The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรท้องถิ่นกศน.อำเภอเมืองนนทบุรี หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชา สค33158 พระอารามหลวงศูนย์รวมใจใหเมืองนนท์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กศน.ตำบล, 2020-06-26 08:57:10

วิชาพระอารามหลวงศูนย์รวมใจในเมืองนนท์

หลักสูตรท้องถิ่นกศน.อำเภอเมืองนนทบุรี หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชา สค33158 พระอารามหลวงศูนย์รวมใจใหเมืองนนท์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Keywords: พระอาราม,หลักสูตรท้องถิ่น,กศน.,นนทบุรี,หนังสือใหม,กศน.บางกระสอ,ท่าทราย,บางรักน้อย,ตลาดขวัญ,กองพัฒกศน,สค33158

43

1.5 พระเจดยี  วดั เฉลิมพระเกียรติ

เปนพระเจดียแบบลังกา องคเจดียเปนรูปทรงกลมมีฐานแปดเหล่ียม 2 ช้ัน ฐานกวาง
ทั้งหมด 30 เมตร สูงจากพื้นถึงยอดประมาณ 45 เมตร พระเจดียองคนี้ต้ังอยูดานหลังพระอุโบสถ
ภายในเขตกําแพงแกวเดียวกับพระอุโบสถ ตามหลักฐานท่ีปรากฏเขาใจวาพระเจดียองคน้ี สราง
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว และไดมีการบูรณะสรางตอในสมัยพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 4 ดังปรากฏในพระราชพงศาวดารรัชกาลท่ี 4 วา “คร้ังสิ้นแผนดิน
การสรางวัดนั้นยังคางอยูเล็กนอย จึงโปรดเกลาโปรดกระหมอมให พระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี
จางชางไปเขียนผนังพระอุโบสถวิหารการเปรียญ และเขียนเพดาลประตูหนาตางเขียนเปนลายรดน้ํา
มีปราสาทตราแผนดิน และเขียนเปนดวงจันทรเต็มบริบูรณ คือ พระชนก – ชนนีของสมเด็จพระศรี
สุลาไลย ทานทรงพระนามวา เพ็งองคหน่ึง จันทรองคหน่ึงเบ้ืองต่ําเขียนเปนเครื่องยศ หญิงบานหน่ึง
ชายบานหนึ่ง คือ ผใู ดไดเปน ผวู าราชการเมอื งนนทบรุ ี แลว ใหแ กไ ขพระเจดียเสียใหม ใหตองตามแบบ
กรงุ เกา แลว ถวายนามพระประธานวา พระพุทธมหาโลกาภนิ นั ทปฏมิ า”

44

กกกกกกก 1.6 กําแพงแกว กน้ั เขตพุทธาวาสวัดเฉลมิ พระเกียรติ แบงออกเปน 3 เขต คือ
(1) กําแพงแกวลอ มเขตพระอโุ บสถ และพระเจดีย (2) กาํ แพงแกว ลอมศาลาการเปรยี ญ และ
(3) กําแพงแกวลอมพระวิหารพระศลิ าขาว

กําแพงแกวเหลาน้ีมีลักษณะพิเศษ คือ ตอนลางกอเปนกําแพง ชองเสาทึบลอมบัว
จัดจังหวะเปนชองเสา รอยติดตอสืบเนื่องกันเปนกําแพง เหนือกําแพง ภายในชองเสาทําเปนลูกกรงปูน
โปรง และลายลูกกรงทําเปนลูกลายแกวชิงดวง กําแพงแกวกอหนา 0.40 เมตร สูง 2 เมตร มีความยาว
รวมกันท้ังหมด 458 เมตร เนอื้ ผิวกําแพงแกว ทง้ั หมดประมาณ 2,473 ตารางเมตร มีสง่ิ กอสรางประกอบ
กําแพงแกว คือ ซุมประตูประกอบกําแพงแกวท้ัง 4 ดาน 12 ซุม พระเจดียมุมกําแพงแกวดานหนา
พระอโุ บสถ 2 องค ศาลาโถงตรงทางเขา พระอุโบสถดานหนา 1 หลัง หอกลองมุมกําแพงแกวดานขวา
พระวิหาร พระศลิ าขาว 1 หลงั หอระฆงั มมุ กาํ แพงแกว ดานซา ยหนา การเปรียญหลวง 1 หลัง

45

1.7 กําแพงใหญห นาวดั

เปนกาํ แพงกออฐิ ถอื ปนู มีใบเสมาเหนือกําแพงพระบรม มหาราชวัง มีลกั ษณะ
เหมอื นกําแพงพระบรมมหาราชวงั สูง 2.70 เมตร หนา 0.80 เมตร และ ยาว 159 เมตร แตเดิมน้นั
พระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกลาเจาอยูหัวโปรดเกลา โปรดกระหมอ ม ใหส รา งไวลอมรอบวัดท้ังสท่ี ิศ
ตามมุมกําแพงจะมปี อมปราการท้งั 4 ดา น สวนประตกู ําแพงดา นหนาวดั ไดถ ูกเปลย่ี นแปลงไป
จากสถานภาพเดิมในสมยั พระครูปรีชาเฉลมิ (แฉง ) เจาอาวาสองคท ่ี 3 กําแพงใหญหนาวดั เปน
ของเดิมมีการบูรณะซอมแซมใหสมบรู ณทุกยุคสมัยท่ผี านมา สวนอีกสามดานของเดิมหายไป ไดมี
การสรางขึน้ มาใหมภายหลงั

46

1.8 ศาลาแดงเหนอื ศาลาแดงใต

ตัง้ อยดู านหนา กาํ แพงใหญรมิ ฝงแมนํ้าเจาพระยาเปนศาลาโถงทรงไทยสรางดวยไม
หลงั คามงุ กระเบื้องดินเผาขนาดเทากันทั้งสองหลัง คือ กวาง 8 เมตร ยาว 16.50 เมตร สันนิษฐานวาเดิม
หนาจะใชสําหรับรับเสด็จ หรือใชประกอบพิธีสงกองทัพไปรบ และพิธีรับกองทัพกลับสูพระนคร
ปจ จบุ ันใชจ ัดกิจกรรมตาง ๆ ใชเปน สถานท่ีอบรมประชาชนตามโครงการเผยแพรพระพุทธศาสนาของ
วัด และสําหรบั พกั ผอนหยอนใจของพุทธศาสนกิ ชนที่มาทําบญุ

47

1.9 พระศรมี หาโพธ์ิ

อยูดานหลังพระวิหาร ประวัติระบุวาเปนตนโพธิ์พันธุ พุทธคยา ที่ไดรับมาใน
รชั กาลที่ 4 โดยพระปรีชาเฉลิม (เกษ) เจาอาวาสองคแรกไดรับพระราชทานมาปลูกไว ขอมูลบางแหง
ระบวุ า เปนตนโพธิ์ท่พี ระปรีชาเฉลิมนาํ เสดจ็ จากตน โพธพ์ิ ทุ ธคยามาเพาะไว รัชกาลท่ี 4 มีพระประสงค
จะปลูกตน โพธ์ิ พระปรีชาเฉลมิ จึงนาํ มาถวายใหทรงปลูก

กลา วโดยสรปุ โบราณสถาน ในวดั เฉลิมพระเกยี รติวรวิหาร ไดแก (1) วดั เฉลิมพระ
เกยี รติวรวิหาร (2) พระอโุ บสถ (3) พระวหิ าร (4) การเปรียญหลวง (5) พระเจดีย (6) กาํ แพงแกว
(7) กาํ แพงใหญห นาวัด (8) ศาลาแดงเหนอื ศาลาแดงใต และ (9) พระศรีมหาโพธ์ิ

48

กกกกกกก2. โบราณวตั ถุในวดั เฉลิมพระเกยี รติวรวหิ าร
กกกกกกก 2.1 พระประธานในพระอโุ บสถ

เปน พระพุทธรูปปางมารวิชัยหลอดวยทองแดงทั้งองคหนาตักกวาง 6 ศอก สูงจรด
พระเศียร 8 ศอก 1 คืบ 4 น้ิว พระประธานองคน้ีมีตํานานเลาวา เม่ือในรัชกาลที่ 3 โปรดเกลา
โปรดกระหมอม ใหขุดแรทองแดงท่ีอําเภอจันทึก แขวงนครราชสีมา ไดถลุงแรเปนเนื้อทองแดงมามาก
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 3 มีพระราชประสงคจะใชทองแดงนั้นใหเปน
ประโยชนเกื้อกูลแกพระพุทธศาสนากอน จึงโปรดเกลาโปรดกระหมอม ใหหลอพระพุทธรูปสําหรับ
ไวประดษิ ฐานเปน พระประธานในพระอารามซึ่งทรงสรา งใหม 2 พระอาราม คือ วัดราชนัดดาราม กับ
วัดเฉลิมพระเกียรติ และยังโปรดเกลาโปรดกระหมอม ใหหลอพระพุทธรูปปางอ่ืนอีก 34 ปาง ดวย
พระประธานน้ีหลอเสร็จเรียบรอยท่ีโรงหลอหลวง เม่ือ พ.ศ. 2389 โดยนําไปประดิษฐานท่ี
วัดราชนัดดารามองคหนึ่ง และนําไปประดิษฐานที่วัดเฉลิมพระเกียรติองคหนึ่ง เฉพาะ วัดเฉลิม
พระเกยี รติพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยหู วั รชั กาลที่ 4 ถวายพระนามวา
“พระพุทธมหาโลกาภนิ ันทปฏมิ า”

49

2.2 พระศลิ าขาว

พระพุทธรูปปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวาง 31 นิ้ว สูงตลอดยอดรัศมี 33 น้ิว
ประดิษฐานบนบุษบกไมสักในพระวิหาร ตามหมายรับสั่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว
รัชกาลที่ 4 ไดโปรดเกลาโปรดกระหมอม ใหเชิญมาประดิษฐานไว ณ พระอารามน้ี เมื่อป พ.ศ.2401
พรอมดวยพระอัครสาวกซายขวาเปน พระศลิ าน่ังพับเพียบสวนกวา ง 11 นว้ิ สวนสูง 13 น้วิ

50

2.3 ตกุ ตาศลิ าจีนในอริ ิยาบถตา ง ๆ

สมยั พระบาทสมเด็จพระนงั่ เกลา เจาอยหู วั รัชกาลท่ี 3 มีการคาสาํ เภากบั ประเทศจนี
เวลาเดินทางไปประเทศจีนมีสินคา ไทยไปเต็มเรอื สินคา จะเปน จําพวก ไมสัก ขาวสาร งาชา ง ดีบุก
พลวง ไม เครื่องเทศ ซึ่งเปนของมีนํา้ หนัก เม่ือขายสนิ คาแลว จะซ้อื สนิ คา จากประเทศจนี กลบั มาเปน
จาํ พวก ผาแพร ผาไหม แรทอง แรเ งนิ และไขม ุก ซึ่งมรี าคสูง แตมนี ้ําหนกั เบา เรือสาํ เภาทจี่ ะแลน ฝา
คลนื่ ลมในทะเลไดตองมีนํ้าหนกั พอสมควร มฉิ ะนน้ั เรอื จะโคลง ตองมีการถวงน้าํ หนักใตทอ งเรือ จงึ ซอ้ื
ตุกตาจีนทแ่ี กะสลักจากหนิ โดยมกี ารใสอับเฉามาใตทองเรือ เพื่อถว งเรือ ไมใ หเ บาเกินไป เม่อื กลับ
มาถงึ ประเทศไทย ไมไดน ําไปใชป ระโยชน จึงนาํ ไปถวายวัดเพือ่ ใชตกแตง สถานท่ี

กลา วโดยสรุปโบราณวตั ถุในวัดเฉลิมพระเกียรตวิ รวิหาร ไดแก (1) พระประธานใน
พระอุโบสถ (2) พระศลิ าขาว และ (3) ตุกตาศลิ าจีนในอิรยิ าบถตาง ๆ

51

เรอ่ื งท่ี 5 กจิ กรรม ประเพณที ่สี าํ คัญวดั เฉลิมพระเกียรตวิ รวิหาร

งานวัฒนธรรมสองฝงเจาพระยาใตฟานนท เปนงานวัฒนธรรรมประจําปท่ีย่ิงใหญ ซึ่งจัดข้ึน
ทุก ๆ ป ในชวงปลายเดือนมีนาคม – ตนเดือนเมษายน ณ วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร ตําบลบางศรีเมือง
อําเภอเมอื งนนทบุรี จังหวดั นนทบุรี "งานวัฒนธรรมสองฝงเจาพระยาใตฟานนท" เปนการจัดแสดงใหเห็นถึง
ความเปนมาที่สําคัญของจังหวัดนนทบุรี อีกท้ังเผยแพรใหคนทั่วไปไดเห็น และรวมกันอนุรักษฟนฟู
ศิลปวัฒนธรรมประเพณี ที่มีอยูใหสืบทอดตอไปยังรุนลูกรุนหลาน ซึ่งเปนงานท่ีไดทั้งความรูในเรื่อง
ประวตั ิศาสตร ความบนั เทงิ และยงั เปน สวนหนง่ึ ในการสืบสานวฒั นธรรมอันดีงาม

มหกรรมน้ีจะจัดขึ้นทุก ๆ ป ในชวงปลายเดือนมีนาคม-ตนเดือนเมษายน บริเวณสองฝงแมนํ้า
เจาพระยา ภายในอุทยานกาญจนาภิเษก จังหวัดนนทบุรี ซ่ึงภายในงานจะจัดเปนบรรยากาศแบบยอนยุค
โดยแบงออกเปนโซนของยคุ ตา ง ๆ เชน ยคุ กรุงศรีอยธุ ยา ยคุ กรงุ ธนบรุ ี และยคุ รตั นโกสินทร (รัชกาลปจ จบุ นั )
จะทาํ ใหผูเ ขารวมงานพบเห็นภาพชีวิตของ คนในยุคตาง ๆ วามีวิถีชีวิตความเปนอยูและวัฒนธรรมประเพณี
เปนอยางไร มีการละเลนอะไรบาง เปนตน นอกจากกิจกรรมดังกลาวภายในงานยังมีกิจกรรม ท่ีนาสนใจ
อกี มากมาย อาทิ การแสดงแสง สี เสียง เร่ืองประวัติศาสตรนนทบุรี นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ นิทรรศการ
ของดีเมืองนนท การประกวดเพลงเรือ การประกวดขายอาหารในตลาดน้ําจําลอง การแสดงแบบเสื้อผาไทย
ชุดนานาชาติ การจัดแสดงสินคาหน่ึงตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ การละเลนกีฬาพื้นบาน การจัดแสดงพันธุไม
นานาชนดิ เปน ตน

กลาวโดยสรุป กจิ กรรม ประเพณใี นวดั เฉลิมพระเกยี รตวิ รวิหาร ไดแ ก งานวฒั นธรรมสอง
ฝง เจาพระยาใตฟานนท

52

กิจกรรมทายบท

กกกกกกกกจิ กรรมท่ี 1
กกกกกกกคําชแี้ จง ใหผูเรียนศึกษากิจกรรมท่ี 1 แลว เลือกคําตอบท่ีถกู ตอ งที่สุดเพียงขอเดียวเขยี น
คําตอบลงในกระดาษท่แี จกให หรือกระดาษเปลาของผูเ รียน
กกกกกกก1. วัดเฉลิมพระเกียรติสรางเสร็จในรชั สมยั ใด

ก. พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลา นภาลยั (รัชกาลท2่ี )
ข. พระบาทสมเด็จพระนงั่ เกลาเจาอยูหวั (รชั กาลที่3)
ค. พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยูห วั (รชั กาลที4่ )
ง. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหวั (รชั กาลที่5)
กกกกกกก2. พระประธานในพระอุโบสถของวดั เฉลิมพระเกียรตวิ รวหิ าร เปนพระพุทธรูปปางใด
ก. ปางสมาธิ
ข. ปางมารวชิ ัย
ค. ปางนาคปรก
ง. ปางประทานพร
กกกกกกก3. พระวิหารของวดั เฉลมิ พระเกียรติวรวหิ าร มักเรียกกนั วาอะไร
ก. ตาํ หนักแดง
ข. พระวหิ ารศลิ าขาว
ค. พระอุโบสถจตรุ มุข
ง. พระท่ีนั่งมูลมณเฑยี ร
กกกกกกก4. วัดเฉลมิ พระเกียรตวิ รวหิ ารมีเจา อาวาสรปู แรกเม่ือป พ.ศ. ใด
ก. พ.ศ. 2390
ข. พ.ศ. 2391
ค. พ.ศ. 2392
ง. พ.ศ. 2393
กกกกกกก5. ขอ ใดตางจากพวก
ก. พระเจดยี 
ข. พระวิหาร
ค. พระอโุ บสถ
ง. พระศิลาขาว

53

กกกกกกกกิจกรรมท่ี 2

กกกกกกกคาํ ชแ้ี จง ใหผ เู รียนเติมคาํ หรือขอ ความส้นั ๆ ลงในชอ งวางใหถูกตองสมบรู ณ ดวยการเขยี น

คําตอบลงในกระดาษทีแ่ จกให หรือกระดาษเปลาของผูเรยี น

กกกกกกก1. ……………………………………………………….………….เปนผูสรางวัดเฉลมิ พระเกียรตวิ รวหิ าร

กกกกกกก2. พระอุโบสถในวัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร เปน ……………………………………..………………

กกกกกกก3. พระศิลาขาวในพระวหิ ารวดั เฉลมิ พระเกยี รติวรวหิ าร เปน ……………………………..………

กกกกกกก4. กาํ แพงแกว ก้นั เขตพุทธาวาสวดั เฉลมิ พระเกียรติ แบง ออกเปน…………………………..เขต

กกกกกกก5. ……………………………ปจจุบนั ใชจดั กิจกรรมตาง ๆ ใชเปนสถานท่ีอบรมประชาชนตาม

โครงการเผยแพรพระพทุ ธศาสนาของวดั และสาํ หรบั พกั ผอนหยอ นใจของพุทธศาสนกิ ชน ที่มาทําบุญ

กกกกกกกกจิ กรรมท่ี 3

กกกกกกกคําช้ีแจง ใหผเู รียนศกึ ษากจิ กรรมที่ 3 ดว ยการจบั คูของขอความหลังตวั เลขดานซา ยของ

กระดาษ และขอความหลงั ตัวอักษรทางขวาของกระดาษเขียนคําตอบลงในกระดาษทีม่ ีความสมั พันธ

กนั แลว นาํ คําตอบทไี่ ดไ ปเขียนในกระดาษที่แจกให หรือกระดาษเปลาของผูเ รียน

................1. พระพุทธมหาโลกาภินันทปฏิมา ก. พระอโุ บสถ

................2. พระวิหาร ข. สถาปต ยกรรมแบบลังกา

................3. งานวัฒนธรรมสองฝง เจาพระยาใตฟา นนท ค. พ.ศ. 2394

................4. พระเจดีย ง. พระเจดีย

................5. สรา งวัดเฉลมิ พระเกียรตวิ รวิหาร จ. พระศิลาขาว

ฉ. พ.ศ. 2390

ช. ปลายเดือนมนี าคม – ตนเดือนเมษายน

ซ. สถาปต ยกรรมแบบพระราชนยิ ม

54

บทที่ 4
วัดบัวขวัญ พระอารามหลวง

สรปุ สาระสาํ คัญ

1. ทีต่ งั้ แผนที่ การเดนิ ทางวัดบัวขวญั พระอารามหลวง
1.1 วัดบัวขวญั พระอารามหลวง ต้ังอยูเ ลขท่ี 1 หมูที่ 9 ซอยงามวงศว าน 23

ถนนงามวงศวาน ตําบลบางกระสอ อําเภอเมืองนนทบุรี30 จงั หวดั นนทบุรี30
1.2 การเดนิ ทางมาวดั บวั ขวัญ พระอารามหลวง เดินทางไดโ ดย รถโดยสารประจาํ ทาง

องคการขนสงมวลชนกรุงเทพฯ (ขสมก.) และ รถตโู ดยสารประจําทาง ท่ีผา นเดอะมอลลงามวงศวาน
หรอื พันธทุ ิพยงามวงศว าน

2. ประวัติ ความเปน มาของวัดบวั ขวญั พระอารามหลวง
วัดบัวขวัญ พระอารามหลวง เดิมเปนสํานักสงฆในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา

รัชกาลที่ 5 มีนามเดิมวา “วัดสะแก” โดยมีพระครูปรีชาเฉลิมหรือหลวงปูแฉง วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร
เปน ผูริเร่ิมสรางวัดระยะแรก ในป พ.ศ. 2491 กระทั่งมีผูมีจิตศรัทธานามวา นายบัว ฉุนเฉียว บริจาคที่ดิน
ใหกับวัด ซ่ึงในเวลาตอมาจึงไดเปลี่ยนนามมาเปน วัดบัวขวัญ พระมหาไสว สุขวโร (ป.ธ.4) ผูชวยเจาอาวาส
วดั บางแพรกเหนอื ไดมาดํารงตําแหนง เจา อาวาสเม่ือป พ.ศ. 2537 โดยไดรับพระราชทานสมณศักด์ิ30เปน
พระราชาคณะช้ันสามัญที่ "พระโสภณสุตาลังการ" ถึงปจจุบัน และไดพัฒนาวัดบัวขวัญท้ังในดานถาวรวัตถุ
ปรับปรงุ ภมู ิทัศน ตลอดท้งั ใหความสาํ คญั ดานการศกึ ษาพระธรรม กระท่ังเปน โรงเรียน พระปริยัติธรรมแผนก
บาลปี ระจําจังหวดั นนทบุรี

3. ความสาํ คัญของวัดบวั ขวัญ พระอารามหลวง
วัดบัวขวญั พระอารามหลวง มีความสําคัญ คือ เปนพระอารามหลวง30ชั้นตรี ชนิดสามัญ

มีศาสนสถาน และสถานที่ศักด์ิสิทธิ์ และมีความสวยงามเปนวัดหลวงของประเทศไทยมีที่จอดรถ
กวางขวาง มีการอาศัยอยรู วมกนั เออ้ื เฟอที่ดตี อ กัน ระหวา ง บาน วดั โรงเรยี น

4. ถาวรวตั ถุ และปชู นยี วัตถใุ นวัดบัวขวญั พระอารามหลวง
4.1 ถาวรวัตถใุ นวดั บัวขวญั พระอารามหลวง ไดแ ก (1) พระอุโบสถจตุรมขุ วดั บวั ขวัญ

พระอารามหลวง (2) หอระฆัง (3) วิหารหลวงพอโต (4) ศาลาการเปรียญ (5) อาคารมงคล-จารุณี
กลุ ละวณชิ ย (6) กุฎสิ งฆท รงไทย (7) กุฎสิ งฆ (8) ฌาปนสถาน และ (9) ซมุ ประตูทางเขา วดั 3 ประตู

4.2 ปูชนียวัตถใุ นวัดบัวขวญั พระอารามหลวง ไดแก (1) หลวงพอพระพทุ ธเมตตา
(2) หลวงพอพระพทุ ธโสธร (3) หลวงพอโต (4) รอยพระพทุ ธบาทจาํ ลอง และ (5) เจาแมก วนอิม

55

5. ประเพณี และ กิจกรรมในวัดบัวขวัญ พระอารามหลวง ไดแก (1) กิจกรรมศิลปแหงศรัทธา
มหาสังข สรรพมงคลครอบจักรวาล (2) สวดมนตขามป (3) ไหวพระราหู (4) ตลาดน้ําวัดบัวขวัญ และ
(5) กิจกรรมวันสาํ คญั ตาง ๆ เชน วนั วิสาขบชู า

ผลการเรยี นท่คี าดหวงั

1. บอกและอธบิ ายวัดบัวขวัญ พระอารามหลวงได
2. ตอบกจิ กรรมทายบท วัดบวั ขวญั พระอารามหลวงได
3. ตะหนักถงึ คุณคา ของวัดบัวขวัญ พระอารามหลวง

ขอบขา ยเนอื้ หา

เรื่องท่ี 1 ทีต่ ัง้ แผนท่ี การเดินทาง วัดบวั ขวัญ พระอารามหลวง
เรือ่ งที่ 2 ประวตั ิ ความเปนมาของวัดบวั ขวัญ พระอารามหลวง
เรอื่ งท่ี 3 ความสําคัญของวดั ของวดั บวั ขวญั พระอารามหลวง
เร่ืองท่ี 4 ถาวรวัตถุ ปูชนยี วัตถุของวัดบวั ขวัญ พระอารามหลวง
เรอื่ งท่ี 5 กจิ กรรม ประเพณีทสี่ ําคญั ของวดั บวั ขวัญ พระอารามหลวง

ส่อื ประกอบการเรยี น

กกกกกกก1. หนังสอื สมโภชพระอารามหลวง ชือ่ ผแู ตง พระมหาสเุ มธ ฐติ วชริ เมธี ปท พ่ี ิมพ 2552
โรงพิมพ จาํ ปาทอง พรน้ิ ติง้ จํากัด
กกกกกกก2 . ชอื่ บทความวัดบวั ขวญั ชอื่ ผเู ขยี นจากวิกิพเี ดีย สารานุกรมเสรี ปท ีพ่ มิ พ 14 มิถุนายน
2559
กกกกกกก3. เวบ็ ไซต บทความแผนที่ - การเดินทางมา วัดบวั ขวัญ(พระอารามหลวง) จ.นนทบุรี
สืบคนจาก www.facebook.com/notes/วดั บัวขวญั พระอารามหลวง/แผนท่ี-การเดนิ ทางมา-
วดั บวั ขวญั พระอารามหลวง-จ.นนทบุรี/313323162118123/
กกกกกกก4. เวบ็ ไซต บทความทัวรวัดไทย วัดบัวขวญั อําเภอเมอื งนนทบรุ ี จงั หวดั นนทบรุ ี
https://tourwatthai.com/www.tourwatthai.com/วดั ไทย/วดั เมือง/วดั บวั ขวญั -นนทบุรี/ กก
กกกกกกก5. วัดบัวขวญั พระอารามหลวง ตั้งอยูเลขที่ 1 หมู 9 ตาํ บลบางกระสอ อําเภอเมือง
นนทบุรี จังหวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท 02-9528-062-3

56

เร่ืองท่ี 1 ท่ตี ง้ั แผนที่ การเดนิ ทาง วัดบัวขวัญ พระอารามหลวง

กกกกกกก1. ทตี่ ั้ง แผนท่ีการเดนิ ทางของวัดบัวขวญั พระอารามหลวง
กกกกกกก วัดบัวขวัญ พระอารามหลวง ต้ังอยูเลขท่ี 1 หมูท ่ี 9 ซอยงามวงศว าน 23 ถนนงามวงศว าน
ตําบลบางกระสอ อาํ เภอเมืองนนทบุรี30 จังหวดั นนทบุรี30 หมายเลขโทรศพั ท 02-9528062-3

แผนทวี่ ัดบวั ขวญั พระอารามหลวง

57

กกกกกกกการเดินทางไปวัดบัวขวญั พระอารามหลวง โดยมจี ุดเริ่มตน ที่ ทาน้าํ นนทบุรี ตรงไปถนน
ประชาราษฎรถึงส่ีแยกตวิ านนท เลีย้ วซายตรงไปถนนตวิ านนทถ ึงสแ่ี ยกแคราย เลย้ี วขวาไปถนน
งามวงศว าน เลยี้ วซา ยเขาซอยงามวงศว าน 23 ถึงวดั บัวขวัญ พระอารามหลวง ดงั ภาพ

58

กกกกกกกการเดินทางไปวดั บัวขวัญ พระอารามหลวง โดยมจี ุดเริ่มตนท่ี ศนู ยร าชการจงั หวัดนนทบุรี ใชถ นน
รัตนาธเิ บศรถงึ สแี่ ยกแคราย ตรงไปถนนงามวงศว าน เลี้ยวซา ยเขา ซอยงามวงศว าน 23 ถงึ วัดบวั ขวัญ
พระอารามหลวง ดังภาพ

เรื่องท่ี 2 ประวตั ิ ความเปนมาของวัดบัวขวัญ พระอารามหลวง

กกกกกกกวัดบัวขวัญ พระอารามหลวง มีประวัติความเปนมายาวนาน ตั้งแตสมัยพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกลา เจา อยูหวั รัชกาลที่ 5 เปนสาํ นักสงฆกลางทุงนา มีพระครูปรีชาเฉลิมหรือหลวงปูแฉง
วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหารเปนผูริเริ่มสรางวัด มีผูมีจิตศรัทธารวมบริจาคที่ดิน ไดรับอนุญาตใหสราง
วัดขึ้น เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2435 ตอมาหลวงปูฉํ่ามาเปนเจาอาวาส และชาวบานไดนิมนต
พระอธกิ ารพยงุ จัตตมโล จากวดั กาํ แพงมาเปน เจาอาวาส ป พ.ศ. 2491 มกี ารพัฒนาวดั ตลอดมาจนมผี บู ริจาค
ทีด่ ินสรางวดั เพ่มิ คอื นายบวั ฉนุ เฉยี ว เดมิ ชื่อวัดสะแก ไดเปลี่ยนเปนวัดบัวขวัญ เพ่ือเปนเกียรติแกผูบริจาค
ทีด่ ิน และวดั ไดรบั พระราชทานวสิ ุงคามสมี า เม่ือวนั ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2506
กกกกกกกปจ จบุ นั พระโสภณสตุ าลงั การ เจา อาวาสวัดบัวขวญั พระอารามหลวง ไดด ําเนินการ
บูรณปฏิสงั ขรณถ าวรวัตถุตาง ๆ จดั โครงสรา งวดั ใหมใหเปนระเบยี บและรมเยน็ วัดบวั ขวัญ พระอารามหลวง
ไดร บั การพระราชทานพระบรมราชานุญาตสถาปนาเปน พระอารามหลวงช้นั ตรี ชนิดสามญั
กกกกกกกวัดบัวขวัญ พระอารามหลวง เดิมเปนสํานักสงฆ แตตอมาเมื่อมีพระสงฆมาจําพรรษาและปฏิบัติ
สังฆกรรมมากข้ึน จึงไดรับการพัฒนาขึ้นมาเปนวัดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2435 มีนามวา "วัดสะแก"
โดยมีพระครูปรีชาเฉลิมจากวัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหารเปนผูเริ่มสรางวัด และเปนเจาอาวาสในระยะแรก

59

พ.ศ. 2491 พระอธิการพยุง จัตตมโล จากวัดกําแพง ไดรับนิมนตจากชาวบานใหมาเปนเจาอาวาส เน่ืองจาก
การมรณภาพของอดีตเจาอาวาส จากนั้นจึงไดมีการบูรณปฏิสังขรณตลอดมา กระท่ังมีผูมีจิตศรัทธานามวา
นายบัว ฉนุ เฉียว บริจาคท่ีดินใหกับวัด ตอมาจึงไดเปล่ียนนามมาเปนวัดบัวขวัญ เพื่อเปนเกียรติแกผูบริจาค
ท่ีดิน และไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันท่ี 24 มกราคม พ.ศ. 2506 โดยมีพระอธิการพยุง จัตตมโล
เปนเจาอาวาสถงึ ป พ.ศ. 2520 และ พระอธิการบุญชวย ปุญญคุตโต ดํารงตําแหนงเจาอาวาสถึงป พ.ศ.2535
พระมหาไสว สุขวโร (ป.ธ.4) ผูชวยเจาอาวาส วัดบางแพรกเหนือ ไดมาดํารงตําแหนงเจาอาวาสเม่ือป
พ.ศ. 2537 โดยไดรับพระราชทานสมณศกั ด์ิ30เปน พระราชาคณะชั้นสามญั ที่ "พระโสภณสตุ าลงั การ" ถึงปจ จุบัน
และไดพัฒนาวัดบัวขวัญทั้งในดานถาวรวัตถุ ปรับปรุงภูมิทัศน ตลอดทั้งใหความสําคัญดานการศึกษา
พระธรรม กระทั่งเปนโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีประจําจังหวัดนนทบุรี แหงแรก และเปนสถานท่ี
ปฏิบัติธรรมสําหรับอุบาสกอุบาสิกาในทุกวันสําคัญ มีการจัดกิจกรรมสําหรับพุทธศาสนิกชน30และประชาชน
ท่ัวไป เมื่อถงึ วนั สําคญั ทางศาสนา และ วนั นกั ขัตฤกษตลอดมา
กกกกกกกเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2546 ไดเร่ิมกอสราง พระอุโบสถจัตุรมุข โดยมีพระพุทธเมตตาจําลองมา
จากพระพุทธเมตตา30ท่ีประดษิ ฐานในเจดยี พทุ ธคยา ประเทศอินเดยี เปนพระประธานในพระอโุ บสถ
กลาวโดยสรุป วัดบัวขวัญ พระอารามหลวง เดิมเปนสํานักสงฆในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา
รัชกาลท่ี 5 มีนามเดิมวา “วัดสะแก” โดยมีพระครูปรีชาเฉลิมหรือหลวงปูแฉง วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร
เปน ผรู เิ ริม่ สรางวัดระยะแรก ในป พ.ศ. 2491 กระทงั่ มีผมู จี ติ ศรัทธานามวา นายบัว ฉุนเฉียว บริจาคที่ดินใหกับ
วัด ซึ่งในเวลาตอมาจึงไดเปลี่ยนนามมาเปน วัดบัวขวัญ พระมหาไสว สุขวโร (ป.ธ.4) ผูชวยเจาอาวาสวัดบาง
แพรกเหนือ ไดมาดํารงตําแหนงเจาอาวาสเมื่อป พ.ศ. 2537 โดยไดรับพระราชทานสมณศักดิ์30เปนพระราชา
คณะช้ันสามัญที่ "พระโสภณสุตาลังการ" ถึงปจจุบัน และไดพัฒนาวัดบัวขวัญท้ังในดานถาวรวัตถุ ปรับปรุง
ภูมิทัศน ตลอดท้ังใหความสําคัญดานการศึกษาพระธรรม กระท่ังเปนโรงเรียน พระปริยัติธรรมแผนกบาลี
ประจาํ จังหวดั นนทบุรี

เรอ่ื งท่ี 3 ความสําคญั ของวัดบัวขวญั พระอารามหลวง

กกกกกกกวัดบัวขวัญ พระอารามหลวง ไดรบั การพระราชทานพระบรมราชานุญาตสถาปนาเปน
พระอารามหลวงช้นั ตรี ชนิดสามัญ
กกกกกกกวัดบัวขวัญ พระอารามหลวง เปนวัดที่มีประวัติความเปนมาต้ังแตสมัยเปนสํานักสงฆ30ในรัชสมัย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั 30 รชั กาลท่ี 5 ปจจุบันเปนพระอารามหลวง30ช้ันตรี ชนิดสามัญ
กกกกกกกวัดบัวขวัญ พระอารามหลวง เปนวัดท่ีมีศาสนสถาน และสถานท่ีศักดิ์สิทธ์ิ มีความสวยงาม
เปน วดั หลวงของประเทศไทยมีทจี่ อดรถกวางขวาง มีตลาดน้ําวัดบัวขวัญ เปนตลาดน้ําที่มีความสําคัญ
ของจังหวัดนนทบุรี ตามแนวความคิด การอาศัยอยูรวมกัน เอ้ือเฟอท่ีดีตอกัน ระหวาง บาน วัด
โรงเรยี น

60

กกกกกกกกลาวโดยสรุปวัดบัวขวัญ พระอารามหลวง มีความสําคัญ คือ เปนพระอารามหลวง30ช้ันตรี
ชนดิ สามัญ มศี าสนสถาน และสถานที่ศักด์ิสิทธิ์ และมีความสวยงามเปนวัดหลวงของประเทศไทยมีท่ี
จอดรถกวางขวาง มีการอาศยั อยูรว มกนั เออื้ เฟอ ท่ีดตี อกัน ระหวา ง บา น วดั โรงเรยี น

เร่อื งที่ 4 ถาวรวตั ถุ และปูชนยี วตั ถใุ นวัดบัวขวญั พระอารามหลวง

กกกกกกก1. ถาวรวัตถุ ทส่ี ําคัญในวัดบัวขวญั พระอารามหลวง สรา งข้นึ เมอื่ เดือนพฤศจิกายน
พ.ศ. 2546 เปน สถานท่ีทําสงั ฆกรรม ทํากจิ วัตรตาง ๆ ของพระสงฆ

61

กกกกกกกวัด 1.1 หอระฆงั สรางเมือ่ พ.ศ.2547 เพ่อื ใชต ีบอกสญั ญาณเวลาแกพระสงฆใ นเวลา
ลงทําวัตร และประกอบพธิ สี งฆ

62

กกกกกกกวดั 1.2 วิหารหลวงพอโต สรางขนึ้ เพ่อื เปนท่ีประชาชนมาเคารพกราบไหว ภายใน
วดั บวั ขวญั พระอารามหลวง

63

กกกกกกกวัด 1.3 ศาลาการเปรียญ เปน สถานที่ตอนรับพุทธศาสนิกชนท่ีมาทาํ บุญฟง
พระธรรมเทศนา และเจรญิ วิปสสนาภาวนาเปน ประจาํ ทุกวนั พระ

64

1.4 อาคารมงคล - จารณุ ี กลุ ละวณชิ ย เปนอาคาร 4 ชั้น ชน้ั 1-3 สรางขึ้นเพ่ือ
เปน หอ งสําหรบั ภกิ ษุ สามเณร ผูจาํ พรรษา ช้ัน 4 เปนหองเรียนพระปริยตั ิธรรม เปนหองเรียนที่ตดิ ต้งั
เครอื่ งปรับอากาศ

65

กกกกกกกวัด 1.5 กุฎิสงฆทรงไทย 3 หลัง สรา งข้นึ เพื่อเปน ท่พี ํานักของเจา อาวาสวัดบวั ขวัญ
พระอารามหลวง

66
1.6 กุฎิสงฆ จาํ นวน 5 หลงั สรางข้ึนเพ่ือเปน กุฎใิ ชส ําหรับภิกษผุ บู วชจาํ พรรษา
เทา นั้น

1.7 ฌาปนสถาน เปนสถานท่ีใชประกอบพิธีฌาปนกิจ

67

1.8 ซมุ ประตทู างเขาวดั 3 ประตู

68

กลาวโดยสรุปถาวรวัตถุในวัดบัวขวัญ พระอารามหลวง ไดแก (1) พระอุโบสถจัตุรมุข
วัดบัวขวัญ พระอารามหลวง (2) หอระฆัง (3) วิหารหลวงพอโต (4) ศาลาการเปรียญ (5) อาคาร
มงคล-จารุณี กุลละวณชิ ย (6) กุฎิสงฆท รงไทย (7) กฎุ สิ งฆ (8) ฌาปนสถาน และ (9) ซุมประตูทางเขา
วัด 3 ประตู

69

2 ปชู นยี วตั ถใุ นวัดบัวขวัญ พระอารามหลวง
2.1 หลวงพอ พระพุทธเมตตา

2.2 หลวงพอพระพุทธโสธร (จําลอง)

70

2.3 หลวงพอ โต

2.4 รอยพระพุทธบาทจําลอง

71

2.5 เจาแมกวนอิม

กลา วโดยสรุปถาวรวัตถุ ปูชนียวตั ถุในวัดบัวขวัญ พระอารามหลวง ไดแก (1) หลวงพอ
พระพทุ ธเมตตา (2) หลวงพอพระพทุ ธโสธร (จําลอง) (3) หลวงพอโต (4) รอยพระพุทธบาทจําลอง
และ (5) เจาแมก วนอิม

72

เรื่องที่ 5 กจิ กรรม ประเพณที ี่สาํ คญั วดั บวั ขวญั พระอารามหลวง

1 งานศลิ ปแ หง ศรัทธา มหาสงั ข สรรพมงคลครอบจกั รวาล จัดข้นึ เดือนพฤษภาคม ของทุก
ป เพือ่ เปนศูนยก ลางการเผยแพรกจิ กรรมงานบญุ และขอมลู หลากหลายที่เกีย่ วของกับ วัดบวั ขวัญ
พระอารามหลวง42 จังหวดั นนทบุรี

2 พิธสี วดมนตขา มป การเจรญิ พระพุทธมนต ขามป และทําบุญตกั บาตรในตอนเชา

73

3. การบูชาพระราหู พระราหู หรือทเ่ี รียกอีกชือ่ หนึง่ วา เทพราหู เปน เทวดานพทเี่ ชอื่ กนั วา
สามารถบันดาลประโยชนและโทษใหเกดิ ข้ึนกับบุคคล หรอื สง่ิ ตาง ๆ ได ดงั นนั้ เพอื่ ใหสิ่งเลวรา ยทีอ่ าจจะ
เกดิ ขึ้นบรรเทาเบาบางลง และแปรเปล่ียนเปนสิ่งทด่ี ี ใหเ กิดความสาํ เรจ็ ในหนาท่กี ารงาน มโี ชคมีลาภ
เจริญกาวหนา ร่ํารวยยิ่งขน้ึ จึงไดมกี ารบูชาพระราหูเกดิ ข้นึ

74

4 ตลาดนํา้ วดั บวั ขวัญ ตลาดนํ้าทสี่ ําคญั ของจงั หวดั นนทบุรี มสี ินคาจาํ หนายมากมาย
หลากหลายชนดิ ทั้งอาหารคาวและของหวาน เปนแหลงทอ งเทย่ี วพักผอนท่ีอยูใกลกรุงเทพมหานคร

75
5 การทาํ บญุ วันสาํ คัญทางพระพทุ ธศาสนา เชน วันวิสาขบูชา ถอื เปนวนั สาํ คัญทาง
พระพุทธศาสนา คือ เปน วนั ท่ีพระศาสดา คือ พระสมั มาสัมพุทธเจา ประสตู ิ ตรัสรู และปรนิ พิ พาน
ดงั น้นั พทุ ธศาสนิกชนทั่วโลกจึงใหความสาํ คญั กับวันวสิ าขบชู า

กลา วโดยสรุป กจิ กรรม ประเพณีในวดั บัวขวญั พระอารามหลวง ไดแก (1) งานศลิ ปแหง ศรทั ธา
มหาสังข สรรพมงคลครอบจกั รวาล (2) สวดมนตข ามป (3) การบชู าพระราหู (4) ตลาดน้ําวดั บัวขวัญ และ
(5) การทาํ บุญวนั สาํ คญั ทางพระพทุ ธศาสนา

76

กจิ กรรมทายบท

กจิ กรรมท่ี 1
คําชึ้แจง ใหผเู รยี นศกึ ษากิจกรรมที 1 แลว เลอื กคาํ ตอบทีถ่ ูกตองทีส่ ดุ เพียงขอเดยี ว เขยี น
คําตอบในกระดาษท่แี จกให หรอื กระดาษเปลา ของผูเรียน
1. วดั บัวขวัญ พระอารามหลวง สรา งขึน้ ในสมยั ใด

ก. รัชกาลที่ 5
ข. รชั กาลที่ 6
ค. รชั กาลที่ 7
ง. รัชกาลที่ 8
2. ขอ ใดเปนถาวรวัตถทุ ส่ี ําคัญในวัดบวั ขวัญ พระอารามหลวง
ก วิหารศิลาขาว
ข. พระตําหนักแดง
ค. พระท่ีนั่งมณเฑยี ร
ง. พระอุโบสถจตรุ มขุ
3. วัดบวั ขวญั พระอารามหลวง ตัง้ อยูบรเิ วณพ้ืนทตี่ าํ บลใดในอําเภอเมืองนนทบุรี
ก. ตาํ บลบางเขน
ข. ตําบลทาทราย
ค. ตําบลตลาดขวัญ
ง. ตาํ บลบางกระสอ
4. ประเพณที ส่ี ําคัญของวดั บวั ขวัญ พระอารามหลวง คือขอ ใด
ก. ประเพณตี ักบาตรเทโว
ข. ประเพณีแหธ งตะขาบ
ค. ประเพณสี วดมนตข ามป
ง. ประเพณีตักบาตรนํ้าผึง้
5. การสรา งตลาดนํ้าวดั บวั ขวญั พระอารามหลวง มีจุดประสงคต รงกับขอใดมากทส่ี ดุ
ก. การทองเท่ยี วเชงิ วัฒนธรรม
ข. การใชเ วลาวางใหประโยชน
ค. ลดการผูกขาดกิจกรรมดานการคา
ง. กระตุนเศรษฐกิจข้ันพ้ืนฐานของสงั คมใหแ ข็งแรง

77

กิจกรรมท่ี 2
คาํ ช้ีแจง ใหผ ูเ รียนเติมคํา หรอื ขอความส้ันๆลงในชองวา งใหถกู ตองสมบูรณ ดวยการเขียน

คําตอบลงในกระดาษทีแ่ จกใหห รอื กระดาษเปลา ของผเู รียน

1……………………………………..เปน ผูร ิเรม่ิ สรา งวัดในชว งแรกวดั บัวขวญั พระอารามหลวง

2………………………………………ปจ จบุ ันเปนหอ งเรียนพระปริยตั ธิ รรม

3………………………………………ประเพณีทจี่ ัดขนึ้ เดือนพฤษภาคม ของทุกป เพื่อเปนศนู ยกลาง

การเผยแพรกจิ กรรมงานบญุ และขอ มลู หลากหลายท่เี กีย่ วของกบั วดั บวั ขวญั พระอารามหลวง

4. พระประธานในวดั บัวขวัญ พระอารามหลวงคือ………………………………………………………..

5. วดั บวั ขวัญ พระอารามหลวง เปนพระอารามหลวงชัน้ ……………………………………………………………………….

กิจกรรมท่ี 3

คาํ ช้ีแจง ใหผูเ รยี นศกึ ษากจิ กรรมท่ี 3 ดว ยการจับคขู องขอความความหลังตวั เลขดา น

ซา ยมือของกระดาษและขอความหลงั ตัวอักษรขวามอื ของกระดาษที่มคี วามสัมพันธก นั แลว นําคําตอบ

ที่ไดไปเขียนในกระดาษที่แจกให หรอื กระดาษเปลาของผูเรียน

…..…1. เปน สถานที่ทาํ บญุ ฟงพระธรรมเทศนา ก. พระอโุ บสถจตุรมุข

และเจริญวิปสสนาภาวนาเปน ประจาํ ทุกวันพระ ข. วิหารหลวงพอโต

……..2. สถานทที่ ําสงั ฆกรรม ทาํ กจิ วตั รตา ง ๆ ของพระสงฆ ค. กุฎิสงฆท รงไทย 3 หลงั

……..3. เปน ทป่ี ระชาชนมาเคารพกราบไหว ง. พระราหู

……..4. เปนทพ่ี ํานกั ของเจา อาวาสวัดบัวขวัญพระอารามหลวง จ. ศาลาการเปรียญ

…......5. เกดิ ความสําเร็จในหนาที่การงาน ฉ. อาคารมงคล-จารณุ ี กุลละวณิชย

มีโชคมลี าภ เจริญกา วหนารํ่ารวยยงิ่ ขนึ้ ช. ฌาปนสถาน

ซ. กุฎิสงฆ จํานวน 5 หลงั

78

บทท่ี 5
วธิ กี ารทางภูมศิ าสตร และประวตั ศิ าสตรศ ึกษาพระอารามหลวง

ศูนยรวมใจในเมืองนนท

สาระสําคญั

1. วธิ ีการทางภูมิศาสตร ประกอบดว ย (1) กําหนดวัตถุประสงค (2) การเกบ็ รวบรวมขอมูล
ดวยการออกปฏิบัตภิ าคสนาม และสัมภาษณ (3) นําขอมลู วิเคราะห และจดั หมวดหมู และ
(4) นาํ เสนอขอ มูลและเขยี นรายงาน

2. วิธกี ารประวตั ิศาสตร ประกอบดวย (1) การกําหนดประเดน็ ในการศึกษา (2) สบื คน
และรวบรวมขอ มูล (3) การวิเคราะห และตีความขอมลู ทางประวัตศิ าสตร (4) การคัดเลือก และ
ประเมินขอมูล และ (5) การเรยี บเรยี งรายงาน ขอ เทจ็ จรงิ ทางประวตั ิศาสตร

ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวงั

กกกกกกก1. บอกและอธบิ ายวธิ กี ารทางภมู ศิ าสตร และประวตั ิศาสตรศ ึกษาพระอารามหลวง
ศูนยร วมใจในเมอื งนนทได

กกกกกกก2. ตอบกจิ กรรมทายบทวิธีการทางภมู ิศาสตร และประวตั ศิ าสตรศกึ ษาพระอารามหลวง
ศูนยรวมใจในเมืองนนทได

กกกกกกก3. เห็นประโยชนข องการใชว ิธกี ารทางภมู ิศาสตร และประวตั ศิ าสตรศ ึกษาพระอารามหลวง
กกกกกกก3. ศนู ยร วมใจในเมอื งนนท

ขอบขา ยเนอ้ื หา

กกกกกกกเรื่องท่ี 1 วธิ ีการทางภมู ิศาสตร
กกกกกกก1. กําหนดวตั ถุประสงค
กกกกกกก2. การเกบ็ รวบรวมขอ มูลดว ยการออกปฏบิ ตั ิภาคสนาม และสมั ภาษณ
กกกกกกก3. นําขอมูลวิเคราะห และจดั หมวดหมู
กกกกกกก4. นําเสนอขอมูลและเขยี นรายงาน

เรอ่ื งท่ี 2 วิธกี ารประวัติศาสตร
กกกกกกก1. การกาํ หนดประเดน็ ในการศกึ ษา
กกกกกกก2. สืบคนและรวบรวมขอ มลู

79

กกกกกกก3. การวิเคราะห และตคี วามขอมูลทางประวตั ิศาสตร
กกกกกกก4. การคดั เลอื ก และประเมนิ ขอมลู
กกกกกกก5. การเรยี บเรยี งรายงาน ขอเท็จจริงทางประวตั ิศาสตร

สื่อประกอบการเรยี น

กกกกกกก1. ชอื่ หนังสือ วธิ ที างประวตั ิศาสตร ชอ่ื ผูแตง ครวู รรณา ไชยศร.ี ปท ี่พิมพ 16 มกราคม 2013
กกกกกกก2. ช่ือบทความวธิ ีทางภูมิศาสตร สบื คน ทาง www.google.com
เว็บไซต https://wanna500.wordpress.com
กกกกกกก3. วดั เขมาภริ ตารามราชวรวหิ าร ตัง้ อยทู ่ี 74 หมูที่ 8 ถนนพิบูลสงคราม
ตําบลสวนใหญ อาํ เภอเมืองนนทบรุ ี จังหวัดนนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท 0-2525-0470
กกกกกกก4. วัดเฉลมิ พระเกียรติวรวิหาร ตง้ั อยทู ี่ 86 ถนนทานํ้านนท – วดั โบสถด อนพรหม
ตาํ บลบางศรีเมือง อําเภอเมืองนนทบรุ ี จังหวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศพั ท 0-2881-6323
กกกกกกก5. วดั บวั ขวญั พระอารามหลวง ต้งั อยูท ี่ 1 หมูที่ 9 ตําบลบางกระสอ อําเภอเมืองนนทบรุ ี
จงั หวดั นนทบุรี หมายเลขโทรศัพท 0-2952-8262-3

เร่อื งท่ี 1 วิธกี ารทางภมู ศิ าสตร

กกกกกกก1. กาํ หนดวัตถุประสงค
กกกกกกก การกําหนดวัตถุประสงคในการศึกษาดานภูมิศาสตร ตองเนนการพัฒนาการคิดวิเคราะห
หาความสัมพันธ ความเช่ือมโยง เปรียบเทียบ และใหเหตุผลทางภูมิศาสตร โดยเปดโอกาสใหผูเรียน
สบื คน รวบรวม ตคี วามสารสนเทศทางภูมิศาสตรจากแหลง สารสนเทศ ทางภมู ิศาสตรและใชเครื่องมือ
ทางภูมิศาสตรที่เหมาะสม เพ่ือใหผูเรียนไดฝกอานทําความเขาใจระบบธรรมชาติ และมนุษย และ
การมีปฏิสัมพันธตอกัน สุดทายคือการฝกใหผูเรียนสามารถตัดสินใจเกี่ยวกับการมีสวนรวมจัด
การส่งิ แวดลอมอยา งยัง่ ยนื ในฐานะที่เปนสวนหนึ่งของระบบธรรมชาติ
กกกกกกก การกําหนดวัตถุประสงคในการศึกษาดานภูมิศาสตร เปนการศึกษาลักษณะของโลก
ทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหลงทรัพยากร และภูมิอากาศของประเทศไทย และภูมิภาค
ตาง ๆ ของโลก การใชแผนท่ีและเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร ความสัมพันธกันของส่ิงตาง ๆ ในระบบ
ธรรมชาติ ความสัมพันธของมนุษยกับสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษยสรางข้ึน
การนําเสนอขอมูลภูมสิ ารสนเทศ การอนุรกั ษสิ่งแวดลอ มเพอ่ื การพัฒนาทย่ี ั่งยนื
กกกกกกก การกําหนดวัตถุประสงคในการศึกษาดานภูมิศาสตร เปนการศึกษาถึงความสัมพันธ
ระหวางสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ กับทางสังคมปฏิสัมพันธเชิงภูมิศาสตรของโลกประกอบดวยธรณีภาค
อุทกภาค บรรยากาศภาค และ ชีวภาค มีผลตอการเกิดปรากฏการณตาง ๆ ทางธรรมชาติของโลก

80

เปนปจจัยกําหนดรูปแบบวิถีชีวิต ของมนุษยในแตละพ้ืนท่ี เมื่อเกิดการเปล่ียนแปลงทางภูมิศาสตร
ไมวาจากกระบวนการทางธรรมชาติ หรอื จากฝมือมนุษย ยอมสงผลกระทบใหส่ิงแวดลอม สังคม และ
วิถีชีวิตของมนุษยเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งเปนความจําเปนอยางย่ิงท่ีตองรูเทาทันการเปล่ียนแปลง
เพอ่ื ปรบั ตัวใหส อดคลองและสามารถดาํ รงชีวิตอยา งมคี วามสขุ
กกกกกกก กลาวโดยสรปุ การกาํ หนดวตั ถปุ ระสงคในการศึกษาดานภูมิศาสตร คือการพัฒนาการ
คดิ วิเคราะหห าความสมั พนั ธ ความเชื่อมโยง เปรยี บเทียบ และใหเหตุผลทางภมู ิศาสตร โดยเปด
โอกาสใหผเู รยี นสืบคน รวบรวม ตคี วามสารสนเทศทางภมู ิศาสตรจากแหลงสารสนเทศ ทางภมู ิศาสตร
และใชเ คร่ืองมอื ทางภมู ิศาสตรท เ่ี หมาะสม ประกอบดวย ธรณีภาค อทุ กภาค บรรยากาศภาค และชวี ภาค
มผี ลตอการเกิดปรากฏการณตาง ๆ ทางธรรมชาตขิ องโลก
กกกกกกก2. การเกบ็ รวบรวมขอมูลดว ยการออกปฏบิ ตั ภิ าคสนาม และสัมภาษณ

การเก็บรวบรวมขอมูลดวยการปฏิบัติภาคสนามและสัมภาษณ ขอมูลที่ใชในการศึกษา
ภูมิศาสตร เรียกวา สารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information) เปนขาวสารที่มีรายละเอียดเกี่ยวกับ
ทําเลที่ต้ัง ลักษณะทางกายภาพและกิจกรรมของมนุษย เมื่อผูเรียนต้ังคําถามเชิงภูมิศาสตรผูเรียนจะตอง
รวบรวมขอมูลจากการอานและแปลความหมายจากแผนที่ ภาพถาย ขอมูลสถิติ ขอมูลเชิงปริมาณ และ
เชิงคุณภาพ รวมถึงการเก็บขอมูลจากการสอบถาม การออกภาคสนาม และการอางอิงจากเอกสาร การออก
ภาคสนาม นับวามีความสําคัญเปนอยางมากในการศึกษาทางภูมิศาสตร เปนการฝกทักษะการสังเกต ใน
พื้นท่จี ริง ดว ยการ สมั ภาษณ การสอบถาม และการบันทกึ ภาพ การออกภาคสนามจะชวยกระตนุ ใหเกิดความ
อยากรู อยากเหน็ เพลดิ เพลิน ชวยใหเกดิ การเรยี นรเู ชงิ รกุ
กกกกกกก ขอมูลท่ีใชในการศึกษาภูมิศาสตร เรียกวา สารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic
Information) เปน ขาวสารขอมูลที่มีรายละเอียดเก่ียวกับทําเลที่ตั้ง ลักษณะทางกายภาพ และมนุษย
บนทําเลท่ีต้ังเหลานั้นเม่ือ ผูเรียนต้ังคําถามเชิงภูมิศาสตร ผูเรียนจะตองรวบรวมขอมูลจากการอาน
และแปลความหมายจากแผนที่ ภาพถาย ขอมูลสถิติ ขอมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ รวมถึงการ
เก็บขอมลู จากการสอบถาม การออกภาคสนาม และการอา งอิงจากเอกสาร การออกภาคสนาม นับวา
มีความสําคัญเปนอยางมากในการศึกษาทางภูมิศาสตร เปนการฝกทักษะการสังเกตในพื้นท่ีจริง
จากการสัมภาษณ การสอบถาม การบันทึกภาพ การออกภาคสนามจะชวยกระตุนใหความอยากรู
อยากเห็น เพลิดเพลิน ชวยใหเกิดการเรียนรูเชิงรุก (Active Learning) จากการเก็บขอมูลจะทําให
ผูเ รียนเขา ใจลักษณะทางกายภาพและกิจกรรมของมนุษยท ีเ่ กดิ ข้นึ ในทีต่ าง ๆ

ขอมูลจากการอานและแปลความหมายจากแผนที่ ภาพถา ย ขอ มลู สถิติ ขอมลู เชงิ ปริมาณ และ
เชิงคุณภาพ รวมถึงการเก็บขอมูลจากการสอบถาม การออกภาคสนาม และการอางอิงจากเอกสาร การออก
ภาคสนาม นับวามีความสําคัญเปนอยางมากในการศึกษาทางภูมิศาสตร เปนการฝกทักษะการสังเกต

81

ในพื้นที่จริง ดวยการสัมภาษณ การสอบถาม และ การบันทึกภาพ การออกภาคสนามจะชวยกระตุนใหเกิด
ความอยากรู อยากเห็น เพลดิ เพลิน ชว ยใหเ กดิ การเรียนรเู ชงิ รุก
กกกกกกก กลาวโดยสรุป การเก็บรวบรวมขอมูลดวยการออกปฏิบัติภาคสนาม และสัมภาษณ คือ
การเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน อีกท้ังยังเปนการสงเสริมใหเกิดการพัฒนาทักษะการสังเกต ทักษะ
การแปลความขอ มูลทาง ภูมิศาสตร การใชเทคโนโลยีและการสถิติพื้นฐานเพื่อน ๆ มาสูขอสรุปที่เปน
องคค วามรูท่เี ปนการเรียนรทู ีม่ คี วามหมาย สําหรบั ผูเ รียนการตั้งคาํ ถามน้ันจะตองเปนคําถามท่ีมีความ
เปนไปไดในการหาคําตอบ และสะทอนใหเห็นถึงแนวทางในการรวบรวมขอมูลเพื่อหาคําตอบดวย
ในระดับเร่มิ ตน การฝก ตัง้ คําถาม
กกกกกกก3. การนาํ ขอ มลู วเิ คราะห และจดั หมวดหมู
กกกกกกก ขอมูล เปนการศึกษาแบบรูป ความสัมพันธ และความเช่ือมโยงที่เกิดขึ้นของ
ปรากฏการณตาง ๆ ทางภูมิศาสตรตลอดจนศึกษาแนวโนม ความสัมพันธ และความตอเนื่องของ
ปรากฏการณหาความสัมพันธสอดคลองกัน และ ลักษณะที่คลายกันระหวางพื้นท่ีเปรียบเทียบกับ
ขอมูลจากแผนที่ กราฟ แผนภาพ ตาราง และอื่น ๆ ดวยการใช สถิติอยางงาย ๆ เพื่อใหไดคําตอบ
สําหรบั คาํ ถาม
กกกกกกก การวิเคราะหขอมูล เปนการศึกษารูปแบบ ความสัมพันธ และความเช่ือมโยงท่ีเกิดขึ้น
ของปรากฏการณต า ง ๆ ทางภูมิศาสตร ตลอดจนศึกษาแนวโนม ความสัมพันธ และความตอเนื่องของ
ปรากฏการณหาความสัมพันธสอดคลองกันและลักษณะที่คลายกันระหวางพื้นที่ เปรียบเทียบกับ
ขอมูลจากแผนท่ี กราฟ แผนภาพ ตาราง และอ่ืน ๆ ดวยการใชสถิติอยางงาย ๆ เพื่อใหไดคําตอบ
สําหรับคําถามแผนท่ีศึกษารูปแบบและความสัมพันธทางพ้ืนที่ตาราง กราฟศึกษาแนวโนมและ
ความสัมพันธระหวางประเด็นตาง ๆ เอกสาร ตําราศึกษาความหมาย อธิบาย และสังเคราะห
คุณลักษณะของแตละส่ิงท่ีสนใจจัดการ และการวิเคราะหอยางเปนขั้นตอน โดยอางอิงขอมูล ดวยการ
นําเสนอดวยวาจาและขอเขียน แสดงคําตอบท่ีแสดงออกถึงความสามารถในการใหเหตุผล และ
ความสามารถในการสื่อสารท่ชี ัดเจน
กกกกกกก กลาวโดยสรุป นําขอมูลวิเคราะห และจัดหมวดหมู คือเปนการศึกษาแบบรูป
ความสัมพันธ และความเชื่อมโยงท่ีเกิดข้ึนของปรากฏการณตาง ๆ ทางภูมิศาสตรตลอดจนศึกษาแนวโนม
ความสัมพนั ธ และความตอเนือ่ งของปรากฏการณห าความสัมพนั ธส อดคลอง
กกกกกกก4. การนาํ เสนอขอ มูล และเขียนรายงาน
กกกกกกก ขอมูลขอเท็จจริง คือ ขอมูลที่แสดงใหทราบถึงความจริงตาง ๆ ท่ีมีอยูในโลก สามารถ
ตรวจสอบและพสิ ูจนไ ด ถา ตรวจสอบแลวไมเปนความจริงตามท่ีนําเสนอ ขอมูลนั้นอาจเปนขอเท็จแต
ถาตรวจสอบแลว ขอมลู นั้นเปน ความจริง ขอ มูลนัน้ กเ็ ปน ความจรงิ หรอื ถูกตอ ง

82

กกกกกกก ขอมูลขอคิดเห็น คือ ขอมูลที่เกิดข้ึนในใจ หรือในสมองของผูนําเสนอขอมูล อาจเปน
ความเชื่อ ความคิด ความรูสึก หรือขอสังเกต ท่ีแสดงออกมา แตไมสามารถตรวจสอบไดวาเปน
ความจริงหรอื ไม เพราะเปนขอ วินจิ ฉัยของบคุ คลเทา นั้น
กกกกกกก ขอ มูล ขอเสนอแนะ เปน การนาํ เสนอขอมลู เก่ียวกบั แนวทางปฏิบตั ิในเรื่องราวตา ง ๆ ของบุคคล
หรอื กลุมบุคคล ที่มีความประสงคจะเผยแพรเพื่อใหบุคคลท่ัวไป หรือกลุมบุคคลไดรับรูและพิจารณา นําไปใช
ประโยชนตามความเหมาะสม เชน การเสนอแนะ การใชสื่อประชาสมั พันธ ใหพจิ ารณาสื่อตามความเหมาะสม
กกกกกกก กลาวโดยสรุป นําเสนอขอมูล และเขยี นรายงาน คือ ขอมูลท่ีแสดงใหทราบถึงความจริง
ตา ง ๆ ท่มี อี ยใู นโลก สามารถตรวจสอบและพิสจู นไ ด

กลา วโดยสรุปรวม วธิ กี ารภมู ศิ าสตร ประกอบดวย (1) กําหนดวัตถุประสงค
(2) การเก็บรวบรวมขอมูลดวยการออกปฏิบัติภาคสนาม และสัมภาษณ (3) การนําขอมูลวิเคราะห
และจัดหมวดหมู และ (4) การนําเสนอขอมูลและเขียนรายงาน
กกกกกกกกกสําหรับการประยุกตใชข้ันตอนวิธีการศึกษาทางภูมิศาสตรในการศึกษาพระอารามหลวง
ศูนยรวมใจในเมืองนนท ใหครูผูสอนแนะนําผูเรียนในขั้นตอนการกําหนดประเด็นศึกษา แลวใหไป
ศกึ ษาคน ควา หาขอมลู โดยผูเ รียนตองประยุกตใช ดวยการกําหนดวัตถุประสงคในการศึกษาประเด็น
ศึกษาที่กําหนด ตอจากนั้นใหไป ณ แหลงเรียนรูในชุมชน หรือแหลงเรียนรูที่ตองศึกษา สัมภาษณ
เก็บรวบรวมขอมูลจากผูรู ภูมิปญญาหรือบุคคลที่เก่ียวของ รวบรวมขอมูลที่ไดมาวิเคราะห และ
จัดหมวดหมู สรุปผลการศึกษาคนควา และบันทึกลงในเอกสารการเรียนรูดวยตนเอง (กรต.)
เพื่อนําไปพบกลุม ตามทน่ี ัดหมายไวกบั ครูผูสอน

เร่อื งท่ี 2 วิธีการประวัตศิ าสตร

กกกกกกก1 การกําหนดประเด็นในการศกึ ษา
กกกกกกก 2การกําหนดประเดน็ ในการศึกษา เปนขั้นตอนแรก นักประวัตศิ าสตรต องมีจุดประสงค
ชัดเจนวา จะศกึ ษาอะไร อดีตสว นไหน สมยั อะไร และเพราะเหตุใด เปน การตั้งคําถามทต่ี องการศึกษา
นักประวัตศิ าสตรตองอาศัยการอา น การสังเกต และความตอ งมีความรกู วา ง ๆ ทางประวตั ิศาสตรใ น
เรือ่ งน้นั ๆ มากอนบา ง ซึง่ คําถามหลักทน่ี ักประวตั ศิ าสตรค วรคํานึงอยตู ลอดเวลาก็คือทาํ ไม และ
เกดิ ขึน้ อยางไร
กกกกกกก 2การกําหนดประเด็นในการศึกษา เปนการศึกษาเรือ่ งราวในประวัติศาสตรเ ร่ิมจากความ
สงสยั อยากรู ไมพอใจกบั คําอธิบายเรื่องราวทมี่ มี าแตเ ดิม ดังน้ัน ผูศึกษาจงึ เริ่มจากการกาํ หนดเรือ่ ง
หรอื ประเดน็ ทีต่ อ งการศึกษาซึง่ ในตอนแรก อาจกําหนดประเด็นทตี่ องการศึกษาไวกวา ง ๆ กอ น แลว
จงึ คอยจาํ กดั ประเด็นลงใหแ คบ เพ่ือใหเ กิดความชดั เจนในภายหลงั เพราะบางเร่ืองขอบเขตของ
การศกึ ษาอาจกวางมากทั้งเหตกุ ารณ บคุ คล และเวลา

83

กกกกกกก 2การกําหนดประเดน็ ในการศึกษา เปนขน้ั ตอนแรกของวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตรท ่ี
นักประวตั ิศาสตร หรือผูทสี่ นใจอยากรู เหตกุ ารณประวตั ศิ าสตร โดยต้งั ประเดน็ คาํ ถามวา ศกึ ษาเรื่อง
อะไรในชว งเวลาใด ทาํ ไมจงึ ตองศึกษา
กกกกกกก 2กลา วโดยสรปุ การกําหนดประเด็นในการศึกษา คือ เปน ข้ันตอนแรกที่ตองมีจุดประสงค
ชัดเจน มคี วามสงสยั อยากรูอะไร เรอ่ื งอะไร อดีตสว นไหน สมยั ใด และเพราะเหตุใด
กกกกกกก2. สบื คน และรวบรวมขอ มูล
กกกกกกก 2หลักฐานทางประวัติศาสตรที่ใหขอมูล มีหลักฐานท่ีเปนลายลักษณอักษรและหลักฐานท่ี
ไมเปนลายลักษณอักษรมีทั้งที่เปนหลักฐานช้ันตน หรือหลักฐานปฐมภูมิ และหลักฐาน ชั้นรอง หรือ
หลักฐานทุติยภูมิ การรวบรวมขอมูลนั้น หลักฐานชั้นตนมีความสําคัญและความนาเชื่อถือมากกวา
หลกั ฐานชน้ั รอง แตห ลักฐานชน้ั รองอธิบายเรอ่ื งราวใหเ ขา ใจไดงา ยกวา หลกั ฐานชัน้ ตน ในการรวบรวม
ขอมูลประเภทตาง ๆ ดังกลาวขางตน ควรเร่ิมจากหลักฐานชั้นรองแลว จึงศึกษาหลักฐานช้ันตน
ถาเปนหลักฐานประเภทไมเปนลายลักษณอักษร ก็ควรเริ่มตนจากผลการศึกษาข้ึนอยูกับวาผูศึกษา
ตองการศึกษาเรื่องอะไร ดังนั้นการรวบรวมขอมูลที่ดีจะตองจดบันทึกรายละเอียดตาง ๆ ท้ังขอมูล
และแหลงขอมูลใหส มบรู ณแ ละถูกตอ งเพอ่ื การอา งองิ ท่ีนา เช่ือถือ
กกกกกกก 2การรวบรวมหลักฐาน คือ กระบวนการรวบรวมหลักฐานที่เก่ียวของกับหัวขอท่ีจะศึกษา
ซ่ึงมีทั้งหลักฐานท่ีเปนลายลักษณอักษร และหลักฐานท่ีไมเปนลายลักษณอักษร หลักฐานทาง
ประวัติศาสตรแบงออกเปนหลักฐานชั้นตน หรือหลักฐานปฐมภูมิ กับหลักฐานช้ันรอง หรือหลักฐาน
ทุตยิ ภมู ิ (1) หลักฐานชัน้ ตน (Primary Sources) เปนหลักฐานรวมสมยั ของผูท่ีเก่ียวของกับเหตุการณ
โดยตรง ประกอบดวยหลักฐานทางราชการที่เปนเอกสารลับ เอกสารที่เปดเผยกฎหมายประกาศ
สุนทรพจน บนั ทกึ ความทรงจาํ ของผูท เี่ กีย่ วของกบั เหตกุ ารณ หรืออัตชีวประวัติผูที่ไดรับผลกระทบกับ
เหตุการณ การรายงานขาวของผูรู ผูเห็นเหตุการณ วีดิทัศน ภาพยนตร ภาพถายเหตุการณที่เกิดขึ้น
เปนตน (2) หลกั ฐานช้ันรอง (Secondary Sources) เปนหลักฐานท่ีจัดทําขั้นโดยอาศัยหลักฐานช้ันตน หรือ
โดยบุคคลท่ีไมเกี่ยวของ ไมไดรูเหตุการณไดดวยตนเอง แตไดรับรูโดยผานตัวบุคคลอ่ืนประกอบดวย
ผลงานของนักประวัติศาสตร หรอื หนงั สอื ประวตั ิศาสตร รายงานของสอ่ื มวลชนที่ไมไดรูเห็นเหตุการณ
ดวยตนเอง หลักฐานช้ันตนและหลักฐานช้ันรองจัดวามีคุณคาแตกตางกัน คือ หลักฐานช้ันตนสําคัญ
มาก เพราะเปนหลักฐานรวมสมัยท่ีบันทึกโดยผูรูเห็น หรือผูท่ีเก่ียวของกับเหตุการณโดยตรง
สวนหลักฐานช้ันรองเปนหลักฐานที่ทําขึ้นภายหลัง โดยใชขอมูลจากหลักฐานช้ันตน แตหลักฐานช้ัน
รองจะชวยอธิบายเร่อื งราวใหเ ขาใจหลกั ฐานชน้ั ตน ไดง า ยขึ้น ละเอียดข้ึนอันเปนแนวทางไปสูหลักฐาน
ขอมูลอื่น ๆ ซึ่งปรากฏในบรรณานุกรมของหลักฐานชั้นรองทั้งหลักฐานช้ันตนและชั้นรองสามารถ
คนควาไดจากหองสมุด ทั้งของทางราชการ และของเอกชนตลอดจนฐานขอมูลในเครือขาย
อนิ เตอรเน็ต (Website) การคน ควาเรื่องราวในประวัติศาสตรที่ดีควรใชหลักฐานรอบดาน โดยเฉพาะ

84

หลักฐานท่ีเก่ียวของกับเรื่องท่ีศึกษา อยางไรก็ดี ไมวาจะใชหลักฐานประเภทใดควรใชดวยความ
ระมัดระวัง เพราะหลกั ฐานทุกประเภทมจี ุดเดนจดุ ดอยแตกตา งกนั
กกกกกกก 2การสืบคนและรวบรวมขอมูล ขอมูลทางประวัติศาสตร คือ หลักฐานทางประวัติศาสตร
ที่สามารถสอบสวนเขาไปใหใกลเคียงกับความเปนจริงที่เกิดขึ้นได ประกอบดวยหลักฐานท่ีไมเปน
ลายลักษณอักษร เชน โบราณสถาน โบราณวัตถุ คําบอกเลาของผูเห็นเหตุการณ และหลักฐานที่เปน
ลายลักษณอักษร เชน ศิลาจารึก จดหมายเหตุ บันทึกและเอกสารตาง ๆ ในการสะสม และรวบรวม
ขอมูลตาง ๆ เหลานี้ นักประวัติศาสตรจําเปนตองใชวิจารณญาณของตนสํารวจเน่ืองจากขอมูลแตละ
ประเภทเปน ผลติ ผลทมี่ นษุ ยส รา งสรรคขน้ึ โดยมีจดุ ประสงคท่ีแตกตางกัน ดังน้ัน ตองคนหาตนตอหรือ
สาเหตขุ องขอมูลอยางลึกซึ้งเทา ท่ีจะทําได เพ่อื ปองกนั มใิ หขอ เท็จจริงทางประวัตศิ าสตรถ กู บดิ เบอื น
กกกกกกก 2กลา วโดยสรปุ การสืบคนและรวบรวมขอมูล คือ การสืบคน หาหลักฐานทางประวตั ิศาสตร
ที่สามารถสอบสวนเขา ไปใหใ กลเ คียงกบั ความเปนจรงิ ท่ีเกิดขึ้นได ประกอบดวยหลักฐานทีไ่ มเปน ลาย
ลักษณอกั ษร เชน โบราณสถาน โบราณวัตถุ คาํ บอกเลา ของผูเห็นเหตกุ ารณ และ หลักฐานทเ่ี ปน ลาย
ลักษณอกั ษร เชน ศลิ าจารกึ จดหมายเหตุ บันทกึ และเอกสารตาง ๆ โดยสบื คน จากหลักฐานขน้ั รอง
ไปสหู ลกั ฐานชนั้ ตน มีการจดบันทึก และอา งอิงทีน่ าเช่อื ถือ
กกกกกกก3. การวเิ คราะห และตีความขอมลู ทางประวัตศิ าสตร
กกกกกกก 2การวิเคราะห และตีความขอมูลทางประวัติศาสตร คือ การตรวจสอบหลักฐาน และ
ขอมูลในหลักฐานเหลาน้ันวา มีความเช่ือถือหรือไม ประกอบดวยการวิพากษหลักฐานและวิพากษ
ขอมูลโดยข้ันตอนท้ังสองจะกระทําควบคูกันไป เนื่องจากการตรวจสอบหลักฐานตองพิจารณา
จากเนื้อหา หรือขอมูลภายในหลักฐานน้ัน และในการวิพากษขอมูลก็ตองอาศัยรูปลักษณะ
ของหลักฐานภายนอกประกอบดวย การวิพากษหลักฐาน หรือวิพากษภายนอก การวิพากษหลักฐาน
(External criticism) คือ การพิจารณาตรวจสอบหลักฐานท่ีไดคัดเลือกไวแตละชิ้นวามีความเชื่อถือ
เพียงใด แตเปน เพยี งการประเมนิ ตัวหลักฐาน มไิ ดม งุ ทข่ี อ มลู ในหลักฐาน ดงั น้ัน ขั้นตอนนี้เปนการสกัด
หลักฐานท่ีไมนาเชื่อถือออกไป การวิพากษ ขอมูลหรือวิพากษภายในการวิพากษขอมูล (Internal
criticism) คือการพิจารณาเนื้อหาหรือความหมายที่แสดงออกในหลักฐานเพื่อประเมินวานาเชื่อถือ
เพียงใด โดยเนนถึงความถูกตอง คุณคา ตลอดจนความหมายที่แทจริง ซ่ึงนับวามีความสําคัญตอการ
ประเมินหลักฐานที่เปนลายลักษณอักษร เพราะขอมูลในเอกสารมีท้ังที่คลาดเคลื่อน และมีอคติของ
ผูบันทกึ แฝงอยู หากนกั ประวัตศิ าสตรละเลยการวิพากษข อ มลู ท่อี อกมาอาจจะผิดพลาดจากความเปนจริง
กกกกกกก 2หลักฐานทางประวัตศิ าสตรท่คี นความาได กอนทีจ่ ะทาํ การศกึ ษาจะตองมีการประเมินคุณคา
วาเปนหลักฐานท่ีแทจริงเพียงใด การประเมินคุณคาทางหลักฐานน้ี เรียกวา “วิพากษวิธีทาง
ประวัติศาสตร” ซ่ึงมีอยู 2 วิธี ดังตอไปน้ี (1) การประเมินคุณคาภายนอกหรือวิพากษวิธีภายนอก
ซ่ึงหมายถึง การประเมินคุณคาของหลักฐานจากลักษณะภายนอกของหลักฐานทางประวัติศาสตร

85

บางคร้ังก็มีการปลอมแปลงเอกสารโฆษณาชวนเช่ือทําใหหลงผิด หรือเพ่ือใหเหตุหลทางการเมือง
การคา ดังน้ัน จึงตองมีการประเมินวาเอกสารนั้นเปนของจริงหรือไม ในสวนวิพากษวิธีภายนอก
เพอื่ ประเมนิ หลักฐานวาเปนของแท พิจารณาไดจากสิ่งที่ปรากฏภายนอก เชน เนื้อกระดาษ กระดาษ
ของไทยแตเดิมจะหยาบและหนา สวนกระดาษฝรั่งที่ใชกันอยูในปจจุบัน เร่ิมเขามาใชรัชสมัย
พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 3 แตทางราชการจะใชกระดาษฝรั่งหรือสมุดฝรั่งมาก
ขึ้นในตนรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 5 เกี่ยวกับตัวพิมพดีดเร่ิมใช
มากข้นึ ในกลางรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกลา เจา อยูหัว รัชกาลที่ 3 ใชตัวพิมพดีด ก็ควรสงสัยวา
หลักฐานน้ันเปนของปลอม (2) การประเมินคุณคาภายใน หรือวิพากษวิธีภายใน เปนการประเมิน
คุณคาของหลกั ฐานจากขอ มูลภายในหลกั ฐานนนั้ เปนตนวามชี ่ือบคุ คล สถานที่ เหตุการณ ในชวงเวลา
ทห่ี ลักฐานน้นั ทําขึน้ หรือไม ดังเชน หลกั ฐานซ่ึงเชอื่ วา เปน ของสมัยสุโขทัยแตมีการพูดถึงสหรัฐอเมริกา
ในหลักฐานนัน้ ก็ควรสงสัยวาหลกั ฐานน้ันเปนของสมัยสุโขทัยจริงหรือไม เพราะในสมัยสุโขทัยยังไมมี
ประเทศสหรัฐอเมริกา แตก็จะเปนหลักฐานจัดทําข้ึนเม่ือคนไทยไดรับรูวามีประเทศสหรัฐอเมริกาแลว
หรือหลักฐานเปนนของสมัยสุโขทัยจริง แตการคัดลอกตอกันมามีการเติมช่ือประเทศสหรัฐอเมริกา
เขาไป เปน ตน
กกกกกกก 2การวิเคราะหและการตีความขอมูลทางประวัติศาสตร โดยการนําขอมูลท่ีไดสืบคน
รวบรวม คัดเลือก และประเมินไวแลวนํามาพิจารณาในรายละเอียดทุกดาน ซ่ึงนักประวัติศาสตรตอง
ใชเหตุผลเปน แนวทางในการตีความเพือ่ นําไปสูการคน พบขอเท็จจริงทางประวัตศิ าสตรท ถ่ี กู ตอ ง
กกกกกกก 2กลาวโดยสรุป การวิเคราะห และตคี วามขอมูลทางประวัติศาสตร คือการประเมินคุณคา
ของหลักฐานจากขอมูลภายในหลักฐานน้ันเปนตนวา มีชื่อบุคคล สถานที่ เหตุการณ ในชวงเวลาท่ี
หลักฐานน้ันทําขน้ึ โดยใชหลักการของเหตผุ ล ปราศจากอคติ
กกกกกกก4. การคดั เลอื ก และประเมินขอ มูล
กกกกกกก 2การตีความหลักฐาน หมายถึง การพิจารณาขอมูลในหลักฐานวาผูสรางหลักฐาน มีเจตนาที่
แทจริงอยางไร โดยดูจากลีลาการเขียนของเจาของผูบันทึกและรูปรางลักษณะโดยทั่วไปของประดิษฐกรรม
ตาง ๆ เพ่ือใหไดความหมายที่แทจริงซ่ึงอาจแอบแฝงโดยเจตนาหรือไมก็ตาม ในการตีความหลักฐาน
นักประวัติศาสตรจึงตองพยายามจับความหมายจากสํานวนโวหาร ทัศนคติ ความเช่ือ และปจจัยอ่ืน ๆ ของ
ผูเขียน และสังคมในยุคสมัยนั้น ประกอบดวย เพ่ือท่ีจะทราบวาถอยความน้ันนอกจากจะหมายความตาม
ตวั อกั ษรแลว ยงั มีความหมายท่ีแทจริงอะไรแอบแฝงอยู
กกกกกกก 2เม่ือทราบวา หลักฐานนน้ั เปนของแท ใหขอมูลท่ีเปนขอเท็จจริงในประวัติศาสตร ผูศึกษา
ประวัติศาสตรก็จะตองศึกษาขอมูล หรือขอสนเทศในหลักฐานนั้น วาใหขอมูลทางประวัติศาสตร
อะไรบาง ขอมูลนั้นมีความสมบูรณเพียงใด หรือขอมูลนั้นมีจุดมุงหมายเบ้ืองตนอยางไร มีจุดมุงหมาย
แอบแฝงหรือไม ขอมูลมีความยุติธรรมหรือไม จากนั้นจึงนําขอมูลทั้งหลายมาจัดหมวดหมู เชน

86

ความเปน มาของเหตกุ ารณ สาเหตทุ ที่ าํ ใหเกิดเหตกุ ารณ ความเปนไปของเหตุการณ ผลของเหตุการณ
เปนตน เมื่อใดไดขอมูลเปนเร่ือง เปนประเด็นแลว ผูศึกษาประวัติศาสตรเรื่องนั้น ก็จะตองหา
ความสัมพันธของประเด็นตาง ๆ และตีความขอมูลวามีขอเท็จจริงใดท่ีซอนเรน อําพราง ไมกลาวถึง
หรือในทางตรงกันขามอาจมีขอมูลกลาวเกินความเปนจริงไปมาก ในการวิเคราะห สังเคราะหขอมูล
ผูศึกษาประวัติศาสตรควรมีความละเอียดรอบคอบ วางตัวเปนกลาง มีจินตนาการ มีความรอบรู
โดยศึกษาขอมูลทั้งหลายอยางกวางขวาง และนําผลการศึกษาเรื่องนั้นท่ีมีแตเดิมมาวิเคราะห
เปรียบเทยี บ รวมท้ังจดั หมวดหมูขอ มลู ใหเ ปน ระบบ
กกกกกกก 2 การคัดเลือกและประเมินขอมูล นักประวัติศาสตรจะตองนําขอมูลที่ไดรวบรวมไว
มาคัดเลือก และประเมินเพื่อคนหาความเก่ียวของสัมพันธระหวางขอมูลกับขอเท็จจริงทาง
ประวตั ศิ าสตรทต่ี อ งการทราบ
กกกกกกก 2 กลาวโดยสรุป การคดั เลือก และประเมินขอมลู คือจะตองนําขอมูลที่ไดรวบรวมไวมาคัดเลือก
และประเมินเพ่ือคนหาความเก่ียวของสัมพันธระหวางขอมูลกับขอเท็จจริงทางประวัติศาสตร
ทตี่ อ งการทราบ
กกกกกกก5. การเรียบเรียงรายงานขอ เทจ็ จริงทางประวตั ิศาสตร
กกกกกกก จัดเปนข้ันตอนสุดทายของวิธีการทางประวัติศาสตรซ่ึงผูศึกษาคนควาจะตองเรียบเรียง
เร่ือง หรือนําเสนอขอมูลในลักษณะที่เปนการตอบหรืออธิบายความอยากรู ขอสงสัยตลอดจนความรู
ใหม ความคิดใหมที่ไดจากการศึกษาคนควาในขั้นตอนน้ัน ผูศึกษาจะตองนําขอมูลที่ผานการตีความ
มาวิเคราะห หรือแยกแยะเพ่ือจัดแยกประเภทของเร่ือง โดยเร่ืองเดียวกันควรจัดไวดวยกัน รวมท้ัง
เรื่องท่ีเก่ียวของหรือสัมพันธกัน เรื่องท่ีเปนเหตุเปนผลซ่ึงกันและกัน จากน้ันจึงนําเรื่องท้ังหมดมา
สังเคราะหหรือรวมเขาดวยกัน คือเปนการจําลองภาพบุคคลหรือเหตุการณในอดีตขึ้นมาใหม เพ่ือให
เห็นความสัมพันธและความตอเน่ือง โดยอธิบายถึงสาเหตุตาง ๆ ที่ทําใหเกิดเหตุการณ เหตุการณท่ี
เกิดขึ้น และผล ทั้งน้ีผูศึกษาอาจนําเสนอเปนเหตุการณพื้นฐานหรือเปนเหตุการณเชิงวิเคราะหก็ได
ขน้ึ อยกู ับจดุ มุงหมายของการศึกษา
กกกกกกก 2การเรียบเรียงหรือการนําเสนอจัดเปนข้ันตอนสุดทายของวิธีการทางประวัติศาสตร ซ่ึงมี
ความสําคัญมาก โดยผูศึกษาประวัติศาสตรจะตองนําขอมูลทั้งหมดมารวบรวมและเรียบเรียงหรือนําเสนอให
ตรงกบั ประเดน็ หรอื หัวเรอ่ื งทีต่ นเองสงสยั ตองการอยากรูเพ่ิมเติม ทั้งจากความรูเดิมและความรูใหม รวมไปถึง
ความคิดใหมท่ีไดจากการศึกษาคร้ังน้ี ซ่ึงเทากับเปนการรื้อฟนหรือจําลองเหตุการณทางประวัติศาสตรข้ึนมา
ใหม อยางถกู ตองและเปนกลาง ในขั้นตอนการนําเสนอ ผูศึกษาควรอธิบายเหตุการณอยางมีระบบและมีความ
สอดคลองตอเนื่อง เปนเหตุเปนผล มีการโตแยงหรือสนับสนุนผลการศึกษาวิเคราะหแตเดิม โดยมีขอมูล
สนับสนุนอยางมีนํ้าหนัก เปนกลาง และสรุปการศึกษาวาสามารถใหคําตอบท่ีผูศึกษามีความสงสัย อยากรูได
เพยี งใด หรอื มขี อเสนอแนะใหสาํ หรบั ผทู ตี่ องการศึกษาตอ ไปอยางไรบาง

87

กกกกกกก 2การเรียบเรียงรายงานขอเท็จจริงทางประวัติศาสตรที่ไดรับอันเปนผลมาจากการวิเคราะหและ
การตีความขอมูล หรืออธิบายขอสงสัย เพ่ือนําเสนอขอมูลในลักษณะท่ีเปนการตอบตลอดจนความรู ความคิด
ใหมท ไ่ี ดจากการศึกษาคน ควา ในรปู แบบการรายงานอยางมีเหตผุ ล
กกกกกกก 2กลาวโดยสรุป การเรียบเรียงรายงานขอเท็จจริงทางประวัติศาสตร คือการศึกษา
ประวัตศิ าสตรจะตองนําขอมูลท้ังหมดมารวบรวม และเรียบเรียงหรือนําเสนอใหตรงกับประเด็น หรือ
หัวเรือ่ งทตี่ นเองสงสัย ตอ งการอยากรเู พมิ่ เติม ทั้งจากความรูเดิมและความรูใ หม
กกกกกกก 2กลาวโดยสรุปรวม วิธีการทางประวัติศาสตร ประกอบดวย (1) การกําหนดประเด็นใน
การศึกษา (2) สบื คนและรวบรวมขอมูล (3) การวิเคราะห และตคี วามขอ มลู ทางประวัติศาสตร (4) การคัดเลือก
และประเมินขอมูล และ (5) การเรียบเรียงรายงาน ขอเท็จจริงทางประวัติศาสตร สําหรับ
การประยกุ ตใ ชขั้นตอนวธิ ีการทางประวัติศาสตรใ นการศกึ ษาวิธกี ารทางภูมิศาสตร และประวัติศาสตร
ศึกษาพระอารามหลวงศูนยรวมใจในเมืองนนท ใหครูผูสอนแนะนําผูเรียนในขั้นตอนการกําหนด
ประเดน็ ศึกษา แลวใหไปศึกษาคนควาหาขอมูล โดยผูเรียนตองประยุกตใช การวิเคราะห และตีความ
ขอมูลทางประวตั ศิ าสตร กับขอมลู ท่ีคน ควา ได ตอ จากน้นั ใหผูเรียนคัดเลือก และประเมินขอมูล นํามา
เปรียบเทียบ สรุปผลการศึกษาคนควา และบันทึกลงในเอกสารการเรียนรูดวยตนเอง (กรต.)
เพ่อื นาํ ไปพบกลมุ ตามท่ีนัดหมายไวก ับครูผูส อน

88

กจิ กรรมทายบท

กกกกกกกกิจกรรมท่ี 1
กกกกกกกคาํ ช้แี จง ใหผ เู รยี นศกึ ษากิจกรรมที่ 1 แลว เลอื กคาํ ตอบที่ถกู ตอ งที่สดุ เพยี งขอเดียวเขยี น
คาํ ตอบทแี่ จกใหหรือกระดาษเปลาของผเู รยี น
กกกกกกก1. การกาํ หนดวตั ถปุ ระสงคในการศึกษาดา นภูมิศาสตร ตอ งเนนการพฒั นา คือขอใด
กกกกกกก1. ก. การคิดวิเคราะหห าความสัมพันธ ความเช่อื มโยง เปรยี บเทียบใหเ หตผุ ล
กกกกกกก1. ก. ทางภมู ศิ าสตร
กกกกกกก1. ข. ลักษณะทางกายภาพและมนุษยบนทาํ เลท่ตี ้ังเหลาน้นั เมอ่ื นกั เรียนตั้งคําถาม
กกกกกกก1. ก. เชงิ ภมู ศิ าสตร
กกกกกกก1. ค. การอา นและแปลความหมายจากแผน ที่ ภาพถาย ขอมลู สถิติ ขอมลู เชิงปรมิ าณ
กกกกกกก1. ก. และเชิงคุณภาพ
กกกกกกก1. ง. การวเิ คราะหอ ยา งเปน ข้นั ตอน โดยอางอิงขอมลู ดวยการนาํ เสนอดว ยวาจาและ
กกกกกกก1. ก. ขอ เขยี น แสดงคาํ ตอบทีแ่ สดงออกถึงความสามารถในการใหเหตผุ ล และ
กกกกกกก1. ก. ความสามารถในการส่ือสารท่ีชัดเจน
กกกกกกก2. การเก็บรวบรวมขอมลู ดว ยการปฏิบัตภิ าคสนามและสมั ภาษณขอมูลที่ใชในการศกึ ษา

ภมู ิศาสตร เรียกวา
กกกกกกก1. ก. สารสนเทศกายภาพ
กกกกกกก1. ข. สารสนเทศภูมิศาสตร
กกกกกกก1. ค. สารสนเทศทางกายภาพ
กกกกกกก1. ง. สารสนเทศทางภมู ศิ าสตร
กกกกกก 3. ขั้นตอนแรกของวธิ ีการศกึ ษาทางภูมิศาสตรในการศึกษาวธิ ีการทางภมู ิศาสตร คือ

ข้ันตอนใด
กกกกกกก1. ก. การวเิ คราะหขอมูล
กกกกกกก1. ข. กาํ หนดวตั ถปุ ระสงค
กกกกกกก1. ค. กาํ หนดประเด็นศึกษา
กกกกกกก1. ง. การเกบ็ รวบรวมขอ มูล
กกกกกก 4. ขอ ใด คอื ความหมายการรวบรวมหลกั ฐาน
กกกกกกก1. ก. การรวบรวมขอมูลทม่ี ีความสําคญั และความนาเชื่อถือ
กกกกกกก1. ข. กระบวนการรวบรวมหลักฐานทีเ่ กีย่ วขอบงกับหวั ขอทจี่ ะศกึ ษา
กกกกกกก1. ค. หลกั ฐานที่จดั ทําขน้ึ โดยอาศยั หลักฐานช้ันตน หรอื โดยบคุ คลที่ไมเ กีย่ วของ
กกกกกกก1. ง. กระบวนการกอ นท่ีจะทาํ การศึกษาจะตองมีการประเมนิ คุณคา วาเปนหลักฐาน

ทแี่ ทจริงเพียงใด

89

กกกกกก 5. การวพิ ากษว ธิ ีทางประวตั ศิ าสตร มีก่วี ิธี

กกกกกกก1. ก. 2 วธิ ี

กกกกกกก1. ข. 3 วิธี

กกกกกกก1. ค. 4 วิธี

กกกกกกก1. ง. 5 วิธี

กกกกกกกกิจกรรมที่ 2

กกกกกกกคําช้ีแจง ใหผูเรียนเตมิ คาํ ลง หรือขอขอความส้นั ๆ ลงในชองวางใหถ ูกตองสมบูรณ

ดว ยการเขียนคาํ ตอบลงในกระดาษท่ีแจกให หรือกระดาษเปลาของผูเรียน

กกกกกกกขอ 1. การสืบคน รวบรวม ตคี วามสารสนเทศทางภูมิศาสตร และการใชเ ครื่องมอื ทาง

ภมู ศิ าสตรท เ่ี หมาะสม ประกอบดว ย………………………………………………………………………………………………

กกกกกกกขอ 2. การวเิ คราะหขอมูล เปน การศกึ ษารูปแบบ.................................................................

และความตอเน่ืองของปรากฏการณหาความสัมพันธสอดคลองกันและลักษณะท่ีคลายกันระหวางพ้นื ที่

กกกกกกกขอ 3. หลักฐานทางประวตั ิศาสตร แบงออกเปน ........ช้ัน คือ (1).........................................

(2)...........................................................................................................................................................

กกกกกกกขอ 4. หลกั ฐาน..........เปน หลกั ฐานรว มสมยั ทส่ี าํ คัญมาก เพราะเปนหลกั ฐานท่ีบันทกึ โดย

ผูร ูเหน็ สวนหลกั ฐาน..............เปน หลกั ฐานที่ทําข้ึนภายหลงั แตหลักฐาน...........ชั้นจําชวยอธิบาย

เร่ืองราวใหเ ขาใจหลกั ฐานช้นั ตน ไดง า ยข้ึน

กกกกกกกขอ 5. หลักฐานทางประวัตศิ าสตรท ี่สามารถสอบสวนเขา ไปใหใกลเ คยี งกับความเปน จริง

ท่เี กิดขน้ึ ได ประกอบดว ย...........หลักฐาน คือ (1).......................................(2).....................................

กกกกกกกกจิ กรรมที่ 3

กกกกกกกคําชแี้ จง ใหผเู รยี นศกึ ษากิจกรรมที่ 3 ดว ยการจับคูข องขอความหลังตวั เลขดานซายมือของ

กระดาษ และขอความหลังตวั อกั ษรขวามือของกระดาษที่มีความสมั พนั ธกัน แลวนําคําตอบที่ไดไป

เขยี นในกระดาษท่ีแจกให หรือกระดาษเปลา ของผูเรียน

................1. วิธีการทางประวัติศาสตร ก. การพจิ ารณาขอมูลในหลักฐานวา ผสู ราง

ประกอบดว ย หลกั ฐานมเี จตนาทแี่ ทจ รงิ อยางไร โดยดูจาก

ลลี าการเขียนของเจา ของผบู นั ทึกและรปู รา ง

ลกั ษณะโดยท่วั ไปของประดิษฐก รรมตา ง ๆ

................2. นาํ เสนอขอมูล และเขยี นรายงาน ข. การพิจารณาตรวจสอบหลกั ฐานที่ไดค ดั เลอื ก

คอื ไวแ ตละชิน้ วา มีความเชื่อถอื เพียงใด

................3. การวิพากษหลักฐานหรอื วพิ ากษ ค. ขอ มูลทแี่ สดงใหทราบถงึ ความจรงิ
ภายนอกการวิพากษห ลักฐาน ตาง ๆ ท่มี ีอยูในโลก สามารถตรวจสอบ
(External criticism) และพสิ จู นได

90

................4. การวิพากษ ขอมลู หรือวพิ ากษภ ายใน ง. ขอ มลู ทเี่ ปน ขอ เท็จจริงในประวัตศิ าสตร

การวพิ ากษขอ มูล (Internal criticism ผศู ึกษาในหลักฐานเพื่อประเมินวานา เชื่อถือ

เพยี งใดโดยเนนถึงความถูกตอ ง คณุ คา

ตลอดจนความหมายที่แทจรงิ

.................5. การตคี วามหลักฐาน จ. (1) กําหนดวตั ถุประสงค (2) การเก็บ

รวบรวม ขอมลู ดว ยการออกปฏิบัติ

ภาคสนาม และสมั ภาษณ (3) นาํ ขอ มลู

วิเคราะห และจัดหมวดหมู และ (4) นาํ เสนอ

ขอมลู และเขียนรายงาน

ฉ. การพิจารณาเน้ือหาหรือความหมายที่

แสดงออกในหลกั ฐานเพื่อประเมินวา

นา เชื่อถอื เพยี งใด โดยเนนถึงความถกู ตอง

คณุ คา ตลอดจนความหมายทแ่ี ทจ ริง

ช. การเรียบเรียงหรือการนาํ เสนอจดั เปน

ขน้ั ตอนสดุ ทายของวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร

ซึ่งมีความสําคัญมาก

ซ. ในการวิเคราะห สงั เคราะหขอ มูล ผศู ึกษา

ประวัตศิ าสตรค วรมีความละเอียดรอบคอบ

วางตวั เปน กลาง มจี ินตนาการ มีความรอบรู

โดยศกึ ษาขอมูลท้ังหลายอยา งกวางขวาง

91

บทที่ 6
การสืบสาน และการอนุรกั ษโบราณสถาน โบราณวตั ถุ
วตั ถุและสิง่ กอสรา ง และประเพณีในพระอารามหลวง

สาระสาํ คัญ

1. การสบื สานโบราณสถาน โบราณวัตถุ วัตถุ และสิ่งกอสราง และประเพณีในวัด หมายถึง การสืบตอ
สืบเน่ือง รับชวง โบราณสถาน โบราณวัตถุ วัตถุ และส่ิงกอสราง และประเพณีในวัด เพื่อปฏิบัติ และถายทอด
สืบตอ กนั มา

2. การอนุรักษโบราณสถาน โบราณวัตถุ วัตถุ และสิ่งกอสราง และประเพณีในวัด หมายถึง การดูแล
รักษาใหคงเดิม การบํารุงรักษาส่ิงท่ีดีงาม ของโบราณสถาน โบราณวัตถุ วัตถุ และสิ่งกอสราง และประเพณีในวัด
เพ่ือใหคงคณุ คา ไว

3. การสืบสาน และการอนุรักษโบราณสถาน โบราณวัตถุ วัตถุ และส่ิงกอสราง และประเพณีในวัด
มีความสําคัญ ไดแก ทําใหเห็นถึงวิถีความเปนไทย ความคิดสรางสรรค ท้ังดานศาสนา สังคม วัฒนธรรม
การปกครอง ที่สงั่ สมสบื ทอดกันมา เปน การเสรมิ สรางในการปลูกจิตสํานึกท่ีดีงาม เกิดความรวมมือรวมใจ สงเสริม
การนําขนบธรรมเนียมประเพณีท่ีดีงามมาใชใหเกิดประโยชน เหมาะกับสภาพสังคมไทยในปจจุบัน ทําใหเกิด
การถายทอดจากคนรนุ หน่งึ ไปสคู นอีกรนุ หนง่ึ เพอื่ ใหป ระเพณคี งอยใู นสงั คมสืบไป

4. วธิ ีการสบื สาน และอนรุ กั ษโบราณสถาน โบราณวัตถุ วัตถุ และส่ิงกอสราง และ
ประเพณใี นวัด

4.1 การจัดทาํ แผน พบั
4.1.1 แผนพับ หมายถึง สอ่ื โฆษณาทเ่ี ปนส่ิงพิมพป ระเภทไดเร็กเมล (Direct

Mail) ท่ผี ผู ลิตสงตรงถึงผบู รโิ ภค มที ้ังวิธกี ารสงทางไปรษณีย และแจกตามสถานที่ตา ง ๆ มลี กั ษณะ
เปน เอกสารที่เย็บเปน เลมบาง ๆ และมลี กั ษณะคลา ยคลงึ กัน

4.1.2 องคป ระกอบของแผนพบั มี 5 องคประกอบ ไดแก (1) พาดหัว
(2) ภาพประกอบ (3) ขอความ (4) ภาพสนิ คา ตราสัญลักษณ และ (5) สถานทตี่ ดิ ตอ

4.1.3 ขนั้ ตอนการทาํ แผน พับดว ยโปรแกรมคอมพวิ เตอร มี 7 ขัน้ ตอน ไดแก
(1) การเขาสูโ ปรแกรม Microsoft Office Publisher 2007 (2) คลิกเลือก Brochure (แผน พบั )
(3) เลือกแมแ บบทต่ี องการ (4) พิมพขอ ความลงในพ้ืนที่การทํางาน (5) การใสรปู ภาพในแผน พบั
(6) เปลย่ี นตาํ แหนงไปหนา ที่สองเพ่ือใสร ายละเอียด และ (7) บันทึกดวยคําส่ัง Save As

92

4.2 การจดั ทาํ คลปิ วีดทิ ศั น (Video)
4.2.1 คลิปวีดิทัศน (Video) หมายถึง ไฟลประเภทภาพเคลื่อนไหวที่บรรจุเน้ือหา

เปนเรื่องราวส้ัน ๆ อาจตัดตอนมาจากเร่ืองท้ังเรื่อง เปนเรื่องที่สรางขึ้นมาใหม นําเอาสวนท่ีสําคัญ
หรือเลือกเฉพาะสวนตองการจากตน ฉบบั เดมิ นํามาแสดง ซงึ่ โดยมากมีความยาวไมเกิน 5-10 นาทีโดย
จะเปน ไฟลที่มรี ปู แบบการบบี อัดขอ มูลทีแ่ ตกตางกนั ไป เพื่อใหไ ฟลมขี นาดเล็ก

4.2.2 องคประกอบของคลิปวีดิทัศน (Video) มี 5 องคประกอบ ไดแก (1) สวนนํา
เขาสเู รอ่ื ง (2) การดาํ เนินเรือ่ ง (3) สว นประเด็นสําคัญ (4) สว นสรุป และ (5) เครดิตผจู ดั ทาํ

4.2.3 การทําคลปิ วีดิทัศน (Video) ดวย Smart Phone มี 2 ระบบ คอื ระบบปฏิบัติการ
Android และระบบปฏบิ ัติการ iOS

ผลการเรียนรทู ค่ี าดหวงั

1. บอก และอธิบายการสืบสาน และการอนุรกั ษโบราณสถาน โบราณวตั ถุ วตั ถุ และ
สงิ่ กอสราง และประเพณีในวัดได

2. ตอบกจิ กรรมทายบท การสบื สาน และการอนุรักษโ บราณสถาน โบราณวตั ถุ วัตถุ และ
ส่งิ กอ สรา ง และประเพณีในวัดได

3. เกดิ ความภาคภูมิใจที่ไดอาศยั อยู และ/หรอื ประกอบอาชีพอยใู นอาํ เภอเมืองนนทบุรี
จังหวดั นนทบรุ ี

ขอบขา ยเน้ือหา

เรื่องที่ 1 ความหมายของการสบื สาน และการอนรุ ักษโ บราณสถาน โบราณวัตถุ วัตถุ และ
ส่ิงกอ สราง และประเพณีในวดั

เรื่องที่ 2 ความสําคญั ของการสบื สาน และการอนรุ ักษโ บราณสถาน โบราณวัตถุ วตั ถุ และ
สงิ่ กอ สราง และประเพณีในวัด

เรอื่ งท่ี 3 วิธีการ การสบื สาน และการอนรุ ักษโบราณสถาน โบราณวัตถุ วตั ถุ และ
สงิ่ กอ สราง และประเพณีในวดั

1. การจัดทําแผนพับ
2. การจัดทาํ คลิปวีดิทศั น (Video)


Click to View FlipBook Version