2553) ได้ให้ความหมายของหลักสูตรไว้ว่า หลักสูตร หมายถึง
เน้ือหาสาระที่จัดไว้เป็นระบบ หรือมวลประสบการณ์ต่าง ๆ ที่กาหนดไว้ เก่ียวกับการจัดการเรียนการสอน
ทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรียน ซึง่ จดั ใหก้ บั ผู้เรยี นเพอ่ื ให้เป็นแนวทางให้ผู้เรียนมีความรู้ทักษะ คุณธรรม และ
พฒั นาการทางด้านต่าง ๆ ตามจุดมุ่งหมายของการศึกษา พิสณุ ฟองศรี (2549) ให้ความหมายของหลักสูตร
ไว้ว่าหลักสูตร คือ การวางแผนการจัดระบบทางการศึกษาเกี่ยวกับมวลวิชา ประสบการณ์ต่างๆ การจัดการ
เรยี นการสอนเพอื่ เป็นแนวทางสาหรบั การปฏบิ ตั ใิ หผ้ เู้ รียนมีคณุ ลกั ษณะต่างๆที่พึงประสงค์ตามจุดมุ่งหมายของ
หลกั สตู ร วารีรตั น์ แก้วอุไร (2549) กล่าวว่า หลักสูตรสถานศึกษา ประกอบด้วยการเรียนรู้และประสบการณ์
อื่น ๆ ท่ีสถานศึกษาแต่ละแห่งวางแผนเพื่อพัฒนาผู้เรียน โดยจะต้องจัดทาสาระการเรียนรู้ ท้ังรายวิชาท่ีเป็น
พน้ื ฐานและรายวชิ าทีต่ อ้ งการเรยี นเพิ่มเตมิ เปน็ รายปีหรือรายภาคจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในแต่ละปีหรือภาค
และกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ จากจุดหมายของหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สุนีย์ ภู่พันธ์ (2546)
ให้ความหมายของหลักสูตรไว้ว่า หลักสูตร หมายถึง มวลประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีผู้เรียนได้รับทั้งภายนอก
และภายในโรงเรียน ซึ่งโรงเรียนหรือสถานศึกษาจัดให้แก่ผู้เรียนเพ่ือให้ผู้เรียนมีพัฒนาการท้ังในด้านร่างกาย

6

สงั คม ปัญญา และ จิตใจ เสาวนี ตรีพทุ ธรัตน์ (2551) ได้ใหค้ วามหมายของหลักสูตรว่า คือ เอกสารที่ประกอบ
ไปดว้ ยความมงุ่ หมายของการให้การศึกษา เน้อื หาวชิ า เวลาเรียน กิจกรรมและประสบการณ์ที่จัดให้แก่ผู้เรียน

การวดั และประเมินผลการเรียนการสอนจากความหมาย สรุปได้ว่า หลกั สูตร หมายถึง เน้ือหาสาระที่จัดไว้เป็น
ระบบ หรือมวลประสบการณ์ความรู้ต่าง ๆ ท่ีจัดให้ผู้เรียนเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอนท้ังในและนอก
ห้องเรียนซึ่งจดั ให้กับผเู้ รียนเพอื่ ให้เปน็ แนวทางในการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะคุณธรรม

และพฒั นาการทางด้านตา่ ง ๆ ตามจดุ ม่งุ หมายของการศึกษา
1.2 ความสาคัญของหลกั สูตร

หลักสูตรเป็นองค์ประกอบอนั สาคัญย่ิงอย่างหน่ึงของการจัดการศึกษา เพราะในการจัดการศึกษาที่
จะบรรลุเป้าหมายได้นั้นต้องอาศัยหลักสูตรเป็นเคร่ืองมือนาไปสู่การบรรลุเป้าหมายโดยช้ีนาทางในการจัด
ความรู้และประสบการณ์ แก่ผู้เรียนซึ่งครูต้องปฏิบัติตามเพื่อให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาที่มุ่งสู่จุดหมายเดียวกัน

หลักสูตรจึงเป็นหัวใจสาคัญของการศึกษา นอกจากนี้ ยังเป็นเครื่องช้ีถึงความเจริญของชาติ เนื่องจากเป็น
ตัวกาหนดทิศทางในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคม เศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทาง

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและการพัฒนาประเทศดา้ นอืน่ ๆ ซึ่งมนี ักวชิ าการได้กลา่ ว ดังนี้
สุนีย์ ภพู่ ันธ์ (2546) ไดก้ ล่าวถึงความสาคญั ของหลักสตู ร สรุปได้ดังน้ี
1) หลกั สตู รเป็นแผนและแนวทางในการจดั การศกึ ษาของรัฐ ให้บรรลุผลสาเรจ็ ตามนโยบาย

และเป้าหมาย
2) หลักสตู รเป็นตวั กาหนดขอบเขตเน้อื หา แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรู้

การประเมนิ ผลและแหลง่ ทรพั ยากรในการจดั การศกึ ษา
3) หลกั สูตรเป็นเครอ่ื งมือในการควบคุมมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาและคุณภาพ

ของผู้เรียนใหส้ อดคล้องตามนโยบายและแผนพัฒนาการศกึ ษาแหง่ ชาติ และความตอ้ งการท้องถ่ิน

4) หลักสตู รเป็นแนวทางในการสง่ เสริมความเจรญิ งอกงามและพัฒนาการของเด็กตาม
จุดมงุ่ หมายของการศึกษา

5) หลกั สูตรเป็นแนวทางในการจัดสรรงบประมาณ สถานท่ี นวัตกรรมและเทคโนโลยที ี่
จาเป็นต้อการจดั การศกึ ษา

6) หลักสูตรเป็นตวั กาหนด ลักษณะของผ้เู รียน ซง่ึ เปน็ ผลผลติ ของการศึกษาในดา้ น

ความรู้ ความสามารถ ความประพฤติ ทักษะ และเจตคติของผเู้ รียนในการอยรู่ ว่ มกันในสังคมและบาเพ็ญ
ตนใหเ้ ป็นประโยชนต์ ่อชมุ ชนและชาติบา้ นเมือง

เสาวนี ตรีพุทธรตั น์ ไดก้ ล่าวว่า หลกั สตู รเปน็ แนวทางในการจดั การศึกษา และถอื เป็นเครอื่ งมือใน
การถา่ ยทอดเจตนารมณห์ รือเป้าหมายของชาติสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ดังนั้นหลักสูตรจงึ เปรียบเสมือนเข็มทศิ ที่คอย
กาหนดและบอกทิศทางการศกึ ษาวา่ ควรเดนิ ไปในทิศทางใด และเดินอย่างไรจงึ จะถงึ เปา้ หมายท่ีกาหนด

ดังนั้นหลกั สูตรจึงเปน็ หัวใจของการศกึ ษา ซง่ึ มคี วามสาคญั ดงั น้ี
1) หลักสูตรเปน็ เครือ่ งมือในการพฒั นาคน

2) หลกั สูตรเปน็ เคร่อื งมอื บ่งช้ถี งึ ความเจริญของประเทศ
3) หลักสูตรเป็นเกณฑม์ าตรฐาน
4) หลกั สูตรเปน็ หลักและแนวทางปฏิบัติของครู

5) หลักสูตรมคี วามสาคญั ตอ่ การเรียนการสอน
สรุปได้ว่า หลกั สตู รเปน็ หวั ใจสาคญั ในการจดั การศึกษา เพราะหลักสูตร เป็นแนวทางในการจดั

การเรียนรู้ เพ่ือพฒั นาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ และไปสูก่ ารเปล่ียนแปลงทางดา้ นพฤติกรรม
และเจตคติท่ดี งี ามใหเ้ กดิ กับผเู้ รียนนามจดุ มุ่งหมายของการจดั การศกึ ษา

7

1.3 การพฒั นาหลักสตู ร
การพฒั นาหลักสูตรเปน็ ภารกจิ ทสี่ าคัญ ซึ่ง สุนีย์ ภู่พันธ์ (2546) ได้กล่าวเก่ียวกับเรื่องน้ีว่าการพัฒนา

หลักสูตรเกิดข้ึนได้ 2 ลักษณะ คือ การปรับปรุงและการเปล่ียนแปลงหลักสูตร การปรับปรุงเป็นการ
เปลี่ยนแปลงเพียงบางส่วน เพื่อให้เหมาะสมกับโรงเรียนหรือระบบโรงเรียนจุดมุ่งหมายของการสอน วัสดุ
อุปกรณ์ วิธีสอน รวมท้ังประเมินผลโดยไม่เปลี่ยนแนวคิดพ้ืนฐานหรือรูปแบบหลักสูตร ส่วนการเปลี่ยนแปลง

หมายถึงการแก้ไขหลักสตู รให้แตกต่างไปจากเดิมเป็นการเปล่ียนแปลงทั้งระบบ การพัฒนาหลักสูตรมีรูปแบบ
และขั้นตอน ตั้งแต่ ศึกษาวิเคราะห์ความต้องการของผู้เรียนและสังคม กาหนดจุดมุ่งหมาย การเลือกเน้ือหา

สาระ การจดั รวบรวมเน้อื หาสาระ การคัดเลือกประสบการณ์การเรียนรู้ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และ
กาหนดสิ่งที่จะประเมินและวิธีการประเมินผลแนวทางการจัดหลักสูตรของสถานศึกษา สามารถกาหนดเป็น
ขน้ั ตอนการดาเนินงานไดต้ ามลาดับ ดังนี้ (ธีรชยั เนตรถนอมศักดิ์, 2544)

ขน้ั ท่ี 1 : ศึกษาข้อมลู พน้ื ฐาน
ขน้ั ท่ี 2 : การกาหนดหรือทบทวนวิสัยทัศน์ ภารกจิ เปา้ หมาย

ขน้ั ที่ 3 : กาหนดคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
ขนั้ ที่ 4 : การกาหนดสดั ส่วนเวลาเรียน
ขน้ั ที่ 5 : วิเคราะห์ผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวังรายปีหรือรายภาคจากมาตรฐานการเรียนรู้ชว่ งชน้ั

ขนั้ ท่ี 6 : กาหนดสาระการเรียนรู้ในแตล่ ะกลุม่ สาระเปน็ รายปีหรือรายภาค
ขัน้ ที่ 7 : การจดั ทาคาอธบิ ายรายวชิ า

ขั้นท่ี 8 : การจัดหน่วยการเรยี นรู้
ขั้นที่ 9 : การจัดทาแผนการจัดการเรยี นรู้
การพฒั นาหลักสตู รเป็นสงิ่ สาคัญท่นี ักวิชาการ หรอื ครู ตอ้ งดาเนินการ เพ่ือปรบั พฒั นาให้เขา้ กบั

สงั คมท่เี ปลี่ยนแปลงไป และต้องดาเนินการอย่างมขี นั้ ตอน ซ่ึงสามารถพัฒนาได้ทง้ั ก่อนการนาหลกั สูตรไปใช้
ระหวา่ งการดาเนนิ การใช้หลกั สูตร หรือหลงั การใช้หลักสูตรเสรจ็ สิ้น

1.4 การนาหลักสตู รไปใช้
การใช้หลักสูตรเป็นข้ันตอนของการนาหลักสูตรแกนกลางสู่การปฏิบัติ โดยการนาอุดมการณ์
จุดมุ่งหมายของหลักสูตร เนื้อหาสาระ และประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีกลั่นกรองอย่างดี แล้วไปสู่การพัฒนา

ผเู้ รยี น เพราะเป็นการนาจดุ หมายหลักสูตร เน้ือหาประสบการณ์การเรียนรู้ที่จัดทาไว้ไปจัดประสบการณ์และ
กิจกรรมให้กับผู้เรียน นักพัฒนาหลักสูตรต่างยอมรับและให้ความสาคัญแก่ขั้นตอนการใช้หลักสูตรว่าเป็น

ข้ันตอนท่ีสาคัญยิง่ ในกระบวนการพฒั นาหลักสตู ร (รงุ่ นภา นตุ ราวงศ์ และคณะ, 2552)
โบซอง (Beauchamp, 1962) กล่าวว่า การใช้หลักสูตรเป็นการนาหลักสูตรที่จัดทาแล้วสู่การปฏิบัติ

เพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ท่ีตั้งไว้ เป็นข้ันตอนท่ีท้าทายต่อความสาเร็จของ

หลักสูตร
ศรสี มร พมุ่ สะอาด (2544) กลา่ วว่า การนาหลกั สตู รไปใช้ เปน็ กระบวนการท่ีต่อเนื่องท่ีครอบคลุมงาน

ท่สี าคัญ 3 ดา้ น คอื
1) การวางแผนหรือเตรียมการก่อนการนาหลักสูตรไปใช้ซ่ึงต้องเก่ียวข้องกันท้ังบุคคล กระบวนการ

ทางาน ทรัพยากร ครูต้องมีทักษะในการใช้หลักสูตร รวมถึงทักษะเกี่ยวกับยุทธศาสตร์การเรียนการสอน

การปกครองชั้นเรียน และการวดั และประเมินผลการเรียน และต้องเขา้ ใจทฤษฎที ี่เกี่ยวข้องด้วย
2) การนาหลักสูตรไปใช้ เป็นกิจกรรมสาคัญท่ีก่อให้เกิดความสาเร็จของหลักสูตรทั้งน้ีต้องสนับสนุน

ส่งเสริมให้สถานศึกษา มีระบบการบริหารจัดการ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
การแนะแนว การผลติ และใช้ส่อื

8

3) การประเมินการนาหลักสูตรไปใช้ เป็นกิจกรรมท่ีต้องกระทาต่อเนื่องกันต้ังแต่การวางแผนจัดทา
หลักสูตร จนกระทั่งได้หลักสูตรซึ่งเป็นแม่บทจนถึงนาหลักสูตรไปใช้ และมีการติดตามประเมินผล
เพื่อตรวจสอบสเตนเฮาส์ (Stenhouse, 1980) ผู้เช่ยี วชาญด้านการพัฒนาหลักสตู รได้ใหม้ มุ มองเกี่ยวกับการใช้
หลกั สูตรว่า เป็นกระบวนการท่ีจะต้องมีการแลกเปลี่ยนแนวคิดและปฏิสัมพันธ์ของบุคคลท่ีเก่ียวข้องในระดับ
ต่าง ๆ และผทู้ ีม่ ีบทบาทอย่างแท้จริงในความสาเรจ็ ของหลกั สตู รคือผู้ใชห้ ลกั สตู รซ่ึงจะต้องเป็นผู้ท่ีสามารถปรับ
ใชห้ ลกั สูตรให้สอดคล้องเหมาะสมกับบริบทสภาพแวดล้อมของตนเอง

สงัด อุทรานันท์ (2532) ได้แสดงความคิดเก่ียวกับการใช้หลักสูตรว่าเป็นข้ันตอนท่ีมีความสาคัญใน
กระบวนการพัฒนาหลกั สูตร เพราะสามารถบ่งช้ีถึงความสาเร็จหรือความล้มเหลวของหลักสูตรได้เป็นอย่างดี
ถึงแม้ว่าหลักสูตรจะได้รับการออกแบบไว้อย่างดีเพียงใดก็ตาม ถ้าหากการใช้หลักสูตรดาเนินไปอย่างไม่มี
ประสทิ ธิภาพ หรือไมด่ เี พยี งพอ ความลม้ เหลวของหลักสูตรก็จะบังเกิดข้ึนอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้กระบวนการใช้
หลักสูตรเป็นส่ิงที่มีความยุ่งยากซับซ้อน เพราะจะต้องมีการดาเนินงานที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานต่าง ๆ และ
บุคคลจานวนมาก เคริ ส์ และวอรค์ เกอร์ (Kirst &Walker, 1971) กล่าวว่าการใช้หลักสูตรจะต้องเกี่ยวข้องและ
ประสานงานกบั บุคคลตา่ ง ๆ ในหลายระดบั ทงั้ ระดับชาติ ระดบั ทอ้ งถิ่น และระดับสถานศึกษา ซึ่งต่างฝ่ายต่าง
มีความเข้าใจ ความคิดเห็นและมีบทบาทแตกต่างกันไป เช่นเดียวกับ ไอซ์เนอร์ และ ฮาสส์ (Eisner, 1985;
Hass, 1987) ท่ีแสดงความเห็นว่าในการนาหลักสูตรที่จัดทาเสร็จเรียบร้อยแล้วไปใช้น้ัน จนต้องดาเนินงาน
ร่วมกนั หลายฝ่าย ทง้ั หน่วยงานส่วนกลาง หน่วยงานระดับทอ้ งถ่ิน และสถานศึกษา การจะดาเนินงานให้บรรลุ
เป้าหมายจึงไม่ใช่เร่ืองง่าย และมีหลายกรณีที่พบว่าผู้ใช้หลักสูตรนั้นดาเนินการไปในทิศทางท่ีแตกต่างไป
จากเจตนารมณข์ องผอู้ อกแบบจัดทาหลกั สตู ร (Reinmannand & Mandl, 1999) ดังนัน้ จะเหน็ ไดว้ ่าข้ันตอน
ในการนาหลักสูตรไปใช้น้ัน เป็นขั้นตอนท่ีสาคัญและมีความซับซ้อน จะต้องเก่ียวข้องกับบุคคลต่าง ๆ
เป็นจานวนมาก จาเป็นต้องมีการวางแผนและเตรียมการในเรื่องต่าง ๆ เป็นอย่างดี มีระยะเวลาท่ีเพียงพอใน
การดาเนินการ และท่ีสาคัญ คือผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายจะต้องมีความความเข้าใจอย่างชัดเจน จึงจะทาให้การใช้
หลักสตู รประสบความสาเรจ็

1.5 การบรหิ ารหลกั สตู ร
การบริหารหลักสูตรเป็นกิจกรรมสาคัญ เป็นการบริหารกิจกรรมต่าง ๆ ในโรงเรียนเกี่ยวกับ
การปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนให้ได้ผลดีและมีประสิทธิภาพสูงสุด วิชัย วงษ์ใหญ่(2535) กล่าวถึงการ
บริหารหลักสูตรไว้ว่า เป็นกระบวนการต่อเน่ืองของวงจรการพัฒนาหลักสูตรอัน ได้แก่ การดาเนินการตาม
แผนการต่าง ๆ เช่น การจัดโปรแกรมการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การเตรียมคู่มือ
สาหรบั การเรยี น การเตรยี มความพร้อมของครู การนิเทศกากบั ดแู ล และการประเมินผลการเรยี นซึ่งสอดคล้อง
กบั นักวิชาการศึกษาหลายท่านทีไ่ ดเ้ สนอขอบเขตการบรหิ ารหลกั สตู รที่สอดคล้องกันสามารถสรุปได้ ดงั น้ี
1) งานบรหิ ารและการบริการหลกั สูตร ซึ่งเก่ียวกับงานเตรียมบุคลากร การจัดครูเข้าทาการสอนตาม
หลกั สูตร การบรหิ ารและบรกิ ารวสั ดุหลกั สตู ร การบรหิ ารหลกั สตู รภายในโรงเรียน
2) งานดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร ประกอบด้วย การปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับ
ท้องถน่ิ การจัดทาแผนการเรียนการสอน และการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน
3) งานสนบั สนนุ ส่งเสริมการใชห้ ลกั สตู ร การนิเทศการศึกษา และการตั้งศูนยก์ ารบรกิ ารเพือ่ สนับสนุน
การศึกษา

9

2. สาระสาคัญเก่ียวกบั หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
กระทรวงศึกษาธิการ (2552) ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551

เพ่ือให้ท้องถ่ินและสถานศึกษาได้นาไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาและจัดการ
เรยี นการสอนเพอื่ พัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐานให้มีคุณภาพด้านความรู้ และ
ทักษะที่จาเป็นสาหรับการดารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงและแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่าง

ต่อเนอื่ งตลอดชีวติ มีรายละเอยี ดโดยสรุป ดังน้ี
2.1 วสิ ัยทศั น์

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน มงุ่ พฒั นาผูเ้ รียนทกุ คน ซึ่งเปน็ กาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มี
ความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดม่ันใน
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ มีความรแู้ ละทักษะพ้นื ฐาน รวมทงั้

เจตคติ ท่จี าเปน็ ต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบน
พนื้ ฐานความเชอ่ื ว่า ทกุ คนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เตม็ ตามศักยภาพ

2.2 หลกั การ
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน มีหลกั การท่ีสาคัญ ดงั น้ี

1) เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้

เปน็ เป้าหมายสาหรับพฒั นาเด็กและเยาวชนให้มคี วามรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐาน ของความเป็น
ไทยควบคู่กบั ความเป็นสากล

2) เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ท่ีประชาชนทกุ คนมีโอกาสได้รบั การศกึ ษาอยา่ ง
เสมอภาค และมคี ณุ ภาพ

3) เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

ให้สอดคลอ้ งกบั สภาพและความต้องการของท้องถิน่
4) เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีมโี ครงสร้างยดื หยุน่ ทัง้ ดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้

5) เปน็ หลกั สตู รการศึกษาท่เี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ
6) เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัยครอบคลุมทุก
กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

2.3 จุดหมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญามีความสุขมีศักยภาพ

ในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพ่ือให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ดงั นี้

1) มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม

หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนบั ถือ ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2) มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคดิ การแกป้ ญั หา การใชเ้ ทคโนโลยแี ละมีทกั ษะชีวิต

3) มสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ท่ดี ี มีสขุ นิสยั และรกั การออกกาลงั กาย
4) มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครอง
ตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ

5) มจี ิตสานึกในการอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย การอนรุ ักษแ์ ละพฒั นา
ส่ิงแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่าง

มีความสขุ

10

2.4 สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานทกี่ าหนด ซง่ึ จะชว่ ยให้ผูเ้ รียนเกิดสมรรถนะสาคัญและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ดงั น้ี
สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน มงุ่ ให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดงั น้ี
1) ความสามารถในการสือ่ สาร เปน็ ความสามารถในการรบั และสง่ สาร มวี ฒั นธรรมในการใชภ้ าษา
ถ่ายทอดความคิด ความรคู้ วามเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพอ่ื แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อนั จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสงั คมรวมทั้งการเจรจาตอ่ รองเพอ่ื ขจัดและลด
ปญั หาความขดั แย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรอื ไมร่ บั ขอ้ มูลขา่ วสารด้วยหลกั เหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจน
การเลือกใชว้ ิธกี ารส่ือสาร ท่มี ีประสิทธิภาพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบที่มตี อ่ ตนเองและสงั คม
2) ความสามารถในการคิด เปน็ ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ การคดิ สงั เคราะห์การคดิ อย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพอ่ื นาไปสกู่ ารสร้างองคค์ วามรหู้ รอื สารสนเทศ
เพ่ือการตัดสินใจเก่ียวกับตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม
3) ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแกป้ ญั หาและอุปสรรคตา่ งๆ ที่เผชญิ ได้
อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสมบนพืน้ ฐานของหลักเหตผุ ล คุณธรรมและขอ้ มลู สารสนเทศเข้าใจความสมั พนั ธแ์ ละ
การเปล่ียนแปลงของเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความร้มู าใช้ในการป้องกนั และแก้ไข
ปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสทิ ธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดข้ึน ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4) ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต เปน็ ความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
การดาเนินชวี ิตประจาวัน การเรียนร้ดู ้วยตนเอง การเรยี นรอู้ ย่างตอ่ เนอ่ื ง การทางาน และการอยรู่ ว่ มกนั ใน
สงั คมด้วยการสรา้ งเสริมความสมั พันธอ์ นั ดรี ะหวา่ งบคุ คล การจดั การปัญหาและความขัดแยง้ ตา่ ง ๆ อยา่ ง
เหมาะสม การปรับตวั ให้ทันกบั การเปลยี่ นแปลงของสังคม สภาพแวดล้อม และการรูจ้ ักหลกี เล่ียงพฤตกิ รรมไม่
พึงประสงคท์ ส่ี ่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อ่ืน
5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลอื ก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
และมที กั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอื่ การพฒั นาตนเองและสงั คม ในดา้ นการเรียนรู้ การส่ือสาร การ
ทางาน การแกป้ ญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน มุง่ พฒั นาผู้เรยี นให้มีคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เพอ่ื ให้
สามารถอยู่รว่ มกับผู้อืน่ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก (world citizen) ดงั น้ี
1) รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ หมายถงึ คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการเปน็ พลเมอื งดขี องชาติ ดารงไวซ้ ง่ึ
ความเปน็ ชาติไทย ศรทั ธา ยดึ มนั่ ในศาสนา และเคารพเทดิ ทูนสถาบนั พระมหากษตั ริย์
2) ซื่อสัตย์สุจรติ หมายถึง คณุ ลกั ษณะทแี่ สดงออกถงึ การยดึ มนั่ ในความถูกต้องประพฤติตรงตามความ
เปน็ จรงิ ตอ่ ตนเองและผูอ้ ่ืนท้ังทางกาย วาจา ใจ
3) มีวินยั หมายถึง คณุ ลกั ษณะที่แสดงออกถงึ การยดึ มนั่ ในขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ และระเบียบข้อบงั คบั
ของครอบครวั โรงเรียนและสงั คม
4) ใฝเ่ รียนรู้ หมายถึง คุณลักษณะทแี่ สดงออกถงึ ความตง้ั ใจ เพียรพยายามในการเรียนแสวงหาความรู้
จากแหล่งเรยี นรู้ทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น
5) อยู่อย่างพอเพียง หมายถึง คณุ ลักษณะที่แสดงออกถึงการดาเนนิ ชีวิตอยา่ งพอประมาณ มเี หตุผล
รอบคอบ มคี ุณธรรม มีภูมคิ มุ้ กนั ในตวั ท่ดี ี และปรบั ตวั เพือ่ อยู่ในสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสุข

11

6) มุ่งมัน่ ในการทางาน หมายถงึ คณุ ลกั ษณะที่แสดงออกถึงความต้ังใจและรบั ผิดชอบในการทาหน้าที่
การงาน ดว้ ยความเพยี รพยายาม อดทน เพอ่ื ใหง้ านสาเร็จตามเปา้ หมาย

7) รักความเป็นไทย หมายถึง คณุ ลกั ษณะทแ่ี สดงออกถึงความภาคภมู ิใจ เหน็ คุณค่ารว่ มอนุรักษ์
สบื ทอดภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใชภ้ าษาไทยในการส่ือสารได้อย่าง
ถกู ต้องและเหมาะสม

8) มจี ติ สาธารณะหมายถึง คณุ ลักษณะทีแ่ สดงออกถงึ การมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมหรอื สถานการณ์ท่ี
ก่อให้เกดิ ประโยชน์แกผ่ ูอ้ ืน่ ชมุ ชน และสังคม ด้วยความเตม็ ใจ กระตือรอื ร้นโดยไมห่ วังผลตอบแทน
สถานศึกษาสามารถกาหนดคุณลกั ษณะอันพึงประสงคเ์ พม่ิ เตมิ ให้สอดคลอ้ งตามบริบทและจุดเนน้ ของตนเอง

2.5 มาตรฐานการเรียนรู้
การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงกาหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้พ้ืนฐาน ได้แก่ ภาษาไทย
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ
และเทคโนโลยีและภาษาต่างประเทศในแต่ละกล่มุ สาระการเรยี นร้ไู ด้กาหนดมาตรฐานการเรยี นรู้เปน็ เป้าหมาย
สาคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุส่ิงที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม
และค่านิยมที่พึงประสงค์เม่ือจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน นอกจากน้ันมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกสาคัญใน
การขับเคล่ือนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไร
จะสอนอยา่ งไรและประเมินอย่างไร รวมท้ังเป็นเคร่ืองมือในการตรวจสอบเพ่ือการประกันคุณภาพการศึกษา
โดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดับเขต
พน้ื ท่กี ารศกึ ษา และการทดสอบระดับชาติ
2.6 ตวั ช้ีวดั
ตวั ชว้ี ัดระบุสิ่งท่ีนกั เรียนพงึ รแู้ ละปฏบิ ัติได้ รวมท้ังคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับช้ันซ่ึงสะท้อน
ถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม นาไปใช้ในการกาหนดเน้ือหา
จัดทาหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สาคัญสาหรับการวัดประเมินผลเพ่ือตรวจสอบ
คณุ ภาพผเู้ รียน
1) ตัวชีว้ ดั ชนั้ ปี เปน็ เป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนแตล่ ะชัน้ ปใี นระดับการศกึ ษาภาคบังคับ
(ประถมศึกษาปที ี่ 1 – มัธยมศึกษาปที ี่ 3)
2) ตวั ชี้วัดชว่ งชั้น เป็นเป้าหมายในการพฒั นาผู้เรียนในระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย(มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4- 6)
2.7 กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น มุง่ ให้ผู้เรียนได้พฒั นาตนเองตามศกั ยภาพ พัฒนาอย่างรอบดา้ นเพอื่ ความเป็น
มนษุ ยท์ ส่ี มบูรณ์ ทง้ั ร่างกาย สตปิ ัญญา อารมณ์ และสังคม เสรมิ สรา้ งใหเ้ ปน็ ผู้มีศีลธรรมจริยธรรม มรี ะเบยี บ
วนิ ยั ปลูกฝังและสรา้ งจติ สานึกของการทาประโยชน์เพอื่ สังคมสามารถจัดการตนเองได้ และอย่รู ว่ มกับผูอ้ ่นื
อย่างมีความสขุ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น แบ่งเป็น 3 ลักษณะ ดงั น้ี
1) กิจกรรมแนะแนว เป็นกจิ กรรมทีส่ ง่ เสริมและพฒั นาผเู้ รียนใหร้ ู้จักตนเอง รรู้ ักษ์สง่ิ แวดล้อม
สามารถคิดตดั สนิ ใจ คดิ แก้ปัญหา กาหนดเป้าหมาย วางแผนชวี ิตท้งั ดา้ นการเรียน และอาชพี สามารถปรบั ตน
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม นอกจากนีย้ ังช่วยใหค้ รรู ู้จักและเข้าใจผู้เรียน ท้งั ยังเปน็ กจิ กรรมทช่ี ่วยเหลือและใหค้ าปรึกษา
แก่ผู้ปกครองในการมีสว่ นร่วมพัฒนาผ้เู รยี น
2) กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมท่ีมุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นา และ ผู้ตามท่ีดี
ความรบั ผิดชอบการทางานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจท่ีเหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือ
แบ่งปันกัน เอ้ืออาทร และสมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัดและความสนใจของ

12

ผเู้ รยี น ใหไ้ ด้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกข้ันตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผนปฏิบัติตามแผน ประเมินและ
ปรับปรุงการทางาน เนน้ การทางานร่วมกนั เปน็ กล่มุ ตามความเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับวุฒิภาวะของผู้เรียน
บรบิ ทของสถานศึกษาและท้องถนิ่ กิจกรรมนักเรยี นประกอบดว้ ย

(1) กจิ กรรมลกู เสอื เนตรนารี ยุวกาชาด ผ้บู าเพญ็ ประโยชน์ และนักศกึ ษาวชิ าทหาร
(2) กจิ กรรมชมุ นมุ ชมรม
3) กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ เปน็ กจิ กรรมท่สี ง่ เสรมิ ให้ผเู้ รยี นบาเพ็ญตนใหเ้ ป็น
ประโยชน์ตอ่ สงั คม ชมุ ชน และทอ้ งถ่นิ ตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพือ่ แสดงถึงความรบั ผิดชอบ
ความดงี าม ความเสียสละตอ่ สังคม มจี ติ สาธารณะ เชน่ กิจกรรมอาสาพฒั นาต่างๆ กิจกรรมสร้างสรรคส์ งั คม

3. หลกั สูตรโรงเรยี นจอมสรุ างคอ์ ปุ ถมั ภ์ พุทธศักราช 2552 (ฉบบั ปรับปรงุ 2561)

3.1 หลกั การ
หลักสูตรโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ ได้พัฒนาขึ้นจากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศกั ราช 2551 กรอบหลกั สตู รทอ้ งถิน่ ของสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 ซึ่งเน้น
เรอ่ื งความเป็นอยุธยา รวมท้ังจัดรายวิชาเพิ่มเติมตามแนวทางการดาเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล และ
รูปแบบโครงการห้องเรียนพิเศษสาหรับการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ จึงมี
หลกั การท่สี าคัญดังนี้
1. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีพัฒนาจากมาตรฐานและตัวชี้วัดที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของ
ความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล
2. เป็นหลักสตู รการศึกษาเพื่อผเู้ รียนทุกคนมีโอกาสได้รบั การศึกษาอย่างเสมอภาค และมีคณุ ภาพ
3. เป็นหลักสูตรการศึกษาทีส่ นองการกระจายอานาจ นโยบายโรงเรยี นมาตรฐานสากล และ
การยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
4. เปน็ หลกั สูตรการศกึ ษาที่ให้สังคมมีส่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา สอดคลอ้ งกบั สภาพและ
ความต้องการของท้องถน่ิ
5. เป็นหลักสตู รการศึกษาท่ีมโี ครงสร้างยดื หยนุ่ ทงั้ ด้านสาระการเรยี นรู้ เวลา และการจัดการเรยี นรู้
6. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก ส่งเสริมการสื่อสาร
ดว้ ยภาษาต่างประเทศ และเนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั
7. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีมุ่งพัฒนาและส่งเสริมการเรียนรู้สาหรับผู้มีความสนใจและ
ความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้ไดร้ ับการพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ พร้อมท้ังปลูกฝังให้มี
เจตคติทางวิทยาศาสตร์
ใหใ้ ชม้ าตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ัด กลุม่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละสาระ
ภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ( ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560 )
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551เพื่อให้การจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานสอดคล้อง
กับการเปล่ียนแปลง ทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีท่ีเจรญิ กา้ วหน้าอย่างรวดเร็วเปน็ การพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพคนของชาติ ให้สามารถเพิ่มขีด
ความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ การยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพและ
มาตรฐานระดับสากล สอดคลอ้ งกบั ประเทศไทย 4.0 ในโลกศตวรรษที่ 21 และทดั เทียมกับนานาชาติ ผู้เรียน
มีศักยภาพในการแข่งขันและดารงชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในประชาคมโลก ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง กระทรวงศกึ ษาธิการจึงประกาศใช้มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

13

วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 แทนมาตรฐานการเรียนรู้และ
ตวั ชวี้ ดั กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม
ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เง่ือนไขและ
ระยะเวลาการใชม้ าตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชีว้ ดั กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระ
ภูมศิ าสตร์ ในกลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) ให้เป็นไปดงั น้ี

1. ปีการศึกษา 2561 ให้ใชใ้ นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 และ 4 และชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 และ 4
2. ปีการศกึ ษา 2562 ให้ใช้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 2 4 และ 5 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2

45
3. ต้งั แตป่ กี ารศกึ ษา 2563 เปน็ ตน้ ไป ให้ใชใ้ นทกุ ชนั้ เรยี น
ดงั นั้น โรงเรียนจอมสรุ างค์อปุ ถัมภ์ จงึ มีการพฒั นาปรบั ปรงุ หลกั สตู ร ใหส้ อดคลอ้ งกับ
มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชวี้ ัด กลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่ม
สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ( ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560 ) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

3.2 จุดหมาย
หลักสูตรโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก เป็นคนดี

มีปัญญา มีความสุข มีความรู้ความสามารถเพียงพอในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็น

จดุ หมายเพอ่ื ให้เกิดกับผเู้ รยี น เมอื่ จบการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ดงั น้ี
1. มีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มท่พี ึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตน

ตามหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

2. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิต และ

การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ

3. มคี วามรู้ ความสามารถในการสอ่ื สาร การคิด การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมที ักษะชวี ติ

4. มีสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ทด่ี ี มสี ุขนสิ ยั และรักการออกกาลังกาย

5. มจี ติ สานกึ ในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภูมิปญั ญาไทย การอนุรักษแ์ ละพัฒนาสิ่งแวดลอ้ ม

มีจิตสาธารณะทม่ี ุ่งทาประโยชน์และสร้างสง่ิ ท่ดี งี ามในสังคม และอย่รู ว่ มกันในสงั คมอยา่ งมคี วามสุข

6. มีศักยภาพและความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการส่ือสาร เพ่ือการพึ่งตนเอง
และเพอื่ สมรรถนะในการแข่งขนั

3.3 วิสัยทศั นโ์ รงเรยี น
จดั การเรยี นการสอนให้ไดม้ าตรฐาน บรหิ ารจัดการด้วยระบบคุณภาพ พฒั นาผเู้ รียนส่คู วามเปน็ สากล
บนพื้นฐานความเป็นไทย

3.4 สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น

ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานทกี่ าหนดไวใ้ นหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 รูปแบบการบริหารโครงการ

14

หอ้ งเรียนพเิ ศษสาหรบั การพฒั นาและส่งเสรมิ ผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมท้ัง
แนวทางการดาเนนิ งานโรงเรียนมาตรฐานสากล ซง่ึ จะช่วยให้ผู้เรยี นเกดิ สมรรถนะสาคญั

1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้
ภาษาถา่ ยทอดความคิด ความรูค้ วามเข้าใจ ความรสู้ กึ และทัศนะของตนเองเพือ่ แลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด

ปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจน
การเลือกใช้วิธกี ารสอ่ื สาร ท่มี ีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ีมีต่อตนเองและสังคม และสามารถสื่อสาร

ได้อยา่ งนอ้ ย 2 ภาษา
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด

อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้

หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม เป็นประโยชน์ต่อตนเอง สังคม
และประเทศชาติ

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ
ท่ีเผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ใน

การป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดข้ึน ต่อตนเอง
สงั คมและส่งิ แวดลอ้ ม

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้
ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่ร่วมกัน
ในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง

เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง
พฤตกิ รรมไมพ่ งึ ประสงค์ที่สง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผ้อู นื่

5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร
การทางาน การแก้ปญั หาอยา่ งสร้างสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมีคุณธรรม

6. ความเป็นเลศิ ทางวิชาการ เป็นความสามารถด้านการเรียนโดยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่าน
การประเมนิ ระดบั ชาติ เปน็ ทีย่ อมรับจากสถาบนั นานาชาติ มีความสามารถ ความถนัดเฉพาะทางเป็นที่ประจักษ์

สามารถแข่งขันในระดับชาติและนานาชาติ สามารถเข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นจนถึงระดับอุดมศึกษา ทั้งใน
ประเทศและต่างประเทศได้ในอัตราสูง และมีผลการเรียนท่ีสามารถถ่ายโอนกับสถานศึกษาระดับต่าง ๆ ใน
นานาชาติได้

7. ความเปน็ พลโลก เป็นผู้มีความตระหนักรู้ในภาวการณ์ของโลก สามารถเรียนรู้และจัดการกับ
ความซบั ซอ้ น มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักในความหลากหลายทางวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี

ของนานาชาติ สามารถระบุประเด็นทางเศรษฐศาสตร์ วิเคราะห์ผลกระทบของการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ
และนโยบายสาธารณะ เปรยี บเทียบคา่ ใช้จ่ายและผลตอบแทนได้ มีความรับผิดชอบต่อสังคมและเป็นพลเมืองดี
สามารถจัดการและควบคุมการใช้เทคโนโลยี เพ่ือส่งเสริมให้เกิดประโยชน์ต่อสาธารณะและปกป้องคุ้มครอง

สง่ิ แวดลอ้ ม และอดุ มการณป์ ระชาธปิ ไตยสงั คมไทยและสงั คมโลก

15

3.5 คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
หลักสูตรโรงเรียนจอมสรุ างคอ์ ุปถมั ภ์ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถ

อยู่ร่วมกบั ผอู้ ืน่ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ดงั น้ี
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซ่อื สตั ย์สุจริต

3. มวี ินัย
4. ใฝ่เรียนรู้

5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุง่ มั่นในการทางาน
7. รกั ความเปน็ ไทย

8. มจี ติ สาธารณะ
3.6 กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียนโรงเรยี นจอมสุรางคอ์ ุปถัมภ์

กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นเป็นกจิ กรรมทส่ี ถานศึกษาจัดไวใ้ หผ้ ้เู รยี นเข้าร่วมตามความถนัดและความสนใจ
ตามศักยภาพของตนเอง โดยเนน้ การพฒั นาแบบองคร์ วมใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การพฒั นาครอบคลมุ ทั้งด้านรา่ งกาย
จิตใจ อารมณ์ สงั คมและสตปิ ญั ญา เพือ่ ส่งเสริมสนับสนุนความเปน็ มนุษย์ท่ีสมบูรณ์ และสามารถบรหิ ารการ

จัดการตนเองได้กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น แบง่ เป็น 3 ลกั ษณะ ดงั น้ี
1) กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพฒั นาผู้เรยี นใหส้ อดคล้องกับความสามารถความถนัด

และความสนใจโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ด้วยกระบวนการทางจิตวิทยาการแนะแนวให้
ครอบคลมุ ดา้ นการศึกษา อาชีพส่วนตัวและสังคม กิจกรรมสาคัญในการพัฒนา ได้แก่ กิจกรรมการรู้จักเข้าใจ
และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อ่ืน กิจกรรมการปรับตัวและดารงชีวิต กิจกรรมแสวงหาและใช้มูลสารสนเทศ

กจิ กรรมการตดั สนิ ใจและแกป้ ัญหา เป็นต้น
2) กจิ กรรมนกั เรียน

(1) กิจกรรมชุมนุม ชมรม เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับความสามารถ
ความถนัด และความสนใจ โดยเน้นให้ผู้เรียนปฏิบัติด้วยตนเองตั้งแต่การศึกษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตาม
แผน ประเมินและปรับปรุงการทางาน เน้นการทางานร่วมกันเป็นกลุ่มกิจกรรมสาคัญในการพัฒนา ได้แก่

ชุมนุมหรือชมรมต่าง ๆ ท่ีสถานศึกษากาหนดขึ้นตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียน
และบรบิ ทของสถานศกึ ษาและท้องถน่ิ

(2) กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี เป็นกิจกรรมทมี่ งุ่ พัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นาผู้ตามท่ีดี
ความรับผิดชอบ การทางานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจท่ีเหมาะสมความมีเหตุผล การช่วยเหลือ
แบ่งปันกัน การประนีประนอม เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีความสมบูรณ์พร้อมทั้งด้าน

ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา เป็นต้น
3) กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ เป็นกจิ กรรมท่ีส่งเสริมและใหผ้ ู้เรยี นไดท้ าประโยชน์ตาม

ความสามารถ ความถนดั และความสนใจในลักษณะอาสาสมัครเพ่ือแสดงถงึ ความรับผิดชอบ ความดีงาม
ความเสยี สละตอ่ สังคม มีจติ ใจม่งุ ทาประโยชน์ตอ่ ครอบครวั ชมุ ชนและสงั คม กจิ กรรมสาคัญได้แก่ กิจกรรม
บาเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมสร้างสรรค์สงั คม กิจกรรมดารงรกั ษา สบื สานศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม กจิ กรรม

พฒั นานวัตกรรมและเทคโนโลยเี พื่อสงั คมเปน็ ต้น
3.7 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นต้องอย่บู นหลักการพื้นฐานสองประการคอื การประเมิน
เพ่อื พัฒนาผู้เรียนและเพื่อตดั สนิ ผลการเรียน ในการพฒั นาคณุ ภาพการเรียนรูข้ องผเู้ รียนใหป้ ระสบผลสาเรจ็ น้ัน

16

ผเู้ รียนจะต้องไดร้ บั การพฒั นาและประเมนิ ตามตวั ชว้ี ัดเพอื่ ใหบ้ รรลตุ ามมาตรฐานการเรียนรู้ สะทอ้ นสมรรถนะ
สาคญั และคุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผูเ้ รยี นซึง่ เป็นเป้าหมายหลกั ในการวดั และประเมินผลการเรยี นรใู้ น

ทุกระดบั ไมว่ ่าจะเปน็ ระดบั ช้นั เรียน ระดบั สถานศกึ ษา ระดบั เขตพ้นื ที่การศึกษาและระดับชาติ การวดั และ
ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เปน็ กระบวนการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียนโดยใช้ผลการประเมินเปน็ ขอ้ มูลและสารสนเทศที่
แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสาเร็จทางการเรียนของผ้เู รียน ตลอดจนขอ้ มูลทเ่ี ปน็ ประโยชน์ตอ่

การส่งเสริมให้ผู้เรยี นเกดิ การพัฒนาและเรียนรอู้ ยา่ งเต็มตามศักยภาพการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบง่
ออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ระดบั ช้ันเรยี น ระดบั สถานศกึ ษา ระดบั เขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา และระดับชาติ มี

รายละเอยี ด ดังนี้
1) การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลท่ีอยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอน

ดาเนินการเป็นปกติและสม่าเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น

การซกั ถาม การสงั เกต การตรวจการบา้ น การประเมินโครงงานการประเมนิ ชน้ิ งาน/ ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน
การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพ่ือนประเมิน

เพื่อน ผู้ปกครองร่วมประเมิน ในกรณีท่ีไม่ผ่านตัวช้ีวัดให้มีการสอนซ่อมเสริมการประเมินระดับชั้นเรียนเป็น
การตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้ อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนหรอื ไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสงิ่ ทจ่ี ะตอ้ งได้รบั การพฒั นาปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด นอกจากนี้

ยงั เป็นข้อมูลใหผ้ สู้ อนใช้ปรบั ปรุงการเรยี นการสอนของตนด้วย ทัง้ น้ีโดยสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และ
ตวั ช้ีวัด

2) การประเมนิ ระดับสถานศกึ ษา เป็นการประเมนิ ท่สี ถานศึกษาดาเนินการเพอ่ื ตดั สนิ ผลการเรียนของ
ผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้ เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อ

การเรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมท้ังสามารถนาผลการเรียนของ
ผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและ

สารสนเทศเพ่ือการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตรโครงการ หรือ วิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อ
การจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา และ
การรายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ผูป้ กครองและชมุ ชน
3) การประเมินระดบั เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา

ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการพัฒนา
คณุ ภาพการศึกษาของเขตพืน้ ที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบสามารถดาเนินการโดยประเมินคุณภาพ
ผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานท่ีจัดทา และดาเนินการโดยเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หรือด้วยความ

รว่ มมือกบั หนว่ ยงานตน้ สงั กดั ในการดาเนินการจัดสอบ นอกจากน้ียังได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมูลจาก
การประเมินระดบั สถานศกึ ษาในเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา

4) การประเมนิ ระดับชาติ เปน็ การประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียนในชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 และช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 เข้ารับการประเมิน ผลจากการประเมิน

ใช้เปน็ ข้อมลู ในการเทยี บเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต่างๆ เพ่ือนาไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพ
การจดั การศกึ ษา ตลอดจนเป็นข้อมลู สนบั สนนุ การตดั สนิ ใจในระดับนโยบายของประเทศข้อมูลการประเมินใน

ระดบั ต่าง ๆ ข้างต้น เปน็ ประโยชนต์ ่อสถานศกึ ษาในการตรวจสอบทบทวนพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระ
ความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมสนับสนุนเพ่ือให้

17

ผ้เู รยี นไดพ้ ัฒนาเตม็ ตามศกั ยภาพบนพื้นฐาน ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลที่จาแนกตามสภาพปัญหาและความ
ต้องการ ได้แก่ กล่มุ ผูเ้ รยี นทว่ั ไป กลมุ่ ผเู้ รียนท่ีมีความสามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรียนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า

กลุ่มผู้เรยี นทีม่ ปี ัญหาด้านวินัยและพฤตกิ รรม กลมุ่ ผเู้ รยี นท่ปี ฏิเสธโรงเรียน กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจ
และสงั คม กลุม่ พกิ ารทางร่างกายและสติปัญญา เป็นตน้ ขอ้ มลู จากการประเมินจึงเปน็ หัวใจของสถานศึกษาใน
การดาเนินการชว่ ยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและประสบความสาเร็จใน

การเรียนสถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผล
การเรียนของสถานศกึ ษาใหส้ อดคล้องและเปน็ ไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติท่ีเป็นข้อกาหนดของหลักสูตร

แกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน เพ่ือใหบ้ คุ ลากรท่ีเกยี่ วขอ้ งทกุ ฝ่ายถอื ปฏิบตั ิรว่ มกัน
3.8 เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
1) การตัดสนิ การให้ระดบั และการรายงานผลการเรยี น

(1) การตดั สนิ ผลการเรียน ในการตดั สินผลการเรยี นของกลุม่ สาระการเรยี นรู้ การอ่าน
คดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี นนน้ั ผู้สอนต้องคานึงถึงการพัฒนา

ผู้เรียนแต่ละคนเป็นหลกั และต้องเกบ็ ขอ้ มูลของผ้เู รียนทุกดา้ นอยา่ งสม่าเสมอและตอ่ เนื่องในแตล่ ะภาคเรียน
รวมท้ังสอนซอ่ มเสรมิ ผู้เรยี นใหพ้ ัฒนาจนเตม็ ตามศกั ยภาพ

ระดบั ประถมศกึ ษา

1. ผเู้ รยี นต้องมเี วลาเรียนไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนท้ังหมด
2. ผ้เู รยี นตอ้ งไดร้ บั การประเมนิ ทกุ ตัวช้วี ดั และผ่านตามเกณฑท์ ส่ี ถานศึกษากาหนด

3. ผู้เรยี นตอ้ งไดร้ บั การตดั สินผลการเรียนทกุ รายวชิ า
4. ผ้เู รียนต้องได้รับการประเมนิ และมผี ลการประเมนิ ผ่านตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนด ในการอ่าน
คดิ วเิ คราะห์และเขียน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน

ระดับมัธยมศกึ ษา
1. ตดั สนิ ผลการเรยี นเปน็ รายวชิ า ผเู้ รียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรยี นไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80 ของ

เวลาเรียนท้ังหมดในรายวชิ านน้ั ๆ
2. ผเู้ รยี นต้องไดร้ บั การประเมินทกุ ตวั ชี้วดั และผา่ นตามเกณฑท์ ส่ี ถานศกึ ษากาหนด
3. ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ บั การตัดสนิ ผลการเรยี นทกุ รายวชิ า

4. ผเู้ รียนต้องไดร้ ับการประเมนิ และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากาหนดในการอ่าน
คิดวิเคราะหแ์ ละเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การพิจารณาเล่ือนชั้นทั้งระดับ

ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่าสามารถ
พฒั นาและสอนซ่อมเสรมิ ได้ ใหอ้ ยู่ในดลุ พนิ จิ ของสถานศึกษาท่ีจะผ่อนผันให้เล่ือนช้ันได้ แต่หากผู้เรียนไม่ผ่าน
รายวิชาจานวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเปน็ ปญั หาตอ่ การเรียนในระดบั ชน้ั ทสี่ ูงขึ้นสถานศกึ ษาอาจแต่งตง้ั

คณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้าชั้นได้ ท้ังนี้ให้คานึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ความสามารถของผู้เรียนเป็น
สาคญั

5. การรายงานผลการเรียนการรายงานผลการเรยี นเปน็ การสอื่ สารใหผ้ ู้ปกครองและผู้เรียนทราบ
ความก้าวหน้า ในการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทาเอกสารรายงานให้
ผปู้ กครองทราบเป็นระยะ ๆ หรืออย่างน้อยภาคเรียนละ 1 คร้ังการรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็น

ระดับคุณภาพการปฏบิ ัตขิ องผเู้ รยี นทส่ี ะทอ้ นมาตรฐานการเรียนรกู้ ลุ่มสาระการเรยี นรู้

18

2) เกณฑก์ ารจบการศกึ ษา
(1) เกณฑก์ ารจบหลกั สูตรระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

1. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพ่ิมเติม โดยเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน 66 หน่วยกิต และ
รายวิชาเพ่มิ เติมตามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด

2. ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิต ตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา
พ้ืนฐาน 66 หน่วยกิต และรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ไม่นอ้ ยกวา่ 11 หนว่ ยกติ

3. ผลการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามที่สถานศกึ ษา
กาหนด

4. ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
5. ผลการเขา้ ร่วมกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด

(2) เกณฑก์ ารจบหลักสูตรระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

1. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพ่ิมเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 41 หน่วยกิต และ
รายวชิ าเพิม่ เติมตามที่สถานศกึ ษากาหนด

2. ผเู้ รียนต้องได้หน่วยกติ ตลอดหลักสตู รไมน่ อ้ ยกวา่ 77 หนว่ ยกิต โดยเปน็ รายวชิ าพื้นฐาน
41 หน่วยกิต และรายวิชาเพมิ่ เตมิ ไมน่ ้อยกว่า 36 หน่วยกติ

3. ผลการประเมิน การอ่าน คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ตามทีส่ ถานศกึ ษากาหนด
4. ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ตามที่สถานศกึ ษากาหนด
5. ผลการเขา้ ร่วมกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามท่สี ถานศึกษากาหนด

19

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ โครงสรา้ งเวลาเรยี นระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนต้น หอ้ งที่ 13-14
ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ม.1 – ม.3) นก.
วิชาพน้ื ฐาน 9
วชิ าภาษาไทย หอ้ งที่ 1 หอ้ งท่ี 2-3 ห้องที่ 4-6 หอ้ งท่ี 7-12 9
วิชาคณติ ศาสตร์ นก. นก. นก. นก. 9+3
วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 99 9 9
99 9 9
*ออกแบบเทคโนโลยี 1.5 9+3 9+3 9+3 9+3
*วทิ ยาการคานวณ 1.5
66 6 6 6
วชิ าสงั คมศกึ ษา 3
วชิ าประวตั ศิ าสตร์ 33 3 3 3
วิชาพระพทุ ธศาสนา 6
วิชาสุขศึกษา-พลศกึ ษา 33 3 3 3
วชิ าทัศนศิลป์ 3
วชิ าดนตรี – นาฎศิลป์ 66 6 6 3
วชิ าการงานอาชพี ฯ 9
วชิ าภาษาองั กฤษ 33 3 3 66
รวม นก.
รายวชิ าเพิ่มเตมิ 33 3 3 2
วชิ าเสรมิ ทักษะภาษาไทย 3
วชิ าภาษาอังกฤษส่ือสาร 33 3 3 6
วิชาคณิตศาสตร์ 6
วิชาวทิ ยาศาสตร์ 99 9 9 6
วิชาคอมพิวเตอร์
วชิ าภาษาเกาหลี 66 66 66 66 3
เลอื กตามความถนดั 2
ภาษาจีน นก. นก. นก. นก. 28
Independent Study 94
รวม 22 2 2 188
รวมหน่วยการเรียนท้งั สน้ิ ชม.
รวมเวลาเรียน 3 33 6
กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น 6
กิจกรรมแนะแนว 96 8 6
กิจกรรม ยว / นน / บพ 206
ชมุ นมุ 96 4240
รวมเวลาเรยี นทัง้ สิน้ 45
รวมเวลาเรียน (ชัว่ โมง) 22 2 2
กิจกรรมเพ่อื สังคมและ
สาธารณประโยชน์ และ IS3 6

6 12

33 3 3

22 2 2

30 27 26 24

96 93 92 90

192 186 184 180

ชม. ชม. ชม. ชม.

66 6 6

66 6 6

66 6 6

210 204 202 198

4200 4080 4040 3960

45 45 45 45

20

โครงสร้างเวลาเรยี นระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ห้องเรยี นพเิ ศษ หอ้ งเรยี นปกติ

จานวนหนว่ ยกติ วทิ ย์- IP วิทย์- องั กฤษ- อังกฤษ อังกฤษ องั กฤษญปี่ ุ่น องั กฤษ ไทย-สังคม
รายวชิ าพน้ื ฐาน คณิต คณิต คณิต ฝร่งั เศส จนี คอมพวิ เตอร์
11
1 12 2-5 6 78 9 10
นก.
นก. นก. นก. นก. นก. นก. นก. นก.
6
วิชาภาษาไทย 6 E+M E+F E+C E+J 6 6
วิชาคณิตศาสตร์ 6 6 6 +3
6 +3 6 66 6 6 6 6 6 6 6 +3
วิชาวทิ ยาศาสตร์ 5
5 6 66 6 6 6 6 6 6 6 3
*ออกแบบและเทคโนโลยี 1.5 3 2 3
*วิทยาการคานวณ 1.5 3 6 +3 6 +3 6 +3 6 +3 6 +3 6 +3 6 +3 6 +3 6 +3 3 3
3 3 2
วิชาสังคมศกึ ษา 2 5 55 5 5 6 6 5 5 2 6
วิชาประวตั ศิ าสตร์ 6 4 44 4 1 2 2 3 3 6 44
วิชาสุขศกึ ษา-พลศกึ ษา 41 3 33 3 3 3 3 3 3 41 นก.
วิชาศิลปะ นก. 3 33 3 3 3 3 3 3 นก.
6
วิชาการงานอาชีพฯ 2 22 2 2 2 2 2 2 6 2
วิชาภาษาอังกฤษ 6 66 6 6 6 6 6 6 2
รวม 41 41 41 41 41 41 41 41 41 8
วิชาเพิ่มเตมิ นก. นก. นก. นก. นก. นก. นก. นก. นก. 2
10
วิชาเพมิ่ เติมตามความสนใจ 2 6
12
วิชาภาษาไทย 0.5 5 3 3 3 0.5 10.5 6 6 6 2
วิชาคณติ ศาสตร์ 12 12 11 11 2 2 2 22 42
วิชาวิทยาศาสตร์ 30 2 86
วิชาสังคมศึกษา 2 26 48 172
วิชาศลิ ปะ 5 55 5 2 2 2 2 2 92 ชม.
วิชาการงานอาชพี ฯ 3 184 6
วิชาภาษาอังกฤษ 10 2 32 22 2 ชม. 6
ภาษาตา่ งประเทศท่ี 2 6 184
วิชาคอมพวิ เตอร์ 2 15 15 15 15 10 15 12 12 12 6 3680
Independent Study 60 196
รวม 18 18 18 18 18 18 3920 60

2 60

2 22 2 2 2 2 2 2

41 43 43 43 55 45 44 44 44

รวมหน่วยการเรียนท้ังสิน้ 104 79 81 81 81 99 89 88 88 88
รวมเวลาเรียน 208
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ชม. 158 162 162 162 198 178 176 176 176
6
กิจกรรมแนะแนว ชม. ชม. ชม. ชม. ชม. ชม. ชม. ชม. ชม.

6 66 6 6 6 6 6 6

ชมุ นุม 6 6 66 6 6 6 6 6 6
รวมเวลาเรยี นทง้ั สนิ้ 220
รวมเวลาเรยี น (ชวั่ โมง) 440 170 174 174 174 210 190 188 188 188
0
กิจกรรมเพอื่ สงั คมและ 3400 3480 3480 3480 4200 3800 3760 3760 3760
สาธารณประโยชน์ และ IS3 60
60 60 60 60 60 60 60 60 60

21

4. แนวคดิ เก่ียวกบั การประเมินหลักสตู ร
ไพโรจน์ เตมิ เตชาติพงศ์ (2544) ได้กล่าวไวว้ า่ การประเมนิ หลกั สตู รเป็นส่วนท่มี ีความสาคัญและ
จาเปน็ อย่างยง่ิ ต่อคณุ ภาพของหลักสูตร ทั้งน้ีเพราะการประเมินหลักสตู รจะทาใหร้ คู้ ุณค่าของหลักสูตรว่าเป็น
อย่างไร ขอ้ มลู ทีไ่ ด้จากการประเมินหลักสตู รจะเป็นประโยชน์อยา่ งยงิ่ ตอ่ การปรับปรุงหลกั สตู รใหม้ คี ุณค่าสงู ขึ้น
อนั จะเป็นผลในการนาหลกั สูตรไปสูค่ วามสาเรจ็ ตามเป้าหมายทว่ี างไวโ้ ดยสะดวก
4.1 ความหมายของการประเมนิ หลักสตู ร
ไดม้ ีนกั การศึกษาหลายทา่ นให้ความหมายของการประเมินหลักสตู รไวต้ า่ ง ๆ กันดังน้ี คือ
ใจทิพย์ เชอ้ื รตั นพงษ์ (2539) กลา่ ววา่ การประเมนิ หลักสตู ร เปน็ การรวบรวมและวเิ คราะห์ข้อมลู
แลว้ นาข้อมูลมาใช้ในการตดั สินหาข้อบกพร่องหรอื ปญั หา เพื่อหาทางปรบั ปรงุ แก้ไขส่วนประกอบทุกสว่ นของ
หลักสูตรให้มคี ุณภาพดยี ่ิงขน้ึ หรอื ตัดสินหาคุณคา่ ของหลักสตู รนัน้ ๆ
บุญศรี พรหมมาพันธุ์ (2551) ไดใ้ หค้ วามหมายของการประเมินหลักสตู รไวว้ า่ หมายถึง การรวบรวม
และการวเิ คราะห์ขอ้ มูลเกยี่ วกับหลกั สตู รและการเรยี นการสอน เพือ่ พิจารณาเกี่ยวกับคณุ ค่าของหลักสตู รและ
การเรียนการสอนวา่ มคี ุณภาพดหี รอื ไม่อยา่ งไร มสี ว่ นใดบ้างทีต่ อ้ งปรับปรุง
ประชุม รอดประเสรฐิ (2539) กลา่ วว่า การประเมนิ นั้นเกดิ ข้นึ อยู่ตลอดเวลาทง้ั นีเ้ พราะวา่ คนเรา
จะต้องประสบกับการตัดสินใจอยู่ตลอด และในการตดั สินใจน้ันจาเป็นจะต้องอาศัยข้อมูล กฎเกณฑต์ า่ ง ๆ ชว่ ย
ในการตัดสินใจเพอื่ ใหไ้ ดผ้ ลลพั ธ์ออกมาดีท่ีสดุ อยา่ งไรก็ตามการประเมนิ ในลกั ษณะเช่นนี้ยงั เป็นการประเมนิ
แบบทไี่ มม่ ีระบบ หรอื แบบแผนท่ีแนน่ อน การตัดสินใจมักจะใช้ประสบการณ์เดิมของตนเองเป็นเกณฑ์ ดังนั้น
ถ้าการตัดสินใจเกี่ยวข้องกับส่ิงท่ีมีความสลับซับซ้อนมีผลกระทบจากการตัดสินใจสูงและเก่ี ยวข้องกับบุคคล
หรอื กลมุ่ คนเปน็ จานวนมาก การตดั สินใจน้ัน จะตอ้ งมปี ระสทิ ธิภาพและเปน็ ระบบ มคี วามนา่ เชอื่ ถือและ
ได้รับการยอมรับจากทุกฝา่ ย จงึ จะทาใหก้ ารตดั สินใจถกู ต้อง วธิ กี ารเชน่ นีเ้ รียกว่า การประเมินผลอยา่ งมีระบบ
เยาวดี รางชัยกุล (2553) สรปุ ว่า การประเมนิ ผลคาที่ใชใ้ นการอธิบายและตดั สินคุณสมบัติบางอย่างของบคุ คล
หรือกลุ่มบคุ คล รวมทงั้ กระบวนการและโครงการต่าง ๆ นน้ั คือ
กระบวนการประเมินผล ประกอบด้วยขน้ั ตอน 3 ขั้นตอน คือ
1. การเลอื กส่งิ ท่ตี ้องการประเมนิ
2. การพฒั นาและใช้กระบวนการเพื่ออธิบายสงิ่ ท่ีตอ้ งการประเมินนนั้ อย่างถูกต้อง
3. การสังเคราะห์หลกั ฐานทเี่ ปน็ ผลจากกระบวนการเหลา่ นไี้ ปสู่การตัดสนิ ใจขนั้ สดุ ท้าย ลัดดาวัลย์
เพชรโรจน์ (2549) ไดใ้ หค้ วามหมายของการประเมนิ หลักสตู รไวว้ ่า เปน็ กระบวนการหาคาตอบว่า หลักสูตรมี
ผลสมั ฤทธ์ิผลตามจุดมุง่ หมายท่กี าหนดไวห้ รอื ไม่และมากน้อยเพียงใดโดยมีการจดั การเกบ็ รวบรวมข้อมูล และ
การวิเคราะห์ข้อมูลจากหลายองค์ประกอบได้แก่ การวเิ คราะห์จากกระบวนการการนาหลักสตู รไปใชว้ ิเคราะห์
ผลจากผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของผเู้ รียน เมอื่ วิเคราะหข์ อ้ มูลแล้วจะต้องนาเสนอข้อมูลเพอ่ื ตัดสนิ ใจหรือควร
เปล่ยี นแปลงหรอื ปรับปรงุ หรอื เลอื กวธิ ีใหม่
กู๊ด (Good, 1973) กล่าวว่า การประเมินหลักสูตรคือการประเมินผลของกิจกรรมการเรียนภายใน
ขอบข่ายของการสอนทีเ่ น้นเฉพาะจุดประสงคข์ องการตดั สินใจในความถูกต้องของจุดหมาย ความสัมพันธ์และ
ความต่อเน่ืองของเน้ือหา และผลสัมฤทธ์ิของวัตถุประสงค์เฉพาะซ่ึงนาไปสู่การตัดสินใจในการวางแผนจาก
ความหมายขา้ งตน้ สรปุ ได้ว่า การประเมนิ หลักสูตร หมายถงึ การประเมินองคป์ ระกอบต่าง ๆ ของหลักสูตรว่า
มีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด และเมื่อได้นาหลักสูตรไปใช้แล้วบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ต้องการหรือไม่
โดยในการประเมินหลักสูตรจะใช้เคร่ืองมือชนิดต่างๆ ท่ีมีความเหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล เช่น
แบบสอบถาม การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม เป็นต้น ท้ังนี้ผลท่ีได้จากการประเมินจะถูกนาไปใช้ในการ
ปรบั ปรุงและพัฒนาหลักสตู รใหม้ ีความเหมาะสมย่ิงขน้ึ ต่อไป

22

4.2 จดุ มุง่ หมายของการประเมินหลกั สูตร

โดยทวั่ ไป การประเมินหลกั สตู รใด ๆ กต็ าม จะมีจุดมงุ่ หมายสาคญั ที่คล้ายคลึงกันดงั น้ี
(ไพโรจน์ เติมเตขาตพิ งศ์, 2544)

4.2.1 เพอ่ื หาทางปรับปรุงแกไ้ ขส่ิงบกพรอ่ งที่พบในองคป์ ระกอบตา่ งๆ ของหลกั สูตรเพื่อทีจ่ ะ

พิจารณาว่าองคป์ ระกอบตา่ งๆ ของหลกั สตู รมีความเหมาะสมและสอดคล้องหรือไม่มีปัญหาอุปสรรคอะไร จะ
ได้เป็นประโยชนแ์ ก่นกั พัฒนาหลักสตู รและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการปรับปรุงเปล่ียนแปลงองค์ประกอบต่างๆ

ของหลักสูตรใหม้ คี ุณภาพดขี ึ้นไดท้ ันท่วงที
4.2.2 เพ่ือหาทางปรบั ปรงุ แก้ไขระบบการบริหารหลักสูตร
4.2.3 เพ่ือช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหารว่าควรใช้หลักสูตรต่อไปอีกหรือควรยกเลิกการใช้

หลักสตู รเพียงบางส่วนหรอื ยกเลกิ ทง้ั หมด
4.2.4 เพื่อต้องการทราบคุณภาพของผู้เรียนซึ่งเป็นผลผลิตของหลักสูตรว่ามีการเปล่ียนแปลง

พฤตกิ รรมไปตามความมงุ่ หวงั ของหลกั สูตรหรอื ไม่
4.3 ระยะของการประเมนิ หลักสูตร
การประเมนิ หลกั สตู รที่ดจี งึ ต้องตรวจสอบเป็นระยะเพอ่ื ลดปัญหาทอ่ี าจเกิดขึ้นโดยทั่วไปจะแบ่งเป็น 3

ระยะ คือ
4.3.1 การประเมนิ หลักสตู รก่อนนาหลักสูตรไปใช้

4.3.2 การประเมินหลักสูตรระหว่างการดาเนินการใชห้ ลักสูตร
4.3.3 การประเมนิ หลกั สูตรหลงั การใช้หลกั สตู ร
4.4 สิ่งทีต่ ้องประเมินในเรอื่ งหลักสูตร

การประเมินความกา้ วหน้า เพ่ือมุ่งการปรับปรงุ แกไ้ ขหลักสูตรในช่วงเวลาต่างๆ กันเป็นสาคัญ หรือจะเป็นการ
ประเมินผลสรุป เพื่อมุ่งการตัดสินว่าหลักสูตรนั้นควรดาเนินต่อหรือยกเลิก ควรมีการประเมินให้ต่อเน่ืองกัน

ดังน้ันการประเมนิ หลักสตู รจงึ ประกอบด้วยการประเมินส่ิง ดงั ตอ่ ไปน้ี
4.4.1 การประเมินเอกสารหลักสูตร
เป็นการตรวจสอบคุณภาพขององค์ประกอบต่างๆ ของหลักสูตรว่าจุดหมายจุดประสงค์ โครงสร้าง

เน้ือหาสาระ และวิธีการวัดและประเมินผลนักเรียนมีความสอดคล้องเหมาะสม ครอบคลุม และถูกต้องตาม
หลักการพัฒนาหลักสูตรหรือไม่ ภาษาที่ใช้สามารถสื่อให้เข้าใจและมีความชัดเจนในการนาไปสู่การปฏิบัติ

หรือไม่การประเมินเอกสารหลักสูตรเป็นการการตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรว่ามีความเหมาะสมดีและ
ถกู ต้องกบั หลักการพัฒนาหลักสูตรเพียงใด การตรวจสอบเอกสารหลักสตู รอาจทาไดโ้ ดยวิธีการดงั ตอ่ ไปน้ี

1) การตรวจสอบโดยคณะพฒั นาหลกั สูตร

2) การตรวจสอบโดยผู้เช่ยี วชาญ
3) การทดลองใช้หลักสูตร

การประเมนิ เอกสารหลกั สูตรมกั ใชว้ ิธีวิเคราะห์เนอื้ หา และใช้วิธีให้ผรู้ ผู้ ู้เช่ยี วชาญหรือผูท้ เ่ี ก่ยี วขอ้ ง
ดาเนินการประเมิน นอกจากน้ียังสามารถใช้วิธีอ่ืนๆ เช่น การใช้การสัมภาษณ์การตอบแบบสอบถาม โดย
กาหนดรายการและระดับที่ต้องการประเมิน เป็นต้นแนวทางในการพิจารณาตรวจสอบหลักสูตรในการ

ตรวจสอบหลักสูตรก่อนนาไปใช้อาจจะดาเนินการโดยสร้างเกณฑ์ในการประเมินหลักสูตรข้ึนมาก่อน แล้วจึง
นาเอาเกณฑ์ทตี่ ง้ั ไว้น้นั ไปทาการตรวจสอบคณุ ภาพของเอกสารหลกั สูตรต่อไปแนวทางในการประเมินหลักสูตร

ทเ่ี สนอโดยแพรท็ (Pratt, 1980)
1) จดุ มงุ่ หมายทว่ั ไป
2) เหตผุ ลและความจาเปน็

3) จุดม่งุ หมายเฉพาะ

23

4) เกณฑใ์ นการวดั พฤติกรรม

5) การประเมินผลเพ่ือใหค้ ะแนน
6) เนื้อหาสาระ
7) ลกั ษณะของผู้เรียน

8) การเรียนการสอน
9) การจัดการเกี่ยวกบั ความแตกต่างของผู้เรียน

10) รายละเอยี ดในการปฏบิ ตั ิ
11) การทดลองหลกั สตู ร
12) การนาหลกั สตู รไปใช้

13) ผลผลิต
4.4.2 การประเมินการใชห้ ลกั สตู ร

เปน็ การตรวจสอบว่าหลักสตู รสามารถนาไปใชไ้ ดด้ ีกับสถานการณจ์ รงิ เพียงใดการจัดการเรียนการสอน
ตามหลักสตู รทาอยา่ งไร มีปญั หาอุปสรรคอะไรในการใช้หลักสูตรเพ่ือจะได้แก้ไขปรับปรุงให้ดีข้ึนและสามารถ
ใช้หลักสูตรได้อย่างมปี ระสิทธิผลและประสทิ ธภิ าพ

4.4.3 การประเมินผลสัมฤทธ์ิของหลักสูตรเป็นการตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ซ่ึงประกอบด้วย
ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการและผลสัมฤทธิ์ทไี่ มใ่ ช่วิชาการ การประเมินผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตรเปน็ การตรวจสอบ

ผลสัมฤทธ์ิของผู้เรยี น ซึ่งประกอบด้วยสัมฤทธิผลทางวิชาการและสมั ฤทธิผ์ ลทีไ่ มใ่ ช่ทางวชิ าการ
4.4.4 การประเมนิ ระบบหลักสตู ร

เปน็ การประเมินหลกั สูตรในลกั ษณะท่มี ีความสมบูรณ์และมคี วามซบั ซอ้ นมากการประเมินระบบหลักสูตรจะมี

ความเก่ยี วข้องกบั องคป์ ระกอบอื่นทมี่ สี ่วนเกี่ยวขอ้ งกับหลักสตู รดว้ ย
4.5 ประโยชน์ของการประเมินหลกั สูตร

4.5.1 ทาให้ทราบถึงจุดดีจุดเสียหลักสตู รที่สร้างหรอื พัฒนาขึน้
4.5.2 ช่วยส่งเสริมและปรับปรงุ การสอนใหด้ ีขน้ึ
4.5.3 ชว่ ยในการส่งเสริมการเรยี นรูข้ องผูเ้ รยี น

4.5.4 ชว่ ยในการปรบั ปรุงการบริหารในสถานศกึ ษา
4.5.5 ช่วยในการแนะแนวทงั้ ดา้ นการเรียนและอาชีพแก่ผ้เู รยี น

4.5.6 ชว่ ยช้ีให้เห็นถึงคุณค่าของหลกั สูตรท่พี ฒั นา
4.6 ข้ันตอนในการประเมินหลักสูตร
สมคดิ พรมจุ้ย (2551) และบญุ ศรี พรหมมาพนั ธ์ุ (2551) ได้เสนอแนวคิดเกยี่ วกบั ขั้นตอนการประเมิน

หลกั สูตร ดงั นี้
4.6.1 ขน้ั กาหนดเปา้ หมาย ผู้ประเมนิ หลักสตู รตอ้ งกาหนดสิ่งท่ีจะประเมินวัตถุประสงค์เป้าหมายของ

การประเมิน วิเคราะห์และทาความเข้าใจกับจุดมุ่งหมายในการประเมินผู้ประเมินต้องกาหนดว่า ต้องการนา
ข้อมลู มาทาอะไร

4.6.2 ขน้ั การวางแผนและออกแบบประเมิน การวางแผนเปรียบเสมือนเข็มทิศท่ีจะนาไปสู่เป้าหมาย

การประเมนิ หลงั จากศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี และผลงานประเมินท่เี กี่ยวข้องแล้ว ผู้ประเมินต้องกาหนด
กลมุ่ ตัวอยา่ ง แหล่งขอ้ มลู การเลือกเครื่องมือ วิธีการรวบรวมข้อมูลและกาหนดเกณฑ์ในการประเมิน รวมทั้ง

กาหนดเวลาในการดาเนินการขั้นต่างๆ

24

4.6.3 ขั้นดาเนนิ การ ผปู้ ระเมนิ เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลตามกรอบการประเมนิ และระยะเวลาทก่ี าหนดไว้

4.6.4 ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ประเมินกาหนดวิธีการจัดระบบข้อมูล และพิจารณาเลือกใช้สถิติใน
การวิเคราะหท์ ีเ่ หมาะสม โดยพจิ ารณาจดุ ประสงคข์ องการประเมินและลักษณะของข้อมูลโดยเปรียบเทียบกับ
เกณฑท์ ี่กาหนดวา่ สอดคล้องกันหรือไม่

4.6.5 ข้ันรายงานผลการประเมิน เป็นการตคี วามหมายข้อมูลที่วเิ คราะห์ และนาเสนอผลการประเมิน
โดยชี้ให้เหน็ วา่ หลักสตู รทน่ี าไปใช้มีคณุ ภาพหรอื ไม่ มสี ่วนใดท่แี กไ้ ขปรบั ปรุง หรือยกเลิก

4.7 ปญั หาในการประเมินหลักสูตร
4.7.1 ปญั หาดา้ นการวางแผนการประเมนิ หลักสูตร
4.7.2 ปญั หาดา้ นเวลา

4.7.3 ปัญหาดา้ นความเชยี่ วชาญของคณะกรรมการการประเมนิ หลกั สูตร
4.7.4 ปญั หาดา้ นความตรงของของขอ้ มลู

4.7.5 ปญั หาดา้ นวิธกี ารประเมนิ
4.7.6 ปัญหาดา้ นการประเมนิ หลักสูตรทงั้ ระบบ
4.7.7 ปญั หาด้านการประเมนิ หลกั สูตรอย่างต่อเนื่อง

4.7.8 ปัญหาด้านเกณฑก์ ารประเมนิ
4.8 แนวทางสาหรบั การประเมินหลักสตู ร มี 3 ลกั ษณะ คอื

4.8.1 การประเมินสัมฤทธ์ิผลของหลักสูตรเป็นแนวทางสาหรับการประเมินหลักสูตรท่ีมุ่งเน้น
การศกึ ษาสัมฤทธผ์ิ ลทีไ่ ด้จากการใชห้ ลักสูตร

4.8.2 การประเมินคุณค่าของหลักสูตร เป็นการประเมินเพ่ือดูว่าหลักสูตรสามารถนาไปใช้ใน

สถานการณ์ท่ีกาหนดได้เพียงใดและได้ผลตอบแทนท่คี มุ่ ค่าหรอื ไม่
4.8.3 การประเมนิ ในลักษณะการตัดสิน รปู แบบการประเมินหลกั สูตรแบบน้ีจะมีความเช่ือพ้ืนฐานอยู่

วา่ หลักสตู รท่ีดคี วรจะส่งผลกระทบตอ่ การกระทาในอนาคต
5. การประเมนิ หลักสตู ร
5.1 รปู แบบการประเมนิ หลักสตู ร

ในเร่ืองรูปแบบของการประเมินหลักสูตร ได้มีนักวิชาการซึ่งเช่ียวชาญทางด้านหลักสูตร และ
การประเมินผลเสนอแนะหลายรูปแบบด้วยกัน ซึ่งสามารถนามาศึกษาเพื่อเลือกใช้ให้เหมาะสมกับความ

ตอ้ งการ ในปจั จุบนั รปู แบบของการประเมนิ หลกั สตู รสามารถแบ่งได้เปน็ 2 ประเภทใหญ่ๆ คอื
5.1.1 รปู แบบของการประเมนิ หลกั สูตรท่สี ร้างเสร็จใหม่ ๆ เป็นการประเมินผลก่อนนาหลักสูตรไปใช้

ซ่ึงในกลุ่มน้ีจะเสนอรูปแบบท่ีเด่น ๆ คือ รูปแบบการประเมินหลักสูตรด้วยเทคนิคการวิเคราะห์แบบปุยแซงค์

(Puissance Analysis Technique)
5.1.2 รปู แบบการประเมนิ หลักสูตรในระหว่างหรือหลังการใช้หลักสูตร ซึ่งในกลุ่มนี้สามารถแบ่งเป็น

กลุ่มย่อย ๆ ได้เปน็ 4 กลุ่มดงั นี้
1) รูปแบบการประเมนิ หลักสตู รท่ยี ึดจุดมงุ่ หมายเป็นหลกั (Goal Attainment Model)
2) รูปแบบการประเมนิ หลักสตู รที่ไมย่ ดึ เปา้ หมาย (Goal Free EvaluationModel) 3)

4) รปู แบบการประเมนิ หลกั สตู รทีช่ ่วยในการตดั สนิ ใจ (Decision Making Model)

25

บทท่ี 3
วธิ กี ารดาเนนิ การศกึ ษา

การศึกษาครง้ั น้มี วี ตั ถปุ ระสงค์เพ่ือประเมินหลักสูตรโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ สังกัดสานักงานเขต
พ้นื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 3 เพ่ือจัดทารายงานการใช้และพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์
การประเมินหลักสูตรในครั้งน้ี ผ้ศู ึกษาได้ดาเนนิ การ ดังนี้

1. กลุ่มเปา้ หมาย
1.1 แหล่งขอ้ มลู ใชใ้ นการศกึ ษาคร้ังนี้ คือ ผูบ้ ริหารโรงเรียน ครูผู้สอน นกั เรียนโรงเรยี น

จอมสุรางคอ์ ุปถมั ภ์และผู้ปกครอง
1.2 ผใู้ ห้ข้อมูลหลัก คือ กลุม่ ตัวอย่างทใ่ี ห้ขอ้ มูลในการประเมนิ คร้งั นี้ ประกอบด้วย
- ผูบ้ ริหารโรงเรยี น คณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและวชิ าการและครูผู้สอน
ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 และชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 จานวน 104 คน
- นักเรียนระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ปกี ารศึกษา 2561 หอ้ งเรยี นละ 30 คน จานวน
14 หอ้ งเรียน รวม 420 คน
- นกั เรยี นระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ปีการศึกษา 2561 หอ้ งเรียนละ 30 คน จานวน
12 หอ้ งเรียน รวม 360 คน

2. เคร่ืองมอื ทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู
2.1 แบบสอบถามเพ่ือประเมนิ ความพงึ พอใจในการบริหารจัดการหลักสูตรและกจิ กรรมของ

โรงเรยี นจอมสรุ างค์อุปถัมภ์ โดยประเมิน 5 ดา้ น ดังน้ี
2.1.1 ประเมินดา้ นการจัดโครงสรา้ งรายวิชาและเวลาเรียนของหลักสูตรโรงเรียนจอมสุรางคอ์ ปุ ถมั ภ์
2.1.2 ประเมนิ ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ / กิจกรรมอนื่ ๆ ในการใช้หลักสูตรโรงเรยี นจอมสุรางคอ์ ุปถัมภ์
2.1.3 ประเมินการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สูตรจากผบู้ ริหารและครูผู้สอน
2.1.4 ประเมนิ ความพึงพอใจของนักเรยี นต่อการจัดหลกั สูตรโรงเรยี นจอมสุรางคอ์ ปุ ถัมภ์
2.1.5 ประเมินความพงึ พอใจของผปู้ กครองต่อการจัดการศึกษาของโรงเรยี นจอมสุรางคอ์ ปุ ถัมภ์

2.2 รวบรวมข้อมลู จากการประเมินหลกั สูตรโรงเรียนจอมสรุ างค์อุปถัมภ์และข้อเสนอแนะ
เพ่ือเสนอความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั หลักสตู รไปใชใ้ นการพัฒนาหลกั สตู รให้มีความสมบูรณ์ยิ่งๆ ขน้ึ ไป

26

บทที่ 4
ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู

การประเมนิ หลักสูตรโรงเรียนจอมสุรางค์ พุทธศักราช 2552 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2561) ผ้ศู ึกษาได้
นาขอ้ มลู ทไ่ี ด้ มาทาการวเิ คราะห์ และนาเสนอตามลาดับดังตอ่ ไปนี้
1. ผลการประเมนิ การบริหารและการจัดการหลักสูตรสถานศกึ ษาตามเครือ่ งมอื ของกลุ่มนิเทศ
ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา สพม.3 (ภาคผนวก) สอบถามจากผู้บรหิ ารโรงเรียน คณะกรรมการ
บริหารหลักสตู รและวิชาการและครูผสู้ อน ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 และชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 จานวน 104 คน
นามาวิเคราะห์ ประมวลผล ในการจดั ทารายงานผลการใช้และพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา 2561

คน/ข้อ 1.1 1.2 1.3.1 1.3.2 1.3.3 1.3.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 4.1 4.2 4.3

1 3333 23 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

2 33332333333333333333

3 33332333333233333233

4 33332333333333333333

5 33332333333333333333

6 33332323322232222222

7 33332322222232232222

8 33232222222232222222

9 33332333333333333333

10 3 3 3 3 2 3 2 2 2 3 3 2 3 2 3 3 3 2 2 3

11 3 3 3 3 2 2 3 3 3 2 2 2 3 3 3 3 3 3 3 3

12 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

13 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

14 3 3 3 3 2 3 2 2 2 3 3 2 3 2 3 3 2 2 3 2

15 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

16 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

17 3 3 3 3 2 3 3 2 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3

18 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 2 3 2 3 2 3 3 3 3

19 3 3 3 3 2 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 2 3 3 3 3

20 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3

21 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

22 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

23 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

24 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

25 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

26 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

27 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

28 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

29 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

30 3 3 3 3 2 2 3 3 3 2 3 2 3 3 3 2 3 3 3 3

31 3 3 3 3 2 3 3 3 3 2 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3

32 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

27

คน/ขอ้ 1.1 1.2 1.3.1 1.3.2 1.3.3 1.3.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 4.1 4.2 4.3
33 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 2
34 3 3 2 2 2 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 2 3 3
35 3 3 2 2 2 2 3 2 2 2 2 2 3 2 3 2 3 2 3 3
36 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 2 3 3 3 3 2 3 3 3 3
37 3 3 3 2 2 3 3 3 3 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3
38 3 3 3 3 2 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
39 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 2 3 2 2 2 2 2 3 3
40 3 3 2 2 2 3 2 3 3 2 2 2 3 3 3 3 2 2 3 2
41 3 3 3 3 2 3 2 3 2 2 3 2 3 2 3 3 3 3 3 3
42 3 3 2 3 2 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
43 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 2 2 3 3 3 3 3 3 3 3
44 3 3 3 2 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
45 3 3 3 3 2 3 3 2 2 3 3 3 3 2 3 2 2 3 2 2
46 3 3 2 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
47 3 3 2 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
48 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 2
49 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
50 3 3 3 3 2 3 3 3 2 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
51 3 3 3 3 2 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 2 3 3 3 3
52 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3
53 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 2 2 3 3 3 3 3 3 3 3
54 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 2 2 2 2
55 3 3 3 3 2 3 2 2 3 3 3 2 3 2 2 3 3 3 3 2
56 3 3 3 3 2 2 3 3 3 3 3 2 3 3 3 3 2 2 3 3
57 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 2 3 3 3 3
58 3 3 3 3 2 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
59 3 3 3 3 2 3 3 3 2 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3
60 3 3 3 3 2 2 3 3 2 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3
61 3 3 3 2 2 3 3 3 3 2 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3
62 3 3 2 3 2 2 2 2 2 2 2 2 3 2 2 2 2 2 2 2
63 3 3 3 3 2 3 3 3 3 2 2 2 3 3 3 3 3 3 3 3
64 3 3 3 3 2 2 3 3 3 3 3 2 3 3 3 3 2 2 3 3
65 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
66 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
67 3 3 2 3 2 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 2 3
68 3 3 3 3 2 3 3 3 2 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3
69 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 2 3 3 2 3 3 3
70 3 3 3 3 2 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
71 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 2 3 3 3 2 3 3 3 3
72 3 3 2 3 2 3 3 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3
73 3 3 3 3 2 3 3 3 2 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3
74 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
75 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

28

คน/ข้อ 1.1 1.2 1.3.1 1.3.2 1.3.3 1.3.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 4.1 4.2 4.3
76 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
77 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
78 3 3 3 3 2 3 3 3 2 3 3 2 3 2 3 3 3 3 3 3
79 3 3 3 3 2 3 2 2 3 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3
80 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 2 3
81 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 2 3
82 3 3 2 3 2 2 3 3 2 2 3 3 2 2 2 2 3 3 3 3
83 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
84 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
85 3 3 3 2 2 2 3 3 3 3 3 3 3 2 2 3 2 3 3 3
86 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 2 2
87 3 3 3 3 2 3 2 2 2 3 2 2 3 2 2 3 3 3 3 3
88 3 3 2 2 2 3 3 2 2 2 2 2 3 2 2 2 2 2 2 2
89 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
90 3 3 2 2 2 3 3 3 2 2 2 2 3 3 3 3 2 3 3 3
91 3 3 3 3 2 3 3 3 2 2 2 2 3 3 3 3 2 2 2 3
92 3 3 3 3 2 2 3 3 2 2 3 2 3 2 3 2 2 2 3 3
93 3 3 3 3 2 3 2 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3
94 3 3 3 2 2 3 3 3 3 3 3 2 3 3 3 2 3 2 3 2
95 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
96 3 3 2 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
97 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3
98 3 3 3 3 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 3 3
99 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 2 3 3
100 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 2 3 2 2 3 3 3 2 2
101 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 2 3 2 2 3 3 3 2 2
102 3 3 3 3 2 2 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3
103 3 3 2 3 2 2 3 2 3 3 2 2 3 3 2 2 2 3 3 3
104 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

ค่าเฉลยี่ 3.000 3.000 2.856 2.904 2.000 2.846 2.856 2.865 2.788 2.788 2.798 2.606 2.981 2.760 2.865 2.817 2.817 2.808 2.856 2.846
S.D. 0.000 0.000 0.354 0.298 0.000 0.364 0.354 0.344 0.412 0.412 0.405 0.492 0.139 0.431 0.344 0.390 0.390 0.397 0.354 0.364

29

2. สรุปผลการประเมนิ ความพึงพอใจของนกั เรียนระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 ปกี ารศึกษา 2561

ตอ่ การจดั การหลกั สูตรและการจดั กิจกรรมการเรียนร้รู ะดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

ระดับความคิดเห็น : 5 = มากที่สุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = นอ้ ย 1 = น้อยท่สี ุด

ขอ้ ที่ รายการประเมิน 5 ระดบั ความคิดเหน็ แปลผล
ด้านหลกั สตู รหอ้ งเรยี นระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น 117 4 3 2 1 X SD
89 มาก
1 ความพงึ พอใจที่มตี ่อโครงสรา้ งหลกั สตู รและรายวชิ าทเ่ี ปดิ สอนระดับชั้นมธั ยมศกึ ษา 158 186 110 5 2 3.98 0.79 มาก
ตอนต้น 187 116 164 46 5 3.57 0.98 มาก
156 90 12 4 4.08 0.89 มาก
2 ความพงึ พอใจท่ีมีต่อการจดั ตารางเรยี นของระดบั ช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น 168
148 150 75 7 1 4.23 0.81
3 ความพึงพอใจทม่ี ตี ่อการจัดให้มรี ายวิชาการคานวณ กบั รายวชิ าออกแบบและเทคโนโลยี 149
ในหลักสูตรฉบบั ปรับปรุง 148 162 84 3 3 4.16 0.82 มาก
158 163 90 15 4 4.04 0.89 มาก
4 ความพงึ พอใจทม่ี ีตอ่ การจัดกจิ กรรมนักเรียนและกจิ กรรมเสริมหลกั สูตร เชน่ 170 84 15 2 4.07 0.86 มาก
กจิ กรรมทัศนศกึ ษา กิจกรรมคา่ ยภาษาอังกฤษ กจิ กรรมบรู ณาการการศกึ ษาเชงิ 125 162 101 7 2 4.06 0.84 มาก
สร้างสรรค์ และกิจกรรมค่ายส่งเสรมิ ศกั ยภาพด้านตา่ งๆ ในหลักสตู รสถานศกึ ษา 185 168 83 11 0 4.13 0.81 มาก
ดา้ นกจิ กรรมการเรียนร/ู้ กจิ กรรมอื่นๆ 143 มาก
149 187 87 17 4 3.98 0.867
5 ความพงึ พอใจที่มีต่อการจดั กจิ กรรมการเรียนรขู้ องกลมุ่ สาระฯ ภาษาต่างประเทศ 140 83 11 1 4.18 0.855 มาก
141 153 105 14 5 3.99 0.911 มาก
6 ความพงึ พอใจที่มตี ่อการจัดกิจกรรมการเรยี นรขู้ องกลุ่มสาระฯ คณติ ศาสตร์ 130 170 85 13 3 4.07 0.861 มาก
184
7 ความพงึ พอใจทีม่ ตี อ่ การจดั กิจกรรมการเรียนรขู้ องกลมุ่ สาระฯ วทิ ยาศาสตร์ 111 159 95 17 8 3.97 0.946 มาก
181 90 17 2 4.00 0.854 มาก
8 ความพึงพอใจทม่ี ตี อ่ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้อื่นๆนอกเหนือจากภาษาตา่ งประเทศ 123 147 61 22 6 4.15 0.949 มาก
คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ 151 191 103 14 1 3.95 0.813 มาก

9 ความสามารถของครูผู้สอนของโรงเรยี น ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 152 211 77 8 1 4.06 0.755 มาก
144 191 70 6 2 4.15 0.777 มาก
10 นกั เรยี นไดร้ บั การสง่ เสริมศกั ยภาพการเรียนรดู้ ้านต่างๆ อย่างต่อเน่อื ง ได้รับการสนับสนุน 148
ใหแ้ สดงผลงานจากความคิดริเร่มิ สรา้ งสรรค์ เช่น การทาโครงงาน การเรยี นรูจ้ าก 179 83 6 0 4.14 0.773 มาก
หลกั สตู รมาตรฐานสากล 174 90 11 1 4.07 0.824 มาก
177 86 6 3 4.10 0.818 มาก
11 ความเหมาะสมของการจดั กจิ กรรมแนะแนวให้นกั เรยี นได้วางแผนการเรยี นและ มาก
การศกึ ษาต่อ 4.05 0.85

12 นกั เรยี นมโี อกาสเรยี นรู้สาระความรตู้ า่ งๆ ดว้ ยวธิ ีการสืบเสาะหาความร้ดู ว้ ยตนเอง
จากส่อื การเรยี นรู้ท่โี รงเรียนจัดไว้ให้

13 นักเรยี นไดเ้ รยี นรดู้ ว้ ยการปฏิบตั ิจริงจากห้องปฏบิ ัติการและจากแหลง่ เรียนรตู้ า่ งๆ

ด้านการสนบั สนนุ งบประมาณส่งเสรมิ บรรยากาศและสอื่ การเรยี น
14 ความพึงพอใจท่ีมตี ่อการจดั สภาพห้องเรยี นเพ่ือสง่ เสรมิ บรรยากาศการเรยี นรขู้ องนกั เรียน

ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนต้น
15 สอ่ื การเรียนรมู้ เี พียงพอตอ่ การพัฒนานกั เรยี นระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาตอนตน้

16 การจดั ห้องสืบค้นเพื่อการเรยี นรูเ้ พมิ่ เตมิ เสริมความรู้ เช่น ห้องคอมพิวเตอร์ ท่มี รี ะบบ
อนิ เตอรเ์ นต็ ความเร็วสูง หอ้ งสมดุ เพอื่ การค้นคว้า

17 ความเหมาะสมของการขอรับสนบั สนุนงบประมาณเพม่ิ เตมิ ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
ให้มีความสมบูรณ์ย่ิงขน้ึ ในการดาเนินการระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน้
ดา้ นคณุ ภาพผู้เรียนเม่อื จบหลกั สตู ร

18 นกั เรยี นได้รับการพัฒนาทางด้านการเรียนเต็มตามศกั ยภาพ

19 นกั เรียนได้รบั การพัฒนาพฤตกิ รรมอันพึงประสงค์อยา่ งต่อเนอื่ ง

ด้านอนื่ ๆ
20 ความเหมาะสมของกระบวนการคัดเลอื กนกั เรียนเพอื่ จดั ห้องเรยี นระดับช้นั มธั ยมศกึ ษา

ตอนต้น
21 การสรา้ งความเขา้ ใจอันดรี ะหว่างบา้ นกบั โรงเรยี นในเรื่องผลการเรยี นและ

ความประพฤตขิ องนกั เรียนระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
22 ความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการการจดั การศึกษาระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ของ

โรงเรียนจอมสรุ างคอ์ ุปถัมภ์ ในภาพรวม
เฉลี่ยรวม

30

3. สรุปผลการประเมินความพงึ พอใจของนักเรยี นระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ปกี ารศึกษา 2561
ต่อการจัดการหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรยี นรรู้ ะดบั ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
ระดบั ความคดิ เหน็ : 5 = มากที่สุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = นอ้ ย 1 = นอ้ ยทส่ี ดุ

ข้อที่ รายการประเมิน ระดบั ความคิดเหน็ SD แปลผล
54321 X
ดา้ นหลกั สตู รหอ้ งเรียนระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
1 ความพึงพอใจทีม่ ตี อ่ โครงสรา้ งหลักสตู รและรายวชิ าท่เี ปิดสอนระดับชัน้ มัธยมศกึ ษา 90 145 113 9 3 3.86 0.85 มาก

ตอนปลาย 70 124 120 37 9 3.58 0.99 มาก
2 ความพงึ พอใจทมี่ ีตอ่ การจดั ตารางเรยี นของระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย

3 ความพงึ พอใจต่อการจัดให้มีรายวชิ าวทิ ยาการคานวณ กบั รายวิชาออกแบบและเทคโนโลยีใน 73 124 120 37 9 3.59 1.00 มาก
หลกั สูตรฉบับปรับปรงุ 92 144 106 15 3 3.85 0.88 มาก

4 ความพงึ พอใจทม่ี ีตอ่ การจดั กจิ กรรมนกั เรียนและกจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร เช่น กจิ กรรม
ทัศนศึกษา กิจกรรมคา่ ยภาษาองั กฤษ กิจกรรมบูรณาการการศกึ ษาเชงิ สรา้ งสรรค์
และกิจกรรมค่ายสง่ เสรมิ ศักยภาพดา้ นตา่ งๆ ในหลกั สูตรสถานศกึ ษา

ด้านกิจกรรมการเรียนร้/ู กิจกรรมอื่นๆ 97 139 107 17 0 3.88 0.86 มาก
5 ความพงึ พอใจทม่ี ตี อ่ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของกลุ่มสาระฯ ภาษาต่างประเทศ

6 ความพึงพอใจที่มีต่อการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ของกล่มุ สาระฯ คณติ ศาสตร์ 84 123 126 27 0 3.73 0.90 มาก

7 ความพงึ พอใจท่ีมตี ่อการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ของกลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตร์ 60 131 109 24 0 3.70 0.85 มาก

8 ความพงึ พอใจท่ีมตี อ่ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้อื่นๆนอกเหนอื จากภาษาต่างประเทศ 91 121 123 25 0 3.77 0.91 มาก
วทิ ยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ 88 144 115 13 0 3.85 0.83 มาก

9 ความสามารถของครผู ู้สอนของโรงเรียน ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

10 นักเรียนได้รับการสง่ เสรมิ ศักยภาพการเรยี นรดู้ ้านตา่ งๆ อย่างตอ่ เนื่อง ได้รบั การสนับสนุน 85 123 130 22 0 3.75 0.883 มาก
ใหแ้ สดงผลงานจากความคดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรค์ เช่น การทาโครงงาน การเรียนร้จู ากหลกั สูตร 117 118 108 17 0 3.93 0.899 มาก
มาตรฐานสากล 92 133 119 16 0 3.84 0.859 มาก
107 119 108 26 0 3.85 0.930 มาก
11 ความเหมาะสมของการจดั กิจกรรมแนะแนวใหน้ กั เรยี นไดว้ างแผนการเรียนและ
การศกึ ษาตอ่

12 นกั เรยี นมีโอกาสเรยี นรู้สาระความรู้ตา่ งๆ ดว้ ยวธิ กี ารสืบเสาะหาความรดู้ ว้ ยตนเอง
จากสือ่ การเรียนรทู้ ี่โรงเรยี นจดั ไวใ้ ห้

13 นักเรียนไดเ้ รียนรู้ดว้ ยการปฏบิ ัติจรงิ จากหอ้ งปฏบิ ตั ิการและจากแหล่งเรยี นรตู้ า่ งๆ

ดา้ นการสนบั สนุนงบประมาณส่งเสริมบรรยากาศและสอ่ื การเรียน 85 140 106 29 0 3.78 0.897 มาก
76 152 112 20 0 3.79 0.837 มาก
14 ความพึงพอใจที่มีต่อการจดั สภาพห้องเรยี นเพื่อส่งเสริมบรรยากาศการเรยี นรขู้ องนกั เรยี นระดับชนั้
มธั ยมศึกษาตอนปลาย

15 สื่อการเรียนร้มู เี พยี งพอต่อการพฒั นานกั เรียนระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

16 การจดั ห้องสบื คน้ เพ่อื การเรียนรู้เพิ่มเติมเสริมความรู้ เชน่ ห้องคอมพิวเตอร์ ที่มีระบบอินเตอรเ์ น็ต 117 121 99 23 0 3.92 0.922 มาก
ความเร็วสูง หอ้ งสมุดเพื่อการค้นควา้ 96 131 113 18 2 3.84 0.896 มาก

17 ความเหมาะสมของการขอรับสนบั สนนุ งบประมาณเพ่ิมเตมิ ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรใู้ ห้มคี วาม 85 146 108 20 1 3.82 0.866 มาก
สมบูรณ์ยิ่งขน้ึ ในการดาเนินการระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย

ด้านคุณภาพผเู้ รยี นเมือ่ จบหลกั สตู ร

18 นกั เรียนไดร้ ับการพัฒนาทางดา้ นการเรียนเต็มตามศกั ยภาพ

19 นกั เรียนไดร้ บั การพฒั นาพฤติกรรมอนั พงึ ประสงคอ์ ยา่ งต่อเน่ือง 96 122 124 18 0 3.82 0.883 มาก

20 ความเหมาะสมของกระบวนการคดั เลือกนักเรียนเพื่อจัดห้องเรียนระดับช้นั มธั ยมศกึ ตอนปลาย 88 147 102 21 2 3.83 0.884 มาก

ดา้ นอ่ืนๆ

21 การสร้างความเข้าใจอนั ดีระหวา่ งบ้านกบั โรงเรยี นในเรอ่ื งผลการเรยี นและ 100 135 101 22 2 3.86 0.913 มาก
ความประพฤติของนกั เรยี นระดับชนั้ มัธยมศึกษาตอนปลาย มาก
มาก
22 ความพงึ พอใจต่อการบรหิ ารจัดการการจดั การศกึ ษาระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ของโรงเรยี น 107 128 91 31 3 3.85 0.973
จอมสุรางคอ์ ุปถัมภ์ ในภาพรวม

เฉลีย่ รวม 3.80 0.90

31

4. สรปุ ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ปกครอง นกั เรียนระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ปีการศึกษา 2561
ต่อการจดั การศึกษาของโรงเรียนจอมสุรางค์อปุ ถัมภ์
ระดับความคดิ เห็น : 5 = มากท่สี ุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = น้อย 1 = น้อยทส่ี ดุ

ระดับความคิดเห็น

ข้อที่ รายการประเมิน 54321 X S.D. แปลผล

1 กระบวนการคัดเลอื กนักเรยี นเพือ่ จดั หอ้ งเรยี นของโรงเรยี นจอมสรุ างคอ์ ปุ ถัมภ์ 143 203 67 8 0 4.14 0.74 มาก
3.74 0.91 มาก
2 การจดั สภาพหอ้ งเรียนเพ่ือสง่ เสรมิ บรรยากาศการเรยี นรขู้ องนกั เรียน 90 175 112 41 2 4.07 0.81 มาก
4.09 0.82 มาก
3 โครงสร้างหลักสูตรและรายวชิ าท่เี ปดิ สอนตามหลกั สูตรสถานศึกษา 144 173 92 11 0 4.20 0.77 มาก

4 กระบวนการจัดกิจกรรมการเรยี นรใู้ หก้ ับนกั เรยี น 152 164 94 10 0 4.03 0.78 มาก

5 การจัดหอ้ งสืบคน้ เพื่อเพิ่มเติมเสรมิ ความรู้ เชน่ ห้องคอมพิวเตอร์ ท่ีมีระบบ 169 172 72 7 0 4.10 0.78 มาก
อนิ เตอรเ์ นต็ ความเรว็ สงู หอ้ งสมดุ เพือ่ การคน้ ควา้
4.12 0.84 มาก
6 การสนับสนนุ ใหน้ กั เรียนสร้างสรรคผ์ ลงานและแสดงผลงาน 127 187 98 8 0
จากความคิดริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ เชน่ การทาโครงงาน 4.06 0.82 มาก
3.88 0.92 มาก
7 นกั เรยี นมีโอกาสเรียนรดู้ ว้ ยวธิ ีการสืบเสาะหาความร้ดู ้วยตนเอง 147 172 98 2 1
(ผู้ปกครองสอบถามนักเรยี น) 4.12 0.84 มาก

8 ความพึงพอใจที่มตี อ่ การจัดกิจกรรมเสริมหลกั สูตร เช่น การจัดกิจกรรมคา่ ย 4.12 0.76 มาก
4.12 0.74 มาก
อจั ฉริยภาพทางวทิ ยาศาสตร์ – คณติ ศาสตร์ กจิ กรรมค่ายวิทยาศาสตรเ์ พือ่ การ 162 159 88 9 2 3.90 0.82 มาก
อนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม คา่ ยส่งเสรมิ ศักยภาพการเรยี นรู้ การทศั นศกึ ษาแหล่งเรียนรู้ 4.17 0.80 มาก
4.06 0.76 มาก
นอกโรงเรียน

9 การจดั กิจกรรมแนะแนวใหน้ ักเรียนไดว้ างแผนการเรียนและการศึกษาตอ่ 146 166 96 12 0

10 การจัดตารางเรียนของนักเรียนตามรายวชิ าทเี่ ปดิ สอนและการใช้เวลาในการเรียนรู้ใน 113 180 103 13 11
แต่ละวันของนักเรยี น

11 ระบบแอพพเิ คชั่นที่โรงเรยี นดาเนนิ การสามารถตอบสนองข้อมลู พ้นื ฐานของโรงเรยี น

ท้งั ด้านการเรียนการสอน ขอ้ มูลขา่ วสาร ขอ้ มูลเกยี่ วกบั นกั เรียน แกน่ กั เรยี นและ 162 162 85 8 3

ผปู้ กครองได้

12 ผู้ปกครองไดร้ บั ขอ้ มลู ในการสรา้ งความเข้าใจอนั ดรี ะหว่างบ้านกบั โรงเรยี นในเรือ่ ง 145 184 87 3 1
ผลการเรียนและความประพฤติของนักเรียน

13 นักเรียนในปกครองของทา่ นมผี ลการเรียนทนี่ า่ พงึ พอใจแลมพี ฤติกรรมอนั พึงประสงค์ 147 178 45 0 0

14 การขอรับสนบั สนุนงบประมาณดาเนนิ การเพมิ่ เตมิ จากผปู้ กครองเพ่ือเพม่ิ 105 187 115 9 4
ประสทิ ธิภาพในการจดั การศึกษา

15 การบริหารจัดการของโรงเรยี นจอมสุรางค์อปุ ถมั ภใ์ นภาพรวม 163 176 70 10 1

เฉล่ยี รวม

32

5 . สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผูป้ กครอง นกั เรียนระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ปีการศกึ ษา 2561
ตอ่ การจดั การศึกษาของโรงเรียนจอมสรุ างคอ์ ปุ ถัมภ์
ระดบั ความคดิ เห็น : 5 = มากทสี่ ุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = น้อย 1 = น้อยทีส่ ุด

ระดับความคิดเห็น

ขอ้ ที่ รายการประเมนิ 54321 X S.D. แปลผล

1 กระบวนการคัดเลอื กนกั เรียนเพอื่ จัดห้องเรียนของโรงเรียนจอมสุรางค์อปุ ถมั ภ์ 77 155 95 22 11 3.74 0.96 มาก
3.80 0.89 มาก
2 การจดั สภาพหอ้ งเรยี นเพ่ือส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้ของนักเรียน 88 137 112 21 2 3.85 0.87 มาก
3.90 0.92 มาก
3 โครงสร้างหลักสตู รและรายวชิ าทเ่ี ปดิ สอนตามหลกั สตู รสถานศึกษา 91 148 96 25 0 3.81 0.96 มาก

4 กระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนรูใ้ หก้ บั นักเรียน 110 132 89 29 0 385 0.94 มาก

5 การจัดหอ้ งสืบคน้ เพอ่ื เพ่มิ เติมเสริมความรู้ เชน่ ห้องคอมพวิ เตอร์ ทมี่ ีระบบ 94 140 96 23 7 3.78 0.91 มาก
อินเตอรเ์ นต็ ความเรว็ สงู ห้องสมดุ เพ่ือการค้นคว้า
3.74 0.96 มาก
6 การสนับสนุนใหน้ ักเรียนสรา้ งสรรคผ์ ลงานและแสดงผลงาน 96 147 90 20 7
จากความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ เชน่ การทาโครงงาน 3.88 0.94 มาก
3.65 1.01 มาก
7 นักเรยี นมโี อกาสเรยี นรู้ดว้ ยวธิ ีการสืบเสาะหาความรู้ด้วยตนเอง 82 148 103 22 5
(ผปู้ กครองสอบถามนกั เรียน) 3.77 0.97 มาก

8 ความพงึ พอใจทม่ี ีต่อการจดั กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตร เชน่ การจัดกจิ กรรมค่าย 3.84 0.93 มาก

อัจฉรยิ ภาพทางวทิ ยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ กจิ กรรมค่ายวิทยาศาสตรเ์ พ่อื การ 89 129 107 31 4 3.90 0.94 มาก
อนรุ กั ษส์ ่งิ แวดล้อม ค่ายสง่ เสรมิ ศกั ยภาพการเรยี นรู้ การทัศนศกึ ษาแหลง่ เรียนรู้
3.76 0.91 มาก
นอกโรงเรียน 3.87 0.94 มาก
3.80 0.93 มาก
9 การจดั กจิ กรรมแนะแนวให้นักเรียนได้วางแผนการเรยี นและการศึกษาตอ่ 108 132 90 28 2

10 การจดั ตารางเรียนของนกั เรียนตามรายวชิ าทเี่ ปดิ สอนและการใช้เวลาในการเรยี นร้ใู น 79 122 120 36 5
แตล่ ะวันของนกั เรียน

11 ระบบแอพพเิ คชน่ั ทีโ่ รงเรยี นดาเนินการสามารถตอบสนองขอ้ มลู พืน้ ฐานของโรงเรยี น

ทง้ั ด้านการเรียนการสอน ขอ้ มลู ขา่ วสาร ข้อมูลเกี่ยวกับนกั เรยี น แกน่ ักเรียนและ 93 129 106 25 7

ผู้ปกครองได้

12 ผูป้ กครองไดร้ บั ขอ้ มูลในการสร้างความเขา้ ใจอนั ดรี ะหว่างบ้านกับโรงเรยี นในเรื่องผล 101 129 104 23 3
การเรียนและความประพฤติของนกั เรียน

13 นกั เรียนในปกครองของทา่ นมผี ลการเรยี นที่นา่ พงึ พอใจและมีพฤติกรรม 103 153 77 20 7
อันพงึ ประสงค์

14 การขอรับสนับสนุนงบประมาณดาเนนิ การเพมิ่ เตมิ จากผู้ปกครองเพ่ือเพมิ่ 86 130 119 22 3
ประสทิ ธภิ าพในการจัดการศกึ ษา

15 การบรหิ ารจัดการของโรงเรียนจอมสุรางคอ์ ุปถมั ภใ์ นภาพรวม 104 137 89 27 3

เฉลย่ี รวม

33

บทท่ี 5
สรปุ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

การศึกษาครงั้ นผี้ ศู้ ึกษามุ่งท่จี ะประเมนิ หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนจอมสรุ างคอ์ ุปถัมภ์ โดยมี
วตั ถุประสงค์

1.1 ประเมนิ ด้านการจดั โครงสร้างรายวชิ าและเวลาเรียนของหลักสูตรโรงเรยี นจอมสรุ างค์อุปถัมภ์
1.2 ประเมินด้านกจิ กรรมการเรียนรู้ / กิจกรรมอนื่ ๆ ในการใชห้ ลกั สูตรโรงเรียนจอมสุรางคอ์ ปุ ถัมภ์
1.3 ประเมินการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สูตรจากผ้บู รหิ ารและครผู ูส้ อน
1.4 ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจดั หลกั สตู รโรงเรียนจอมสรุ างค์อปุ ถมั ภ์
1.5 ประเมินความพึงพอใจของผปู้ กครองตอ่ การจัดการศกึ ษาของโรงเรียนจอมสรุ างคอ์ ปุ ถัมภ์
1.6 จัดทารายงานการใช้และพัฒนาหลักสตู รโรงเรียนจอมสรุ างคอ์ ปุ ถัมภ์เพอ่ื สนองระบบประกนั

คณุ ภาพการศกึ ษา

สรปุ ผลการประเมนิ
ผลการประเมนิ บริบทของหลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนโรงเรียนจอมสุรางค์อปุ ถัมภ์ พบวา่ ภาพรวม
อยใู่ นระดับ “มาก” โดยสรุปผลการประเมิน ดังน้ี

1. สรปุ ผลการประเมินการบรหิ ารและการจดั การหลักสตู รสถานศึกษาตามเครอ่ื งมือของกลุ่มนิเทศ
ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา สพม.3 (ภาคผนวก) สอบถามจากผู้บรหิ ารโรงเรยี น

คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รและวิชาการและครูผู้สอน ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 และช้นั มัธยมศกึ ษาปี
ที่ 4 จานวน 104 คน นามาวเิ คราะห์ ประมวลผล ในการจดั ทารายงานผลการใชแ้ ละพัฒนา
หลกั สูตรสถานศกึ ษา ประจาปกี ารศกึ ษา 2561

ระดบั การปฏบิ ตั ิ 1 มกี ารปฏิบตั ิไมค่ รบ และไม่ชัดเจน
ระดบั การปฏบิ ตั ิ 2 มีการปฏิบตั ิครบถว้ น แต่ไมช่ ัดเจน
ระดบั การปฏิบตั ิ 3 มีการปฏิบตั คิ รบถ้วน และชัดเจน

ประเดน็ การตดิ ตาม ตรวจสอบ ระดบั การปฏบิ ตั ิ สรปุ ระดบั ความคดิ เหน็
123 ของระดบั การปฏบิ ัติ
1 หลักสตู รสถานศึกษา
1.1 ดาเนินการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษาในรูปของ X = 3.00
คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รและวิชาการ มกี ารปฏิบตั ิครบถ้วน และชัดเจน
1.2 องค์ประกอบของหลักสูตรสถานศกึ ษา
มคี รบถว้ น X = 3.00
1.3 มกี ารพฒั นาและปรบั ปรุงหลกั สูตรสถานศึกษา มกี ารปฏบิ ตั ิครบถว้ น และชัดเจน
โดย
1) 1.) กาหนดรายวิชาพ้ืนฐาน โดยเพมิ่ รายวชิ า X = 2.86
วิทยาการคานวณ มีการปฏบิ ัตคิ รบถ้วน และชัดเจน
2) กาหนดรายวชิ าพื้นฐาน โดยเพิม่ รายวิชา
ประวตั ิศาสตร์ X = 2.90
มกี ารปฏบิ ัติครบถ้วน และชดั เจน

34

ประเดน็ การตดิ ตาม ตรวจสอบ ระดบั การปฏบิ ัติ สรุประดบั ความคิดเหน็
ของระดับการปฏบิ ตั ิ
123
X = 2.00
3) กาหนดสาระท้องถ่ินทสี่ อดคลอ้ ง มีการปฏิบตั คิ รบถว้ นแตไ่ ม่ชัดเจน

เอกลกั ษณ์และอัตลักษณ์ของโรงเรียน โดย X = 2.85
มีการปฏิบัตคิ รบถ้วน และชดั เจน
( ) กาหนดเป็นรายวิชาเพิ่มเตมิ
X = 2.86
( ) สอดแทรกในสาระการเรยี นรอู้ ื่นๆ มกี ารปฏบิ ตั ิครบถ้วน และชัดเจน

(บรู ณาการ) X = 2.87
มกี ารปฏิบตั ิครบถว้ น และชัดเจน
( ) กาหนดเป็นรายวิชาสง่ เสรมิ อาชพี
X = 2.79
4) ปรับหลักสูตรให้สอดคล้องกบั ทกั ษะการ มกี ารปฏิบตั ิครบถว้ น และชดั เจน

เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 X = 2.79
มีการปฏบิ ตั คิ รบถ้วน และชดั เจน
2 ดา้ นกระบวนการเรียนรู้
X = 2.80
2.1 ครนู าหลกั สูตรฯ ไปใช้ในการจัดกระบวนการ มีการปฏบิ ัติครบถ้วน และชดั เจน

เรยี นรู้ X = 2.61
มกี ารปฏบิ ตั คิ รบถว้ น และชดั เจน
2.2 ครูจัดกจิ กรรมการเรยี นร้คู รอบคลมุ มาตรฐาน
X = 2.98
การเรยี นรู้ ตัวชว้ี ดั และผลการเรยี นรู้ มกี ารปฏิบตั คิ รบถ้วน และชัดเจน

2.3 ครจู ัดกระบวนการเรียนร้ใู หเ้ หมาะสมและ X = 2.76
มกี ารปฏิบตั คิ รบถว้ น และชัดเจน
สอดคลอ้ งกบั ศักยภาพของผูเ้ รียน
X = 287
2.4 โรงเรียนจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ ทักษะการเรยี นรใู้ น มีการปฏบิ ตั คิ รบถว้ น และชดั เจน

ศตวรรษที่ 21 อย่างตอ่ เน่อื ง X = 2.82
มกี ารปฏิบัตคิ รบถว้ น และชดั เจน
2.5 โรงเรยี นจัดกิจกรรมส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม
X = 2.82
และค่านิยม 12 ประการ ทัง้ ในระดบั ห้องเรียน มกี ารปฏบิ ัติครบถ้วน และชดั เจน

และระดับโรงเรยี น

2.6 นาภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ และประสานความรว่ มมอื

เครอื ข่ายผู้ปกครอง ชมุ ชนทอ้ งถนิ่ เขา้ มามสี ่วน

ร่วมในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

3 การวดั และประเมินผล

3.1 การกาหนดระเบยี บวดั และประเมนิ ผล

สถานศกึ ษาเปน็ ไปตามหลกั สตู รฯ

3.2 มกี ารสรา้ ง/พัฒนาเครอ่ื งมอื การวัดและ

ประเมินผลทีห่ ลากหลายตามมาตรฐาน ตัวช้วี ัด

ตามธรรมชาติของวชิ า

3.3 มีการวัดและประเมินผลได้ครบถว้ นตามตวั ชว้ี ัด

หรือผลการเรยี นรูใ้ นแตล่ ะกลมุ่ สาระ

3.4 มีการวัดและประเมินผลผ้เู รยี นโดยใช้

แบบทดสอบแบบอตั นัยในแต่ละกล่มุ สาระอย่าง

นอ้ ย 30%

3.5 มีการนาผลการประเมนิ ไปใชว้ างแผนเพื่อ

พัฒนาผเู้ รียน

35

ประเดน็ การตดิ ตาม ตรวจสอบ ระดับการปฏบิ ตั ิ สรุประดบั ความคิดเหน็
123 ของระดบั การปฏบิ ัติ
4 สอื่ และแหล่งเรียนรู้
4.1 ศกึ ษา สารวจ วเิ คราะห์สภาพปัญหา การจัด X = 2.81
การเลือก การใช้และการประเมนิ คณุ ภาพสอื่ มีการปฏิบัตคิ รบถ้วน และชดั เจน
นวัตกรรมและเทคโนโลยที างการศกึ ษา
4.2 จดั หา และพฒั นาส่อื นวตั กรรม เทคโนโลยี X = 2.86
การศึกษาท่ีมีคุณภาพ ทนั สมยั มีการปฏบิ ตั ิครบถ้วน และชัดเจน
4.3 มีการใช้สอื่ และแหล่งเรยี นรภู้ ายในและ
ภายนอกในการจดั การเรยี นรู้ X = 2.85
ค่าเฉลย่ี ในภาพรวม มีการปฏบิ ัติครบถ้วน และชัดเจน

X = 2.80
มกี ารปฏบิ ัติครบถว้ น และชัดเจน

สรปุ ผลการประเมินจากการสารวจขอ้ มลู ของผใู้ หข้ ้อมูลหลัก

กลมุ่ ผ้ใู หข้ ้อมลู หลัก สรุประดับความคิดเหน็ โดยภาพรวม
X = 2.80
สรปุ ผลการประเมินการบริหารและการจดั การหลักสตู รสถานศกึ ษา
ตามเครื่องมือของกล่มุ นิเทศติดตามและประเมินผลการจดั มกี ารปฏิบตั ิครบถว้ นและชัดเจน
การศกึ ษา สพม.3 (ภาคผนวก) สอบถามจากผบู้ ริหารโรงเรยี น
คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รและวิชาการและครผู ู้สอนช้นั X = 4.05
มัธยมศึกษาปที ่ี 1 และชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 จานวน 104 คน พึงพอใจมาก
นามาวิเคราะห์ ประมวลผล ในการจัดทารายงานผลการใชแ้ ละ
พัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษา ประจาปีการศกึ ษา 2561

สรุปผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของนักเรยี นระดับช้ันมัธยมศึกษา
ปีที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ต่อการจัดหลักสูตรและการจัดกิจกรรม
การเรียนรรู้ ะดับชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน้

สรปุ ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของนักเรยี นระดับชั้นมัธยมศึกษา X = 3.80
ปีที่ 4 ปีการศึกษา 2561 ต่อการจัดหลักสูตรและการจัดกิจกรรม พงึ พอใจมาก
การเรียนรรู้ ะดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
X = 4.06
สรปุ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผู้ปกครอง นักเรียนระดับชั้น พึงพอใจมาก
มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศกึ ษา
X = 3.80
2561 ตอ่ การจัดการศกึ ษาของ พึงพอใจมาก

โรงเรียนจอมสรุ างคอ์ ุปถัมภ์

สรปุ ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ปกครอง นักเรียนระดับช้ัน
มัธยมศึกษาปที ี่ 4 ปกี ารศึกษา

2561 ตอ่ การจัดการศึกษาของ

โรงเรียนจอมสุรางคอ์ ปุ ถมั ภ์

36

ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติมอืน่ ๆ
1. ขณะนีบ้ ุคลากรของโรงเรียนมีการเปล่ยี นแปลงคอ่ นขา้ งมาก มีครยู ้ายมา ครูบรรจใุ หม่จานวนมาก

ดงั นนั้ การบริหาญจัดการหลักสตู ร ควรจัดการประชุมเพอ่ื สรา้ งความเข้าใจเก่ยี วกับหลักสูตรสถานศึกษาอยา่ ง
ตอ่ เนื่อง

2. การบรหิ าญจดั การหลกั สูตร ควรมกี ารนิเทศเพ่อื กากับติดตามการนาหลกั สูตรไปใช้อยา่ งตอ่ เน่อื งเพ่ือให้
การจัดการบริหารหลกั สูตรสถานศึกษาดาเนนิ ไปอย่างถูกทิศถกู ทางและถูกต้อง ส่งผลใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพและ
เกิดประสทิ ธผิ ลในการใช้หลักสูตรทด่ี ยี ิง่ ๆ ขึน้ ไป

37

อภิปรายผลการประเมนิ หลกั สตู ร
จากผลการประเมินการใช้หลักสูตรโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ พุทธศักราช 2552 (ฉบับปรับปรุง

พ.ศ. 2561) ด้วยการประเมินการบริหารและการจัดการหลักสูตรสถานศึกษาตามเครื่องมือของกลุ่มนิเทศ
ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สพม.3 (ภาคผนวก) สอบถามจากผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการ
บริหารหลักสตู รและวชิ าการและครูผู้สอนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 จานวน 104 คน
นามาวเิ คราะห์ ประมวลผล ในการจดั ทารายงานผลการใชแ้ ละพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา
2561 ปรากฏผลของการนิเทศ ติดตามตรวจสอบคณุ ภาพการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาในภาพรวมมี
การปฏิบัติและมีความชัดเจน ทั้งนี้เกิดจากการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนมีการร่วมคิดร่วมทา
มีการจัดทาหลักสูตรท่ีสนองเจตนารมณ์และนโยบายต่างๆ อย่างรอบด้าน สนองตอบความต้องการของ
นักเรยี น ผูป้ กครอง สอดคล้องกบั บริบทของสงั คม และจากการประเมินความพงึ พอใจของนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ปีการศึกษา 2561 ต่อการจัดหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการ
เรยี นรู้ ปรากฏวา่ นกั เรยี นพงึ พอใจในระดับมาก ทั้งน้ีเน่อื งจากการบริหารจัดการหลกั สตู รและการจัดกิจกรรม
การเรยี นรู้ของโรงเรยี นผ่านกระบวนการรว่ มคิดร่วมทา และมีการประชุมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ครูผู้สอน
รวมทั้งมกี ารนิเทศติดตามของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการพัฒนา
ห้องเรียนคุณภาพอย่างต่อเน่ือง ในส่วนของการประเมินความพึงพอใจของผู้ปกครอง นักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี 1 และระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ปีการศึกษา 2561 ต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียน
จอมสุรางค์อปุ ถัมภ์ ปรากฏวา่ ผปู้ กครองพงึ พอใจต่อการจัดศึกษาของโรงเรียนในภาพรวมในระดับมาก ท้ังน้ี
เพราะการบริหารจดั การในการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี น บริหารงานแบบมีส่วนร่วมบนพื้นฐานการตอบสนอง
ความตอ้ งการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย บคุ ลากรของโรงเรยี นจงึ ประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารเพ่ือการจัดทาหลักสูตรและ
การออกแบบจดั กจิ กรรมการเรยี นรรู้ ว่ มกัน มกี ารทบทวนตรวจสอบ เจาะปัญหาเพ่ือการพัฒนาให้ดีย่ิงข้ึน
และจดั การประชมุ ผปู้ กครองเพอื่ สร้างความเขา้ ใจอนั ดอี ย่างต่อเน่อื ง

ดังนัน้ การดาเนนิ การประเมินการใชห้ ลกั สตู รสถานศกึ ษา เพอ่ื นาผลการประเมินไปจัดทารายงาน

การใช้และการพฒั นาหลกั สูตรนัน้ นอกจากจะดาเนนิ การทุกปกี ารศกึ ษาอย่างตอ่ เน่อื ง โดยเฉพาะ ผลการ

ประเมินในรอบ 3 ปกี ารศึกษาของระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนต้นและชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จะสะทอ้ นให้

เหน็ ภาพของความสาเรจ็ ของการจัดหลักสูตรและการจดั กจิ กรรมการเรียนรูไ้ ด้เปน็ อย่างดี รวมทัง้ นาผลการ

ประเมินไปใช้ในการพฒั นาหลกั สตู รและการจัดกิจกรรมการเรียนร้ใู หด้ ียิ่งๆ ขนึ้ ไป

ขอ้ เสนอแนะ
1. การประเมินการใชห้ ลกั สูตรครง้ั ต่อไป ควรพฒั นาเครื่องมือใหส้ ามารถเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ได้
ครอบคลมุ ประเด็นมากยิง่ ขนึ้
2. ควรประเมินหลักสูตรสถานศกึ ษา ด้วยรูปแบบของการวิจยั เตม็ รูปแบบ ทุกๆ 3 ปี (แต่ท่ผี ่านมา
เน่ืองจากมนี โยบายใหมๆ่ จากสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานและจากรฐั บาล สัง่ การให้
โรงเรยี นปรับปรงุ หลักสูตรอย่างตอ่ เน่อื ง จึงสง่ ผลตอ่ การดาเนนิ การด้านหลกั สูตรของโรงเรยี นโดย
ภาพรวม จากนโยบายทีไ่ มน่ งิ่ ดังกลา่ ว
3. ควรจัดการประเมนิ เมินหลกั สูตรแยกตามโครงการหอ้ งเรียนพเิ ศษตา่ งๆ และตามแผนการเรยี นของ
นักเรยี นของนกั เรยี นจะทาให้ไดข้ ้อมลู เพือ่ การพัฒนาให้ดยี ง่ิ ๆ ขึน้ ไป สนองตอ่ การเปน็ โรงเรยี นทมี่ ี
อตั ราการแข่งขนั สงู โรงเรียนยอดนยิ ม

38

4. โรงเรียนต้องนาข้อเสนอแนะจากทกุ ขั้นตอน มาดาเนินการแกไ้ ขปัญหา เชน่ ปญั หาด้านการจัด
กจิ กรรมการเรยี นรู้ เพื่อให้สามารถพฒั นางานการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้อยา่ งมีประสิทธิภาพและเกดิ
ประสทิ ธิผลเพอ่ื ความเป็นเลิศทางวิชาการ

39

บรรณานกุ รม

กรมวชิ าการ. (2545). หลกั สูตรการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2544. พิมพ์คร้งั ที่ 2. กรงุ เทพฯ:
องค์กรรบั สง่ สินคา้ และพัสดภุ ัณฑ์ (ร.ส.พ.).

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551.
กรงุ เทพฯ: ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย.

จงฤดี ไสยสัตย์. (2549). การประเมินหลักสตู รสถานศกึ ษาของโรงเรยี น ในสงั กดั สานักงานเขต
ใจทิพย์ เชอ้ื รัตนพงษ์. (2539). การพัฒนาหลกั สูตร : หลกั การและแนวปฏบิ ตั ิ. พมิ พ์ครั้งที่ 3.

กรุงเทพฯ: อลนี เปรส.
ชวลติ ชูกาแพง. (2551). การพัฒนาหลกั สตู ร. พมิ พ์ครั้งท่ี 2. กรงุ เทพฯ: ควิ พี.

ทวศี กั ดิ์ จนิ ดานรุ ักษ์. (2549). “การพัฒนาหลกั สตู ร” ใน ประมวลสาระชุดวชิ าการประเมิน
หลกั สูตร และการเรียนการสอน หนว่ ยท่ี 2. นนทบุรี: มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช

สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์.
ธรี ชยั เนตรถนอมศักด์ิ. (2550). “การพัฒนาหลกั สูตร” ใน เอกสารประกอบการสอนวชิ า 230401.

ขอนแกน่ : คลังนานาวิทยา.
นภิ ารตั น์ ทิพโชติ. (2550). การประเมินหลกั สตู รสถานศกึ ษาช่วงชั้นท่ี 1 และ 2 : กรณศี กึ ษา

โรงเรยี นวัดบงึ ทองหลาง เขตบางกะปิ กรงุ เทพมหานคร. วิทยานิพนธ์การศกึ ษามหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการวิจัย
และสถติ ิทางการศึกษา บัณฑติ วิทยาลัยมหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ.

บุญชม ศรีสะอาด. (2547). วธิ ีการทาสถิติสาหรับการวจิ ยั . พมิ พ์คร้ังที่ 4. กรุงเทพฯ:
สรุ ยิ าสาส์นการพมิ พ์.117

บญุ ศรี พรหมมาพันธ.ุ์ (2551). "สัมมนาการประเมินหลักสตู ร" ใน ประมวลสาระวิชาสมั มนาการ
ประเมินการศกึ ษา หนว่ ยท่ี 12. นนทบุร:ี มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราชสาขาวชิ าศึกษาศาสตร์.

ประชุม รอดประเสรฐิ . (2539). การบรหิ ารโครงการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรงุ เทพฯ: เนติกลุ การพิมพ์.
เปรือ่ ง จันดา. (2549). การบริหารจัดการหลักสตู รสถานศึกษาของสถานศกึ ษา สังกัดสานกั งาน
เขตพื้นทก่ี ารศึกษาในจังหวัดเพชรบูรณ์. วทิ ยานิพนธ์ปริญญาดษุ ฎบี ัณฑติ
สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยขอนแก่น.พยนต์ ง่วนทอง. (2553).
การประเมินหลกั สูตรสถานศกึ ษา พทุ ธศกั ราช 2553
ไพโรจน์ เตมิ เตชาติพงศ์. (2551). รปู แบบของหลักสูตร ในการพัฒนาหลกั สูตร หน่วยที่ 3.
ขอนแกน่ : คลงั นานาวิทยา.
เยาวดี รางชยั กลุ วิบลู ยศ์ รี. (2553). การประเมนิ โครงการ แนวคิดและแนวปฏบิ ตั ิ. พมิ พ์คร้ังท่ี 7.
กรงุ เทพฯ: สานักพิมพแ์ ห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. (24 สงิ หาคม 2550). ราชกจิ จานเุ บกษา
เลม่ 124 ตอนท่ี 74 ก.
ลดั ดาวัลย์ เพชรโรจน์. (2549). ความรูพ้ ืน้ ฐานเกี่ยวกบั การประเมนิ หลกั สตู รและการเรียนการสอนใน
ประมวลสาระชดุ วชิ าการประเมนิ หลักสูตรและการเรยี นการสอน หนว่ ยที่ 3. นนทบุรี:
มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช.
วฒั นาพร ระงับทุกข์. (2544). การจดั ทาหลักสูตรสถานศึกษาตามหลกั สูตรการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
พุทธศกั ราช 2544. กรงุ เทพฯ: พริกหวานกราฟฟคิ .
วชิ ัย วงษ์ใหญ.่ (2535). การประเมนิ หลักสตู ร ใน ประมวลสาระชดุ วิชาการพฒั นาหลกั สูตรและ
วธิ ที างการสอน หนว่ ยที่ 13. นนทบรุ ี: มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช.118

40

ศรีสมร พ่มุ สะอาด. (2549). “การประเมินหลกั สตู รและการเรียนการสอน” ใน ประมวลสาระ

ชุดวิชาการประเมนิ หลกั สูตรและการเรยี นการสอน หน่วยที่ 13. นนทบุรี:มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช.
ศิริชยั กาญจนวาสี. (2545). "ทฤษฎีการประเมินและการตดั สนิ ใจ" ใน ประมวลสาระชดุ วชิ า

การประเมนิ และการจัดการโครงการประเมิน หน่วยท่ี 2. นนทบุร:ี มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช.

ศนั สนยี ์ ฉตั รคปุ ต์. (2548). การพัฒนาการคดิ (ออนไลน)์ . ค้นเมอื่ 20 กรกฎาคม 2554,
จาก http://www.teacher.obec.go.th/web/download_media/thinkdocter.doc.

สงัด อทุ รานันท์. (2532). เทคนิคการจัดการเรยี นการสอนอย่างเป็นระบบ. พมิ พค์ รง้ั ท่ี 6.
กรุงเทพฯ: มิตรสยาม.

สมคิด พรมจยุ้ . (2549). “แนวคดิ เกย่ี วกับการประเมนิ นโยบาย แผนงาน และโครงการ” ใน

ประมวลสาระวชิ าการประเมินนโยบาย แผนงาน และโครงการ หนว่ ยท่ี 3 : มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช.
_______. (2551). หลกั การและแนวปฏบิ ตั ใิ นการประเมนิ นโยบาย แผนงาน โครงการและหลกั สูตร

ในประมวลสาระชดุ วชิ าการประเมนิ และการจัดการโครงการประเมิน หน่วยท่ี 12. นนทบุรี :
มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช.
______. (2552). เทคนิคการประเมินโครงการ. พมิ พ์ครัง้ ที่ 6. นนทบุรี: จตุพร ดไี ซน.์

______. (2553). หลกั สตู รโรงเรยี นจอมสุรางค์อุปถัมภ์ พทุ ธศักราช 2552 (ฉบบั ปรบั ปรุง 25 ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551. พระนครศรีอยุธยา : โรงเรียนจอมสรุ างค์อปุ ถัมภ์.

สมชาย วางหา. (2550). การประเมนิ หลกั สตู รสถานศึกษาขัน้ พนื้ ฐานโรงเรียนบ้านใหม่ อาเภอวังช้นิ
จังหวดั แพร่. วทิ ยานิพนธ์ครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัย
ราชภัฏอุตรดติ ถ์.

เสาวนี ตรีพุทธรตั น์. (2551). ความรนื้ ฐานเก่ียวกับการพฒั นาหลักสตู ร ใน การพฒั นาหลักสตู ร
หน่วยท่ี 1. ขอนแกน่ : คลังนานาวิทยา.

เสาวนี ตรีพทุ ธรัตน์. (2547). ปัจจยั องคก์ รที่สง่ ผลตอ่ ความมปี ระสิทธิภาพในการนาหลกั สูตร
การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานพทุ ธศักราช 2544 ไปใชใ้ นโรงเรยี นสังกัดสานกั งานการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานภาค
ตะวันออกเฉยี งเหนอื . วิทยานิพนธป์ รญิ ญาดุษฎบี ัณฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา บัณฑติ วิทยาลยั

มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ .
เสาวนี ตรพี ทุ ธรตั น์ และคณะ. (2548). รายงานการประเมนิ ผล หลักสูตรประกาศนียบัตร แนวคิด

พนื้ ฐานเกย่ี วกบั การจัดการความขดั แย้งด้านนโยบายสาธารณะโดยสนั ตวิ ิธี รุ่นท่ี 3. มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ .
สนุ ีย์ ภ่พู ันธ.์ (2546). แนวคดิ พื้นฐานการสรา้ งและการพฒั นาหลกั สตู ร. กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลยั .

Eisner, E. (1985). The educational imagination. New York : Teacher College Press.
Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw – Hill Book.

Reinmannand, P. & Mandl (1999). Implementation. Konstruktivistischer
LernumgebungenIn Johannes - Kepler University, Australia. Curriculum Implemention -
Limiting andfacilitating factors.

Stufflebeam, Daniel L. (1973). “Education Evaluation and Decision – Making,” in
Education Evaluation : Theory and Practice. Belmont California : Wadssorth

Company.

41

ภาคผนวก

42

แบบนเิ ทศ ติดตามตรวจสอบคุณภาพการบรหิ ารจดั การหลักสุตรสถานศึกษา
สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 3

โรงเรยี น....................................................................กล่มุ โรงเรียน...............................................................

คาช้ีแจง: ใหศ้ ึกษานิเทศกห์ รือผู้รับผดิ ชอบการนเิ ทศ ติดตามตรวจสอบคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การหลักสูตร
สถานศึกษา
โดยให้ทาเครอื่ งหมาย  ในชอ่ งระดบั การปฏิบตั ิโดยมเี กณฑ์ดังนี้
ระดบั การปฏิบัติ 1 มีการปฏิบตั ิไมค่ รบ และไมช่ ัดเจน
ระดบั การปฏิบัติ 2 มกี ารปฏิบัติครบถ้วน แตไ่ ม่ชัดเจน
ระดบั การปฏิบัติ 3 มีการปฏิบัติครบถว้ น และชัดเจน

(อาจมีการสอบถาม สัมภาษณ์ผรู้ บั ผิดชอบการดาเนินงาน ครผู สู้ อนและหรือผ้เู รียน/ผเู้ ก่ยี วขอ้ ง สังเกต
สภาพจรงิ สถานท่ี กระบวนการจัดการเรียนรู้ ตรวจทานเอกสาร โครงการ หลักสตู ร สอื่ ฯลฯ แล้วบนั ทกึ
สภาพท่พี บพร้อมทัง้ ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ ลงในแบบนเิ ทศ ตดิ ตามฯ)

ประเด็นการตดิ ตาม ตรวจสอบ ระดบั การ แหลง่ ขอ้ มลู การตดิ ตามตรวจสอบ
ปฏิบัติ
1 หลักสตู รสถานศกึ ษา
1.1 ดาเนนิ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาในรูปของคณะ 123
กรรมการบริหารหลักสตู รและวิชาการ
คาส่ังแตง่ ตัง้ คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรฯ
1.2 องคป์ ระกอบของหลักสูตรสถานศึกษา มคี รบถว้ น - หลักสูตรสถานศกึ ษา (ฉบับปรบั ปรงุ
ลา่ สุด)
1.3 มีการพัฒนาและปรับปรุงหลกั สตู รสถานศกึ ษา โดย
5) 1.) กาหนดรายวชิ าพืน้ ฐาน โดยเพมิ่ รายวชิ าวทิ ยาการ องคป์ ระกอบของหลักสตู รสถานศกึ ษา
คานวณ ประกอบด้วย ส่วนนา, โครงสร้าง หลักสตู ร,
6) กาหนดรายวชิ าพ้นื ฐาน โดยเพ่ิมรายวิชา คาอธิบายรายวิชา, กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น
ประวตั ิศาสตร์ และเกณฑ์การจบการศึกษา
7) กาหนดสาระท้องถ่ินท่สี อดคลอ้ ง เอกลกั ษณ์
และอัตลกั ษณ์ของโรงเรยี น โดย ตรวจสอบหลักสูตรสถานศึกษา โครงสรา้ ง
( ) กาหนดเปน็ รายวิชาเพมิ่ เติม หลกั สูตร เอกสารประกอบหลกั สตู ร รายวิชา
( ) สอดแทรกในสาระการเรียนรู้อน่ื ๆ พนื้ ฐานและเพิม่ เติม
(บูรณาการ)
( ) กาหนดเปน็ รายวชิ าสง่ เสริมอาชพี

43

ประเดน็ การติดตาม ตรวจสอบ ระดับการ แหล่งข้อมลู การตดิ ตามตรวจสอบ

ปฏิบัติ

123

8) ปรบั หลักสูตรใหส้ อดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ใน

ศตวรรษที่ 21

9) ปรับหลักสูตรให้สอดคลอ้ งกับทักษะการเรยี นรู้ใน

ศตวรรษที่ 21

2 ด้านกระบวนการเรยี นรู้

2.1 ครูนาหลักสตู รฯ ไปใช้ในการจดั กระบวนการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรแู้ ละแผนการจดั การเรยี นรู้

2.2 ครูจัดกจิ กรรมการเรียนรูค้ รอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้

ตัวชวี้ ัดและผลการเรียนรู้

2.3 ครจู ดั กระบวนการเรยี นร้ใู หเ้ หมาะสมและสอดคล้องกับ แผนการจดั การเรียนรู้, แผน IEP, IIP

ศกั ยภาพของผูเ้ รยี น

2.4 โรงเรยี นจดั กิจกรรมสง่ เสริมทักษะการเรยี นรใู้ น แผนการจดั การเรียนรู้, โครงการ/กจิ กรรม

ศตวรรษท่ี 21 อยา่ งตอ่ เนอื่ ง

2.5 โรงเรียนจดั กจิ กรรมส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมและ แผนการจดั การเรียนรู้, โครงการ/กจิ กรรม

ค่านิยม 12 ประการ ทัง้ ในระดับหอ้ งเรียนและระดบั

โรงเรียน

2.6 นาภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ และประสานความร่วมมือ แผนการจัดการเรียนรู้, โครงการ/กิจกรรม

เครือขา่ ยผู้ปกครอง ชมุ ชนท้องถ่ินเขา้ มามสี ว่ นรว่ มใน

การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

3 การวัดและประเมนิ ผล

3.1 การกาหนดระเบยี บวัดและประเมนิ ผลสถานศึกษา หลกั สูตรสถานศกึ ษา

เป็นไปตามหลกั สูตรฯ

3.2 มีการสรา้ ง/พัฒนาเคร่อื งมอื การวัดและประเมนิ ผลที่ เครอ่ื งมอื วดั ผล

หลากหลายตามมาตรฐาน ตวั ชีว้ ัด ตามธรรมชาติของ

วชิ า

3.3 มกี ารวดั และประเมนิ ผลได้ครบถว้ นตามตวั ชีว้ ัด หรอื ผล แผนการจัดการเรียนรู้

การเรียนรูใ้ นแตล่ ะกลุ่มสาระ

3.4 มกี ารวัดและประเมินผลผูเ้ รียนโดยใชแ้ บบทดสอบแบบ เคร่ืองมือวดั ผล, บนั ทึกหลังสอน

อัตนยั ในแตล่ ะกลุ่มสาระ

อย่างนอ้ ย 30%

3.5 มีการนาผลการประเมนิ ไปใชว้ างแผนเพ่ือพัฒนาผู้เรยี น โครงการ/กจิ กรรม, บนั ทกึ หลังสอน

44

ประเด็นการตดิ ตาม ตรวจสอบ ระดบั การ แหลง่ ขอ้ มลู การติดตามตรวจสอบ

ปฏบิ ตั ิ

4 สอื่ และแหลง่ เรียนรู้ 123

4.1 ศึกษา สารวจ วิเคราะห์สภาพปัญหา การจัด การเลอื ก โครงการ/กจิ กรรม, ทะเบียนสือ่ แหลง่ เรยี นรู้

การใชแ้ ละการประเมินคุณภาพสื่อ นวตั กรรมและ

เทคโนโลยที างการศึกษา

4.2 จดั หา และพฒั นาส่อื นวัตกรรม เทคโนโลยกี ารศกึ ษาทม่ี ี โครงการ/กิจกรรม, ทะเบียนสื่อ แหลง่ เรยี นรู้

คุณภาพ ทันสมัย

4.3 มีการใช้สอ่ื และแหล่งเรียนรูภ้ ายในและภายนอกในการ โครงการ/กจิ กรรม, แผนการจดั

จดั การเรียนรู้ การเรียนร,ู้ ภาพกิจกรรม, บนั ทึก

/สถติ กิ ารใชห้ ้องต่างๆ

ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติมอื่นๆ
......................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
................................................................................................................. .................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ลงชื่อ..................................................ผูร้ ายงาน
(................................................)

ตาแหนง่ ................................................
............/.................../............

45

แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรยี นระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
ในการบรหิ ารจัดการหลักสตู รและกิจกรรมของนักเรียน ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนต้น
ระดบั ความคิดเหน็ : 5 = มากที่สุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = นอ้ ย 1 = นอ้ ยทสี่ ุด

รายการประเมิน ระดับความคดิ เห็น
5 4 3 2 1 X SD แปลผล
ด้านหลกั สตู รห้องเรียนระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
1 ความพงึ พอใจท่ีมตี อ่ โครงสร้างหลักสูตรและรายวิชาทเ่ี ปดิ สอนระดับช้ันมธั ยมศึกษาตอนตน้

2 ความพงึ พอใจทมี่ ตี อ่ การจดั ตารางเรียนของระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน้

3 ความพึงพอใจทมี่ ตี ่อการจดั ให้มีรายวิชาการคานวณ กับ รายวิชาออกแบบและเทคโนโลยีในหลักสูตร
ฉบบั ปรับปรุง

4 ความพึงพอใจทม่ี ีตอ่ การจัดกิจกรรมนักเรยี นและกิจกรรมเสรมิ หลกั สตู ร เชน่ กจิ กรรมทัศนศึกษา
กิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษ กจิ กรรมบูรณาการการศกึ ษาเชงิ สรา้ งสรรค์ และกจิ กรรมคา่ ยสง่ เสริม
ศกั ยภาพด้านตา่ งๆ ในหลักสูตรสถานศึกษา
ดา้ นกิจกรรมการเรียนรู/้ กจิ กรรมอ่ืนๆ

5 ความพึงพอใจที่มีตอ่ การจัดกิจกรรมการเรยี นรูข้ องกลุ่มสาระฯ ภาษาตา่ งประเทศ

6 ความพึงพอใจท่มี ตี อ่ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ของกลุ่มสาระฯ คณิตศาสตร์

7 ความพงึ พอใจท่มี ีตอ่ การจัดกิจกรรมการเรยี นรูข้ องกล่มุ สาระฯ วิทยาศาสตร์

8 ความพึงพอใจท่ีมตี ่อการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้อน่ื ๆนอกเหนือจากภาษาต่างประเทศ
คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์

9 ความสามารถของครผู ู้สอนของโรงเรียน ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

10 นักเรียนได้รบั การส่งเสรมิ ศกั ยภาพการเรียนรู้ดา้ นต่างๆ อย่างตอ่ เนอ่ื ง ไดร้ บั การสนบั สนุน ใหแ้ สดงผล
งานจากความคดิ ริเริม่ สรา้ งสรรค์ เชน่ การทาโครงงาน การเรียนรู้จากหลักสูตรมาตรฐานสากล

11 ความเหมาะสมของการจัดกิจกรรมแนะแนวให้นกั เรยี นไดว้ างแผนการเรียนและ
การศึกษาต่อ

12 นักเรียนมีโอกาสเรียนรูส้ าระความรตู้ ่างๆ ด้วยวธิ ีการสืบเสาะหาความรูด้ ว้ ยตนเอง
จากสอื่ การเรยี นร้ทู ี่โรงเรยี นจัดไวใ้ ห้

13 นักเรียนไดเ้ รียนรู้ด้วยการปฏบิ ตั จิ ริงจากหอ้ งปฏิบัตกิ ารและจากแหลง่ เรยี นรตู้ ่างๆ

ด้านการสนบั สนุนงบประมาณส่งเสริมบรรยากาศและสอื่ การเรยี น
14 ความพึงพอใจที่มีต่อการจัดสภาพหอ้ งเรียนเพื่อสง่ เสริมบรรยากาศการเรียนร้ขู องนกั เรียนระดบั ช้ัน

มัธยมศกึ ษาตอนต้น

15 สื่อการเรยี นรู้มีเพียงพอต่อการพฒั นานักเรยี นระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนต้น

16 การจัดหอ้ งสบื คน้ เพ่อื การเรยี นรูเ้ พิ่มเตมิ เสริมความรู้ เช่น ห้องคอมพวิ เตอร์ ทม่ี ีระบบอินเตอร์เน็ต
ความเรว็ สูง ห้องสมดุ เพือ่ การค้นควา้

17 ความเหมาะสมของการขอรบั สนบั สนุนงบประมาณเพม่ิ เตมิ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรใู้ หม้ คี วาม
สมบูรณ์ย่งิ ขึ้น ในการดาเนนิ การระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนตน้

ด้านคณุ ภาพผู้เรียนเมอ่ื จบหลกั สตู ร
18 นกั เรยี นได้รบั การพฒั นาทางด้านการเรยี นเต็มตามศักยภาพ

19 นกั เรียนไดร้ บั การพัฒนาพฤติกรรมอนั พึงประสงคอ์ ยา่ งตอ่ เนื่อง

ด้านอื่นๆ
20 ความเหมาะสมของกระบวนการคดั เลือกนักเรยี นเพ่อื จัดห้องเรียนระดบั ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน้

21 การสรา้ งความเขา้ ใจอันดีระหว่างบา้ นกบั โรงเรียนในเรอื่ งผลการเรียนและ
ความประพฤตขิ องนกั เรยี นระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน้

22 ความพึงพอใจตอ่ การบรหิ ารจดั การการจดั การศกึ ษาระดับช้นั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ของโรงเรียน
จอมสุรางค์อุปถัมภ์ ในภาพรวม

เฉล่ยี รวม

แบบประเมินความพงึ พอใจของนกั เรียนระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 46
ในการจดั หลกั สตู ร การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้และกิจกรรมเสรมิ หลักสูตร ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

ระดบั ความคดิ เห็น : 5 = มากท่สี ุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = น้อย 1 = นอ้ ยที่สดุ

ขอ้ ที่ รายการประเมิน ระดับความคดิ เหน็
ดา้ นหลกั สตู รหอ้ งเรียนระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
54321 X SD แปลผล
1 ความพึงพอใจทม่ี ตี ่อโครงสร้างหลกั สตู รและรายวิชาที่เปดิ สอนระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

2 ความพึงพอใจท่มี ีต่อการจดั ตารางเรียนของระดบั ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

3 ความพงึ พอใจตอ่ การจัดใหม้ ีรายวชิ าวิทยาการคานวณ กบั รายวชิ าออกแบบและเทคโนโลยใี น
หลักสูตรฉบับปรบั ปรุง

4 ความพงึ พอใจทมี่ ีตอ่ การจดั กิจกรรมนกั เรียนและกจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร เช่น กจิ กรรม
ทัศนศกึ ษา กิจกรรมคา่ ยภาษาองั กฤษ กจิ กรรมบูรณาการการศกึ ษาเชงิ สร้างสรรค์
และกิจกรรมคา่ ยส่งเสรมิ ศักยภาพดา้ นต่างๆ ในหลกั สูตรสถานศกึ ษา

ดา้ นกจิ กรรมการเรยี นรู้/กจิ กรรมอื่นๆ
5 ความพงึ พอใจทม่ี ตี อ่ การจดั กจิ กรรมการเรียนรูข้ องกลุ่มสาระฯ ภาษาต่างประเทศ

6 ความพงึ พอใจทมี่ ีต่อการจดั กจิ กรรมการเรยี นรขู้ องกลมุ่ สาระฯ คณิตศาสตร์

7 ความพงึ พอใจท่มี ีตอ่ การจัดกิจกรรมการเรียนร้ขู องกลุม่ สาระฯ วิทยาศาสตร์

8 ความพึงพอใจที่มีตอ่ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้อ่นื ๆนอกเหนือจากภาษาต่างประเทศ
วทิ ยาศาสตร์ และ คณติ ศาสตร์

9 ความสามารถของครูผสู้ อนของโรงเรยี น ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

10 นักเรยี นได้รบั การส่งเสรมิ ศกั ยภาพการเรยี นร้ดู ้านตา่ งๆ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ไดร้ ับการสนับสนนุ ให้
แสดงผลงานจากความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เช่น การทาโครงงาน การเรยี นรจู้ ากหลักสตู ร
มาตรฐานสากล

11 ความเหมาะสมของการจัดกจิ กรรมแนะแนวใหน้ ักเรยี นได้วางแผนการเรียนและ
การศกึ ษาตอ่

12 นักเรยี นมีโอกาสเรยี นรูส้ าระความรูต้ า่ งๆ ด้วยวิธกี ารสบื เสาะหาความรดู้ ว้ ยตนเอง
จากสอ่ื การเรียนรทู้ โ่ี รงเรยี นจดั ไวใ้ ห้

13 นักเรยี นไดเ้ รยี นรดู้ ว้ ยการปฏิบตั ิจรงิ จากห้องปฏิบตั กิ ารและจากแหลง่ เรยี นรู้ต่างๆ

ดา้ นการสนบั สนนุ งบประมาณส่งเสริมบรรยากาศและสอื่ การเรยี น
14 ความพึงพอใจที่มตี อ่ การจัดสภาพห้องเรียนเพ่ือส่งเสริมบรรยากาศการเรยี นรู้ของนกั เรยี นระดับช้ัน

มธั ยมศึกษาตอนปลาย
15 ส่อื การเรียนรมู้ เี พยี งพอตอ่ การพฒั นานกั เรยี นระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

16 การจดั ห้องสืบคน้ เพ่อื การเรียนรเู้ พิม่ เติมเสรมิ ความรู้ เช่น ห้องคอมพวิ เตอร์ ท่ีมรี ะบบอนิ เตอรเ์ นต็
ความเรว็ สูง หอ้ งสมดุ เพ่อื การคน้ ควา้

17 ความเหมาะสมของการขอรบั สนับสนนุ งบประมาณเพิม่ เติมในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ให้มีความ
สมบรู ณ์ยิ่งขน้ึ ในการดาเนนิ การระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ด้านคุณภาพผูเ้ รียนเมือ่ จบหลกั สตู ร

18 นักเรยี นได้รับการพฒั นาทางดา้ นการเรยี นเต็มตามศักยภาพ

19 นกั เรยี นได้รบั การพฒั นาพฤติกรรมอนั พึงประสงคอ์ ย่างตอ่ เน่อื ง

ด้านอื่นๆ
20 ความเหมาะสมของกระบวนการคัดเลือกนักเรียนเพื่อจัดห้องเรยี นระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษา

ตอนปลาย
21 การสร้างความเข้าใจอนั ดีระหว่างบา้ นกบั โรงเรยี นในเรอ่ื งผลการเรียนและ

ความประพฤตขิ องนกั เรยี นระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
22 ความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการการจัดการศึกษาระดับช้ันมธั ยมศึกษาตอนปลาย

ของโรงเรยี นจอมสุรางคอ์ ปุ ถมั ภ์ ในภาพรวม
เฉลี่ยรวม

47

แบบประเมินความพงึ พอใจของเครอื ขา่ ยผู้ปกครองและผูแ้ ทนชมุ ชน

ทมี่ ตี อ่ การจดั การศึกษาของโรงเรยี นจอมสรุ างค์อุปถมั ภ์ ในระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
ระดับความคิดเหน็ : 5 = มากท่สี ดุ 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = น้อย 1 = นอ้ ยที่สดุ

ระดบั ความคิดเห็น S.D. แปลผล

ขอ้ ท่ี รายการประเมิน 5 4 3 2 1 X

1 กระบวนการคดั เลือกนกั เรยี นเพ่อื จดั ห้องเรยี นของโรงเรยี นจอมสุรางค์อปุ ถมั ภ์
2 การจดั สภาพหอ้ งเรียนเพื่อสง่ เสริมบรรยากาศการเรียนรขู้ องนักเรียน
3 โครงสรา้ งหลักสตู รและรายวิชาที่เปดิ สอนตามหลกั สูตรสถานศึกษา
4 กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ใหก้ บั นกั เรียน

5 การจัดห้องสบื ค้นเพ่ือเพม่ิ เติมเสรมิ ความรู้ เช่น ห้องคอมพิวเตอร์ ที่มรี ะบบ
อนิ เตอรเ์ น็ตความเร็วสงู หอ้ งสมุดเพื่อการค้นควา้

6 การสนบั สนุนใหน้ กั เรียนสร้างสรรค์ผลงานและแสดงผลงาน
จากความคิดรเิ ร่มิ สร้างสรรค์ เชน่ การทาโครงงาน

7 นักเรียนมโี อกาสเรียนรู้ด้วยวธิ กี ารสืบเสาะหาความรู้ด้วยตนเอง
(ผู้ปกครองสอบถามนกั เรยี น)

8 ความพงึ พอใจทมี่ ีต่อการจัดกจิ กรรมเสรมิ หลักสตู ร เชน่
การจดั กิจกรรมค่ายอัจฉริยภาพทางวทิ ยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ กิจกรรม
ค่ายวิทยาศาสตร์เพือ่ การอนรุ กั ษ์สิง่ แวดลอ้ ม คา่ ยสง่ เสริมศักยภาพการเรยี นรู้
การทศั นศึกษาแหลง่ เรียนรนู้ อกโรงเรียน

9 การจดั กิจกรรมแนะแนวใหน้ ักเรียนไดว้ างแผนการเรียนและการศึกษาตอ่

10 การจดั ตารางเรยี นของนกั เรียนตามรายวิชาทเ่ี ปดิ สอนและการใชเ้ วลาในการ
เรยี นรู้ในแต่ละวันของนักเรียน

11 ระบบแอพพิเคชัน่ ทโ่ี รงเรียนดาเนินการสามารถตอบสนองขอ้ มูลพ้ืนฐานของ
โรงเรียนทั้งด้านการเรียนการสอน ข้อมูลข่าวสาร ข้อมลู เกยี่ วกับนักเรยี น
แก่นักเรียนและผู้ปกครองได้

12 ผูป้ กครองได้รบั ขอ้ มูลในการสร้างความเขา้ ใจอนั ดีระหวา่ งบา้ น
กับโรงเรียนในเรื่องผลการเรียนและความประพฤตขิ องนกั เรียน

13 นักเรียนในปกครองของท่านมผี ลการเรียนทีน่ ่าพงึ พอใจและ
มพี ฤติกรรมอันพึงประสงค์

14 การขอรับสนับสนุนงบประมาณดาเนินการเพิม่ เตมิ จากผู้ปกครองเพื่อเพ่ิม
ประสทิ ธภิ าพในการจัดการศึกษา

15 การบรหิ ารจัดการของโรงเรียนจอมสุรางคอ์ ุปถมั ภใ์ นภาพรวม

เฉลยี่ รวม


Click to View FlipBook Version