The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประมาณการเศรษฐกิจพิจิตร(Q1.65)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Siva Sivapornn, 2022-04-28 04:15:56

รายงานประมาณการเศรษฐกิจพิจิตร Q1/65

ประมาณการเศรษฐกิจพิจิตร(Q1.65)

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวัดพจิ ติ ร

ฉบับที่ 1/2565

เศรษฐกจิ จงั หวดั พจิ ติ รปี 2565

คาดวา่ จะขยายตวั ทรี่ อ้ ยละ 1.5

ปัจจยั สนบั สนนุ
- การผอ่ นคลายมาตรการแพร่ระบาดของ COVID-19 มากข้นึ
- การเรง่ รดั การเบกิ จ่ายงบประมาณประเภทโครงการก่อสรา้ ง

ปจั จยั เสย่ี ง
- ความเสี่ยงจากผลของความขดั แย้งระหว่างรสั เซยี -ยเู ครน
ผ่านราคานา้ มันและสินค้าโภคภัณฑท์ สี่ งู ข้ึน

สานักงานคลงั จงั หวดั พจิ ติ ร 056-611125 [email protected]

เศรษฐกิจจังหวดั พิจติ ร พ.ศ. 2565

บทสรุปผู้บริหาร
สำนักงำนคลังจังหวัดพิจิตรคำดว่ำ เศรษฐกิจจังหวัดพิจิตร
ในปี 2565 ณ เดือนมีนำคม 2565 จะขยำยตัวที่ร้อยละ1.5 ต่อปี
จำกปัจจัยสนับสนุน ตำมกำรผ่อนคลำยมำตรกำรแพร่ระบำด
ของ COVID-19 มำกขึ้น รวมถงึ กำรเร่งรัดกำรเบกิ จำ่ ยงบประมำณ
ประเภทโครงกำรก่อสร้ำง แต่ยังมีปัจจัยเสี่ยงจำกผลของ
ควำมขัดแย้งระหว่ำงรัสเซีย-ยูเครนผ่ำนรำคำน้ำมันและสินค้ำ
โภคภณั ฑ์ทส่ี ูงขน้ึ

ประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวัดพจิ ิตร ฉบับที่ 1/2565

1. อปุ ทาน

เกษตรกรรม : ขยายตวั รอ้ ยละ 7.1 อุตสาหกรรม : ขยายตวั รอ้ ยละ 0.1 บรกิ าร : ขยายตัวรอ้ ยละ 4.1
จำกน้ำเพอ่ื กำรเพำะปลูกและ กำรลงทนุ ภำคอุตสำหกรรม กำรท่องเที่ยวเรมิ่ ฟ้นื ตัว
นโยบำยช่วยเหลือเกษตรกร ยงั ไมก่ ระเต้ืองขึน้

2. อปุ สงค์ 2. เสถยี รภาพ

การบริโภคและลงทุน อัตราเงนิ เฟ้อ การจ้างงาน

-4.2 -6.8 -4.2 4.3 1.0

รถยนตจ์ ดทะเบยี นใหม่ ยังคงหดตวั จำกแรงซือ้ ทีย่ งั ไม่ฟ้ืนตวั ชดั เจน อตั รำเงินเฟ้อ สงู ขึ้นจำกแรงกดดันด้ำนรำคำพลงั งำน
รถจกั รยำนยนตจ์ ดทะเบยี นใหม่ หดตัวตำมรำคำผลผลติ สนิ คำ้ เกษตรที่ยงั ตกตำ่ กำรจ้ำงงำน เริม่ ฟน้ื ตวั ตำมเศรษฐกจิ
รถบรรทกุ จดทะเบียนใหม่ ยังคงลดลงจำกควำมเชื่อม่นั ของนักลงทนุ

ทตี่ ้องรอเวลำฟ้นื ตัว

สานักงานคลังจงั หวดั พิจติ ร โทร 0 5661 1125

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวัดพิจติ ร

0 สำนักงานคลังจังหวัดพิจิตร ศาลากลางจังหวดั พิจติ ร ต.ทา่ หลวง อ.เมือง จ.พจิ ติ ร 66000
โทรศพั ท์ 0-5661-2204 โทรสาร 0-5661-4938 http://www.cgd.go.th/pct

ฉบบั ที่ 1/2565 วันที่ 31 มนี าคม 2565

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดพิจิตรปี 2565
“เศรษฐกิจจังหวดั พิจิตรปี 2565 คาดวา่ จะขยายตัวทร่ี ้อยละ 1.5”

สำนักงานคลังจังหวัดพิจิตรคาดว่า เศรษฐกิจจังหวัดพิจิตรในปี 2565 ณ เดือนมีนาคม 2565
จะขยายตวั ทรี่ อ้ ยละ 1.5 ตอ่ ปี (โดยมชี ว่ งคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.2 - 2.7) โดยด้านอุปทาน (การผลติ ) คาดว่าจะขยายตัว
อยู่ที่ร้อยละ 4.4 (โดยมีช่วงคาดการณ์ท่รี ้อยละ 3.0 - 5.6) พจิ ารณาจากภาคเกษตรกรรมท่ีมีแนวโน้มขยายตวั ร้อยละ 7.1
(โดยมชี ่วงคาดการณ์ท่ีรอ้ ยละ 5.8 - 7.8) จากปรมิ าณนำ้ เพอ่ื การเพาะปลูกที่มากขึ้นตามปริมาณน้ำฝนท่สี ูงกว่าปีท่ีผ่านมา
ประกอบกับรัฐบาลยังคงดำเนินมาตรการเพื่อช่วยเหลือด้านราคาแก่เกษตรกร อาทิ โครงการประกันรายได้เกษตรกร
ผูป้ ลูกข้าว เปน็ แรงจูงใจให้เกษตรกรเพาะปลูกข้าวเป็นพชื เศรษฐกิจหลักของจังหวัดอีกทางหน่ึง ในด้านภาคอุตสาหกรรม
คาดว่าขยายตัวที่ร้อยละ 0.1 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ -1.2 ถึง 1.6) แม้ว่าจะมีปัจจัยสนับสนุนจากการผ่อนคลาย
มาตรการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มากขึ้น รวมถึงสถานการณ์ปัญหาด้านการส่งออก
สนิ ค้าจากการขาดแคลนตู้คอนเทนเนอร์ทวั่ โลกเร่ิมคล่คี ลายลง จากการเริม่ เปิดประเทศของประเทศคคู่ ้าต้ังแตช่ ว่ งปลายปี
2564 อย่างไรก็ตาม ทิศทางการเพิ่มขึ้นของจำนวนโรงงานอุตสาหกรรมและทุนจดทะเบียนภาคอุตสาหกรรมในจังหวัด
ยังคงไม่กระเตื้องขึ้นจากปีก่อน เป็นแรงกดดันทำให้การขยายตัวในภาคอุตสาหกรรมเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป
ภาคบริการมีแนวโน้มฟื้นตัวที่ร้อยละ 4.1 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.8 - 5.5) โดยภาคการท่องเที่ยวและธุรกิจ
บริการเริ่มฟื้นตัว จากผลการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สายพันธุ์ Omicron จะไม่กระทบ
กิจกรรมทางเศรษฐกิจมากเท่าระลอกก่อนหน้า รวมถึงการผ่อนคลายมาตรการของภาคภาครัฐมากขึ้นทำให้กิจกรรม
ทางเศรษฐกิจและการเดินทางท่องเที่ยวเกือบเข้าสู่สถานการณ์ปกติ ในด้านอุปสงค์ (การใช้จ่าย) คาดว่ามีแนวโน้ม
ฟื้นตัวอยู่ที่ร้อยละ 0.2 ต่อปี (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ -1.2 ถึง 1.2) จากการลงทุนภาคเอกชนที่คาดว่าจะยังคง
หดตัวที่ร้อยละ -5.0 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ -6.3 ถึง -4.0) ตามคาดการณ์การลงทุนในจังหวัดจะยังคง
ไม่ฟื้นตัวอย่างชัดเจนจากความเชื่อมั่นของผู้ประกอบการท่ียังไม่คืนกลับ ส่งผลให้ธุรกิจส่วนใหญ่ยังชะลอการลงทุน
เพอื่ รักษาสภาพคล่องและยังไม่มีสัญญาณการขยายการลงทนุ ในระยะนี้ รวมทัง้ ต้นทนุ การผลิตทีส่ ูงขึ้นจากการปรับสูงขึ้น
ของราคาพลังงานกระทบต่อกำไรของผู้ประกอบการและการตัดสินใจลงทุน ในขณะท่ีการบริโภคภาคเอกชนคาดว่า
มีแนวโน้มขยายตัวท่ีร้อยละ 4.8 (โดยมชี ว่ งคาดการณ์ท่ีร้อยละ 3.4 - 5.6) จากการจับจา่ ยของประชาชนมีแนวโน้มฟ้ืนตัว
จากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของภาครัฐ และการกระจายวัคซีนที่ครอบคลุมมากขึ้น ส่งผลให้
กิจกรรมทางเศรษฐกิจกลบั มาดำเนินไปเกือบเป็นปกติ รวมทั้งมาตรการช่วยเหลือและกระตุ้นเศรษฐกิจต่างๆ ของภาครฐั
ที่ออกมาอย่างต่อเนื่อง คาดว่าจะสามารถกระตุ้นการจับจ่ายใช้สอยของประชาชนในจังหวัดได้ ประกอบกับการใช้จ่าย
ของภาครัฐคาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 8.5 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 7.2 - 10.0) ตามการเร่งรัดการเบิกจ่าย
งบประมาณประเภทโครงการก่อสร้างของหน่วยงานต่างๆ ตามการขับเคลื่อนการลงทุนภาครัฐให้สามารถขยายตัวได้
ตามเป้าหมายอย่างต่อเน่ืองจากมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายเงินภาครัฐ โดยการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
และการจัดสรรงบประมาณโครงการเพ่ือแก้ไขปัญหา เยียวยาและฟื้นฟูเศรษฐกิจจากผลกระทบของ Covid-19
ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจในจังหวัดพิจิตรคาดการณ์ว่า อัตราเงินเฟ้อในปี 2565 อยู่ที่ร้อยละ 4.3 (โดยมีช่วงคาดการณ์
ที่ร้อยละ 3.5 - 5.0) ตามความเสี่ยงจากผลของความขัดแย้งระหว่างรัสเซีย-ยูเครนผ่านราคาน้ำมันและสินค้าโภคภัณฑ์
ท่ีสงู ขนึ้ ซึ่งส่งผลกระทบต่อตน้ ทุนการผลิตสนิ ค้าและต้นทุนการขนส่งทเ่ี พิ่มสูงข้ึนในทุกภาคการผลิต ในด้านการจ้างงาน
คาดวา่ จะเพ่ิมขน้ึ ตามการเริม่ ฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจในจงั หวัด

-2-

ปัจจัยสนบั สนนุ เศรษฐกจิ ของจังหวัดพจิ ิตร ในปี 2565

1. มาตรการเรง่ รัดการใชจ้ ่ายภาครัฐ กระบวนการเรง่ รัดการเบิกจา่ ยเงินงบประมาณของหน่วยงานภาครัฐ
ให้เป็นไปตามเป้าหมาย ซึ่งจะเป็นปัจจัยสำคัญของการนำเม็ดเงินงบประมาณจากส่วนกลางกระจายลงสู่ระบบเศรษฐกจิ
จงั หวดั ผ่านการจัดซือ้ จัดจา้ งของหนว่ ยงานของรฐั ภายในจงั หวัดไดอ้ ย่างต่อเน่อื ง

2. มาตรการช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยของรัฐบาล เป็นการช่วยเหลือประชาชนผู้มีรายได้น้อยทั่วประเทศ
ตามโครงการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ซึ่งเป็นนโยบายที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561 โดยการโอน
เงินช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยเป็นรายเดือน ทั้งในส่วนของค่าเดินทาง ค่าอุปโภคบริโภค รวมถึงเงินช่วยเหลือในระยะสั้น
ตามโครงการตา่ งๆ และมีความชดั เจนแล้วว่ามาตรการดงั กลา่ วจะดำเนินการอย่างตอ่ เนื่องในอนาคต

3. มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรของรัฐบาล ตามโครงการสนับสนุนค่าบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพ
ผลผลิตเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปี 2564/2565 หรือไร่ละ 1,000 บาท ไม่เกิน 20 ไร่ และโครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้
ปลกู ข้าว ปี 2564/65 เปน็ ตน้ สามารถช่วยเหลือเกษตรกรในจงั หวดั ได้ระดบั หนึง่

4. มาตรการเพื่อช่วยเหลือและส่งเสริมผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)
ผ่านการให้สินเชื่ออัตราดอกเบี้ยต่ำและการลดภาษีนิติบุคคลให้กับธุรกิจ SMEs และมาตรการค้ำประกันสินเชื่อธุรกิจ
SMEs โดย บสย.จะช่วยค้ำประกันสินเชื่อให้กับ SMEs ในการขอสินเชื่อจากธนาคารเพื่อให้ธุรกิจ SMEs ได้รับสินเช่ือ
ในวงเงินเพมิ่ สงู ขนึ้ รวมถงึ การช่วยเหลอื ฟื้นฟูเอสเอ็มอีท่ปี ระสบปญั หาแต่ยงั มีศักยภาพตามโครงการ “ล้มแลว้ ลกุ ไว”

5. มาตรการกระตุ้นการใช้จ่ายในประเทศ และฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังวิกฤติ Covid-19 อาทิ มาตรการ
ทางการเงินผ่านการปล่อยเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำของภาคธนาคารเพื่อช่วยเหลือภาคธุรกิจ และมาตรการทางการคลัง
ผ่านนโยบายของรัฐเพื่อการกระตุ้นการท่องเที่ยวและกระตุ้นการใช้จ่ายภายในประเทศ รวมทั้งมาตรการเยียวยาเพ่ือ
ช่วยเหลือเกษตรกรและประชาชนทไ่ี ดร้ ับผลกระทบจากการระบาดรอบใหมข่ องเช้ือ Covid-19

-3-

ปัจจยั เส่ียงเศรษฐกจิ ในปี 2565 ของจงั หวัดพิจติ รทต่ี อ้ งติดตามอยา่ งตอ่ เนอื่ ง

1. ความเสี่ยงด้านภัยธรรมชาติ อาทิ ปัญหาภัยแล้ง ในพื้นที่เพาะปลูกทางการเกษตร ซึ่งเป็นปัจจัย
ที่ควบคุมไม่ได้ อาจส่งผลกระทบต่อผลผลิตภาคเกษตร และกระทบต่อรายได้เกษตรกร ซึ่งเป็นภาคเศรษฐกิจหลัก
ของจังหวดั และส่งผลกระทบต่อเนอื่ งไปยงั อุตสาหกรรมที่เก่ยี วข้องกบั ภาคเกษตรตามลำดับ

2. ความเสยี่ งดา้ นราคารับซอื้ สนิ ค้าเกษตรท่ียังไมส่ ูงขึ้นอย่างมเี สถียรภาพ ยงั คงเปน็ ปจั จัยเสี่ยงต่อรายได้
ของภาคเกษตรซ่ึงเปน็ กล่มุ ประชากรหลักของจังหวดั

3. ความเสี่ยงด้านกำลังซื้อของภาคครัวเรือนที่ลดลงอันสืบเนื่องมาจากปัญหาด้านรายได้ และปัญหา
ด้านภาระหนี้สินของภาคครัวเรือนที่อยู่ในระดบั สูง มีผลทำให้อำนาจซื้อของภาคครัวเรือนลดต่ำลง ภาระค่าครองชีพท่ี
เพิม่ ขึน้ อาจส่งผลให้ผ้บู รโิ ภคขาดความเชอ่ื ม่นั และระมดั ระวังเร่ืองการใชจ้ า่ ยมากข้นึ

4. ความเสยี่ งอนั เปน็ ผลสืบเนอ่ื งจากความไม่แน่นอนของสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโค
โรนา 2019 (COVID-19) จากการระบาดหลายระลอก ท่ามกลางการกลายพันธุ์ของไวรสั ที่จะมีผลต่อประสทิ ธิภาพของ
วัคซีน ซง่ึ ส่งผลตอ่ การดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และบ่นั ทอนกำลงั ซอื้ ของภาคประชาชน

5. ความเสยี่ งตามการเพิม่ ข้นึ ของแรงกดดนั ด้านเงินเฟอ้ ตามการเพ่ิมข้นึ ของราคาพลงั งานและราคาสินค้า
โภคภัณฑ์ในตลาดโลก ส่งผลต่อต้นทุนในการดำรงชีวิตของประชาชนทั้งในด้านของการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าอุปโภค-
บริโภค และต้นทุนการเดินทาง

-4-

ตารางสรปุ สมมติฐานและผลการประมาณการเศรษฐกิจจังหวดั พจิ ิตร ปี 2565
(ณ เดอื นมนี าคม 2565)

สมมติฐานหลัก 2562 2563 2564e 2565f
เฉลย่ี (ณ มีนาคม 2565)
สมมติฐานภายนอก -11.6 -8.9 เฉล่ยี ชว่ ง
-66.2 -37.0 13.8
1) ผลผลิตข้าว (รอ้ ยละต่อป)ี 7,055 7,404 75.5 7.4 6 0 - 8.0
2) ผลผลิตออ้ ยโรงงาน (ร้อยละตอ่ ปี) 688 716 7,502 7.6 7.0 - 8.0
3) ราคาข้าวเฉลย่ี (บาท/ตนั ) 2.5 -9.2 929 7,697 7,652 - 7,727
4) ราคาอ้อยโรงงานเฉล่ยี (บาท/ตัน) -23.6 992 966 - 1,022
5) ภาษมี ลู ค่าเพิ่มด้านอุตสาหกรรม(ร้อยละต่อปี) -12.8 -35.0 2.2 2.0 - 3.0
6) ปริมาณการใช้ไฟฟา้ ภาคอุตสาหกรรม 17.3
-31.5 -24.4 6.4 5.0 - 8.0
(ร้อยละต่อปี) -21.7
7) ยอดภาษีมูลค่าเพิม่ จากธรุ กจิ โรงแรมและ -8.9 -15.2 2.0 1.0 - 3.0
-28.7 -12.1 8.3
ภัตตาคาร (รอ้ ยละต่อปี) 11.9 2.2 2.0 - 3.0
8) ยอดภาษีมลู ค่าเพม่ิ จากห้างสรรพสินค้าใน 0.8 -22.1 1.9 1.5 - 2.0
-3.8
จังหวดั (รอ้ ยละต่อปี) 14,337 14,470 -4.2 -5.0 ถึง -3.0
9) ภาษมี ลู ค่าเพ่ิม(ร้อยละต่อปี) 14,826
10) จำนวนรถยนตท์ ่จี ดทะเบียนใหม่ -6.5 -27.0 14,115 13,937 - 14,233
3,628 3,948 3.5
(รอ้ ยละต่อปี) 13.6 8.8 3,574 -4.2 -6.0 ถงึ -3.0
11) สนิ เชอื่ เพื่อการลงทุน = 30% ของสินเช่ือรวม 1,854 2,427 -9.5 3,896 3,860 - 3,932
-25.3 30.9 2,773 9.0 8.0 - 10.0
(ลา้ นบาท) 14.3 2,989 2,939 - 3,050
12) รถยนต์ทีจ่ ดทะเบียนใชใ้ นการพาณชิ ย์ -2.5 -2.7 7.8 6.0 - 10.0
3.1
(รอ้ ยละต่อปี) -5.4 -3.9 1.5 0.2 - 2.8
13) รายจ่ายประจำรัฐบาล (ล้านบาท) 6.4
-15.4 -14.9 0.2 -1.5 ถงึ 1.1
(รอ้ ยละต่อปี) 9.2
14) รายจา่ ยลงทนุ รัฐบาล (ล้านบาท) 0.4 -3.4 4.8 3.4 - 5.6
7.7
(ร้อยละต่อป)ี -5.0 -6.3 ถึง -4.0
ผลการประมาณการ

1) อัตราการขยายตวั ทางเศรษฐกิจ (รอ้ ยละตอ่ ปี)
2) อตั ราการขยายตัวทางดา้ นอุปสงค์

(ร้อยละต่อปี)
3) อัตราการขยายตัวของการบรโิ ภคภาคเอกชน

(รอ้ ยละต่อปี)
4) อตั ราการขยายตัวของการลงทุนภาคเอกชน

(รอ้ ยละต่อป)ี

-5-

2562 2563 2564e 2565f
(ณ มีนาคม 2565)

เฉลีย่ เฉลี่ย ชว่ ง

5) อัตราการขยายตวั ของการใช้จา่ ยภาครฐั บาล -2.2 15.6 -1.2 8.5 7.2 – 10.0
(รอ้ ยละต่อปี)
6.6 -21.3 3.1 4.4 3.0 - 5.6
6) อตั ราการขยายตวั ทางดา้ นอปุ ทาน
(รอ้ ยละต่อป)ี -11.3 -8.4 11.2 7.1 5.8 - 7.8

7) อัตราการขยายตัวของภาคเกษตรกรรม 3.8 -29.1 1.6 0.1 -1.2 ถึง 1.6
(รอ้ ยละต่อปี)
16.2 -24.0 -0.1 4.1 2.8 - 5.5
8) อตั ราการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม
(ร้อยละต่อป)ี -4.3 0.5 23.0 13.3 11.1 - 14.7
1.6 -0.3 1.6 4.3 3.5 - 5.0
9) อตั ราการขยายตวั ของภาคบรกิ าร 292,224 293,149 284,036 286,998 284,457 - 289,201
(รอ้ ยละต่อปี) 5,275 925 -9,113 2,962 421 - 5,165
0.90 0.93 1.00 0.98 0.97 - 1.00
10) อัตราการขยายตวั ของรายไดเ้ กษตรกร
(รอ้ ยละต่อปี)

9) อัตราเงินเฟ้อ (รอ้ ยละต่อปี)

10) จำนวนผ้มู งี านทำ (คน)

เปลี่ยนแปลง (คน)

อตั ราการว่างงาน (รอ้ ยละของกำลังแรงงานรวม)

e =Estimate : การประมาณการ
f = Forecast : การพยากรณ์

ทมี่ า : กลุ่มงานนโยบายและเศรษฐกิจจงั หวดั สำนกั งานคลังจังหวดั พิจติ ร
ปรับปรงุ : 31 มนี าคม 2565

-6-

สมมติฐานหลักในการประมาณการเศรษฐกิจจงั หวัดพิจิตร

1. ด้านอุปทานในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 4.4 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.0 – 5.6)
จากภาคเกษตรกรรมที่มีแนวโน้มขยายตัวร้อยละ 7.1 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 5.8 - 7.8) จากปริมาณน้ำ
เพื่อการเพาะปลูกที่มากขึ้นตามปริมาณน้ำฝนที่สูงกว่าปีที่ผ่านมา รวมถึงการมีนโยบายรัฐบาลเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร
อย่างต่อเนื่อง ยังเป็นแรงจูงใจให้เกษตรกรเพาะปลูกข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัด ในด้านภาคอุตสาหกรรม
มีแนวโน้มขยายตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไปที่ร้อยละ 0.1 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ -1.2 ถึง 1.6) จากการผ่อนคลาย
มาตรการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มากขึ้น รวมถึงสถานการณ์ปัญหาด้านการส่งออก
สินค้าจากการขาดแคลนตู้คอนเทนเนอร์ทั่วโลกเริ่มคลี่คลายลง จากการเริ่มเปิดประเทศของประเทศคู่ค้าตั้งแต่
ช่วงปลายปี 2564 รวมถึงภาคบริการคาดการณ์ขยายตัวที่ร้อยละ 4.1 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.8 – 5.5)
โดยภาคการทอ่ งเท่ียวและธรุ กิจบริการเริ่มฟน้ื ตัว จากผลการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
สายพันธ์ุ Omicron จะไม่กระทบกิจกรรมทางเศรษฐกิจมากเท่าระลอกก่อนหน้า ตลอดจนการผ่อนคลายมาตรการ
ของภาคภาครัฐมากขึน้ ทำให้กิจกรรมทางเศรษฐกจิ และการเดนิ ทางท่องเทีย่ วเกือบเข้าส่สู ถานการณ์ปกติ

1.1 ปริมาณผลผลิตข้าวเฉลี่ยในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 7.4 (โดยมีช่วงคาดการณ์อยู่ที่ร้อยละ
6.0 - 8.0) โดยคาดว่าในปกี ารผลิต 2564 ผลผลติ จะเพ่มิ สูงจากปี 2564 จากปรมิ าณน้ำตน้ ทนุ เพ่ือการเพาะปลูกท่ีคาดว่า
จะมีมากกว่าปีที่ผ่านมาตามปริมาณน้ำฝนในช่วงฤดูฝนปี 2564 ทำให้ในหลายพื้นที่มีปริมาณน้ำเพียงพอในช่วงฤดู
เพาะปลูก นอกจากนี้ภาครัฐมีมาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวอย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้เกษตรกรมีรายได้ที่เหมาะสม
หลังการเกบ็ เก่ียวผลผลิต ไดแ้ ก่ โครงการประกนั รายได้ เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปี 2564/65 รอบท่ี 1 และโครงการสนบั สนุน
ค่าบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพผลผลิตเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปี 2564/2565 หรือไร่ละ 1,000 บาท ไม่เกิน 20 ไร่ ยัง
เป็นปัจจัยสนับสนุนให้เกษตรกรส่วนใหญ่ในจังหวัดยังคงเพาะปลูกข้าวเป็นพืชหลักต่อไป แต่อย่างไรก็ตามยังคงมีปัจจัย
เสี่ยงจากภาวะภัยแล้งที่อาจเกิดขึ้นซึ่งส่งผลกระทบต่อผลผลิตข้าวในจังหวัด ในด้านราคารับซื้อข้าวคาดว่ามีแนวโน้ม
เพิ่มขึ้นจากปี 2564 หลังความต้องการสินค้าในตลาดโลกเพิ่มขึ้น แต่อย่างไรก็ตามยังมีความเสี่ยงด้านการแข่งขันจาก
ประเทศผู้ส่งออกข้าวในตลาดโลก

ภาพที่ 1 ผลผลิตข้าวเฉลีย่ (%yoy)

%yoy 35.2 25.7 13.8
40.0 22.9 2.5 7.4

30.0 25.7 23.2 0.7

20.0

10.0

0.0

-10.0 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564e 2565F
-20.0 -10.3 -13.9 -11.6 -8.9
-30.0 -18.9 -25.2

-40.0 -40.6
-50.0

ที่มา : ข้อมูลจาก สนง.เกษตรจงั หวัดพจิ ิตร

-7-

1.2 ปริมาณผลผลิตอ้อยโรงงานในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวอยู่ท่ีร้อยละ 7.6 (โดยมีช่วงคาดการณ์อยู่ที่ร้อยละ
7.0 – 8.0) เนื่องจากเกษตรกรบางส่วนได้หันไปปลูกพืชไร่ชนิดอื่นเพื่อทดแทนการผลิตข้าวในช่วงที่ผ่านมา จากภาวะ
ด้านราคารับซื้อข้าวตกต่ำ การประสบปัญหาภัยแล้งในช่วงปีก่อนหน้า และปริมาณความต้องการอ้อยเพื่อเป็นวัตถุดิบ
เข้าสู่โรงงานน้ำตาลยังมีอย่างต่อเนื่อง รวมถึงราคารับซื้ออ้อยโรงงานที่ปรับเพิ่มสูงขึ้นในปี 2564 จะเป็นแรงจูงใจให้
เกษตรกรหนั มาปลูกออ้ ยโรงงานมากยิง่ ข้ึน

ภาพที่ 2 ปริมาณผลผลิตออ้ ยโรงงาน (%yoy)

%yoy 556.6
600.0
456.7
500.0

400.0 306.9
300.0

200.0 57.9 75.5
100.0 6.6 7.6

0.0 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564e 2565F
-100.0 -13.0 -32.6 -80.7 -5.8 -2.8 -66.2 -37.0
-200.0 -16.2 -74.9

ทม่ี า : ข้อมลู จาก สนง.เกษตรจงั หวดั พจิ ติ ร

1.3 ภาษีมูลค่าเพิ่มด้านอุตสาหกรรม คาดว่าในปี 2565 จะขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 2.2 ต่อปี (โดยมีช่วงคาดการณ์
อยู่ที่ร้อยละ 2.0 - 3.0) ตามการคาดการณ์ผลผลิตการเกษตรที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ส่วนหนึ่งจากนโยบายรัฐที่ยังคง
ส่งเสริมภาคเกษตรอย่างต่อเนื่อง ทำให้การผลิตและการแปรรูปในภาคอุตสาหกรรมท่ีต่อเนื่องจากภาคเกษตรเพิ่มสูงข้ึน
โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการผลิตไฟฟ้าจากชีวมวล ซึ่งใช้วัตถุดิบที่เป็นผลพลอยได้จากภาคเกษตร ขยายตัวได้จากผลผลติ
ข้าวที่คาดการณ์สูงขึ้น ส่งผลให้กำลังการผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อจำหน่ายสูงขึ้น แต่อย่างไรก็ตามยังคงมีปัจจัยเสี่ยง
จากการระบาดของ Covid-19 และความเสี่ยงในการเพิ่มขึ้นของภาวะเงินเฟ้อจากราคาพลังงานที่อาจส่งผลกระทบต่อ
การส่งออก ซง่ึ ส่งผลสืบเนื่องถึงภาคอตุ สาหกรรมในจงั หวัด

ภาพที่ 3 ภาษีมลู ค่าเพ่ิมด้านอตุ สาหกรรม (%yoy)

%yoy 36.4 41.2
50.0 12.3
40.0 29.9
30.0 15.9
20.0
10.0 3.8 4.6 2.5 2.2

0.0

-10.0 2-535.30 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2-596.23 2564e2565F
-20.0

-30.0 -21.1 -21.4 -26.9 -23.6
-28.0
-40.0

ทมี่ า : ขอ้ มูลจาก สนง.สรรพากรพน้ื ที่พิจติ ร

-8-

1.4 ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรมคาดว่าในปี 2565 จะขยายตัวร้อยละ 6.4 ต่อปี (โดยมีช่วงคาดการณ์
อยู่ท่ีร้อยละ 5.0 - 8.0) จากการผลิตและการแปรรูปท่ีเพิ่มขึ้นของอุตสาหกรรมหลักประเภทโรงสีข้าว และโรงผลิตไฟฟ้าจาก
ชีวมวล ตามการเพิ่มขึ้นของวัตถุดิบหลักประเภทข้าวเป็นสำคัญ รวมถึงสถานการณ์ปัญหาด้านการส่งออกสินค้า
จากการขาดแคลนตู้คอนเทนเนอร์ทั่วโลกเริ่มคลี่คลายลง จากการเริ่มเปิดประเทศของประเทศคู่ค้าตั้งแต่ช่วงปลายปี 2564
เปน็ ตน้ มา

ภาพที่ 4 ปริมาณการใชไ้ ฟฟา้ ภาคอุตสาหกรรม (%yoy)

%yoy 70.7

80.00

60.00 37.1
40.00
20.00 5.3 7.4 13.1 14.0 4.8 1.5 8.7 17.3
6.4
0.00
-20.00 -1.2
-40.00
-60.00 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564e2565F
-17.0 -6.8 -12.8
-35.0

ท่มี า : ขอ้ มลู จาก การไฟฟา้ ส่วนภูมิภาคจงั หวดั พจิ ิตรและการไฟฟา้ สว่ นภมู ภิ าคสาขาตะพานหนิ

1.5 ยอดภาษีมูลค่าเพิ่มของห้างสรรพสินค้าในจังหวัดในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.2 (โดยมีช่วง
คาดการณ์อยู่ที่ร้อยละ 2.0 - 3.0) ส่วนหนึ่งจากผลของมาตรการรักษาระดับการบริโภค ปี 2565 ของภาครัฐ อาทิ
โครงการคนละครึ่งเฟส 4 โครงการเพิ่มกำลังซื้อให้แก่ผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐและผู้ต้องการได้รับความช่วยเหลือ
เป็นพิเศษ และนโยบายของรัฐที่จะออกมากระตุ้นเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการผ่อนคลายมาตรการควบคุม
การระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) คาดว่าสามารถกระตนุ้ การใชจ้ ่ายของภาคประชาชนได้

ภาพท่ี 5 ภาษีมูลคา่ เพมิ่ ห้างสรรพสินค้าในจงั หวดั (%yoy)

%yoy 61.3
80.0

60.0

40.0

20.0 4.7 3.4 10.6 12.7 8.3 2.2

0.8 1.9
0.0

-20.0 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564e2565F
-40.0
-5.3 -3.4 -8.1 -19.1 -8.9 -15.2
-60.0 -40.0

ทม่ี า : ขอ้ มลู จาก สนง.สรรพากรพน้ื ที่พจิ ติ ร

1.6 ยอดภาษีมูลค่าเพ่ิมภาคโรงแรมและภัตตาคาร ในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 2.0
(โดยมีชว่ งคาดการณ์อยู่ทร่ี ้อยละ 1.0 - 3.0) โดยภาคการท่องเท่ยี วและธุรกิจบริการเริ่มฟืน้ ตวั จากผลการระบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) สายพันธ์ุ Omicron จะไม่กระทบกิจกรรมทางเศรษฐกิจมากเท่าระลอกก่อนหน้า
รวมถงึ การผอ่ นคลายมาตรการควบคมุ และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19) ของภาครัฐ
มากขึ้นทำให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจและการเดินทางท่องเที่ยวเกือบเป็นปกติ ประกอบกับคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
ได้มีมติเห็นชอบให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19) เป็นโรคประจำถิ่น ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 เป็นต้นไป
จะส่งผลใหเ้ กิดการฟื้นตัวของธุรกิจและกิจกรรมการท่องเที่ยวในจงั หวัด

-9-
ภาพที่ 6 ยอดภาษีมูลคา่ เพ่ิมภาคโรงแรมและภัตตาคาร(%yoy)

%yoy

40.0 29.4

30.0

20.0 12.7 2.0
3.3
10.0 5.5

0.0

-10.0 2550 2552 2554 -12.6 2556 -12.0 2558 2560 2562 2564e
-20.0
-30.0 -4.6 -5.7 -16.5 -20.8 -24.4 -21.7

-25.3 -24.3
-40.0 -31.5

ท่ีมา : ข้อมลู จาก สนง.สรรพากรพ้นื ที่พจิ ติ ร

2. ด้านอุปสงค์ มีแนวโน้มการฟื้นตัวอยู่ที่ร้อยละ 0.2 ต่อปี (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ -1.2 ถึง 1.2) จาก
การลงทุนภาคเอกชนท่ีคาดว่าจะยังคงหดตัวที่ร้อยละ -5.0 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ -6.3 ถึง -4.0) ตามการ
คาดการณ์การลงทนุ ในจงั หวดั จะยังคงไม่ฟืน้ ตวั อยา่ งชัดเจนจากความเชือ่ ม่ันของผปู้ ระกอบการท่ียังไมค่ นื กลับ ส่งผล
ให้ธุรกจิ สว่ นใหญย่ ังชะลอการลงทุนเพื่อรักษาสภาพคล่องและยังไม่มกี ารขยายการลงทนุ ในระยะน้ี รวมท้ังตน้ ทุนการ
ผลติ ท่ีสูงขึน้ จากการปรบั สงู ขึน้ ของราคาพลังงานกระทบต่อกำไรของผู้ประกอบการและการตัดสนิ ใจลงทุน ในขณะที่
การบริโภคภาคเอกชนคาดว่ามีแนวโน้มขยายตัวที่ร้อยละ 4.8 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.4 - 5.6) จากการ
จับจ่ายของประชาชนมีแนวโน้มฟื้นตัว ตามการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของภาครัฐ และการ
กระจายวัคซีนที่ครอบคลุมมากขึ้น ส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจกลับมาดำเนินไปเกือบเป็นปกติ รวมทั้งมาตรการ
ชว่ ยเหลือและกระตนุ้ เศรษฐกิจต่างๆ ของภาครฐั ท่ีออกมาอย่างต่อเน่ือง คาดวา่ จะสามารถกระตนุ้ การจับจ่ายใช้สอย
ของประชาชนในจังหวัดได้ ประกอบกับการใช้จ่ายของภาครัฐคาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 8.5 (โดยมีช่วงคาดการณ์
ทร่ี ้อยละ 7.2 – 10.0)ตามการเร่งรัดการเบิกจา่ ยงบประมาณประเภทโครงการก่อสร้างของหน่วยงานต่างๆ รวมถึงการเบิก
จา่ ยเงนิ งบอุดหนุนในประเภทงบประจำ

2.1 ภาษีมูลค่าเพิ่ม คาดว่าในปี 2565 จะขยายตัวอยู่ท่ีร้อยละ 1.9 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.5 - 2.0)
จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวต่อเนื่องจากการปลดล็อคผ่อนคลายมาตรการควบคุม รวมทั้งมีแรงสนับสนุนของ
มาตรการภาครัฐเพิ่มเติมตามมาตรการรักษาระดับการบริโภค ปี 2565 ของภาครัฐ อาทิ โครงการคนละครึ่งเฟส 4
โครงการเพิ่มกำลังซื้อให้แก่ผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐและผู้ต้องการได้รับความช่วยเหลือเป็นพิเศษ และมาตรการ
ชว่ ยเหลือตา่ งๆ ของภาครัฐที่จะออกมาอย่างต่อเนื่อง คาดว่าจะสามารถกระต้นุ การจับจ่ายใช้สอยของประชาชนในจังหวัด
ได้ในระดับหนึ่ง แต่อย่างไรก็ตามยังมปี ัจจยั เสี่ยงท่ีต้องเฝ้าติดตามจากภาวะเงินเฟ้อที่เพิ่มสูงข้ึนจากปรับเพิ่มข้ึนของราคา
พลงั งาน สง่ ผลกระทบเปน็ ลูกโซต่ อ่ ต้นทุนการผลติ ตน้ ทนุ การขนสง่ และราคาสินคา้ โดยรวม

ภาพที่ 7 ภาษีมลู ค่าเพิ่ม(%yoy)

%yoy

60.0 48.4

50.0

40.0 23.4 26.3
30.0

20.0 5.9 4.4 9.9 0.3 0.5 8.2 1.9

10.0 -3.8
0.0

-10.0 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564e2565F
-20.0 -1.1 -2.0 -1.6 -5.0

-30.0

-40.0 -33.0

ทมี่ า : ขอ้ มลู จาก สนง.สรรพากรพ้นื ท่ีพิจติ ร

-10-

2.2 จำนวนรถยนต์นั่งส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่คาดว่าในปี 2565 มีแนวโน้มหดตัวที่ร้อยละ -4.2 (โดยมีช่วง
คาดการณ์อยู่ที่ร้อยละ -5.0 ถึง -3.0) ตามปัจจัยเสี่ยงจากภาวะการขาดกำลังซื้อสะสมของภาคครัวเรือนเป็นเวลานาน
และความเชื่อมั่นตอ่ ภาวะเศรษฐกิจในอนาคตที่ยังอยู่ในระดับต่ำจากเศรษฐกจิ โดยรวมที่ไดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หลายระลอกที่ผ่านมา รวมทั้งปัจจัยด้านภาวะเงินเฟ้อ
จากราคาพลังงาน ส่งผลต่อค่าครองชีพของประชาที่เพิ่มสูงขึ้น ทำให้ประชาชนยังคงระมัดระวังในการจ่ายเงินซื้อสินค้า
คงทนทมี่ รี าคาสงู

ภาพที่ 8 จำนวนรถยนตน์ ่ังสว่ นบุคคลจดทะเบียนใหม(่ %yoy)

%yoy 96.4
120.0
100.0 10.5 18.9 26.2 9.3 16.6 16.1 18.5
0.8
80.0
60.0 -1.8 -3.8 -4.2
40.0
20.0 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564e2565F

0.0 -10.9 -18.5 -22.1
-20.0 -50.7
-40.0
-60.0

ท่ีมา : ข้อมลู จาก สนง.ขนส่งจงั หวัดพจิ ิตร

2.3 สินเชื่อเพื่อการลงทุนของสถาบันการเงินในจังหวัดพิจิตร คาดว่าในปี 2565 สถาบันการเงินในจังหวัด
จะปล่อยสินเชื่อได้ลดต่ำลงจากภาวะเศรษฐกิจที่ยังไม่ฟื้นตัวอย่างชัดเจนจากปีก่อนหน้า จากผลกระทบซ้ำเติม
จากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่อเนื่องหลายระลอก สง่ ผลให้ภาคธุรกิจ
หลายส่วนซบเซาลงอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งกระทบต่อความเชื่อมั่นของผู้ประกอบการให้ชะลอการลงทุนออกไป แต่อย่างไรก็
ตาม ยังมีปจั จยั บวกจากนโยบาย Soft Loan ซึง่ เป็นวงเงนิ ชว่ ยเหลือผู้ประกอบการท่ีไดร้ บั ผลกระทบจาก Covid-19 เพื่อ
การเยียวยาผลกระทบดงั กล่าว และนโยบายของรัฐในการขบั เคล่อื นการเติบโตของธุรกิจ SMEs รวมทั้งการขยายระยะเวลา
มาตรการยกเว้นภาษีเพื่อส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนออกไปอีก 3 ปี ทั้งนี้ ธปท. ได้ปรับปรุงเกณฑ์สินเชื่อฟื้นฟูให้สอดคล้องกับ
สถานการณ์การแพร่ระบาดที่ยังมีความไม่แน่นอนสูง เพื่อช่วยให้ SMEs เข้าถึงสินเชื่อช่วยเหลือได้มากขึ้น รวมถึงมาตรการ
สนับสนุนสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ มาตรการคืนเงินให้แก่ลูกหนี้ที่มีประวัติชำระหนี้ดี รวมทั้งการยกเว้นค่าธรรมเนียมนิติกรรมสัญญา
จากธนาคารเฉพาะกิจของรฐั ซึ่งเปน็ สว่ นหนง่ึ ของมาตรการกระตนุ้ และฟ้ืนฟเู ศรษฐกจิ ในปี 2565 คาดวา่ จะมสี นิ เชื่อเพื่อการลงทุน
คงคา้ ง ณ สนิ้ ปี 2565 เป็นจำนวน 14,115 ลา้ นบาท (โดยมีชว่ งคาดการณ์ 13,937 – 14,233 ลา้ นบาท)

ภาพท่ี 9 สนิ เชอ่ื เพ่อื การลงทุนของสถาบนั การเงนิ ในจงั หวดั พิจิตร (ล้านบาท)

ลา้ นบาท 11,319 12,700 12,037 13,421 11,652 13,922 14,534 14,337 14,470 14,826 14,115

16,000
14,000

12,000 9,975
10,000 7,467 7,656 7,741 8,485
8,000

6,000

4,000

2,000

-

2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564e2565F

ท่ีมา : ข้อมลู จาก ธนาคารแห่งประเทศไทย, ธ.ก.ส., ธ.ออมสิน

-11-

2.4 จำนวนรถยนต์จดทะเบียนใช้ในการพาณิชย์ คาดว่าในปี 2565 จะหดตัวลงร้อยละ -4.2 (โดยมีช่วงคาดการณ์
ที่ -6.0 ถึง -3.0) เนื่องจากปัจจัยเสี่ยงของภาวะการขาดกำลังซื้อในภาคประชาชนและความเชื่อมั่นต่อภาวะเศรษฐกิจ
ในอนาคตที่ยังอยู่ในระดับต่ำของผู้ประกอบการตามผลกระทบของ Covid-19 ต่อเนื่องจากปีก่อนหน้า การชะลอ
การลงทุนของผู้ประกอบการ รวมทั้งยังมีความเสี่ยงจากการระบาดของเชื้อ Covid-19 ที่ยังไม่สามารถควบคุมได้ทั้งหมด
ซง่ึ สง่ ผลสืบเน่อื งให้ ยอดขายรถยนต์ทใ่ี ช้ในการพาณิชย์จะยังคงหดตวั ลง

ภาพท่ี 10 จำนวนรถยนตท์ ่จี ดทะเบียนใชใ้ นการพาณชิ ย์ (%yoy)

%yoy 69.5
80.0 37.5

60.0

40.0

20.0 7.0 3.5

0.0 -2.7
2559
-20.0 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2560 2561 2562 2563 2564e 25-46.52F
-40.0 -8.2 -13.4 -15.3 -13.4 -8.9 -5.7
-26.6 -32.3 -6.5
-27.0

ท่ีมา : ข้อมลู จาก สนง.ขนสง่ จังหวดั พจิ ติ ร

2.5 การใช้จ่ายของภาครัฐในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 8.5 (โดยมีช่วงคาดการณ์อยู่ที่ร้อยละ 7.2 –
10.0) ตามการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณประเภทโครงการก่อสร้าง รวมทั้งนโยบายกระตุ้นการเร่งรัดเบิกจ่าย
งบประมาณของผู้บริหารจังหวัด ส่งผลให้หน่วยงานต่างๆ เร่งการเบิกจ่ายงบประมาณอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะยังคงเป็นแรง
ขับเคลื่อนที่สำคัญของเศรษฐกิจจังหวัดในปี 2565 ประกอบกับการจัดสรรงบประมาณตามโครงการเพื่อแก้ไขปัญหา
เยียวยาละฟื้นฟูเศรษฐกิจจากผลกระทบของ Covid-19 ซึ่งจะสามารถสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจได้อย่าง
ต่อเนอื่ ง

ภาพที่ 11 รายจ่ายประจำรฐั บาล(%yoy) ภาพที่ 12 รายจ่ายลงทนุ รฐั บาล(%yoy)

%yoy 24.4 %ลy้าoนบyาท

30 80.0
60.0
20 12.2 9.7 10.1 13.6 8.8 9.0 40.8 56.6 35.1
0.9 33.6
10 4.5 40.0 17.2 21.0 30.9
20.0
0 2550 2552 2554 2556 2558 2560 2562 2564e 2.6 14.37.8
-0.1 -1.6
-10 -12.5 -10.7 -9.5 -

-20 -18.7 -17.9 -20.0 2550-18.52552 2554 2556 2558 2560 2562 2564e
-40.0 -14.3 -18.6 -36.8 -25.3
-30 -60.0
-37.3

ท่ีมา รวบรวมโดย สนง.คลงั จังหวัดพิจิตร

-12-

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กำหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวมไว้ที่ร้อยละ 93 ของวงเงิน
งบประมาณในภาพรวม และเป้าหมายการเบิกจ่ายงบลงทุนไว้ที่ร้อยละ 75 ของวงเงินงบประมาณงบลงทุนและเป้าหมาย
การใชจ้ ่ายรายไตรมาสประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

เป้าหมายการใชจ้ ่าย ภาพรวม(ร้อยละ) งบลงทุน(ร้อยละ)
ไตรมาส 1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 30 13
ไตรมาส 2 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 51 29
ไตรมาส 3 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 72 46
ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 93 75

สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ต.ค.2563-ก.ย.2564) รายจ่ายรัฐบาลสามารถใช้จ่ายงบประมาณภาพรวม
ไดท้ ้ังสน้ิ 4,460.40 ล้านบาท สูงขึน้ รอ้ ยละ 16.86 เม่อื เทียบกับปีท่ผี ่านมา คดิ เป็นอัตราการใช้จ่ายทร่ี ้อยละ 92.48 ของวงเงิน
งบประมาณจัดสรรในภาพรวม ต่ำกว่าเป้าหมายการเบิกจ่ายที่กำหนดไว้ที่ร้อยละ 100 ของวงเงินงบประมาณในภาพรวม
โดยรายจ่ายประจำสามารถใช้จ่ายได้ 2,146.07 ล้านบาท สูงขึ้นร้อยละ 19.88 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ก่อน
คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายที่ร้อยละ 90.40 ของวงเงินงบประจำ สำหรับรายจ่ายลงทุนสามารถเบิกจ่ายได้ 2,314.33 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.75 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายที่ร้อยละ 94.49 ของวงเงินงบลงทุน
ตำ่ กว่าเปา้ หมายการเบิกจ่ายงบลงทุนที่กำหนดไวท้ รี่ ้อยละ 100 ของวงเงนิ งบลงทุน

กราฟผลการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 เทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่ายสะสม
ตงั้ แตต่ น้ ปีงบประมาณจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2565

ร้อยละ
120
100 87.82 93.90 98.00
79.00
80 73.24
60 64.74
40 48.84 57.00
15.69 34.00 41.46 47.94
22.72

20 11.36 25.54
19.91 25.24

0

Oct-64 พ.ย 64 ธ.ค 64 ม.ค 65 ก.พ 65 มี.ค 65 เม.ย 65 May-65 มิ.ย 65 Jul-65 ส.ค 65 ก.ย 65

ผลการเบกิ จา่ ย (รวม) เป้าหมาย

-13-

กราฟผลการเบิกจ่ายงบประมาณงบลงทุน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่ายสะสม
ตง้ั แตต่ ้นปงี บประมาณจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2565

ร้อยละ

80 75.00
70 66.00
60 56.00
41.00 46.00
50 34.12 35.00
40
29.00
30 5.00 9.00 13.00 18.00 23.00
20

10 0.33
0 3.35 7.94 9.73

Oct-64 พ.ย 64 ธ.ค 64 ม.ค 65 ก.พ 65 มี.ค 65 เม.ย 65 พ.ค 65 มิ.ย 65 ก.ค 65 ส.ค 65 ก.ย 65

ผลการเบิกจา่ ยลงทนุ เป้าหมาย

3. ด้านรายได้เกษตรกรในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 13.3 (โดยมีช่วงคาดการณ์อยู่ที่ร้อยละ 11.1 – 14.7)
จากการคาดการณผ์ ลผลติ ภาคเกษตรท่ีมีแนวโนม้ เพ่ิมสูงขนึ้ จากปริมาณนำ้ และภาวะอากาศเอื้ออำนวย โดยปริมาณผลผลิต
สนิ คา้ เกษตรทส่ี ำคัญมแี นวโน้มขยายตัวทรี่ ้อยละ 7.1 และราคาสินค้าภาคเกษตรคาดการณ์มแี นวโน้มปรับเพิ่มข้ึนจาก
ความตอ้ งการสินค้าในตลาดโลกตามการฟนื้ ตัวของเศรษฐกิจประเทศคคู่ ้า

3.1 ในปี 2565 คาดการณร์ าคาข้าวในจงั หวัดพิจิตรเฉลี่ยอยู่ท่ี 7,697 บาทต่อตัน สูงขึน้ จากปี 2564 คดิ เปน็ ร้อยละ 2.6

ภาพที่ 15 ราคาขา้ วเฉลย่ี ในจังหวดั พจิ ติ ร (บาทตอ่ ตนั )

บาท/ตนั

12,000 9,344 8,143 11,306 11,340 7,404 7,502 7,697
10,000 7,998 6,822
8,000 6,998 6,385 6,505 6,131 6,635 7,055
6,000 5,133

4,000

2,000

0

2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564e2565F

ทมี่ า : ข้อมูลจาก สนง.เศรษฐกิจการเกษตรเขต 12

-14-

3.2 ราคาอ้อยโรงงานในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 6.8 ต่อปี โดยมีราคาเฉลี่ยอยู่ที่ตันละ 992 บาท
ตามแนวโน้มปรมิ าณความตอ้ งการอ้อยซ่ึงเป็นวัตถดุ บิ เข้าสู่โรงงานนำ้ ตาล

ภาพที่ 16 ราคาออ้ ยโรงงานเฉลี่ยในจงั หวัดพิจติ ร(บาทต่อตัน)

บาท/ตัน

1,200 907 944 960 966 918 806 751 973 763 688 716 929 992
1,000 759
639 619
800

600

400

200

0

2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564e2565F

ทม่ี า : ขอ้ มลู จาก สนง.เกษตรจงั หวดั พจิ ิตร

4. ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจในจังหวัดพจิ ิตรคาดการณ์ว่า อัตราเงินเฟอ้ ในปี 2565 อยู่ท่ีร้อยละ 4.3 (โดยมี
ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.5 - 5.0) จากปัจจัยเสี่ยงต่ออัตราเงินเฟ้อตามการปรับเพิ่มขึ้นของราคาจำหน่ายน้ำมัน
เชอื้ เพลงิ ในประเทศที่มแี นวโน้มสูงขึ้นต่อเนื่องตามผลกระทบของสงครามระหว่างรัสเซียและยูเครน ซึ่งส่งผลกระทบ
ต่อตน้ ทุนการผลติ สนิ ค้าและตน้ ทนุ การขนส่งที่เพ่มิ สงู ข้ึนในทุกภาคการผลิต

ภาพท่ี 17 อตั ราเงนิ เฟ้อ(รอ้ ยละต่อป)ี

%yoy

12.0 9.8

10.0

8.0 4.8 4.2 4.5 4.3
1.6 1.6
6.0 1.2 2.4 1.6

4.0

2.0 1.0

0.0

-2.0 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564e 2565F
-4.0 -2.5 -0.5 -1.6 -0.3
-6.0 -4.0

ท่ีมา : ขอ้ มูลจาก สนง.พาณิชย์จงั หวดั พจิ ติ ร

-15-

ในด้านการจ้างงานในปี 2565 คาดว่าจะมีการจ้างงานเพิ่มขึ้นจากปี 2564 ประมาณ 3,083 คน โดย ณ สิ้นปี 2565
คาดว่าจะมีการจ้างงานในจังหวัดพิจิตรทั้งสิ้น 287,119 คน โดยคาดว่าจะมีการจ้างงานเพิ่มขึ้นตามการเริ่มฟื้นตัว
ของเศรษฐกิจในจงั หวดั

ภาพที่ 18 ดา้ นการจ้างงาน (ราย)

400,000 335,208 338,344 342,775357,814 354,841
350,000
300,000 304,717 295,010 291,134 286,588 286,090 286,949 292,224 293,149 284,036 287,119
282,162

250,000

200,000

150,000

100,000

50,000

-

2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564e 2565F

ทีม่ า : ข้อมลู จาก สนง.สถติ จิ ังหวัดพิจิตร

-16-

เคร่อื งชีว้ ดั เศรษฐกจิ ตารางสรุปภาพรวมเศรษฐกิจแล
การขยายตัวเศรษฐกจิ
ผลติ ภัณฑม์ วลรวมจังหวดั ณ ราคาปปี จั จุบนั หน่วย ปี 2560 ปี 2561

ผลิตภณั ฑ์มวลรวมจงั หวดั ณ ราคาปฐี าน ล้านบาท 44,666 50,389
(ปีฐาน 2531) %yoy 4.9 12.8
ประชากรในจงั หวดั ล้านบาท 23,747
%yoy 21,556 10.2
ผลติ ภัณฑม์ วลรวมจงั หวดั ตอ่ หวั 5.9
คน 518,385
522,126 -0.7
%yoy -0.9 97,203
บาท/คน/ปี 85,546

ดัชนปี รมิ าณผลผลิตภาคเกษตร (API) %yoy 5.0 19.5
ดัชนีปรมิ าณผลผลิตภาคอตุ สาหกรรม (IPI) %yoy 7.3 16.2
ดชั นปี รมิ าณผลผลติ ภาคบรกิ าร (SI) %yoy 3.4 -2.0

ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน(Cp) %yoy -19.2 6.7
ดัชนีการลงทนุ ภาคเอกชน(Ip)
ดชั นีการใช้จ่ายภาครฐั บาล(G) %yoy 7.0 -0.7

%yoy -26.2 -10.7

ดชั นรี ายได้เกษตรกร (Farm Income) %yoy 6.8 29.3
ราคาข้าวเฉลยี่ บาท/ตนั 6,131 6,635
%yoy -5.7 8.2

เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 2.6
ระดบั ราคาเฉลยี่ ของGPP(GPP Deflator) %yoy -0.9

อัตราเงนิ เฟ้อ (Inflation rate) %yoy -4.0 -1.6

การจา้ งงาน (Employment) คน 286,090 286,949
Yoy -498 859

- ปี 2565f Max
Min Consensus
ละแนวโนม้ ของจังหวดั พิจิตร 56,035
7.0
ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564e 23,851
2.7
50,360 49,669 52,375 54,139 55,104 503,462
-0.1 -1.4 5.4 3.4 5.2 -0.7
23,159 22,526 23,276 23,584 111,299
-2.5 -2.7 23,226 0.2 1.5
514,639 510,886 3.1 7.8
-0.7 -0.7 503,462 503,462 1.6
97,855 97,221 507,160 -0.7 -0.7 5.5
-0.7 107,533 109,450
-11.3 -8.4 103,271 5.6
3.8 -29.1 5.8 7.1 -4.0
16.2 -24.0 11.2 -1.2 0.1 10.0
1.6 2.8 4.1
-15.4 -14.9 -0.1 14.7
0.4 -3.4 3.4 4.8 7,727
-2.2 15.6 9.2 -6.3 -5.0 3.0
7.7 7.2 8.5
-4.3 0.5 -1.2
7,055 7,404 11.1 13.3
6.3 4.9 23.0 7,652 7,697
7,502 2.0 2.6
1.3

2.4 -1.4 2.3 3.1 3.7 4.3

1.6 -0.3 1.6 3.5 4.3 5.0

292,224 293,149 284,036 284,457 286,998 289,201
5,275 925 -9,113 421 2,962 5,165

-17-

นยิ ามตัวแปรและการคำนวณในแบบจำลองเศรษฐกิจจังหวัด

GPP constant price หมายถงึ ผลิตภณั ฑม์ วลรวมจังหวดั ณ ราคาปีฐาน
GPP current prices หมายถึง ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวัด ณ ราคาปีปัจจุบัน
GPPS หมายถึง ดัชนีผลติ ภัณฑม์ วลรวมจังหวัด ณ ราคาปีฐาน ดา้ นอปุ ทาน
GPPD หมายถงึ ดัชนผี ลิตภัณฑ์มวลรวมจงั หวดั ณ ราคาปีฐาน ดา้ นอุปสงค์
API (Q) หมายถึง ดัชนีผลผลติ ภาคเกษตรกรรมจงั หวดั
API (P) หมายถึง ดชั นีราคาผลผลติ ภาคเกษตรกรรมจังหวัด
IPI หมายถึง ดชั นีผลผลติ ภาคอุตสาหกรรมจังหวัด
SI หมายถึง ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคบรกิ ารจังหวดั
Cp Index หมายถงึ ดชั นกี ารบรโิ ภคภาคเอกชนจังหวดั
Ip Index หมายถงึ ดัชนกี ารลงทุนภาคเอกชนจงั หวัด
G Index หมายถงึ ดชั นกี ารใชจ้ ่ายภาคจงั หวัด
GPP Deflator หมายถงึ ระดับราคาเฉลย่ี ของผลิตภัณฑม์ วลรวมจงั หวัด
CPI หมายถึง ดัชนีราคาผูบ้ ริโภคจังหวดั
PPI หมายถึง ดชั นรี าคาผผู้ ลติ ระดับประเทศ
Inflation rate หมายถงึ อัตราเงินเฟอ้ จังหวัด
Farm Income Index หมายถงึ ดัชนีรายได้เกษตรกรจังหวัด
Population หมายถงึ จำนวนประชากรของจังหวดั
Employment หมายถึง จำนวนผ้มู งี านทำของจังหวดั
%yoy หมายถึง อตั ราการเปล่ียนแปลงเทยี บกับช่วงเดยี วกนั ของปกี ่อน
Base year หมายถงึ ปฐี าน (2548 = 100)
Min หมายถงึ สถานการณ์ทค่ี าดว่าเลวรา้ ยที่สดุ
Consensus หมายถงึ สถานการณท์ คี่ าดวา่ จะเป็นไดม้ ากทส่ี ุด
Max หมายถงึ สถานการณ์ที่คาดวา่ ดีทสี่ ดุ

การคำนวณดชั นี

ดชั นชี ี้วดั เศรษฐกจิ ดา้ นอปุ ทาน (Supply Side หรอื Production Side : GPPS)

ประกอบด้วย 3 ดชั นีได้แก่

(1) ดชั นีผลผลติ ภาคเกษตรกรรมจังหวดั โดยให้น้ำหนัก 0.356

(2) ดัชนผี ลผลิตภาคอุตสาหกรรมจังหวัด โดยใหน้ ้ำหนกั 0.122

(3) ดชั นีผลผลิตภาคบรกิ ารจงั หวัด โดยใหน้ ้ำหนกั 0.521

การกำหนดน้ำหนักของแต่ละองค์ประกอบของดัชนี โดยหาสัดส่วนจากมูลค่าเพิ่มราคาปีปัจจุบัน ของเครื่องช้ี
เศรษฐกิจภาคเกษตรกรรม (สาขาเกษตร + สาขาประมง) เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรม (สาขาเหมืองแร่ สาขา
อุตสาหกรรม และสาขาไฟฟ้า) และเครื่องชี้เศรษฐกิจภาคบริการ (11 สาขา ตั้งแต่สาขาก่อสร้าง ถึง สาขาลูกจ้างใน
ครวั เรือน) จากขอ้ มลู GPP ของ สศช. เทยี บกับ GPP รวมราคาปีปัจจบุ นั ของ สศช.

จัดทำขึ้นเพื่อใช้ติดตามภาวะการผลิตภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการของจังหวัดพิจิตร
เป็นรายเดอื น ซ่งึ จะล่าชา้ ประมาณ 1เดอื นครงึ่ (45 วัน) โดยการคำนวณ API (Q), IPI (Q), SI (Q) ได้กำหนดปีฐาน 2548

-18-

ซง่ึ คำนวณจากเคร่ืองช้ผี ลผลิตภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบรกิ ารของจังหวดั พจิ ิตรรายเดอื นอนุกรมเวลา
ยอ้ นหลังไปตง้ั แต่ปี พ.ศ. 2548 เปน็ ต้นมา

ดชั นผี ลผลิตภาคเกษตรกรรม (Agriculture Production Index: API (Q))

• ประกอบด้วยองค์ประกอบทั้งสน้ิ 8 ตวั คอื

(1) ปรมิ าณผลผลติ ข้าว โดยให้น้ำหนกั 0.778

(2) ปรมิ าณผลผลิตข้าวโพดเล้ยี งสัตว์ โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.002

(3) ปรมิ าณผลผลิตออ้ ยโรงงาน โดยให้นำ้ หนกั 0.027

(4) ปรมิ าณสกุ ร โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.007

(5) ปริมาณไกเ่ น้ือ/ไก่ไข่ โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.010

(6) ปริมาณปลา โดยให้นำ้ หนัก 0.035

(7) ปรมิ าณมะนาว โดยให้น้ำหนัก 0.078

(8) ปรมิ าณไข่เปด็ โดยให้น้ำหนัก 0.063

• โดยตวั ชวี้ ดั ทกุ ตัวได้ปรบั ฤดูกาล (Seasonal Adjusted : SA) แลว้

การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ API (Q) ให้น้ำหนักของเครื่องช้ีฯ จากสัดส่วนมูลค่าเพ่ิม

ของเครอื่ งชี้ฯ ณ ราคาปีปจั จุบนั กบั GPP แบบ Bottom up ณ ราคาปีปัจจบุ ันภาคเกษตรกรรม (สาขาเกษตร และสาขา

ประมง)

ดชั นีราคาผลผลิตภาคเกษตรกรรม (Agriculture Price Index: API (P))

• ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบท้งั ส้นิ 8 ตวั คอื

(1) ราคาผลผลติ ขา้ วเฉลี่ย โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.778

(2) ราคาผลผลติ ขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์เฉลีย่ โดยให้นำ้ หนกั 0.002

(3) ราคาผลผลิตออ้ ยโรงงานเฉลย่ี โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.027

(4) ราคาสุกรเฉลย่ี โดยใหน้ ้ำหนกั 0.007

(5) ราคาไกเ่ น้อื /ไก่ไข่ เฉลยี่ โดยให้น้ำหนัก 0.010

(6) ราคาปลาเฉล่ยี โดยให้น้ำหนกั 0.035

(7) ราคามะนาว โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.078

(8) ราคาไข่เปด็ โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.063

การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ API (P) ให้น้ำหนักของเครื่องชี้ฯ จากสัดส่วนมูลค่าเพิ่ม

ของเครื่องชี้ฯ ณ ราคาปปี จั จบุ ัน กบั GPP แบบ Bottom up ณ ราคาปีปจั จุบันภาคเกษตรกรรม (สาขาเกษตร และสาขา

ประมง)

ดชั นีผลผลิตภาคอตุ สาหกรรม (Industrial Production Index: IPI)

• ประกอบด้วยองคป์ ระกอบท้งั ส้นิ 6 ตวั คือ

(1) ปรมิ าณการใชไ้ ฟฟา้ ภาคอุตสาหกรรม โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.2469

(2) จำนวนโรงงานในจังหวัด โดยใหน้ ้ำหนกั 0.2538

(3) ทุนจดทะเบียนของอตุ สาหกรรม โดยใหน้ ้ำหนัก 0.1790

(4) ภาษีมลู ค่าเพม่ิ ด้านอุตสาหกรรม โดยใหน้ ้ำหนัก 0.3203

การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ IPI ให้น้ำหนักของเครื่องชี้ฯ จากการหาความสัมพันธ์

Correlation ระหว่าง เครื่องชี้เศรษฐกิจผลผลิตอุตสาหกรรมรายปี กับ GPP (สศช.) ณ ราคาคงที่ ภาคอุตสาหกรรม

(สาขาเหมืองแร่ สาขาอตุ สาหกรรม และสาขาไฟฟ้า ก๊าซ ประปา)

-19-

ดัชนผี ลผลติ ภาคบริการ (Service Index: SI)

• ประกอบด้วยองคป์ ระกอบทง้ั ส้ิน 7 ตัว คอื

(1) ภาษมี ูลคา่ เพิม่ โรงแรมและภัตตาคาร โดยให้น้ำหนกั 0.005

(2) ปรมิ าณการใช้ไฟฟา้ ของธรุ กจิ โรงแรม โดยใหน้ ้ำหนกั 0.005

(3) รายได้จากการจำหน่ายดอกไม้ธปู เทยี น โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.005

(4) จำนวนการให้บริการของโรงพยาบาลผู้ปว่ ยใน โดยใหน้ ้ำหนัก 0.072

(5) จำนวนการใหบ้ ริการของโรงพยาบาลผปู้ ่วยนอก โดยใหน้ ้ำหนกั 0.072

(6) ภาษีมูลค่าเพ่มิ ห้างสรรพสนิ คา้ ในจงั หวดั โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.564

(7) การศึกษา โดยให้นำ้ หนกั 0.275

การกำหนดนำ้ หนักขององค์ประกอบในการจดั ทำ SI ใหน้ ำ้ หนกั ของเคร่ืองชี้ โดยเคร่อื งช้ีฯ ภาคบริการด้าน

โรงแรมจาก สัดส่วนของ GPP สาขาโรงแรมและภัตตาคาร ณ ราคาปีปัจจุบัน (สศช.) เทียบ GPP รวมภาคบริการ ณ

ราคาปีปัจจุบัน (สศช.) น้ำหนักของเครื่องชี้ภาคบริการด้านสุขภาพและสังคม จากสัดส่วนของ GPP สาขาบริการด้าน

สุขภาพและสังคม ณ ราคาปีปัจจุบัน (สศช.) เทียบ GPP รวมภาคบริการ ณ ราคาปีปัจจุบัน (สศช.)น้ำหนักของเครื่องช้ี

ภาคบริการด้านการศึกษา จากสัดส่วนของ GPP สาขาบริการด้านการศึกษา ณ ราคาปีปัจจุบัน (สศช.) เทียบ GPP รวม

ภาคบริการ ณ ราคาปีปัจจบุ ัน และน้ำหนักของเครื่องชีภ้ าคบริการดา้ นการขายปลกี ขายส่ง จากสัดส่วนของ GPP สาขา

บริการดา้ นการขายปลีก ขายสง่ ณ ราคาปีปัจจบุ ัน (สศช.) เทียบ GPP รวมภาคบรกิ าร ณ ราคาปปี ัจจบุ ัน

ดัชนีชวี้ ัดเศรษฐกิจดา้ นอปุ สงค์ (Demand Side : GPPD)

ประกอบดว้ ย 3 ดชั นไี ด้แก่

(1) ดัชนีการบรโิ ภคภาคเอกชนจงั หวดั โดยให้น้ำหนัก 0.356

(2) ดัชนีการลงทุนภาคเอกชนจงั หวัด โดยใหน้ ้ำหนกั 0.122

(3) ดชั นกี ารใชจ้ ่ายภาครฐั จังหวัด โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.521

การกำหนดนำ้ หนักของแตล่ ะองค์ประกอบของดชั นี โดยหาคา่ เฉล่ียในแต่ละดัชนี เทียบกับ GPP constant price

โดยเฉลยี่ เพอ่ื หาสัดส่วน และคำนวณหาน้ำหนกั จากสดั ส่วนของแต่ละดัชนเี ทียบผลรวมสดั ส่วนดัชนีรวมทั้งหมด

จัดทำขึ้นเพื่อใช้ติดตามภาวะการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคภาคเอกชนการลงทุน และใช้จ่ายภาครัฐของจังหวัดพิจิตร

เป็นรายเดือน โดยการคำนวณ Cp Index, Ip Index, G Index ได้กำหนดปีฐาน 2548 ซึ่งคำนวณจากเครื่องชี้ภาวะการ

ใช้จ่ายเพื่อการบริโภคภาคเอกชนการลงทุน และใช้จ่ายภาครัฐของจังหวัดพิจิตรเป็นรายเดือนอนุกรมเวลาย้อนหลังไป

ต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2548 เปน็ ตน้ มา

ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน (Private Consumption Index : Cp Index)

• ประกอบดว้ ยองค์ประกอบทงั้ ส้นิ 5 ตัว คอื

(1) ภาษีมูลคา่ เพ่ิม โดยใหน้ ้ำหนัก 0.567

(2) ปรมิ าณรถยนต์จดทะเบยี นใหม่ โดยใหน้ ้ำหนกั 0.215

(3) ปริมาณรถจกั รยานยนต์จดทะเบยี นใหม่ โดยใหน้ ้ำหนัก 0.090

(4) ปรมิ าณการใชไ้ ฟฟ้าของครวั เรอื น โดยให้นำ้ หนัก 0.125

(5) ปริมาณการใช้ประปาของครวั เรือน โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.003

การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ Cp Index ให้น้ำหนักของเครื่องชี้ฯ จากการหาค่าเฉลี่ย

ของเครื่องช้ีฯ ในการจัดทำ Cp Index และแปลงเป็นมูลค่าหน่วยเดยี วกนั (บาท) แล้วหาน้ำหนักจากสดั ส่วนมูลค่าเคร่อื งชี้

ฯ เทียบกบั มูลค่ารวมของเคร่อื งชี้ฯ ทง้ั หมด

-20-

ดชั นีการลงทนุ ภาคเอกชน (Private Investment Index: Ip Index)

• ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบทงั้ สิ้น 5 ตวั คอื

(1) พ้ืนท่ีขออนญุ าตก่อสร้างรวม โดยให้นำ้ หนกั 0.00038

(2) ทุนจดทะเบยี นธุรกจิ จดทะเบยี นใหม่ โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.02101

(3) ปรมิ าณรถยนต์เพอ่ื การพาณชิ ยจ์ ดทะเบียนใหม่ โดยให้น้ำหนกั 0.08299

(4) ปริมาณสินเช่อื เพอ่ื การลงทนุ โดยใหน้ ้ำหนัก 0.89325

(5) คา่ ธรรมเนียมธุรกรรมท่ีดิน โดยให้นำ้ หนกั 0.00237

การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ Ip Index ให้น้ำหนักของเครื่องช้ีฯ จากการหาค่าเฉลี่ย

ของเครื่องช้ีฯ ในการจัดทำ Ip Index และแปลงเป็นมูลค่าหนว่ ยเดียวกนั (บาท) แลว้ หาน้ำหนักจากสดั ส่วนมูลค่าเครื่องชี้ฯ

เทยี บกับมลู ค่ารวมของเครื่องช้ีฯ ท้ังหมด

ดชั นีการใชจ้ า่ ยภาครฐั (Government Expenditure Index : G Index)
• ประกอบดว้ ยองค์ประกอบทงั้ ส้ิน 4 ตัว คอื
(1) รายจา่ ยประจำภาครัฐ สว่ นกลางและสว่ นภมู ภิ าค โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.606
(2) รายจ่ายลงทนุ ภาครฐั ส่วนกลางและสว่ นภูมิภาค โดยให้น้ำหนัก 0.394

การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ G Index ให้น้ำหนักของเครื่องช้ีฯ จากการหาค่าเฉลี่ย
ของเครื่องชี้ฯ ในการจัดทำ G Index และแปลงเป็นมูลค่าหนว่ ยเดียวกนั (บาท) แล้วหาน้ำหนกั จากสัดส่วนมูลค่าเครื่องช้ีฯ
เทียบกับมลู ค่ารวมของเครือ่ งชี้ฯ ท้ังหมด

ผลติ ภัณฑม์ วลรวมจังหวดั ณ ราคาคงท่ี (GPP constant price)
• ประกอบไปด้วยดชั นี 2 ดา้ น
(1) ดัชนชี ีว้ ัดเศรษฐกจิ ดา้ นอปุ ทาน (GPPS) โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.800
(2) ดัชนีชี้วดั เศรษฐกิจด้านอุปสงค์ (GPPD) โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.200

ดชั นีชว้ี ัดดา้ นเสถียรภาพเศรษฐกจิ

• GPP Deflator : ระดบั ราคาประกอบดว้ ย

(1) ดัชนีราคาผู้บริโภคจงั หวดั พจิ ิตร (CPI) โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.200

(2) ดชั นีราคาผผู้ ลติ (PPI) โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.800

• การเปลย่ี นแปลงของจำนวนผมู้ ีงานทำ

คำนวณจาก GPP constant price X 1.473 (อัตราการพ่งึ พาแรงงาน)

อัตราการพึ่งพาแรงงาน

คำนวณจากการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเสน้ อย่างงา่ ย (Simple Linear Regression Analysis) โดยมี

รปู แบบความสัมพันธ์ คือ ln(Emp) =  + (ln(GPP))

โดยที่ Emp = จำนวนผูม้ ีงานทำจำแนกตามอุตสาหกรรม และเพศของจังหวัด (ข้อมลู Website สำนกั งาน

สถติ แิ หง่ ชาติ ซึง่ ใช้ปี 2548 – 2560

GPP = ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจังหวัด ณ ราคาคงที่ ขอ้ มลู จาก สศช. ซง่ึ ใช้ปี 2548 – 2560

-21-

สว่ นราชการ รัฐวิสาหกจิ และหนว่ ยธรุ กจิ ในจงั หวัดพิจติ รทส่ี นับสนุน
ข้อมลู ในการจัดทาประมาณการเศรษฐกิจจังหวดั

สำนกั งานโยธาธกิ ารและผงั เมืองจังหวดั พจิ ิตร ศนู ยว์ จิ ยั และพฒั นาประมงน้ำจดื พจิ ติ ร
สำนักงานเกษตรและสหกรณจ์ งั หวดั พจิ ติ ร ศนู ยส์ ่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 3
สำนกั งานเกษตรจงั หวดั พิจติ ร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต 2 พษิ ณโุ ลก
สำนกั งานปศสุ ตั วจ์ งั หวัดพิจติ ร หอการค้าจงั หวัดพิจติ ร
สำนกั งานประมงจังหวัดพจิ ิตร สภาอุตสาหกรรมจงั หวัดพิจติ ร
สำนกั งานสรรพากรพ้ืนทพี่ ิจิตร ชมรมธนาคารจงั หวัดพิจิตร
สำนกั งานสรรพสามิตพื้นทพ่ี จิ ิตร ธนาคารออมสนิ เขตพิจติ ร
สำนักงานขนสง่ จังหวดั พิจิตร ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร สาขา
สำนักงานพาณชิ ยจ์ ังหวดั พจิ ติ ร พจิ ิตร
สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั พจิ ติ ร ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่ง
สำนักงานอุตสาหกรรมจงั หวัดพจิ ติ ร ประเทศไทย สาขาพิจติ ร
สำนกั งานสถติ จิ ังหวัดพิจิตร สำนกั งานสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถิน่ จังหวัดพจิ ิตร
สำนกั งานแรงงานจังหวัดพิจิตร องค์การบริหารส่วนจงั หวดั พจิ ติ ร
การไฟฟา้ สว่ นภมู ิภาคจังหวัดพจิ ติ ร เทศบาลเมอื งพจิ ติ ร
การประปาสว่ นภมู ภิ าค สาขาพิจิตร หน่วยธรุ กิจตัวแทนภาคเอกชน สาขาต่างๆ

สานกั งานคลงั จังหวัดพิจติ ร ขอขอบคุณ หนว่ ยงานดังกลา่ วขา้ งตน้ ในการสนบั สนนุ ขอ้ มลู


Click to View FlipBook Version