The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรท้องถิ่นกศน.อำเภอเมืองนนทบุรี หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชา สค33158 พระอารามหลวงศูนย์รวมใจใหเมืองนนท์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กศน.ตำบล, 2020-06-26 08:57:10

วิชาพระอารามหลวงศูนย์รวมใจในเมืองนนท์

หลักสูตรท้องถิ่นกศน.อำเภอเมืองนนทบุรี หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชา สค33158 พระอารามหลวงศูนย์รวมใจใหเมืองนนท์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Keywords: พระอาราม,หลักสูตรท้องถิ่น,กศน.,นนทบุรี,หนังสือใหม,กศน.บางกระสอ,ท่าทราย,บางรักน้อย,ตลาดขวัญ,กองพัฒกศน,สค33158

93

ส่ือประกอบการเรียน

กกกกกกก1. หนังสอื เรยี นรายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
ชือ่ ผแู ตง ดร.อาศสิ เชยกลิน่ และ พรวภิ า เชยกลิน่ ปทีพ่ ิมพ พ.ศ.2560 โรงพิมพ สามเจริญพาณิชย
(กรงุ เทพ) จํากดั

2. บทความ มารูจกั แผนพบั กนั เถอะ ชื่อผแู ตง เมษา โพธิ์สวสดั ์ิ สบื คนจาก
เวบ็ ไซต https://mesapoolsawat.wordpress.com

3. วัดเขมาภิรตารามราชวรวหิ าร ตั้งอยทู ่ี 74 หมทู ี่ 8 ถนนพบิ ลู สงคราม ตาํ บลสวนใหญ
อาํ เภอเมืองนนทบรุ ี จงั หวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท 02-525-0470

4. วัดเฉลมิ พระเกยี รติวรวหิ าร ตัง้ อยูที่ 86 ถนนทาน้ํานนท – วัดโบสถดอนพรหม ตําบล
บางศรเี มือง อําเภอเมืองนนทบุรี จังหวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศพั ท 02-881-6323

5. วดั บัวขวัญ พระอารามหลวง ต้งั อยทู ่ี 1 หมูท ่ี 9 ตําบลบางกระสอ อําเภอเมืองนนทบุรี
จงั หวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศพั ท 02-952-8062-3

เร่ืองที่ 1 ความหมายของการสบื สาน และการอนรุ กั ษโ บราณสถาน โบราณวัตถุ วัตถุ และ
ส่งิ กอสรา ง และประเพณใี นวัด

1. ความหมายของการสืบสาน โบราณสถาน โบราณวัตถุ วัตถุ และส่ิงกอสราง และ
ประเพณีในวัด

การสบื สาน หมายถึง สืบตอ
การสบื สาน หมายถงึ การสืบเนอ่ื ง การรบั ชวง
การสบื สาน หมายถึง ปฏิบัตติ ดิ ตอ กนั มา ถายทอดตดิ ตอ กนั มา
กลาวโดยสรปุ การสืบสานโบราณสถาน โบราณวตั ถุ วัตถุ และสิ่งกอสราง และประเพณี
ในวัด หมายถึง การสืบตอ สืบเนื่อง รับชวง โบราณสถาน โบราณวัตถุ วัตถุ และสิ่งกอสราง และ
ประเพณีในวดั เพอ่ื ปฏบิ ตั ิ และถายทอดสบื ตอ กันมา
2. ความหมายของการอนุรักษ โบราณสถาน โบราณวัตถุ วัตถุ และสิ่งกอสราง และ
ประเพณใี นวัด
การอนรุ ักษ หมายถงึ การดแู ล รักษา เพื่อใหคงคุณคาไว
การอนุรักษ หมายถงึ รักษาใหคงเดมิ
การอนุรักษ หมายถึง การบํารงุ รักษาสิง่ ท่ดี ีงามไว
กลาวโดยสรปุ การอนรุ ักษโบราณสถาน โบราณวตั ถุ วตั ถุ และส่ิงกอสราง และประเพณี
ในวัด หมายถงึ การดแู ล รักษาใหคงเดิม การบํารุงรักษาส่ิงท่ดี ีงาม ของโบราณสถาน โบราณวัตถุ วัตถุ
และสง่ิ กอสรา ง และประเพณีในวัด เพ่ือใหคงคุณคาไว

94

เรื่องที่ 2 ความสาํ คญั ของการสืบสาน และการอนุรักษโบราณสถาน โบราณวัตถุ วัตถุ
และสิง่ กอ สรา ง และประเพณีในวดั

กกกกกกกความสําคัญของการสืบสาน และการอนุรักษโบราณสถาน ไดแก เปนการสืบทอดเก่ียวกับ
รากฐานทมี่ าในเชิงประวัตศิ าสตร ทําใหเ กิดผลเปน ประโยชนแกคนในปจ จุบัน
กกกกกกกความสําคญั ของการสืบสาน และการอนุรักษโบราณวัตถุ ไดแก ความสําคัญ เปนการแสดง
ความผูกพันในส่ิงตาง ๆ ที่บรรพบุรุษไดสรางข้ึนมา และเพื่อที่จะรักษาไวเปนมรดกท่ีจะสืบตอ ๆ ไป
สาํ หรบั ชนรุน หลัง
กกกกกกกความสาํ คญั ของการสืบสาน และการอนุรักษวัตถุ และส่ิงกอสราง ไดแก ทําใหเกิดการดูแล
รกั ษาเพื่อใหค งคุณคาความเก่ียวเน่อื งและสมั พันธของประวัตศิ าสตร ศิลปะ และสถาปต ยกรรม
กกกกกกกความสําคัญของการสืบสาน และการอนุรักษประเพณี ไดแก ทําใหเห็นถึงวิถีความเปนไทย
ความคดิ สรางสรรค ท้ังดานศาสนา สงั คม วัฒนธรรม การปกครอง ทีส่ ัง่ สมสบื ทอดกันมา
กกกกกกกกลาวโดยสรุป การสืบสาน และการอนุรักษโบราณสถาน โบราณวัตถุ วัตถุ และสิ่งกอสราง
และประเพณีในวัด มีความสําคัญ ไดแก ทําใหเห็นถึงวิถีความเปนไทย ความคิดสรางสรรค ท้ังดาน
ศาสนา สงั คม วัฒนธรรม การปกครอง ท่ีส่ังสมสืบทอดกันมา เปนการเสริมสรางในการปลูกจิตสํานึก
ท่ีดีงาม เกิดความรว มมือรวมใจ สงเสริมการนําขนบธรรมเนียมประเพณีท่ีดีงามมาใชใหเกิดประโยชน
เหมาะกับสภาพสังคมไทยในปจจุบัน ทําใหเกิดการถายทอดจากคนรุนหน่ึงไปสูคนอีกรุนหนึ่ง เพ่ือให
ประเพณีคงอยใู นสงั คมสืบไป

เรื่องที่ 3 วิธกี าร การสืบสาน และการอนรุ ักษโบราณสถาน โบราณวตั ถุ วตั ถุ และ
สง่ิ กอ สราง และประเพณีในวัด

กกกกกกก1. การจัดทาํ แผน พับเผยแพร
1.1 ความหมายของแผนพับ

กกกกกกก แผน พบั หมายถงึ สือ่ โฆษณาที่เปนส่ิงพิมพประเภทไดเร็กเมล (Direct Mail) ท่ผี ผู ลิตสง
ตรงถงึ ผบู ริโภค มที ั้งวธิ กี ารสงทางไปรษณีย และแจกตามสถานทตี่ า ง ๆ
กกกกกกก แผนพบั หมายถึง เอกสารท่เี ยบ็ เปนเลม บาง ๆ และมลี ักษณะคลายคลึงกนั
กกกกกกก กลาวโดยสรุป แผนพับ หมายถึง ส่ือโฆษณาทเ่ี ปนสิง่ พิมพป ระเภทไดเร็กเมล (Direct
Mail) ท่ีผูผ ลติ สงตรงถงึ ผบู รโิ ภค มที งั้ วิธีการสงทางไปรษณีย และแจกตามสถานท่ีตา ง ๆ มีลักษณะ
เปนเอกสารที่เยบ็ เปน เลมบาง ๆ และมลี กั ษณะคลายคลึงกัน

95

1.2 องคประกอบของแผนพบั
แผนพับมี 5 องคป ระกอบ ไดแก
องคประกอบท่ี 1 หนาแรก เปนหนา ปกแผนพบั ทีจ่ ะตองสะดดุ ตา ดวยสสี นั หรือขอความ

ดงึ ดดู ใหค นทไ่ี ดรบั แผน พับ สนใจที่จะเปด อา นหนา ถดั ไป ดังน้ัน การเลือกรูปภาพจะตองดึงดูดสายตา ชัดเจน
สีสันสวยงามสอดคลองกับงาน สําหรับขอความตองสั้น กระชับ ไดใจความท่ีสมบูรณ เชน ขอความที่สราง
ประเด็นคาํ ถามตอ งการคาํ ตอบ ขอ ความกระแสตา ง ๆ ในสงั คม ขอความทีส่ อดคลองกับงานที่นําเสนอ รวมถึง
ตอ งพจิ ารณาตวั อักษรและขนาดที่จะตอ งเลอื กใหเ หมาะสม

องคประกอบที่ 2 การกําหนดเนื้อหา เน้ือหาที่จะนําเสนอในแตละหนาของสวนที่ถูกพับ
จะตองสรุปใหกระชับ ชัดเจน ไดใจความท่ีสมบูรณเชนกัน หากเปนประโยคเรียงติดกันก็ไมควรท่ีจะแนนเต็ม
หนา การยอหนา เวนวรรค จะตองนํามาพิจารณาประกอบดวย และใสรูปภาพเล็ก ๆ หรือโคดขอความ
ประเดน็ สําคญั ประกอบ เพื่อเปนการเบรกสายตาผูอ าน

องคประกอบท่ี 3 การแบงเน้ือหาเปนหัวขอยอย จะตองจบเรื่องในหนาน้ัน ๆ ไมตอ
ขอความไปหนาอื่น หวั ขอยอใหแตกตางหรือเดนจากรายละเอียด โดยใชขนาดของตัวอักษรหรือสีตัวอักษรท่ี
ตา งออกไป และการแบงหัวขอ ยอ ยจะตองมเี นือ้ หารายละเอยี ดครอบคลุมหวั ขอทีก่ าํ หนด

องคประกอบท่ี 4 การใชส ญั ลักษณ ลําดับเลขแสดงหวั ขอยอยและตาราง เปน อีกวธิ กี าร
หนง่ึ ทชี่ วยใหเนอื้ หาของแผน พับนา อาน จากขอ ความสั้น ๆ เขาใจงายและนาสนใจ ดังนั้น การสรปุ เน้อื หาท่ีจะ
กาํ หนดเรียงลําดับเปน ขอ ๆ หรือการนําขอ มลู ใสก รอบไวในตาราง เปน เรื่องสาํ คญั เชน กัน อา นแลว รวู า
ตองการส่ือสาร และตอบคําถามเหลา นี้ ไดแ ก what (อะไร) when (เม่ือไหร) where (ท่ไี หน) why (อยางไร)
who (กับใคร) และ how (วิธีใด)

องคประกอบท่ี 5 สถานที่ติดตอ สําหรับสวนน้ี อาจจะพิมพไวทายสุดหรือหนาสุดของ
แผน พบั แตสิ่งทตี่ องระบใุ หช ัดเจนไดแ ก ชื่อสถานที่ เลขท่ี ท่ตี ั้ง หมายเลขโทรศพั ทสํานักงาน โทรศัพทมือถือ
ปจจบุ นั ท่ีขาดไมไดค ือ อีเมล เวบ็ ไซตท ่ีสามารถหาขอมูลเพ่มิ เติมภายหลังได

แผนพับมี 4 องคประกอบ ไดแ ก
องคประกอบที่ 1 พาดหัว มักเปนตัวอักษรท่ีใหญหรืออยูในตําแหนงท่ีเดนอยูดานหนา
ของแผนพบั และนยิ มวางไวใ นสว นบนของหนาแผน พบั เปนขอความส้ัน ๆ เขาใจงา ย
องคประกอบที่ 2 ภาพประกอบ มักวางอยูหนาเดียวกับพาดหัว (แตไมจําเปนตองมีคูกัน
เสมอ) เปนภาพท่ีจะชวยดึงความสนใจของผูอาน ตามขอความอาจมีภาพประกอบเล็ก ๆ เพื่อใชประกอบ
เนอ้ื หา

96

องคป ระกอบท่ี 3 ขอ ความ เน่ืองจากพื้นท่ีมีจากัดขอความเนื้อหาจึงมักมีขนาดเล็ก
แตไมควรเลก็ กวา 12 พอยต ควรใชตัวอักษรสีเขมบนพื้นสีออน ดีกวาตัวอักษรสีออนบนพ้ืนเขม ควร
ใชแบบอักษรเพียง 1-2 แบบการวางขอมูลตองคํานึงถึงลําดับการอานใหถูกตอง ควรเวนพื้นที่วางไว
เพอ่ื ไมใ หม ีขอ ความมากเกินไป เพราะจะทาํ ใหนา อาน

องคประกอบท่ี 4 ภาพสินคาและตราสัญลักษณ ภาพสินคาอาจนํามาเปนภาพประกอบ
ในหนาแรกของแผน พบั ได หากภาพสินคาไมใชภาพหลัก ควรมีภาพสินคาอยูในแผนพับดวย ในสวนของตรา
สัญลักษณควรอยูท่ีดานหนาแผนพับรวมกับพาดหัวหรือภาพประกอบหลัก และควรมีตราสัญลักษณใน
ตอนทา ยของแผน พบั ดวย เพอื่ เปน การยํ้าเตือนถึงสินคาและสัญลกั ษณข องบรษิ ัท

กลาวโดยสรุป แผน พบั มี 5 องคป ระกอบ ไดแ ก (1) พาดหวั (2) ภาพประกอบ
(3) ขอความ (4) ภาพสนิ คา และตราสัญลกั ษณ และ (5) สถานทตี่ ิดตอ

1.3 ขั้นตอนการทาํ แผนพับดวยโปรแกรมคอมพวิ เตอร มี 7 ข้นั ตอน ดงั น้ี
ขน้ั ตอนที่ 1 เขาสูโปรแกรม Microsoft Office Publisher 2007

เขาสโู ปรแกรมดว ยการคลกิ ท่ีปุม Start All Programs Microsoft Office Microsoft
Office Publisher 2007

97

ขนั้ ตอนที่ 2 คลกิ เลือก Brochure (แผนพบั )

ขั้นตอนท่ี 3 เลือกแมแบบ (Template) ที่ตองการ โดยการดับเบ้ิลคลิก
(Double Click) ที่แมแบบท่ีตองการ หรือคลิกท่ีปุม Create ที่มุมดานลางขวามือ เพื่อสรางแผนพับ
จากแมแบบ

98
ขน้ั ตอนท่ี 4 พิมพข อ ความหรือรายละเอยี ดทต่ี อ งการลงไปในพ้ืนทก่ี ารทาํ งาน

ข้ันตอนท่ี 5 การใสรูปภาพในแผนพับ ทําไดโดยนําเมาสไปเลือกตําแหนงท่ี
ตองการเพิ่มรูปภาพลงไป แลวเลือกที่เมนูคําส่ัง Insert Picture From File… หรือคลิกที่
ท่ีแถบวัตถุทอ่ี ยูทางดา นซา ยมอื

99
ข้ันตอนท่ี 6 เปลีย่ นตาํ แหนงการสรางแผนพบั ไปหนา ทีส่ อง เพอื่ ใสร ายละเอยี ด

ข้นั ตอนที่ 6 เปล่ียนตาํ แหนงการสรา งแผน พบั ไปหนาท่ีสอง เพ่ือใสรายละเอยี ด

ข้ันตอนที่ 7 เลอื กเมนูคําส่ัง File Save As… ต้ังชื่อตามทีต่ องการ

กลาวโดยสรุป ข้ันตอนการทําแผนพับดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร มี 7ขั้นตอน
คือ (1) การเขาสูโปรแกรม Microsoft Office Publisher 2007 (2) คลิกเลือก Brochure (แผนพับ)
(3) เลือกแมแบบที่ตองการ (4) พิมพขอความลงในพ้ืนที่การทํางาน (5) การใสรูปภาพในแผนพับ
(6) เปล่ียนตาํ แหนง ไปหนาที่สองเพ่อื ใสรายละเอยี ด และ (7) บนั ทึกดว ยคาํ ส่งั Save As

100

2. การจดั ทําคลปิ วดี ทิ ศั น (Video)
2.1 ความหมายของคลปิ วีดิทศั น (Video)
คลิปวดี ิทศั น (Video) หมายถึง ไฟลคอมพิวเตอรป ระเภทภาพเคลื่อนไหวที่บรรจุ

เน้อื หาเปน เร่ืองสนั้ ๆ หรืออาจตัดตอนมาจากเร่ืองทงั้ เรื่อง อาจเปนเรือ่ งที่สรางขน้ึ มาใหม หรอื เปน
นาํ เอาสวนทส่ี ําคญั หรือเลอื กเฉพาะสว นตอ งการจากตนฉบับเดิมนํามาแสดง ซ่งึ โดยมากมคี วามยาว
ไมเกิน 5-10 นาทีโดยจะเปนไฟลที่มรี ปู แบบการบีบอดั ขอมูลท่ีแตกตา งกันไป เพื่อใหไฟลมีขนาดเลก็
เชน .wma, .flv, mp4 และ 3gp เปน ตน

กลาวโดยสรปุ คลปิ วีดิทัศน (Video) หมายถึง ไฟลค อมพิวเตอรประเภท
ภาพเคลอื่ นไหวทบี่ รรจุเน้ือหาเปนเรื่องสนั้ ๆ หรืออาจตัดตอนมาจากเร่ืองท้งั เรื่อง อาจเปนเรื่องทส่ี รา ง
ข้นึ มาใหม หรือเปนนําเอาสว นทีส่ ําคญั หรอื เลือกเฉพาะสว นตองการจากตน ฉบบั เดมิ นาํ มาแสดง ซ่ึง
โดยมากมคี วามยาวไมเกิน 5-10 นาทีโดยจะเปนไฟลทีม่ รี ปู แบบการบบี อัดขอมลู ที่แตกตางกนั ไป
เพอ่ื ใหไ ฟลมขี นาดเล็ก

2.2 องคป ระกอบของคลปิ วดี ิทศั น (Video)
คลิปวีดทิ ศั น (Video) มี 5 องคประกอบ ไดแ ก
องคประกอบที่ 1 สวนทน่ี ําเขา สเู รือ่ งหรือแนะนําเรอ่ื ง (introduction)
เปนตอนตนของเรื่อง ประกอบดวย โลโกของกศน.อําเภอเมืองนนทบุรี ชื่อเรื่อง

ช่อื วชิ า ช่อื ผูสอน กศน.ตําบล และสถานทพ่ี บกลมุ
องคประกอบที่ 2 มีสวนทเี่ ปนการดาํ เนินเรื่อง เปนสวนท่ีบอกถึงเรื่องราววาดําเนิน

ไปอยางไร อาจเปนบุคคลบรรยาย หรือใชเ อนเิ มชั่นประกอบ เปน ตน
องคประกอบที่ 3 มีสวนที่เปนแกนของเร่ือง เปนสวนที่สําคัญที่สุดเปนสวนที่เปน

เนื้อหาหรือประเด็นสําคัญท่ีตองการใหเกิดการเรียนรู โดยมีกราฟกบรรยายประกอบเพ่ือใหเกิด
ความจาํ หรือความเขาใจย่ิงขึน้

องคประกอบที่ 4 มีสวนสรุปเมื่อเสนอเรื่องนั้นจบแลว อาจเปนผูสอนกลาวสรุป
หรอื นาํ เสนอดว ยกราฟฟกก็ได

องคประกอบที่ 5 มีเครดติ ผูจัดทาํ ทา ยเรอื่ ง
กลา วโดยสรปุ คลปิ วีดิทัศน (Video) มี 5 องคป ระกอบ ไดแ ก (1) สวนนาํ เขา สูเ รอื่ ง
(2) การดําเนินเร่อื ง (3) สว นประเดน็ สาํ คัญ (4) สว นสรุป และ (5) เครดิตผจู ดั ทํา

101
2.3 ขนั้ ตอนการทําคลปิ วดี ิทศั น (Video) ดวย Smart Phone

ระบบปฏิบัติ 1 ระบบปฏบิ ตั กิ าร Andriod
การถายวีดิทัศน (Video) โดยฟงกชัน กลองวีดิทัศน (Video) ตามขั้นตอน
ตอไปน้ี
กกกกกกกขั้นตอนที่ 1 กดเลอื กเมนู “กลองถา ยรปู ”

กกกกกกกขัน้ ตอนท่ี 2 เลือกโหมด “วดี ิทศั น (Video)” กรณที ่ีเปน Andriod เวอรช ัน 9.0 จะปรากฏ ดังภาพ

หนา จอของ Andriod เวอรชัน 9.0

102

เมอื่ เขามาจะพบกับหนาจอ ดงั ภาพ 4

123

5

67

กกกกกกกหมายเลข 1 การตง้ั คา กลองวีดิทัศน (Video)
กกกกกกกหมายเลข 2 การใชแสงแฟลช (Flash)
กกกกกกกหมายเลข 3 สดั สว นของหนาจอ
กกกกกกกหมายเลข 4 ฟล เตอร (Filter) หมายถงึ โปรแกรมทีใ่ ชในการเปล่ยี นรูปแบบในการเก็บภาพ
หรือถา ยภาพ
กกกกกกกหมายเลข 5 ตัวเลือกการซมู หนา จอ
กกกกกกกหมายเลข 6 แกลเลอรี่ (Gallerry) หมายถงึ คลังภาพ แสดงภาพภาย และ คลิปวดี ิทศั น
(Video) ทีใ่ ชกลอ งถาย
กกกกกกกหมายเลข 7 ตัวเลอื กระหวา ง กลอ งหนา กับ กลองหลัง

103

กกกกกกกข้ันตอนท่ี 3 กด ปุมสีแดง เพ่ือบันทึกวีดิทัศน (Video) เมื่อกดแลวจะพบหนาจอ

ดังภาพ ทัง้ นี้ ข้นึ อยกู บั เวอรช นั่ ของแตล ะรุน

ABC แบบที่ 1

ABC แบบที่ 2

A สาํ หรบั หยดุ ถา ยวีดิทศั น (Video)ช่ัวคราว
B สาํ หรบั ถายวดี ทิ ัศน (Video) และยุตกิ ารถา ย
C สาํ หรับสลับกลองหนา – กลอ งหลัง
กกกก

104
กกกระบบท่ี 2 ระบบปฏิบัติการ iOS

การถายวีดิทัศน (Video) โดยฟงกชัน กลองวีดิทัศน (Video) ตามขั้นตอน
ตอ ไปน้ี

ขัน้ ตอนที่ 1 กดเลอื กเมนู “กลอง”

ขน้ั ตอนที่ 2 เลอื กโหมด “วดี ทิ ัศน (Video)”

105
ข้นั ตอนที่ 3 กด ปมุ สแี ดง เพ่อื บนั ทกึ วีดทิ ศั น (Video) เม่อื กดแลว จะพบหนา จอ ดงั ภาพ

A

BC

A ตัวเลขแจงระยะเวลาในการบนั ทกึ วีดทิ ศั น (Video)
B สําหรบั พักการถา ยวดี ิทัศน (Video) ชวั่ คราว
C สําหรับถายวีดิทัศน (Video) และยุติการถายวีดิทัศน

106
การติดตัง้ โปรแกรม VivaVideo เพือ่ ใชใ นการตัดตอ สําหรับ
ระบบปฏบิ ัติการ Andriod
ขน้ั ตอนที่ 1 กดเลือกท่ี เพลยส โตร (Play Store)

ข้ันตอนที่ 2 พมิ พ “VivaVideo” ในชองคน หา ดา นบนของหนาจอ

พิมพ VivaVideo

107

ขั้นตอนที่ 3 กด “ตดิ ตั้ง”

ข้ันตอนที่ 4 เม่ือตดิ ตง้ั เรียบรอยแลว ใหเ ลือก “เปด ”

108

ขน้ั ตอนท่ี 5 กด “เรมิ่ ตน” เพ่ือเขา ใชง านโปรแกรม

109

การตดิ ต้งั โปรแกรม VivaVideo เพ่อื ใชใ นการตัดตอ
สาํ หรับระบบปฏิบตั กิ าร iOS

ขน้ั ตอนที่ 1 กดเลือกท่ี แอพสโตร (App Store)

ขน้ั ตอนที่ 2 เลอื ก “คน หา” และพิมพ VivaVideo

พมิ พ VivaVideo

110

ขน้ั ตอนที่ 3 กด “ตดิ ตั้ง”

ข้ันตอนที่ 4 เม่ือตดิ ตง้ั เรียบรอยแลว ใหเ ลือก “เปด ”

111

ขน้ั ตอนท่ี 5 กด “เรมิ่ ตน” เพ่ือเขา ใชง านโปรแกรม

112

ทั้งระบบปฏิบัติการ Android และ ระบบปฏิบัติการ iOS เมื่อเขาใชงาน Viva Video จะพบหนาตา
เมนแู อปพลเิ คชน่ั ดงั ภาพ

สวนที่ 1 แกไ ข เปน เมนูท่ีใชในการตัดตอไฟล VDO
สวนท่ี 2 สไลดโชว เปนเมนูท่ีใชใ นการทําสไลดโชวจ ากไฟลร ูปภาพ
สว นที่ 3 จบั ภาพ เปนเมนูทใ่ี ชใ นการอดั ภาพ VDO ซ่งึ จะมีโหมดตางๆใหเ ลอื ก ภายในเมนู แต VDO

ท่อี ดั ในโหมดน้จี ะมคี วามคมชดั นอย
สว นที่ 4 Selfie เปน เมนูทางลัดของโหมด Selfie ในเมนจู ับภาพ
สวนที่ 5 อปุ กรณ เปน เมนทู ่ีใชปรบั แตงฟง กช ั่นตางๆทม่ี ีในแอป เชน ธมี ขอ ความ เอฟเฟกต เปน ตน
สวนที่ 6 ของขวญั เปนเมนขู องรางวลั สําหรบั ผใู ชแ อป
สว นท่ี 7 สตดู โิ อ เปน เมนูเกบ็ คลงั ภาพและบนั ทึกแบบรางของผูใ ชง าน
สวนที่ 8 เคร่ืองมือเพมิ่ เตมิ เปน เมนทู ีร่ วบรวมโหมดอื่นๆเพมิ่ เตมิ ของแอป เชน ภาพตัดปะ เปน ตน

113

กกกกกกกการใช Viva Video ตดั ตอ คลิปวดี ิทศั น (Video)
ขั้นตอนที่ 1 การตัดตอวีดิทัศน (Video)เมนู “แกไข” เราจะตองมีไฟลวีดิทัศน (Video) ที่

ตองการตัดตอเตรียมไวกอน เม่ือเขาใชงานเมนูแกไข จะมีรายการวีดิทัศน (Video)ใหเราเลือกเพ่ือจะ
นํามาตัดตอ (ภาพดานซาย) และเมื่อกดเขาไปที่คลิปวีดิทัศน (Video)นั้นๆ เราสามารถเลือกชวงของ
วดี ิทัศน (Video)ที่เราตองการนําไปใชได (ภาพดานขวา)

114

กกกกกกกข้ันตอนท่ี 2 การเลือกตัดชว งของวีดิทศั น (Video) ท่จี ะนําไปแทรกในการตัดตอ

หมายเลข 1 แถบดา นขา งเปนแถบแสดงชวงทเ่ี ราเลือกในวดี ิทัศน (Video)น้ัน ๆ โดยเราสามารถ
เลอ่ื นเลือกแบบรวดเร็วโดยการกดทแ่ี ถบดานขางไดเลย หรือหากตอ งการเล่อื นเลอื ก
ชวงเวลาแบบละเอียดใหกดเลือกแถบดา นขา งที่ตอ งการเลอื ก (เมอ่ื เลอื กแลว จะเปน
สีเหลือง) แลวใหกดเลื่อนทหี่ นา จอวีดทิ ัศน (Video) ใหญ

หมายเลข 2 เปนสว นท่ีใชพลิกวดี ิทศั น (Video)
หมายเลข 3 เปนสว นขยายวีดทิ ศั น (Video)แบบเต็มอัตราสว น (ไมมีแถบสดี าํ )
หมายเลข 4 เปนสว นท่ีใชต ัดเลือกชวงวดี ทิ ัศน (Video)ท่ตี อ งการเลือก เม่อื เลือกทรี่ ูปกรรไกรแลว

สวนวดี ทิ ศั น (Video) ท่เี ลอื กจะเพิม่ เขา ไปใน หมายเลข 5
หมายเลข 5 เม่อื ปรับแตง และเลอื กชวงวดี ทิ ศั น (Video) ท่ตี อ งการเรียบรอ ยแลว ใหก ดเพ่ิมตรงสว น

นีเ้ ขา ไปที่ วดี ทิ ัศน (Video) หลัก

115
กกกกกกกเม่ือกดเพ่ิมเขามาในวีดิทัศน (Video)หลักเรียบรอยแลว เราจะไดรายการชวงวีดิทัศน
(Video) ท่ีเลือกมาในแตละคลิป อยูดานลาง (ดังภาพดานซาย) และเม่ือไมตองการเปล่ียนแปลงใด ๆ
แลวใหกดทปี่ มุ เรียบรอ ย เพ่อื เขาสู การตัดตอเพิ่มเตมิ (ภาพดา นขวา)

กกกกกกกข้ันตอนท่ี 3 เลือก ธีม เพ่ือใชในการเลือกชุดปรับแตง (ธีม) ที่นําไปใชกับวีดิทัศน
(Video)ทง้ั หมด โดยจะมีใหเลอื กหลากหลายรูปแบบ ผูใชงานสามารถดาวนโ หลดเพ่ิมเติมได มีท้ังแบบ
ฟรีและเสียเงนิ แตใ นทน่ี ้เี ราจะไมใ ชใ นสว นตกแตงของธีมมาเพม่ิ เติมในวดี ิทัศน (Video)

116

กกกกกกกขนั้ ตอนที่ 4 เลือก เพลง เพอ่ื นําไปใชกบั วดี ทิ ศั น (Video)ทั้งหมด

กกกกกกกขั้นตอนท่ี 5 เลอื ก ตดั ตอ ใชตดั ตอ วีดทิ ศั น (Video) ทั้งหมดเปนหลัก ซึ่งจะมีคําอธิบายยอย
ดังตอ ไปนี้

เมอื่ เขามาแลว จะพบหนาจอ ดังภาพ

117

หมายเลข 1 แกไขคลปิ เปนเมนสู าํ หรบั การแกไขตัดตอรายละเอียดคลปิ เพิม่ เติมซึ่งจะมีรายละเอียด
ปลกี ยอ ยภายในเมนูแกไ ขคลปิ ดังตอ ไปน้ี

A ตดั เปน การตดั ตอ วีดิทัศน (Video) แบบเลือกชว ง คลาย ๆ ในสวนแรก แตจะเปนการตดั ตอ ในสว นยอ ยลงไป
B แบง เปน การตัดแบง วีดิทัศน (Video)นน้ั ๆ ออกเปน สองสวน
C สาํ เนา เปนการคัดลอกวดี ทิ ศั น (Video)นัน้ ๆ เพอื่ ทาํ สาํ เนาเพิ่มอกี
D ความเรว็ คลิป เปน การปรบั ความเรว็ ของวีดิทัศน (Video)นัน้ ๆ ตามความตองการ
E ปดเสยี ง เปน การเลือกปด เสยี งในวีดิทศั น (Video)นัน้ ๆ ทเ่ี ลือกอยู
F ยอน เปน การปรบั แตง ใหว ดี ิทัศน (Video)น้ัน ๆ ท่ีเลอื กอยูเปลีย่ นไปในลกั ษณะยอ นกลบั
G เลอื่ นและซมู เปน การเปด – ปด ฟง กช น่ั เล่อื นและซูม
หมายเลข 2 ขอ ความ เปนเมนูสาํ หรับการแทรกขอความในวดี ิทศั น (Video)หลกั โดยสามารถเลือก

ชวงที่ตองการใหข อ ความนั้นๆแสดงได พรอ มดวยความสามารถในการปรบั แตงขอความ
ดงั น้ี

118

A เปน สวนของการเลือกรปู แบบกลองขอความท่ีตองการนําไปใช โดยมีหลากหลายรูปแบบใหเ ลือก
ตามความเหมาะสม

B เปน สว นของการเลอื กปรบั แตง รปู แบบฟอนตของขอความ โดยผใู ชสามารถเลือก ดาวนโ หลด
เพ่มิ เติมไดต ามความตอ งการ

C เปนสว นของการปรบั แตงสี ของขอความ
D เปน สวนของการปรับแตงเอฟเฟกต ของขอความเพ่ิมเตมิ เชน ขอความเคลอื่ นไหว

(มีการเฟดขอความ) เงา การจัดเรียง เปนตน เพ่อื ใหข อความดเู ดนและสวยงาม
กกกกกกกเมื่อทําการพิมพขอความ เลือกตําแหนง และตกแตงขอความเสร็จเรียบรอย ใหกดที่
เครื่องหมาย √ ดานบนขวา (ดังรูปลางซาย) เพ่ือเพ่ิมขอความลงในวีดิทัศน (Video)หลัก แลว
โปรแกรมจะใหเลือกชวงของวีดิทัศน (Video)ท่ีเราตองการแสดงขอความน้ันๆ (แถบสีสมดังภาพลาง
ขวา) เม่ือเราไดชวงท่ีเราตองการแลวใหกดท่ีเครื่องหมาย √ ดานลางอีกคร้ัง เพื่อเพ่ิมขอความในชวง
นน้ั ๆ เปน อันเรยี บรอย

119
หมายเลข 3 ฟล เตอร เปนเมนสู ําหรบั การเพม่ิ ตวั กรองปรบั แตงโทนสีของคลปิ วีดิทศั น (Video) แตล ะ

คลิปที่เลือก (รายการคลิปจะอยดู า นลา งสุด) จะคลา ยกบั การปรบั แตง ในโปรแกรมแตง
รูปทัว่ ไป

หมายเลข 4 สตกิ๊ เกอร เปนเมนสู าํ หรบั การเพ่ิมสติกเกอร (ภาพนิ่ง) ลงไปในคลิปวดี ิทัศน (Video)
ซงึ่ ผใู ชส ามารถดาวนโ หลดเพ่มิ ไดเ ชน กัน

120
หมายเลข 5 เอฟเฟกต เปนเมนสู ําหรับการเพมิ่ เอฟเฟกต (ภาพเคล่ือนไหว) ลงไปในคลิปวดี ิทัศน

(Video) มีลักษณะคลา ยสต๊กิ เกอร แตจะเปนภาพเคลื่อนไหวพรอ มเสียงประกอบ

หมายเลข 6 หลายเพลง เปน เมนูสําหรบั การเพ่มิ เสียงประกอบแบบหลายเสยี ง โดยเราสามารถเลอื ก
แทรกเสยี งเพลงประกอบไดหลากหลายชวงตามที่ตองการ

หมายเลข 7 เสยี ง เปนเมนูสําหรบั การอดั เสียงเพิ่มเติมลงไปในคลิปวีดิทศั น (Video) อาจจะเปน
คาํ บรรยายเพม่ิ เติม เปน ตน โดยเราสามารถเปดใหค ลปิ วีดิทัศน (Video) เลน ไปเรอื่ ย ๆ
พอถึงชวงที่เราตองการอัดเสียงลงไป สามารถกดปุม อัดลงไปไดเลยภายในโปรแกรม
นอกจากนี้ยงั สามารถกลับมาแกไขปรบั ระดบั เสียงทอี่ ัดลงไปไดอ กี ดว ย โดยหากเราปรับ
ใหเ สยี งทีเ่ ราอดั บรรยายมเี สยี งดงั ขึน้ เสียงประกอบทีอ่ ยูใ นคลิปจะปรบั ลงใหเ องโดย
อัตโนมัตโิ ดยไมป รับเงียบไป ซึง่ ถอื วาเปนประโยชนอยา งมากในการจัดทําวดิ ที ัศนเลก็ ๆ

121

หมายเลข 8 การเปลี่ยนภาพ เปน เมนูสําหรับเพม่ิ เอฟเฟคระหวางเปล่ยี นคลปิ วดี ิทศั น (Video)
เพอื่ ใหช ุดวดี ิทศั น (Video)นั้นๆ มีความสวยงามมากยงิ่ ขน้ึ โดยเอฟเฟคระหวา งเปลี่ยน
คลปิ น้ันภายในโปรแกรมมใี หเลอื กมากมายลวนเปน เอฟเฟคพ้นื ฐานทั่วไปในการทําคลปิ
วีดิทศั น (Video) ผูใชส ามารถเลือกใชไดตามความเหมาะสม

122
หมายเลข 9 เพ่มิ คลิป เปนเมนสู ําหรบั เพิ่มคลปิ วดี ิทศั น (Video) อ่ืน ๆ ท่ตี องการเพิม่ เขามาใน

ภายหลัง มลี ักษณะเหมือนกบั ฟงกชัน่ เพ่ิมคลิปวีดทิ ศั น (Video) ที่กลาวมาขา งตน

กกกกกกกข้ันตอนที่ 6 การบันทึกแบบรางคลิปวีดิทัศน (Video) เม่ือตัดตอคลิปวีดิทัศน (Video) ไดเสร็จ
เรียบรอ ยตามทต่ี อ งการแลว ผใู ชง านสามารถบนั ทึกเปนแบบรา งได โดยกดท่ีปุมแบบราง ขอมูลการตัดตอวีดิ
ทัศน (Video)ชุดนั้น ๆ จะบนั ทกึ ลงในสตดู โิ อของโปรแกรม และหากตองการแกไขก็สามารถเขาไปโหลดแบบ
รางไดท่เี มนสู ตูดโิ อ

123
กกกกกกกข้ันตอนที่ 7 การสงออกคลิปวีดิทัศน (Video) ใหผูใชงานกดท่ีปุมแบงปน ซึ่งผูใชงาน
สามารถสงออกโดยบันทึกไวในเครื่อง หรือสงออกไปยังแอปอื่นๆไดโดยตรง เพ่ิมความสะดวกในการ
แบงปน ผลงานวดี ิทศั น (Video)ของผูใชงานไปอกี ขัน้

กกกกกกกกลาวโดยสรุป ขั้นตอนการทําคลิปวีดิทัศน (Video) ดวย Smart Phone บนระบบปฏิบัติการ
Andriod และระบบปฏิบัติการ iOS มี 3 ขั้นตอน ไดแก (1) การถายวีดิทัศน (Video) โดยฟงกชันกลอง
วีดิทศั น (Video) (2) การตดิ ต้ังโปรแกรม VivaVideo (3) การตัดตอคลิปวีดิทัศน (Video) ดวยโปรแกรม
VivaVideo

124

กิจกรรมทายบท

กิจกรรมท่ี 1
คาํ ชีแ้ จง ใหผ เู รียนศกึ ษากจิ กรรมที่ 1 แลว เลือกคาํ ตอบที่ ถูกตองที่สดุ เพียงขอ เดียว
เขียนคําตอบท่แี จกให หรือกระดาษเปลาของผเู รยี น
1. ขอใด คือ ความหมายของคําวา อนุรักษ

ก. การดแู ลเพ่ือใหคงคณุ คา ไว
ข. การรักษาไมใหผใู ดเขาใกล
ค. การบาํ รุงรกั ษาสงิ่ ท่ีมูลคา แพงไว
ง. การทํานบุ าํ รุงใหอายยุ นื นานที่สดุ
2. โปรแกรมใดที่เหมาะสมตอการจัดทาํ แผน พบั เผยแพร
ก. Nero
ข. Publisher
ค. Photoshop
ง. Winamp
3. แผนพับเผยแพรนิยมทาํ เปน รปู แบบใด
ก. 3 พับ A4 แนวนอน
ข. 2 พับ A4 แนวนอน
ค. 3 พบั A4 แนวตัง้
ง. 2 พับ A4 แนวตง้ั
4. ขอ ใดคือ ความหมายของคลิปวีดทิ ศั น (Video)
ก. ไฟลค อมพวิ เตอรป ระเภทภาพเคล่อื นไหวทบี่ รรจุเน้อื หาเปนเร่ืองสัน้ ๆ หรอื ตัดมา

จากเร่อื งทั้งเร่ือง
ข. ไฟลคอมพวิ เตอรประเภทภาพเคลื่อนไหวท่เี ผยแพรล งโปรแกรม Youtube
ค. ไฟลคอมพิวเตอรป ระเภทภาพเคลอ่ื นไหวทีอ่ อกอากาศในรายการโทรทัศน
ง. ไฟลค อมพวิ เตอรป ระเภทภาพเคล่อื นไหวที่มีเสียงเพลง และ คาํ บรรยาย
5. ขอ ใด ไมใช ขน้ั ตอนการทําคลิปวีดทิ ศั น (Video) ดว ย SmartPhone
ก. การถา ยวีดิทศั น (Video)
ข. การตดิ ตง้ั โปรแกรม VivaVideo
ค. การตดั ตอคลิปวดี ิทัศน (Video)
ง. การแชรค ลิปวีดทิ ศั น (Video) ลง Youtube

125

กกกกกกกกิจกรรมที่ 2
กกกกกกกคาํ ชีแ้ จง ใหผเู รยี นเตมิ คาํ ลง หรอื ขอขอ ความสนั้ ๆ ลงในชองวางใหถูกตองสมบูรณ ดว ย
การเขียนคําตอบลงในกระดาษท่แี จกให หรอื กระดาษเปลาของผเู รยี น
1. การสืบสาน หมายถงึ .......................................................................................................
2. วธิ ีการ การสบื สาน และการอนรุ ักษโ บราณสถาน โบราณวัตถุ วัตถุ และส่งิ กอ สรา ง
และประเพณีในวดั มี .......... วิธี ไดแก (1)………………………………………(2)………………………………………
3. องคประกอบแรกของแผนพับ ไดแก ………………………………………………………………..……
4. คลิปวดี ิทศั น (Video) โดยมากมคี วามยาวไมเกิน ......................... นาที
5. โปรแกรมสาํ หรับตัดตอ คลิปวดี ทิ ัศน (Video) คือ ............................................................
กกกกกกกกจิ กรรมที่ 3
กกกกกกกคาํ ช้ีแจง ใหผ ูเ รียนศกึ ษากจิ กรรมที่ 3 ดว ยการจับคขู องขอความหลังตวั เลขดานซายมือของ
กระดาษ และขอ ความหลงั ตัวอกั ษรขวามือของกระดาษทม่ี ีความสมั พันธก นั แลว นาํ คาํ ตอบที่ไดไ ป
เขียนในกระดาษที่แจกให หรอื กระดาษเปลา ของผูเ รียน
.......... 1. การสบื สาน ก. การทําใหด ใู หม
.......... 2. การอนุรักษ ข. สวนนํา
.......... 3. แผนพบั ค. เอกสารเลม บาง ๆ
.......... 4. โลโก กศน. ง. ใบปลิว
.......... 5. VivaVideo จ. การบาํ รงุ รกั ษา
ฉ. การปฏิบตั ติ ิดตอกันมา
ช. สว นทาย
ซ. Google Play

126

บรรณานุกรม

127

บรรณานกุ รม

กรมทรัพยากรน้ําบาดาล. (2555). พระกฐนิ พระราชทาน ประจําป 2555. กรงุ เทพฯ:
กรมทรพั ยากรนํ้าบาดาล.

กสิณคลปิ แชนแนล KASINCLIP CHANNEL. (2562) ประวตั ิวัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร
สืบคนเมอื่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2562 จาก www.youtube.com/

กองวรรณคดแี ละประวัติศาสตร. (2525). วดั สําคญั กรุงรตั นโกสนิ ทร. กรงุ เทพฯ: กรมศลิ ปากร.
. (2535). วัดเฉลมิ พระเกียรตวิ รวหิ าร. กรงุ เทพฯ: กรมศลิ ปากร.

ทวั รวัดไทย. (2562). วัดบัวขวัญ อําเภอเมืองนนทบุรี จังหวดั นนทบุรี สืบคน เมื่อ 15 พฤษภาคม
พ.ศ.2562 จาก https://tourwatthai.com/วัดไทย/วดั เมือง/วัดบวั ขวญั -นนทบรุ ี/

ธรรมะไทย. (2562). วัดไทย พระอารามหลวง/วัดราษฎร สืบคน เมอ่ื 15 พฤษภาคม พ.ศ.2562
จาก http://www.dhammathai.org/

ฝายพทุ ธศาสนสถาน กองพทุ ธศาสนสถาน กรมการศาสนา. (2525). ประวตั ิวัดทัว่ ราชอาณาจกั ร
เลม 1. กรุงเทพฯ: ยไู นเตด็ โปรดกั ชน่ั จาํ กัด.

พระมหาสุเมธ ฐติ วชริ เมธ.ี (2552). หนงั สือสมโภชพระอารามหลวงวัดบวั ขวญั . นนทบรุ ี:
จําปาทอง พรน้ิ ตงิ้ จํากัด.

ลาํ จลุ ฮวบเจริญ. (2555). พระอารามหลวงแหง ราชอาณาจักรสยาม. กรงุ เทพฯ:
ดวงกมลพับลชิ ชงิ่

วิกิพีเดยี สารานกุ รมเสรี. (2562). ความรเู กี่ยวกับ พระอารามหลวง หรือ วัดหลวง สืบคนเมอื่
15 พฤษภาคม พ.ศ.2562 จาก https://th.wikipedia.org/wiki/พระอารามหลวง30

. (2562). พระอารามหลวง สบื คน เม่อื 15 พฤษภาคม พ.ศ.2562 จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/พระอารามหลวง30

. (2562). วดั เขมาภริ ตารามราชวรวิหาร สืบคน เมอื่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2562 จาก
กกกกกกกhttps://th.wikipedia.org/wiki/วดั เขมาภิรตารามราชวรวิหาร
สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า (2562) พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวตั ถุโบราณวัตถุ

ศิลปวตั ถุและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2535 สบื คน เมื่อ 15 พฤษภาคม
พ.ศ.2562 จาก https://www.ilovethaiculture.com
สาํ นักงานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั . (2552). หลักสตู รการศึกษา
นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท..
. (2555). หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551.
สาระการเรียนรู (ฉบับปรบั ปรุงพ.ศ.2554).กรุงเทพฯ: โรงพิมพอ งคการสงเคราะหทหารผานศึก.

128

. (2555). คูมอื การดาํ เนนิ งานหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551. สาระการเรียนรู (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554). กรงุ เทพฯ: รังสีการ
พมิ พ.

สาํ นักงานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั . (2535). แนวทางการพฒั นา
หลกั สตู รสถานศกึ ษาหลักสตู รการศกึ ษานอกระดับการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช
2551. กรุงเทพฯ: บรษิ ทั ไทยพบั บลคิ เอ็ดดูเคชน่ั จํากัด.

สาํ นกั งานอยั การสูงสุด. (2561). วัดเฉลิมพระเกียรตวิ รวิหาร จงั หวดั นนทบุรี. กรุงเทพฯ: แอค ควิ
เรทเพรส จํากัด.

องคการบรหิ ารสวนจังหวัดนนทบรุ ี. (2547). อาคารลาํ้ คา ควรรักษาคเู มอื ง จงั หวดั นนทบรุ .ี
กรุงเทพฯ: ดอกเบีย้ .

อาศสิ เชยกลนิ่ ; และ พรวภิ า เชยกล่นิ . (2560). ศาสนาและหนาทพี่ ลเมือง ระดบั มัธยมศกึ ษา
ตอนปลาย. กรุงเทพฯ: สามเจรญิ พาณิชย จํากัด.

Mesapoolsawat. (2562). มารจู กั แผน พับกนั เถอะ สบื คน เมอ่ื 15 พฤษภาคม พ.ศ.2562
จาก https://mesapoolsawat.wordpress.com

129

ภาคผนวก

130

ภาคผนวก ก.
เฉลยกิจกรรมทายบท

131

เฉลยกจิ กรรมทา ยบท

บทที่ 1 ความรูเบอื้ งตน เก่ยี วกับพระอารามหลวง

กกกกกกก 1. กจิ กรรมที่ 1
ขอ 1. ค
ขอ 2. ค
ขอ 3. ก
ขอ 4. ก
ขอ 5. ข

กกกกกกก 2. กิจกรรมท่ี 2
กกกกกกก การจัดลาํ ดบั ช้ันของพระอารามหลวง มี 3 ลาํ ดบั ชัน้ คือ ชนั้ เอก ชั้นโท ช้นั ตรี หรือ
ชน้ั สามัญ พระอารามหลวงไดรบั พระกฐนิ เปนประจําทุกป พระอารามหลวงช้นั เอกไดแ ก วดั ที่บรรจุ
พระบรมอัฐิ วัดประจาํ หวั เมือง คือ พระอารามหลวง ช้ันตรี
กกกกกกก 3. กจิ กรรมที่ 3

....ค....1. วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร
....จ....2. วดั บวั ขวญั พระอารามหลวง
....ก....3. วดั เขมาภริ ตารามราชวรวิหาร
....ง....4. วดั สามัญ
....ซ....5. กฐนิ พระราชทาน

บทที่ 2 วัดเขมาภิรตารามราชวรวหิ าร

กกกกกกก 1. กจิ กรรมที่ 1
ขอ 1. ค
ขอ 2. ก
ขอ 3. ง
ขอ 4. ค
ขอ 5. ข

กกกกกกก 2. กจิ กรรมที่ 2
ขอ 1. วัดเขมาภิรตารามราชวรวิหารสรา งขน้ึ ในสมยั พระเจา อูทอง (พระรามาธิบดีที่1)
ขอ 2. โบราณวตั ถใุ นวัดเขมาภิรตารามราชวรวหิ าร (1) พระอนิ ทรแ ปลง

(2) พระอสีติมหาสาวก .

132

ขอ 3. พระจอมเกลาเจาอยหู ัวคือ พระมหากษัตรยิ  รชั กาลที่ 4
ขอ 4. โบราณสถานในวัดเขมาภริ ตารามราชวรวหิ าร (1) พระทน่ี งั่ มูลมณเฑยี ร
(2) พระตําหนักแดง.......
ขอ 5. วัดเขมาภริ ตารามราชวรวหิ าร เปน พระอารามหลวงระดับชน้ั โท .กกกก
กกก 3. กจิ กรรมท่ี 3
....ค....1. เรือนไมสกั สแี ดงต้งั อยใู นวัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร
....จ....2. กรมสมเดจ็ พระศรสี รุ ิเยนทรามาตย
....ก....3. โบราณสถานทีต่ ั้งอยทู างดา นเหนือของวดั มเี สาสงู ยันชายคา
....ง....4. สถานท่ีนมสั การพระบรมสารรี กิ ธาตุ
....ซ....5. พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจา อยูห วั

บทที่ 3 วดั เฉลมิ พระเกียรตวิ รวหิ าร

กกกกกกก 1. กจิ กรรมท่ี 1
ขอ 1. ค
ขอ 2. ข
ขอ 3. ข
ขอ 4. ง
ขอ 5. ง

กกกกกกก 2. กิจกรรมท่ี 2
ขอ 1. พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกลาเจาอยูหัว (รชั กาลที่3) เปนผสู รางวัดเฉลมิ พระเกียรตวิ รวหิ าร
ขอ 2. พระอุโบสถในวัดเฉลิมพระเกยี รติวรวหิ าร เปน โบราณสถาน
ขอ 3. พระศิลาขาวในพระวหิ ารวัดเฉลิมพระเกียรติวรวหิ าร เปน โบราณวตั ถุ
ขอ 4. กาํ แพงแกว ก้ันเขตพุทธาวาสวดั เฉลิมพระเกียรติ แบง ออกเปน …3…เขต
ขอ 5. ศาลาแดงเหนอื ศาลาแดงใต ปจ จุบนั ใชจ ัดกจิ กรรมตาง ๆ ใชเ ปนสถานที่อบรม

ประชาชนตามโครงการเผยแพรพระพทุ ธศาสนาของวัด และสาํ หรับพักผอนหยอนใจ
กกกกกกก 3. กจิ กรรมท่ี 3

....ก....1. พระอโุ บสถ
....จ....2. พระศลิ าขาว
....ช....3. ปลายเดอื นมีนาคม – ตนเดือนเมษายน
....ข....4. สถาปต ยกรรมแบบลงั กา
....ฉ....5. พ.ศ. 2390

133

บทท่ี 4 วดั บัวขวัญ พระอารามหลวง

กกกกกกก 1. กิจกรรมที่ 1
ขอ 1. ก
ขอ 2. ง
ขอ 3. ง
ขอ 4. ค
ขอ 5. ง

กกกกกกก 2. กิจกรรมท่ี 2
ขอ 1. พระครูปรีชาเฉลิม หรือหลวงปูแฉง เปนผรู ิเริ่มสรา งวดั ในชวงแรก วัดบวั ขวัญ

พระอารามหลวง
ขอ 2. อาคารมงคล-จารุณี กุลละวณิชย .ปจ จุบันเปนหองเรยี นพระปริยัติธรรม
ขอ 3. งานศลิ ปแ หง ศรัทธา มหาสังข สรรพมงคลครอบจกั รวาล .ประเพณที ี่จัดข้นึ

เดอื นพฤษภาคม ของทุกป เพื่อเปน ศนู ยกลางการเผยแพรก ิจกรรมงานบุญและขอมลู หลากหลายที่
เก่ยี วขอ งกับวัดบัวขวัญ พระอารามหลวง .

ขอ 4. พระประธานในวัดบัวขวัญ พระอารามหลวง คือ พระพุทธเมตตา .
ขอ 5. วดั บวั ขวญั พระอารามหลวง เปน พระอารามหลวงชนั้ พระอารามหลวงช้ันตรี ชนดิ สามัญ
กกกกกกก 3. กจิ กรรมที่ 3
....จ....1. เปน สถานที่ทําบุญฟงพระธรรมเทศนาและเจริญวปิ ส สนาภาวนาเปนประจาํ ทุกวันพระ
....ก....2. สถานทท่ี ําสังฆกรรม ทาํ กจิ วัตรตา ง ๆ ของพระสงฆ
....ข....3. เปน ที่ประชาชนมาเคารพกราบไหว
....ค....4. เปน ที่พาํ นักของเจาอาวาสวัดบัวขวัญพระอารามหลวง
....ง....5. เกิดความสําเรจ็ ในหนา ทกี่ ารงานมโี ชคมลี าภ เจรญิ กา วหนา ราํ่ รวยยิง่ ขึ้น

บทท่ี 5 วิธกี ารทางภมู ศิ าสตร และประวัติศาสตรศึกษาพระอารามหลวง
ศูนยรวมใจในเมอื งนนท

กกกกกกก 1. กิจกรรมท่ี 1
ขอ 1. ก
ขอ 2. ข
ขอ 3. ค
ขอ 4. ข
ขอ 5. ก

134

กกกกกกก 2. กจิ กรรมที่ 2
ขอ 1. การสืบคน รวบรวม ตคี วามสารสนเทศทางภูมิศาสตร และการใชเครื่องมือทาง

ภูมิศาสตรท่ีเหมาะสม ประกอบดวย ธรณีภาค อุทกภาค บรรยากาศภาค และชีวภาค มีผลตอการ
เกิดปรากฏการณตาง ๆ ทางธรรมชาติของโลก

ขอ 2. การวิเคราะหข อมูล เปนการศึกษารูปแบบ ความสมั พันธ และความเชื่อมโยงท่ี
เกิดขนึ้ ของปรากฏการณต า งๆ ทางภมู ิศาสตร ตลอดจนศกึ ษาแนวโนม ความสัมพนั ธ .และความ
ตอเน่ือง ของปรากฏการณหาความสมั พันธส อดคลองกันและลักษณะท่ีคลายกันระหวา งพ้ืนที่

ขอ 3. หลักฐานทางประวัติศาสตร แบงออกเปน....2....ช้ัน คือ (1) หลักฐานช้ันตน
(2) หลกั ฐานชนั้ รอง

ขอ 4. หลกั ฐาน ช้นั ตน เปนหลกั ฐานรว มสมยั ที่ สําคัญมาก เพราะเปนหลักฐานที่
บนั ทึกโดยผูร ูเห็น สว นหลักฐาน ชน้ั รอง เปน หลกั ฐานทท่ี ําขน้ึ ภายหลงั แตห ลกั ฐาน ชัน้ รอง จะชว ย
อธบิ ายเร่อื งราวใหเ ขาใจหลักฐานชั้นตนไดงายข้ึน

ขอ 5. หลักฐานทางประวัติศาสตรท สี่ ามารถสอบสวนเขาไปใหใ กลเคียงกบั ความเปน จรงิ ท่ีเกิดข้ึน
ได ประกอบดวย......2.....หลักฐาน คือ (1) หลกั ฐานที่ไมเปน ลายลักษณอักษร (2) หลักฐานที่เปนลาย
ลักษณอักษร
กกกกกกก 3. กจิ กรรมที่ 3

....จ....1. วิธีการทางประวตั ศิ าสตรป ระกอบดวย
....ค....2. นําเสนอขอมลู และเขียนรายงาน คอื
....ข....3. การวิพากษหลักฐานหรือวิพากษภ ายนอกการวิพากษห ลักฐาน (External criticism )
....ฉ....4. การวพิ ากษ ขอ มลู หรอื วิพากษภ ายในการวพิ ากษข อมลู (Internal criticism)
....ก....5. การตคี วามหลักฐาน

บทท่ี 6 การสืบสาน และการอนุรักษโบราณสถาน โบราณวตั ถุ วตั ถุและสิ่งกอสราง และประเพณี
ในพระอารามหลวง

กกกกกกก 1. กจิ กรรมท่ี 1
ขอ 1. ก
ขอ 2. ข
ขอ 3. ก
ขอ 4. ก
ขอ 5. ง

135

กกกกกกก 2. กจิ กรรมท่ี 2
ขอ 1. การสบื สาน หมายถึง การสืบตอ สบื เนื่อง รบั ชวง เพอื่ ปฏบิ ตั ิ และถายทอดสืบตอ กนั มา
ขอ 2. วธิ กี าร การสบื สาน และการอนรุ ักษโ บราณสถาน โบราณวตั ถุ วัตถุ และสิ่งกอ สราง และ

ประเพณใี นวัด มี 2 . วธิ ี ไดแก (1) การจดั ทาํ แผนพบั (2) การจัดทาํ คลปิ วีดิทศั น (Video)
ขอ 3. องคป ระกอบแรกของแผนพับ ไดแก พาดหวั
ขอ 4. คลปิ วดี ทิ ศั น (Video) โดยมากมคี วามยาวไมเ กนิ 5-10 นาที
ขอ 5. โปรแกรมสําหรับตัดตอ คลปิ วดี ิทัศน (Video) คอื VivaVideo

กกกกกกก 3. กจิ กรรมท่ี 3
....ฉ....1. การสืบสาน
....จ....2. การอนรุ ักษ
....ค....3. แผน พบั
....ข....4. โลโก กศน.
....ซ....5. VivaVideo

กกกกกกก136

ภาคผนวก ข.
การอนญุ าตใชห นังสอื เรยี น



กกกกกกก138

ภาคผนวก ค.
รายชอื่ คณะผูจดั ทําหนงั สอื เรยี น

กกกกกกก139

รายชอ่ื คณะผูจัดทําหนังสือเรยี น

หัวหนา คณะผจู ัดทํา ผูอํานวยการศูนย กศน.อําเภอเมืองนนทบรุ ี

กกกกกกกนายจักรพนั ธ พงศวรารักษ

คณะทํางาน ครู
ครู กศน.ตําบล
กกกกกกก1. นางอินทริ า มนสั ครู กศน.ตาํ บล
ครู กศน.ตําบล
กกกกกกก2. นางสาวธันยาภทั ร รฐั วราเศรษฐ ครู กศน.ตําบล
กกกกกกก3. นางสาวอภญิ ญา นชุ แหยม ครู กศน.ตําบล
กกกกกกก4. นางสาวชมพูนทุ คลายมุข ครู กศน.ตาํ บล
กกกกกกก5. นางเยาวเรศ งานดี

กกกกกกก6. นายสรุ ัตน เรอื งศรี
กกกกกกก7. นายสทิ ธชิ ัย ภวู งษ

กองบรรณาธิการ ผอู าํ นวยการศูนย กศน.อาํ เภอเมืองนนทบุรี
ครู
กกกกกกก1. นายจักรพนั ธ พงศว รารกั ษ

กกกกกกก2. นางอินทริ า มนัส

ผูออกแบบปก ครู กศน.ตําบล
ครู กศน.ตาํ บล
กกกกกกก1. นายสทิ ธชิ ยั ภวู งษ

กกกกกกก2. นางเยาวเรศ งานดี

กกกกกกก140

ภาคผนวก ง.
ประกาศแตง ตงั้ ทป่ี รกึ ษาการจดั ทําหนงั สือเรยี น



http://nonthaburi.nfe.go.th/non1/


Click to View FlipBook Version