The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aixzy.1992, 2021-03-23 04:13:49

Best practice

Best Practice

ผูศ้ ึกษา นางสาวกนิษฐา ยอดนางรอง ตาแหน่ง ครูผูช้ ่วย

สถานศึกษา ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอขนุ หาญ

บทคดั ยอ่

หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 กาหนดให้การวัดและ
ประเมนิ ผลกลมุ่ สาระ ความรู้พ้นื ฐาน ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ในวชิ าภาษาองั กฤษในชีวติ ประจาวนั วัดและ
ประเมนิ ผล ครอบคลมุ ๔ ทกั ษะ คือ การอ่าน การเขียน การฟัง การพูด เพื่อให้เกดิ คุณภาพผู้เรียนตามที่
หลักสตู ร

กาหนดไว้(กระทรวงศึกษาธิการ:2551:2–5) และจากการศึกษาสภาพปญั หาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษใน
ชีวติ ประจาวัน ในระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้นทพ่ี บในปจั จบุ ัน สอดคลอ้ งกบั การศึกษาเอกสาร งานวิจยั และการ
อภปิ รายของนักศกึ ษาทงั้ ระดับปรญิ ญาบัณฑิตและบัณฑติ ศกึ ษา ดังนี้ 1) ปัญหาด้านครู 2) ปัญหาด้านผ้เู รยี น 3)
ปญั หาดา้ นผูบ้ ริหาร 4) ปัญหา ฉบับมนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ วารสารวชิ าการ Veridian E-Journal
ปที ่ี 7 ฉบับที่ 2 เดอื นพฤษภาคม – สงิ หาคม 2557 ด้านหลักสูตร

ดังน้นั ครผู ้สู อนจงึ ควรศึกษาปัญหาต่างๆเหลา่ น้ี และหาทางแกไ้ ข ก็จะสง่ ผลให้การเรยี นการสอนภาษา
ภาษาองั กฤษมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน (มณฑณา วฒั นถนอม, มปป.:8-9) ผู้ศกึ ษาจึงไดส้ ารวจปญั หาการสอนและการ
วัดผลภาษาอังกฤษในสถานศึกษาเพื่อพฒั นาแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น หลักสูตรการศึกษานอกระบบ
ระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 เพ่อื ศึกษาปญั หาการสอนภาษาองั กฤษใหล้ กึ ซ้งึ ยิง่ ขนึ้ ประกอบกบั
ขอ้ มูลผลสมั ฤทธ์ดิ ้านการเรยี นวชิ าภาษาองั กฤษ

ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา

การออกขอ้ สอบของครูผ้สู อน ข้อค้นพบส่ิงท่ตี ้องการพฒั นาเพอ่ื แก้ปญั หาพอสรุปได้ดังนี้ 1)ครูออกข้อสอบ
ไมค่ รอบคลมุ ทกุ ตัวชีว้ ดั 2) ข้อสอบไมต่ รงตามตวั ชว้ี ดั 3) ขอ้ สอบมีคา่ ความเท่ยี งตรง (Validity) คา่ ความยากง่าย
(Difficulty) คา่ อานาจจาแนก(Discrimination) และ คา่ ความเชือ่ มั่น (Reliability)ไม่เหมาะสม 4) ครูมีความรู้
เรื่องวธิ กี ารสรา้ งเคร่ืองมือน้อย ๕)การใชภ้ าษาในการตั้งคาถามไมช่ ัดเจน ๖) คาถามบางขอ้ ช้นี าคาตอบ ๗) การ
จดั เรยี งตวั เลอื กไมถ่ ูกหลกั เกณฑ์ ๘)ตัวลวงบางข้อมีความเด่นชัดบอกคาตอบทถี่ ูก ๙) ครูผู้สอนนาข้อสอบจาก
หนงั สือมาออกข้อสอบ เพ่อื แก้ปัญหาการสร้างแบบทดสอบของครูผู้สอนใหไ้ ด้ ตรงตามสาระ มาตรฐานและตัวช้วี ัด
มมี าตรฐานตาม เกณฑป์ กติและสามารถนาไปใช้ในการวัดและประเมนิ ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ดังน้นั ผู้ศึกษาจงึ ได้
ศึกษาและสรา้ งแบบทดสอบวดั และประเมนิ การเรยี นรู้กลมุ่ สาระความรู้พื้นฐาน ในระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
รายวิชา ภาษาอังกฤษในชวี ติ ประจาวัน โดยยึด แนวคดิ ทฤษฎขี องเบนจามิน บลูม ทไี่ ด้พัฒนากรอบทฤษฎที ใ่ี ช้
เปน็ เครอื่ งมือ การจดั ประเภทพฤติกรรมที่เก่ยี วขอ้ งกับการแสดงออกทางปัญญาและการคิดอันเป็นผลมาจาก
ประสบการณ์การศึกษา เรียกว่า Bloom’s taxonomy

วัตถุประสงค์

1. เพ่อื พัฒนาแบบทดสอบสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน ตามหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับ
การศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระความรู้พน้ื ฐาน รายวิชา ภาษาองั กฤษในชีวติ ประจาวนั ระดบั
มัธยมศกึ ษาตอนตน้

2. เพื่อตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบ
ระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระความรู้พืน้ ฐาน รายวิชา ภาษาอังกฤษในชวี ติ ประจาวัน
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในด้าน ค่าความเท่ียงตรง (Validity) คา่ ความยากง่าย (Difficulty) ค่าอานาจจาแนก
(Discrimination) และ คา่ ความเชื่อมั่น (Reliability)

เปา้ หมาย

เชงิ ปริมาณ

นกั ศกึ ษาศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอขุนหาญ ในระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
จานวน ๒๕ คน

เชงิ คณุ ภาพ

แบบทดสอบมคี ่าความเทย่ี งตรง (Validity) ค่าความยากงา่ ย (Difficulty) คา่ อานาจจาแนก
(Discrimination) และ ค่าความเช่ือม่นั (Reliability)

กระบวนการดาเนนิ งาน
๑. ดาเนินการวิเคราะหห์ ลักสูตร วชิ า ภาษาองั กฤษในชวี ติ ประจาวนั พต 21001 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
โดยใช้แนวคดิ ทฤษฎีของเบนจามนิ บลูม หรอื Bloom’s taxonomy วดั ตามพฤติกรรม คอื ความรู้ –
ความจา เขา้ ใจ การนาไปใช้ การวเิ คราะห์ การสงั เคราะห์ การประเมินค่า

๒. จดั การออกขอ้ สอบให้ตรงตามตวั ช้ีวัด และพฤติกรรมการวดั จานวน ๔๐ ขอ้
๓. จัดทาข้อสอบในแบบประเมนิ สาหรบั ผู้เช่ียวชาญเพอื่ ตรวจคณุ ภาพของเคร่ืองมือ

๔. ส่งตารางข้อสอบในแบบประเมินสาหรับผู้เชี่ยวชาญเพื่อตรวจคุณภาพของเครื่องมือ ให้ผู้เชียวชาญ
จานวน ๓ ท่าน เป็นผู้เชีย่ วชาญด้านการวดั ผลประเมินผล ๑ ทา่ น และ ผู้เช่ียวชาญดา้ นวชิ าภาษาอังกฤษ
๒ ท่าน

๕. นาผลการประเมินสาหรบั ผูเ้ ชี่ยวชาญเพอ่ื ตรวจคุณภาพของเคร่อื งมือ ของผู้เชยี วชาญทงั้ ๓ ท่าน มา
วิเคราะห์ ค่า IOC ( Index of item – Objective ) ข้อสอบท่ีมีคา่ ต้ังแต่ ๐.๕ ขนึ้ ไปคือข้อสอบทส่ี มารถ
ใช้ได้

๖. นาข้อสอบทีม่ ีคา่ ตั้งแต่ ๐.๕ ขึน้ ไป มาจัดพิมพ์เปน็ ข้อสอบ และจดั ทาในรปู แบบ Google From เพ่อื ใช้
ทดสอบกบั นักศึกษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น จานวน ๒๕ คน

๗. นาข้อมลู ที่ได้มากรอกลงใน โปรแกรม SPSS โดยกรอกเลข ๑ ข้อท่ีตอบถูก กรอกเลข ๐ ขอ้ ที่ตอบผดิ จน
ครบ ๒๕ คน

๘. ทาการประมวลผลข้อสอบ เพ่ือหาคา่ p ในชอ่ ง Mean

๙. ทาการประมวลผลข้อสอบ เพ่ือหาคา่ r ในชอ่ ง Corrected item – Total Correlation

๑๐. นาผลการวเิ คราะหม์ ากรอกลงเพื่อหาคุณภาพข้อสอบรายข้อ

๑๑.ข้อสอบท่ใี ชไ้ ด้ คอื ข้อสอบที่ ค่าความเท่ยี งตรง (Validity) คา่ ความยากง่าย (Difficulty) คา่ อานาจจาแนก
(Discrimination) และ ค่าความเชื่อม่นั (Reliability) ทเ่ี หมาะสม สามารถนาไปใชไ้ ด้

ผลการดาเนนิ งาน

ผลท่เี กิดกบั ผูเ้ รียน

ขอ้ สอบสามารถแยกผเู้ รียนออก เป็นกลุ่มได้ ๓ กลุ่ม คือ กลุม่ เก่ง กล่มุ กลาง กลุ่มอ่อน

ผลที่เกิดกับผ้ศู ึกษา

๑. ผู้ศกึ ษาสามารถพัฒนาแบบทดสอบสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ
ระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระความรู้พ้นื ฐาน รายวิชา ภาษาอังกฤษในชวี ิตประจาวัน
ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ได้

2. ศึกษาสามารถตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ตามหลักสตู รการศึกษา
นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระความรู้พ้นื ฐาน รายวิชา ภาษาองั กฤษใน
ชวี ิตประจาวัน ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ในด้าน ค่าความเท่ียงตรง (Validity) ค่าความยากง่าย (Difficulty)
ค่าอานาจจาแนก (Discrimination) และ ค่าความเชอ่ื มน่ั (Reliability)

การเผยแพร่

เผยแพรใ่ หบ้ คุ ลากรในสถานศึกษา ทราบถงึ ข้ันตอนการดาเนินงานของการตรวจสอบคณุ ภาพข้อสอบ

ปญั หาอุปสรรคและวิธีการแกไ้ ข

ปัญหาอุปสรรค

เนอื่ งการดาเนนิ การจัดทาค่อนขา้ งมรี ะยะเวลาน้อย และอยูใ่ นชว่ งระบาดของไวรัส COVID – 19 ทาให้
นักศกึ ษาไม่สะดวกในการมาทาแบบทดสอบได้

วธิ กี ารแกไ้ ข

ผู้ศกึ ษาจัดทาข้อสอบ ลงในระบบออนไลน์ Google from เพื่อส่งใหน้ ักศึกษาทาแบบทดสอบไดส้ ะดวก
และรวดเรว็

แนวทางการพัฒนาต่อเน่อื ง

1. ส่งเสรมิ ให้มีการดาเนนิ งานอยา่ งต่อเนื่องในสถานศึกษา ในการสร้างเคร่ืองมือในการวดั ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน

2. จัดทาคมู่ ือสาหรับบุคลากร เพ่ือให้ความรู้กับบุคลากรการสร้างเครอ่ื งมอื ในการวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน

เอกสารอ้างองิ

โครงการอบรมการสรา้ งแบบทดสอบและวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ หลกั สูตรการศึกษานอกระบบ
ระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ วนั ที่ ๑๑ – ๑๓ มกราคม ๒๕๖๔ ณ ห้องประชมุ รว่ มใจ สานกั งาน
กศน.จงั หวัดศรสี ะเกษ

ภาคผนวก


Click to View FlipBook Version