The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรท้องถิ่นกศน.อำเภอเมืองนนทบุรี หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชา สค33158 พระอารามหลวงศูนย์รวมใจใหเมืองนนท์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กศน.ตำบล, 2020-06-26 08:57:10

วิชาพระอารามหลวงศูนย์รวมใจในเมืองนนท์

หลักสูตรท้องถิ่นกศน.อำเภอเมืองนนทบุรี หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชา สค33158 พระอารามหลวงศูนย์รวมใจใหเมืองนนท์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Keywords: พระอาราม,หลักสูตรท้องถิ่น,กศน.,นนทบุรี,หนังสือใหม,กศน.บางกระสอ,ท่าทราย,บางรักน้อย,ตลาดขวัญ,กองพัฒกศน,สค33158

สารบญั

หนา
30คําแนะนําการใชหนงั สอื เรยี น30........................................................................................................ 00130
30โครงสรา งรายวิชา30......................................................................................................................... 003

30สรปุ สาระสําคัญ ......................................................................................................................00330
30ผลการเรียนรทู คี่ าดหวงั 30........................................................................................................... 007
30ขอบขา ยเน้ือหา30.......................................................................................................................00830
30สอ่ื ประกอบการเรยี น30.............................................................................................................. 008
30บทท่ี 1 ความรูเบอื้ งตนเกีย่ วกบั พระอารามหลวง30......................................................................... 011
30สาระสาํ คัญ30............................................................................................................................. 011
30ผลการเรียนรทู ่ีคาดหวงั 30...........................................................................................................01130
30ขอบขายเน้ือหา30....................................................................................................................... 011
30ส่อื 30ประกอบการเรยี น .............................................................................................................. 011
เร่ืองท่ี 1 ความหมาย ความสําคญั ของพระอารามหลวง ......................................................... 012
เรือ่ งที่ 2 การจดั ลําดบั ชน้ั ของพระอารามหลวง ...................................................................... 013
เรือ่ งที่ 3 พระอารามหลวงในอาํ เภอเมืองนนทบรุ ี................................................................... 015
กจิ กรรมทายบท ...................................................................................................................... 019
30บทท่ี 2 วัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร30......................................................................................... 021
30สาระสําคญั 30............................................................................................................................. 021
30ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวงั 30........................................................................................................... 022
30ขอบขายเนื้อหา30....................................................................................................................... 022
30สอื่ ประกอบการเรยี น30 .............................................................................................................. 022
เรื่องท่ี 1 ท่ีตงั้ แผนที่ การเดินทางไปวัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร........................................023
เร่ืองท่ี 2 ประวัติ ความเปนมาวัดเขมาภริ ตารามราชวรวหิ าร..................................................024
เรอ่ื งที่ 3 ความสาํ คัญของวัดเขมาภิรตารามราชวรวหิ าร......................................................... 025
เรอ่ื งท่ี 4 โบราณสถาน โบราณวัตถวุ ดั เขมาภริ ตารามราชวรวหิ าร..........................................026
เร่อื งท่ี 5 กจิ กรรม ประเพณีทสี่ ําคัญวัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร.........................................032
กิจกรรมทายบท ...................................................................................................................... 033

สารบัญ (ตอ)

30หนา
30บทท่ี 3 วดั เฉลมิ พระเกยี รตวิ รวิหาร30............................................................................................. 035

30สาระสาํ คัญ30............................................................................................................................. 035
30ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวงั 30........................................................................................................... 036
30ขอบขายเน้ือหา30....................................................................................................................... 03630
30สอื่ ประกอบการเรยี น30 ..............................................................................................................03630
เรอ่ื งที่ 1 ทต่ี ้ัง แผนท่ี การเดินวดั เฉลิมพระเกยี รตวิ รวหิ าร...................................................... 037
เร่ืองที่ 2 ประวตั ิ ความเปน มาวัดเฉลมิ พระเกียรตวิ รวิหาร...................................................... 038
เร่อื งที่ 3 ความสาํ คญั ของวดั เฉลมิ พระเกยี รตวิ รวหิ าร ............................................................ 038
เรอื่ งที่ 4 โบราณสถาน โบราณวตั ถวุ ัดเฉลมิ พระเกียรตวิ รวหิ าร..............................................039
เรอ่ื งที่ 5 กิจกรรม ประเพณีท่ีสําคญั วัดเฉลมิ พระเกยี รตวิ รวิหาร.............................................050
กิจกรรมทายบท ...................................................................................................................... 051
30บทที่ 4 วัดบวั ขวญั พระอารามหลวง30 ........................................................................................... 05330
30สาระสาํ คัญ30.............................................................................................................................05330
30ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวงั 30 .......................................................................................................... 05430
30ขอบขายเน้ือหา30....................................................................................................................... 054
30สอ่ื ประกอบการเรยี น30 .............................................................................................................. 054
เรอ่ื งที่ 1 ท่ตี ้ัง แผนท่ี การเดินทางของวัดบวั ขวัญ พระอารามหลวง .......................................055
เรื่องที่ 2 ประวัติ ความเปน มาของวดั บวั ขวญั พระอารามหลวง .............................................057
เร่ืองที่ 3 ความสําคญั ของวัดบัวขวัญ พระอารามหลวง........................................................... 059
เรื่องท่ี 4 ถาวรวัตถุ ปชู นยี วัตถขุ องวัดบัวขวญั พระอารามหลวง ...........................................059
เรอ่ื งท่ี 5 กิจกรรม ประเพณีทสี่ ําคญั วัดบัวขวญั พระอารามหลวง...........................................071
กจิ กรรมทายบท ...................................................................................................................... 075
บทท่ี 5 วธิ ีการทางภมู ิศาสตร และประวตั ิศาสตรศ ึกษาพระอารามหลวงศูนยรวมใจในเมืองนนท........077
สาระสาํ คัญ ............................................................................................................................. 077
ผลการเรยี นรทู ่ีคาดหวัง........................................................................................................... 077

สารบญั (ตอ)

หนา
ขอบขายเนือ้ หา ....................................................................................................................... 077
สื่อประกอบการเรียน............................................................................................................... 078
เรือ่ งท่ี 1 วิธกี ารทางภูมิศาสตร............................................................................................... 078
เรอ่ื งที่ 2 วธิ ีการประวตั ิศาสตร ............................................................................................... 081
กิจกรรมทายบท ...................................................................................................................... 087
บทท่ี 6 การสืบสาน และการอนุรักษโบราณสถาน โบราณวตั ถวุ ตั ถุ และสงิ่ กอสราง และประเพณี .... 090
ในพระอารามหลวง ................................................................................................................. 090
สาระสําคัญ ............................................................................................................................. 090
ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวัง ........................................................................................................... 091
ขอบขายเนื้อหา ...................................................................................................................... .091
สือ่ ประกอบการเรยี น............................................................................................................... 092
เร่อื งท่ี 1 ความหมายของการสบื สาน และการอนรุ ักษโบราณวตั ถุ วตั ถุ และส่ิงกอ สราง และ
ประเพณีในวดั ......................................................................................................................... 092
เรื่องที 2 ความสาํ คญั ของการสบื สาน และการอนุรักษโบราณวัตถุ วัตถุ และสงิ่ กอสรา ง และ
ประเพณใี นวดั ......................................................................................................................... 093
เรือ่ งท่ี 3 วธิ ีการ การสืบสาน และการอนรุ กั ษโ บราณวัตถุ วัตถุ และสิ่งกอสรา ง และประเพณี
ในวดั ....................................................................................................................................... 093
กจิ กรรมทายบท ...................................................................................................................... 123
บรรณานกุ รม ................................................................................................................................ 125
ภาคผนวก ..................................................................................................................................... 128
ก เฉลยกิจกรรมทายบท ......................................................................................................... 129
ข การอนญุ าตใชหนังสอื เรียน................................................................................................. 135
ค รายช่อื คณะผจู ัดทําหนังสือเรยี น......................................................................................... 137
ง ประกาศแตง ต้ังที่ปรกึ ษาการจดั ทําหนังสอื เรยี น .................................................................. 139

1

คาํ แนะนาํ การใชหนังสือเรยี น

กกกกกกกหนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชา สค33158 พระอารามหลวงศูนยรวมใจในเมืองนนท
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองนนทบุรี
จังหวัดนนทบุรี เปนสื่อการเรียนรูใหกับผูเรียนท่ีลงทะเบียนเรียนหลักสูตรรายวิชา สค33158
พระอารามหลวงศูนยรวมใจในเมืองนนท ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ไดศึกษาเรียนรู รวมถึงผูที่
สนใจศึกษาเก่ียวกับพระอารามหลวง ในอําเภอเมืองนนทบุรี โดยเฉพาะผูเรียนท้ังในสังกัดโรงเรียน
ในระบบ และนอกระบบไดศึกษา เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจเก่ียวกับทองถ่ิน สงผลตอเนื่องใหเกิด
ความรูสึกภาคภูมิใจในทองถ่ินของตนเอง อันเปนคุณลักษณะอันพึงประสงคของมาตรฐานการศึกษา
ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน มาตรฐานคณุ ภาพผูเ รยี นในขอ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค ผูเรียนเกิดความ
ภาคภูมิใจและความเปน ไทย บรรลไุ ด
กกกกกกกในการศึกษาหนังสือเรียนเลมนี้ใหมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ผูเรียนควรศึกษาคําแนะนํา
ในการใชห นงั สือเรยี นใหเ ขา ใจกอนดังนี้
กกกกกกก1. ใหผ ูเรียนศกึ ษาโครงสรางรายวชิ าประกอบดวย สรปุ สาระสาํ คัญแตละบท ผลการเรยี น
ที่คาดหวงั ขอบขา ยเนื้อหา และส่อื ประกอบการเรียน ของแตละบทใหช ดั เจนเปน เบ้อื งตนกอ นศึกษา
เน้ือหารายละเอยี ดของแตล ะบทตอไป
กกกกกกก2. การศึกษาเน้ือหารายละเอียดของแตละบท ผูเรียนตองศึกษาสาระสําคัญ ผลการเรียน
ทค่ี าดหวงั ขอบขายเนือ้ หาของบทนัน้ ๆ สอ่ื ประกอบการเรียน และรายละเอียดของเน้ือหาในแตละบท
เปนเรื่องๆตามลําดับเรื่องท่ีมีอยูในบทนั้นๆ ตอจากน้ันใหผูเรียนทํากิจกรรมทายบท มีแนวปฏิบัติ
ทผ่ี ูเรยี นควรปฏิบัติตอ ไปน้ี
กกกกกกก2. 2.1 เม่ือทํากิจกรรมทายบทเสร็จแลว ใหผูเรียนตรวจคําตอบท่ีถูกตองไดจากภาคผนวก ก.
เฉลยกิจกรรมทา ยบท ของบทนนั้
กกกกกกก2. 2.2 ในกรณีท่ีตรวจกิจกรรมทายบทแลวพบวาตอบไดไมถูกตอง ใหผูเรียนกลับไปอาน
เน้ือหาของเรื่องน้ันๆใหมอีกคร้ัง แลวทดลองตอบกิจกรรมทายบทน้ันๆใหมอีกคร้ังเพื่อเสริมสราง
ความรคู วามเขาใจทีถ่ ูกตอ ง
กกกกกกก2. 2.3 ในกรณีท่ีผูเรียนกลับไปอานเนื้อหาในเร่ืองนั้นๆแลว ยังมีความรูสึกวาตนเองยังไมมี
ความเขาใจชดั เจนในเน้ือหาดังกลาว ใหผเู รียนนําขอสงสัยสอบถามครูผูสอนหลักสูตรรายวิชา สค33158
พระอารามหลวงศูนยรวมใจในเมืองนนท ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือนําไปพูดคุยแลกเปล่ียน
เรียนรูกับเพื่อนผเู รียนทีล่ งทะเบียนเรยี นหลกั สูตร หรอื เพ่อื นผูเรยี นคนอน่ื ๆ ทีม่ คี วามรูเกย่ี วกับเรือ่ งน้ีก็ได

2

กกกกกกก3. หนงั สือเรียนเลมนปี้ ระกอบดวย 6 บท มดี งั น้ี
กกกกกกก2. บทที่ 1 ความรูเ บื้องตน เกี่ยวกบั พระอารามหลวง
กกกกกกก2. บทท่ี 2 วัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร
กกกกกกก2. บทท่ี 3 วดั เฉลิมพระเกยี รติวรวหิ าร
กกกกกกก2. บทท่ี 4 วดั บัวขวัญ พระอารามหลวง
กกกกกกก2. บทท่ี 5 วธิ ีการทางภมู ิศาสตร และประวตั ิศาสตรศึกษาพระอารามหลวง ศูนยรวมใจในเมืองนนท
กกกกกกก2. บทที่ 6 การสืบสาน และการอนรุ ักษโ บราณสถาน โบราณวัตถุ วัตถุ และสิง่ กอสรา ง
และประเพณีในพระอารามหลวง

3

โครงสรางรายวิชา

สรุปสาระสําคญั

กกกกกกกบทท่ี 1 ความรูเ บือ้ งตนเกีย่ วกบั พระอารามหลวง
1. พระอารามหลวง หมายถึง วดั ที่พระมหากษัตรยิ  สมเด็จพระราชินี และสมเด็จพระยุพราชทรง

สราง หรือทรงบูรณปฏิสังขรณ รวมถึงวัดที่พระมหากษัตริยทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมให
ยกฐานะจากวัดราษฎร30เปนพระอารามหลวง และมีความสําคัญ คือ เปนวัดหลวงที่พระมหากษัตริย หรือ
พระบรมวงศานุวงศทรงสราง หรือทรงรับไวเปนวัดของพระราชวงศ หรือเปน วัดท่ีทรงอุปถัมภ ไดรับ
การถวายพระกฐินเปนประจาํ ทุกป

2. การจัดลาํ ดับช้นั ของพระอารามหลวงมี 3 ลาํ ดับ คือ พระอารามหลวงช้นั เอก
พระอารามหลวงชน้ั โท และพระอารามหลวงชน้ั ตรี

3. พระอารามหลวงในอําเภอเมอื งนนทบรุ ี คือ (1) วัดเขมาภริ ตารามราชวรวหิ าร
(2) วัดเฉลิมพระเกียรตวิ รวิหาร และ (3) วดั บัวขวญั พระอารามหลวง
กกกกกกกบทที่ 2 วัดเขมาภริ ตารามราชวรวหิ าร

1. ทต่ี ั้ง และการเดนิ ทาง
1.1 วดั เขมาภริ ตารามราชวรวหิ ารตัง้ อยเู ลขที่ 74 หมูท่ี 8 ซอยพิบูลสงคราม 3

ถนนพิบูลสงคราม ตาํ บลสวนใหญ อาํ เภอเมืองนนทบรุ ี จงั หวดั นนทบุรี โทรศัพท 02-525-0470
1.2 การเดินทางมาวัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร สามารถเดินทางมาไดท้ังทางบก และทางนํ้า

(1) ทางบก เดนิ ทางโดยรถประจาํ ทางขนสงมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) สาย 32, 33, 64, 90 และ 97 (2) ทางนํ้า
เดนิ ทางโดยเรือดวนเจาพระยา และเรือขามฟากแมน้ําเจาพระยาจากฝงทาน้ําวัดตึก ตําบลบางไผ อําเภอเมือง
นนทบุรี ขึ้นทท่ี าเรือวดั เขมาภริ ตารามราชวรวิหาร

2. ประวตั ิ ความเปน มาของวดั เขมาภริ ตารามราชวรวิหาร วดั เขมาภริ ตารามราชวรวิหาร เช่ือวา
มีมาต้ังแตสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยพระเจาอูทองทรงสราง เปนวัดหลวงในสมัยกรุงศรีอยุธยา เดิมชื่อ
วัดเขมา หรือ วัดเข็นมา โดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 4 ทรงใหทัศนะไววา
พระเจา อทู อง ไดเคยปฏิสงั ขรณ แตม ไิ ดเปนผสู รา ง นา จะสรางตั้งแตสมัยที่เขมรยังครอบครองดินแดน
บริเวณน้ี ตอมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 ทรงบูรณปฏิสังขรณ
เพื่อฉลองพระคณุ สมเด็จพระบรมราชชนนี แลว พระราชทานนามเพม่ิ วา วดั เขมาภิรตาราม

3. ความสําคัญของวดั เขมาภิรตารามราชวรวหิ าร เปน พระอารามหลวงช้นั โท ชนดิ
ราชวรวิหาร ขนึ้ ทะเบยี นโบราณสถาน วนั ท่ี 8 มีนาคม พ.ศ. 2478 มีการกอสรางและปฏิสังขรณเปน
ระยะ ๆ ตัง้ แต พ.ศ.2478 จนถึงปจ จุบัน

4

4. โบราณสถาน และโบราณวัตถุในวัดเขมาภริ ตาราม
4.1 โบราณสถานในวดั เขมาภิรตารามราชวรวหิ าร มหี ลายแหงเปดใหประชาชนเขา ชม และ

สักการบูชา ซึ่งประกอบดว ย (1) พระอโุ บสถ (2) พระมหาเจดยี  (3) พระตําหนักแดง (4) พระท่ีนั่งมูลมณเฑยี ร
และ (5) ศาลาการเปรยี ญ

4.2 โบราณวตั ถใุ นวดั เขมาภริ ตารามราชวรวหิ าร ไดแก พระประธานองคท่ี 1 เปน พระประธาน
องคใหญมีพระเพลากวาง 2.90 เมตร สรางครอบพระพุทธรูปทองคําองคเดิม พระประธานองคท่ี 2
เปนพระประธานองคเล็กมีพระนามวา รูปพระอินทรแปลง อัญเชิญมาจากวังจันทรเกษม จังหวัด
พระนครศรีอยธุ ยา

5. ประเพณีทีส่ าํ คญั ในวัดเขมาภริ ตารามราชวรวิหาร ไดแก งานนมัสการพระบรมสารีริกธาตุเปน
งานประจําป จัดข้ึนทุกปวันสุดทายจะตองตรงกับวันมาฆบูชาของปนั้น ๆ เม่ือเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2495
มีการซอมสรางพระมหาเจดียคร้ังใหญ ปรากฏวาไดพบพระบรมสารีริกธาตุ มีการพิสูจนตามตําราวา
เปน พระธาตแุ ท ประชาชนที่ทราบขา วตา งพากันหลัง่ ไหลมานมัสการ เม่ือบรู ณะพระมหาเจดียเ สรจ็ เรียบรอย
จงึ กาํ หนดใหม ีงานนมสั การพระบรมสารีริกธาตุเปนงานประจาํ ป

บทที่ 3 วัดเฉลมิ พระเกยี รติวรวิหาร
1. ท่ตี งั้ และการเดนิ ทาง

1.1 วัดเฉลิมพระเกยี รตวิ รวหิ าร ตั้งอยูเลขท่ี 86 หมู 3 ถนนทานํ้านนท – วัดโบสถดอนพรหม
ตําบลบางศรเี มือง อาํ เภอเมอื งนนทบุรี จงั หวัดนนทบุรี หมายเลขโทรศัพท 02-881-6323

1.2. การเดินทางมาวัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร มี 2 เสนทาง (1) จุดเร่ิมตนที่ทาน้ํานนทบุรี
น่ังเรือขามฟากจากทานํ้านนทบุรี ไปทาน้ําบางศรีเมือง แลวขึ้นรถโดยสารประจําทาง หรือรถสองแถวจาก
ทานา้ํ บางศรีเมือง สายวัดเฉลมิ พระเกียรติ และ (2) จุดเร่ิมตนท่ีศนู ยราชการจังหวัดนนทบุรี เดินทางออกจาก
ศูนยร าชการจังหวัดนนทบรุ ี เลีย้ วขวาที่สแี่ ยกแคราย ขามสะพานพระราม 5 เล้ยี วขวาท่สี ่แี ยกบางสีทอง เขาสู
ถนนบางกรวย - ไทรนอย เลี้ยวขวาไปทางทานํ้าบางศรีเมือง เลี้ยวซายท่ีสี่แยกบางศรีเมือง และเลี้ยวขวาเขา
ซอยวัดเฉลิมพระเกยี รติ

2. ประวัติ ความเปนมาของวัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร เดิมเปนบริเวณปอมเการิมฝง
ตะวนั ตกของแมนา้ํ เจา พระยาใตต ลาดขวัญเมอื งนนทบุรีเมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระน่ังเกลาเจาอยูหัว
รชั กาลที่ 3 โปรดเกลาโปรดกระหมอ มใหพ ระยาพระคลัง สมเด็จเจาพระยาบรมมหาประยรู วงศ
(ดิศ บุนนาค) เปนแมกองสรางวัดขึ้นในบริเวณน้ัน เพ่ือเปนการเฉลิมพระเกียรติพระอัยกา พระอัยกี
และ สมเด็จพระศรีสุลาไลยพระราชชนนีแหงพระองค และทรงพระราชทานนามพระอารามแหงนี้วา
“วัดเฉลิมพระเกยี รติ”

3. ความสําคัญของวัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร เปนพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร สังกัด
คณะสงฆมหานิกาย ที่ดินสรางวัดมีเน้ือที่ 24 ไร 3 งาน 22 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 156460 สรางวัดเมื่อ
พ.ศ. 2390 ไดพระราชทานวสิ ุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2394 เปนสถานทพี่ กั กองทัพเพอื่ รอรับการเสด็จ
พระราชดําเนินมาสงทัพของพระมหากษัตริยมาประกอบพิธีกรรมเพ่ือความเปนสวัสดิมงคลของกองทัพ
ในราชการสงคราม ตงั้ แตสมัยพระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกลา เจาอยูห ัว รัชกาลท่ี 3 ถึงสมัย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจา อยหู ัว รัชกาลที่ 5

5

4. โบราณสถาน และโบราณวัตถใุ นวัดเฉลิมพระเกียรติ
4.1 โบราณสถานในวดั เฉลิมพระเกยี รติ ไดแก (1) วัดเฉลิมพระเกียรตวิ รวิหาร

(2) พระอโุ บสถ (3) พระวิหาร (4) การเปรยี ญหลวง (5) พระเจดยี  (6) กาํ แพงแกว (7) กําแพงใหญห นา วดั
(8) ศาลาแดงเหนือ ศาลาแดงใต และ (9) พระศรีมหาโพธิ์

4.2 โบราณวัตถใุ นวัดเฉลิมพระเกียรติ ไดแ ก (1) พระประธานในพระอุโบสถ
(2) พระศลิ าขาว และ (3) ตกุ ตาศิลาจนี ในอริ ิยาบถตาง ๆ

5. กจิ กรรม ประเพณีในวดั เฉลิมพระเกียรตวิ รวหิ าร ไดแก งานวัฒนธรรมสองฝงเจาพระยา
ใตฟ า นนท
กกกกกกกบทที่ 4 วัดบัวขวัญ พระอารามหลวง

1. ท่ีต้งั และการเดินทาง วัดบัวขวัญ พระอารามหลวง
1.1 วัดบัวขวญั พระอารามหลวง ตั้งอยเู ลขท่ี 1 หมทู ี่ 9 ซอยงามวงศว าน 23

ถนนงามวงศวาน ตาํ บลบางกระสอ อาํ เภอเมืองนนทบุรี30 จงั หวดั นนทบรุ ี30
1.2 การเดินทางมาวัดบวั ขวญั พระอารามหลวง เดนิ ทางไดโดย รถโดยสารประจําทางองคการ

ขนสงมวลชนกรุงเทพฯ (ขสมก.) และ รถตูโดยสารประจําทาง ท่ีผานเดอะมอลลงามวงศวาน หรือ พันธุทิพย
งามวงศวาน

2. ประวตั ิ ความเปน มาของวดั บัวขวญั พระอารามหลวง
วัดบัวขวัญ พระอารามหลวง เดิมเปนสํานักสงฆในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา

เจาอยูหัว รัชกาลท่ี 5 มีนามเดิมวา “วัดสะแก” โดยมีพระครูปรีชาเฉลิม หรือหลวงปูแฉง วัดเฉลิมพระเกียรติ
วรวิหารเปนผูริเริ่มสรางวัดระยะแรก ในป พ.ศ. 2491 กระทั่งมีผูมีจิตศรัทธานามวา นายบัว ฉุนเฉียว บริจาค
ที่ดนิ ใหก บั วดั ซ่ึงในเวลาตอมาจงึ ไดเปลีย่ นนามมาเปน วดั บวั ขวัญ พระมหาไสว สุขวโร (ป.ธ.4) ผูชวยเจาอาวาส
วัดบางแพรกเหนือ ไดมาดํารงตําแหนงเจาอาวาสเม่ือป พ.ศ. 2537 โดยไดรับพระราชทานสมณศักด์ิ30เปน
พระราชาคณะชั้นสามัญที่ "พระโสภณสุตาลังการ" ถึงปจจุบัน และไดพัฒนาวัดบัวขวัญ ทั้งในดานถาวรวัตถุ
ปรับปรงุ ภูมิทศั น ตลอดทัง้ ใหความสาํ คญั ดานการศกึ ษาพระธรรม กระท่ังเปนโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนก
บาลปี ระจําจังหวดั นนทบรุ ี

3. ความสําคัญของวัดบวั ขวัญ พระอารามหลวง
วัดบวั ขวัญ พระอารามหลวง มคี วามสําคญั คอื เปน พระอารามหลวง30ชนั้ ตรี ชนิดสามญั

มีศาสนสถาน และสถานที่ศกั ด์ิสทิ ธิ์ และมีความสวยงาม มีที่จอดรถกวางขวาง มีการอาศัยอยรู ว มกนั
เอื้อเฟอทด่ี ตี อกนั ระหวาง บา น วัด โรงเรยี น

4. ถาวรวตั ถุ และปชู นียวัตถใุ นวดั บัวขวญั พระอารามหลวง
4.1 ถาวรวัตถใุ นวัดบัวขวญั พระอารามหลวง ไดแก (1) พระอโุ บสถจัตุรมุข วดั บัวขวัญ

พระอารามหลวง (2) หอระฆัง (3) วิหารหลวงพอ โต (4) ศาลาการเปรยี ญ (5) อาคารมงคล-จารณุ ี กลุ ละวณิชย
(6) กฎุ ิสงฆท รงไทย (7) กุฎสิ งฆ (8) ฌาปนสถาน และ (9) ซุมประตทู างเขาวัด 3 ประตู

4.2 ปูชนียวัตถุในวัดบวั ขวญั พระอารามหลวง ไดแก (1) หลวงพอพระพุทธเมตตา
(2) หลวงพอพระพุทธโสธร (3) หลวงพอโต (4) รอยพระพทุ ธบาทจาํ ลอง และ (5) เจาแมกวนอิม

6

5. ประเพณี และกจิ กรรมในวัดบวั ขวัญ พระอารามหลวง ไดแก (1) กิจกรรมศิลปแ หงศรทั ธา
มหาสงั ข สรรพมงคลครอบจักรวาล (2) สวดมนตข ามป (3) ไหวพระราหู (4) ตลาดนาํ้ วัดบัวขวญั และ
(5) กจิ กรรมวันสาํ คญั ตาง ๆ เชน วนั วิสาขบชู า
กกกกกกกบทที่ 5 วธิ ีการทางภมู ิศาสตร และประวัตศิ าสตรศกึ ษาพระอารามหลวงศูนยรวมใจในเมืองนนท
กกกกกกก1. วิธีการทางภูมศิ าสตร ประกอบดว ย (1) กําหนดวัตถปุ ระสงค (2) การเก็บรวบรวม
ขอ มลู ดวยการออกปฏิบตั ภิ าคสนาม และสมั ภาษณ (3) นาํ ขอมูลวเิ คราะห และจัดหมวดหมู และ
(4) นําเสนอขอ มูลและเขียนรายงาน
กกกกกกก2. วิธีการประวัติศาสตร ประกอบดว ย (1) การกําหนดประเดน็ ในการศึกษา
(2) สบื คน และรวบรวมขอ มูล (3) การวิเคราะห และตีความขอมลู ทางประวตั ิศาสตร (4) การคดั เลอื ก
และประเมนิ ขอมูล และ (5) การเรียบเรียงรายงาน ขอเทจ็ จริงทางประวตั ิศาสตร
กกกกกกกบทท่ี 6 การสืบสาน และการอนุรักษโบราณสถาน โบราณวัตถุ วัตถุและส่ิงกอสราง และ
ประเพณใี นพระอารามหลวง

1. การสืบสานโบราณสถาน โบราณวัตถุ วัตถุ และสิ่งกอสราง และประเพณีในวัด หมายถึง
การ สืบตอ สืบเนื่อง รับชวง โบราณสถาน โบราณวัตถุ วัตถุ และส่ิงกอสราง และประเพณีในวัด เพ่ือปฏิบัติ
และถา ยทอดสบื ตอ กันมา

2. การอนุรักษโบราณสถาน โบราณวัตถุ วัตถุ และส่ิงกอสราง และประเพณีในวัด หมายถึง
การดูแล รักษาใหคงเดิม การบํารุงรักษาส่ิงที่ดีงาม ของโบราณสถาน โบราณวัตถุ วัตถุ และสิ่งกอสราง และ
ประเพณใี นวัดเพอื่ ใหคงคณุ คาไว

3. การสืบสาน และการอนุรักษโบราณสถาน โบราณวัตถุ วัตถุ และสิ่งกอสราง และ
ประเพณใี นวัด มีความสําคญั ไดแก ทําใหเห็นถึงวิถีความเปนไทย ความคิดสรางสรรค ทั้งดานศาสนา
สังคม วัฒนธรรม การปกครอง ที่สั่งสมสืบทอดกันมา เปนการเสริมสรางในการปลูกจิตสํานึกท่ีดีงาม
เกิดความรวมมือรวมใจ สงเสริมการนําขนบธรรมเนียมประเพณีท่ีดีงามมาใชใหเกิดประโยชน
เหมาะกับสภาพสังคมไทยในปจจุบัน ทําใหเกิดการถายทอดจากคนรุนหน่ึงไปสูคนอีกรุนหนึ่ง เพื่อให
ประเพณคี งอยใู นสังคมสบื ไป

4. วิธีการสืบสาน และอนุรักษโบราณสถาน โบราณวัตถุ วัตถุ และสิ่งกอสราง และ
ประเพณีในวดั

4.1 การจดั ทาํ แผน พับ
1) แผนพบั หมายถึง สอื่ โฆษณาท่เี ปน ส่งิ พมิ พป ระเภทไดเร็กเมล (Direct Mail) ที่ผูผลิต

สงตรงถึงผูบริโภค มีท้ังวิธีการสงทางไปรษณีย และแจกตามสถานท่ีตางๆ มีลักษณะเปนเอกสารที่เย็บ
เปน เลมบาง ๆ และมีลกั ษณะคลายคลงึ กัน

2) องคป ระกอบของแผนพบั มี 5 องคประกอบ ไดแก (1) พาดหัว
(2) ภาพประกอบ (3) ขอ ความ (4) ภาพสนิ คา ตราสญั ลักษณ และ (5) สถานทต่ี ิดตอ

3) ข้ันตอนการทําแผนพับดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร มี 7 ขั้นตอน ไดแก
(1) การเขาสูโปรแกรม Microsoft Office Publisher 2007 (2) คลิกเลอื ก Brochure (แผนพับ)

7

(3) เลือกแมแบบท่ีตองการ (4) พิมพขอความลงในพื้นท่ีการทํางาน (5) การใสรูปภาพในแผนพับ
(6) เปลยี่ นตาํ แหนงไปหนา ทีส่ องเพื่อใสรายละเอยี ด และ (7) บนั ทกึ ดว ยคําสั่ง Save As

4.2 การจัดทาํ คลปิ วดี ิทัศน (Video)
1) คลปิ วดี ิทัศน (Video) หมายถึง ไฟลป ระเภทภาพเคล่ือนไหว ทีบ่ รรจุเนื้อหา

เปน เรื่องราวส้นั ๆ อาจตัดตอนมาจากเร่ืองทั้งเร่ือง หรอื เปนเรื่องทีส่ รา งข้ึนมาใหม นาํ เอาสว นทสี่ ําคญั
หรือเลอื กเฉพาะสวนตองการจากตน ฉบับเดิมนํามาแสดง ซึ่งโดยมากมีความยาวไมเกนิ 5-10 นาที
โดยจะเปน ไฟลทม่ี ีรปู แบบการบบี อดั ขอมลู ท่ีแตกตางกนั ไป เพ่ือใหไฟลมขี นาดเล็ก

2) องคป ระกอบของคลปิ วดี ทิ ัศน (Video) มี 5 องคป ระกอบ ไดแก (1) สว นนําเขา
สเู ร่อื ง (2) การดําเนนิ เร่ือง (3) สวนประเดน็ สําคญั (4) สว นสรุป และ (5) เครดติ ผจู ัดทาํ

3) การทาํ คลิปวีดิทัศน (Video) ดว ย Smart Phone มี 2 ระบบ คอื
ระบบปฏิบตั กิ าร Android และระบบปฏิบัติการ iOS

ผลการเรียนรูท่คี าดหวงั

กกกกกกก1. บอก และอธบิ ายความหมาย ประวัติความเปน มาของพระอารามหลวง
วัดเขมาภริ ตารามราชวรวิหาร วัดเฉลิมพระเกียรตวิ รวหิ าร วัดบวั ขวญั พระอารามหลวง การสบื สาน
และการอนุรกั ษ โบราณสถาน วัตถุ และสิ่งกอสรา ง และประเพณใี นพระอารามหลวงได
กกกกกกก2. นําความรูความเขาใจท่ไี ดศกึ ษาพระอารามหลวงศูนยรวมใจในเมอื งนนท มาทํากจิ กรรมทายบทได
กกกกกกก3. ตระหนกั ถึงความสาํ คญั เหน็ คุณคาของการศกึ ษา พระอารามหลวงศูนยรวมใจในเมอื งนนท

ขอบขายเน้ือหา

กกกกกกกหนงั สือเรยี นสาระการพฒั นาสงั คม รายวชิ า สค33158 พระอารามหลวงศนู ยรวมใจในเมอื งนนท
ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย มเี นื้อหาจาํ นวน 6 บท ดงั น้ี

บทที่ 1 ความรูเบื้องตนเกย่ี วกับพระอารามหลวง
บทที่ 2 วัดเขมาภริ ตารามราชวรวิหาร
บทท่ี 3 วัดเฉลิมพระเกียรตวิ รวหิ าร
บทท่ี 4 วัดบวั ขวญั พระอารามหลวง
บทท่ี 5 วิธีการทางภูมิศาสตร และประวัติศาสตรศึกษาพระอารามหลวงศูนยร วมใจในเมืองนนท
บทที่ 6 การสบื สาน และการอนุรักษโบราณสถาน โบราณวตั ถุ วตั ถุ และสิง่ กอสรา ง และ
ประเพณใี นพระอารามหลวง

8

สอื่ ประกอบการเรยี น

กกกกกกก1. บทที่ 1 ความรูเบอ้ื งตนเก่ียวกบั พระอารามหลวง
กกกกกกก 1.1 หนังสอื พระอารามหลวง ชื่อผแู ตง ลําจลุ ฮวบเจรญิ ปท ี่พิมพ 2555
โรงพิมพ ดวงกมลพับลิชช่งิ
กกกกกกก 1.2. หนังสอื พระกฐนิ พระราชทาน ประจาํ ป 2555 ชือ่ ผแู ตง กรมทรัพยากรน้าํ บาดาล
ปทพี่ ิมพ 2555 โรงพิมพ กรมทรัพยากรนา้ํ บาดาล
กกกกกกก 1.3 หนังสือรายงานการศึกษา ศาสนสถานประเภทวัดในกรุงเทพมหานคร ประจําป
2555 ชอ่ื ผแู ตง กองนโยบายและแผนงาน สาํ นักผังเมอื ง กรงุ เทพมหานคร ปท่ีพมิ พ 2555
กกกกกกก 1.4 เวบ็ ไซต บทความ วัดไทย พระอารามหลวง/วัดราษฎร สบื คน จาก
http://www.dhammathai.org/watthai/royalwat.php
กกกกกกก 1.5 เวบ็ ไซต บทความ ความรูเกยี่ วกบั พระอารามหลวง หรอื วัดหลวง สืบคน จาก
https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/84467.html
กกกกกกก 1.6 เวบ็ ไซต บทความ พระอารามหลวง สืบคนจาก http://www.wikiwand.com/th/
กกกกกกก 1.7 วดั เขมาภิรตารามราชวรวิหาร ตั้งอยูเลขที่ 74 หมู 8 ถนนพิบูลสงคราม ตาํ บลสวนใหญ
อําเภอเมืองนนทบรุ ี จงั หวัดนนทบุรี หมายเลขโทรศัพท 02-5264-813
กกกกกกก 1.8 วดั เฉลิมพระเกียรตวิ รวิหาร ต้ังอยูเลขท่ี 86 ถนนทา นา้ํ นนท – วัดโบสถดอนพรหม
ตาํ บลบางศรเี มือง อําเภอเมืองนนทบรุ ี จงั หวดั นนทบุรี หมายเลขโทรศัพท 02-8816-323
กกกกกกก 1.9 วดั บวั ขวัญ พระอารามหลวง ตัง้ อยเู ลขที่ 1 หมู 9 ตําบลบางกระสอ อําเภอเมืองนนทบุรี
จงั หวัดนนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท 02-9528-062-3
กกกกกกก2. บทท่ี 2 วดั เขมาภริ ตารามราชวรวิหาร

2.1 หนังสือพระอารามหลวงแหง ราชอาณาจกั รสยาม ชือ่ ผแู ตง ลาํ จุล ฮวบเจรญิ
ปท ี่พิมพ กันยายน 2555 สํานักพิมพ ดวงกมลพับลชิ ชิ่ง

2.2 หนังสอื ประวตั ิวัดทัว่ ราชอาณาจักร เลม 1 ช่อื หนวยงาน ฝายพทุ ธสถาน
กองพุทธศาสนสถาน กรมการศาสนา ปท พ่ี ิมพ ตลุ าคม 2525 โรงพมิ พ ยูไนเตด็ โปรดักช่ัน จาํ กดั

2..3 หนังสอื พระกฐนิ พระราชทาน ประจําป 2555 ชื่อหนว ยงาน กรมทรัพยากร
นํ้าบาดาล สาํ นกั บรหิ ารกลาง ฝา ยบรหิ ารท่วั ไป ปทีพ่ ิมพ กุมภาพนั ธ 2555

2.4 บทความ วดั เขมาภริ ตารามราชวรวหิ าร สืบคนจาก https://th.wikipedia.org/
วัดเขมาภริ ตารามราชวรวหิ าร

2.5 คลิบยทู ปู (youtube) เรอื่ ง ประวตั ิวัดเขมาภริ ตารามราชวรวิหาร
www.youtube.com/watch?v=n9YILYnCTL8 โดย KASINCLIP CHANNEL เผยแพรเมื่อวันท่ี 29 พฤษภาคม 2559

9

2.6 วัดเขมาภริ ตารามราชวรวิหาร ต้ังอยูเลขท่ี 74 หมู 8 ซอยพบิ ูลสงคราม 3
ถนนพิบลู สงคราม ตาํ บลสวนใหญ อาํ เภอเมอื งนนทบรุ ี จังหวัดนนทบุรี โทรศพั ท 02-526-4813
กกกกกกก3. บทท่ี 3 วดั เฉลมิ พระเกยี รตวิ รวหิ าร

3.1 หนงั สือ อาคารลํา้ คา ควรรักษาคเู มอื ง จงั หวัดนนทบรุ ี ชอื่ ผแู ตง องคการบริหาร
จงั หวัดนนทบรุ ี ปทีพ่ ิมพ 2547 โรงพมิ พ ดอกเบีย้

3.2 หนงั สือ พระอารามหลวงแหงราชอาณาจักรสยาม ชอื่ ผแู ตง ลําจุล ฮวบเจริญ
ปที่พิมพ 2555 โรงพมิ พ ดวงกมลพับลิชซ่ิง

3.3 หนังสือ วัดเฉลมิ พระเกยี รตวิ รวิหาร ชอ่ื ผแู ตง กองวรรณคดี และประวตั ศิ าสตร
ปท พ่ี ิมพ 2535 โรงพิมพ กรมศิลปากร

3.4 หนงั สือ วดั สําคัญกรุงรัตนโกสนิ ทร ชื่อผแู ตง กองวรรณคดี และประวัติศาสตร
ปทพี่ ิมพ 2525 โรงพมิ พ กรมศิลปากร

3.5 หนังสอื ประวัตวิ ัดท่ัวราชอาณาจักร เลม 1 ชอ่ื ผแู ตง ฝา ยพุทธศาสนสถาน
3.6 หนงั สอื วดั เฉลมิ พระเกยี รติวรวิหาร จงั หวดั นนทบุรี ชื่อผูแตง สํานกั งานอยั การ
สูงสดุ ปท่พี มิ พ 2561 โรงพิมพ แอคควิ เรทเพรส จํากดั
3.7 บทความ เทศกาลงานประเพณี สบื คนจาก http://www.nonthaburitour.com
3.8 บทความรายช่ือโบราณสถานในจังหวัดนนทบุรี สืบคนจาก https://th.wikipedia.org
3.9 วัดเฉลมิ พระเกยี รติวรวิหาร ต้งั อยทู ี่ 86 หมู 3 ถนนทานํา้ นนท – วดั โบสถด อนพรหม
ตาํ บลบางศรีเมือง อําเภอเมืองนนทบรุ ี จังหวัดนนทบุรี หมายเลขโทรศพั ท 0-2881-6323
กกกกกกก4. บทท่ี 4 วดั บวั ขวญั พระอารามหลวง
4.1 หนังสอื สมโภชพระอารามหลวง ชอื่ ผูแตง พระมหาสเุ มธ ฐติ วชิรเมธี ปท ่ีพิมพ
2552 โรงพมิ พ จาํ ปาทอง พร้ินต้งิ จํากดั
4.2 ชื่อบทความวัดบัวขวัญ ชื่อผเู ขียนจากวกิ ิพเี ดีย สารานุกรมเสรี ปท่ีพิมพ
14 มิถนุ ายน 2559
4.3 เว็บไซต บทความแผนที่ - การเดินทางมา วดั บวั ขวัญ(พระอารามหลวง) จ.นนทบรุ ี
สืบคนจาก www.facebook.com/notes/วดั บวั ขวัญ พระอารามหลวง/แผนที่ - การเดนิ ทางมา -
วดั บวั ขวัญ พระอารามหลวง-จ.นนทบรุ ี/313323162118123/
4.4 เว็บไซต บทความทัวรว ดั ไทย วัดบัวขวัญ อาํ เภอเมืองนนทบรุ ี จงั หวัดนนทบุรี
https://tourwatthai.com/www.torwatthai.com/วดั ไทย/วัดเมือง/วัดบวั ขวัญ-นนทบุรี/
4.5 วัดบัวขวญั พระอารามหลวง ตัง้ อยูเลขที่ 1 หมู 9 ตาํ บลบางกระสอ อําเภอเมือง
นนทบุรี จงั หวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศพั ท 02-9528-062-3

10

กกกกกกก5. บทท่ี 5 วธิ ีการทางภมู ิศาสตร และประวัติศาสตรศึกษาพระอารามหลวงศนู ยร วมใจในเมืองนนท
5.1 ชอื่ หนังสือ วธิ ที างประวตั ิศาสตร ช่ือผแู ตง ครวู รรณา ไชยศรี. ปท ่ีพิมพ 16 มกราคม 2013

กกกกกกก 5.2 ชอ่ื บทความวธิ ีทางภูมิศาสตร สบื คนทาง www.google.com เว็บไซต
https://wanna500.wordpress.com
กกกกกกก 5.3 วดั เขมาภริ ตารามราชวรวิหาร ตงั้ อยทู ่ี 74 หมทู ี่ 8 ถนนพิบูลสงคราม ตําบลสวนใหญ
อําเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี หมายเลขโทรศัพท 0-2525-0470
กกกกกกก 5.4 วดั เฉลมิ พระเกยี รตวิ รวหิ าร ตั้งอยูท่ี 86 ถนนทานา้ํ นนท – วัดโบสถด อนพรหม
ตาํ บลบางศรเี มือง อาํ เภอเมืองนนทบรุ ี จงั หวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศพั ท 0-2881-6323
กกกกกกก 5.5 วัดบวั ขวญั พระอารามหลวง ตงั้ อยูท่ี 1 หมูที่ 9 ตําบลบางกระสอ อาํ เภอเมือง
นนทบุรี จังหวัดนนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท 0-2952-8262-3
กกกกกกก6. บทท่ี 6 การสืบสาน และการอนรุ กั ษโ บราณสถาน โบราณวตั ถุ วัตถุ และส่งิ กอสราง
และประเพณีในพระอารามหลวง

6.1 หนงั สือเรียนรายวชิ าศาสนาและหนาที่พลเมือง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ชอื่ ผูแตง
ดร.อาศสิ เชยกล่นิ และ พรวภิ า เชยกล่ิน ปที่พิมพ พ.ศ.2560 โรงพมิ พ สามเจริญ พาณิชย (กรุงเทพ) จาํ กัด

6.2 บทความ มารจู ักแผน พับกันเถอะ ชือ่ ผูแตง เมษา โพธสิ์ วสั ด์ิ สบื คนจากเว็บไซต
https:// mesapoolsawat. wordpress.com

6.3 วัดเขมาภิรตารามราชวรวหิ าร ตง้ั อยูท่ี 74 หมูท่ี 8 ถนนพิบูลสงคราม ตําบลสวนใหญ
อําเภอเมอื งนนทบรุ ี จังหวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท 02-525-0470

6.4 วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร ต้ังอยูที่ 86 ถนนทาน้ํานนท – วัดโบสถดอนพรหม
ตาํ บลบางศรเี มอื ง อําเภอเมอื งนนทบุรี จังหวัดนนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท 02-881-6323

6.5 วัดบัวขวัญ พระอารามหลวง ต้ังอยูที่ 1 หมูท่ี 9 ตําบลบางกระสอ อําเภอเมืองนนทบุรี
จงั หวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศพั ท 02-952-8062-3

11

บทที่ 1
ความรูเ บอ้ื งตนเกย่ี วกบั พระอารามหลวง

สาระสาํ คัญ

1. พระอารามหลวง หมายถงึ วัดทีพ่ ระมหากษัตริย สมเด็จพระราชินี และสมเด็จพระยุพราช
ทรงสราง หรอื ทรงบรู ณปฏิสงั ขรณ รวมถึงวัดทีพ่ ระมหากษตั ริยทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอม
ใหยกฐานะจากวัดราษฎร30เปน พระอารามหลวง และมีความสําคัญ คือ เปนวัดหลวงที่พระมหากษัตริย
หรือพระบรมวงศานุวงศทรงสราง หรือทรงรับไวเปนวัดของพระราชวงศ หรือเปน วัดท่ีทรงอุปถัมภ
ไดร บั การถวายพระกฐินเปน ประจาํ ทกุ ป

2. การจัดลาํ ดบั ช้นั ของพระอารามหลวงมี 3 ลําดับ คอื พระอารามหลวงชน้ั เอก
พระอารามหลวงชัน้ โท และพระอารามหลวงชั้นตรี

3. พระอารามหลวงในอาํ เภอเมอื งนนทบรุ ี คอื (1) วดั เขมาภริ ตารามราชวรวิหาร
(2) วดั เฉลิมพระเกียรติวรวิหาร และ (3) วดั บวั ขวญั พระอารามหลวง

ผลการเรียนรทู ่คี าดหวัง

กกกกกกก1. บอกและอธบิ ายความรูเบอ้ื งตน ของพระอารามหลวงได
กกกกกกก2. ตอบกจิ กรรมทายบทความรูเบ้ืองตนเก่ียวกบั ของพระอารามหลวงได
กกกกกกก3. ตระหนกั ถึงความสําคญั ของพระอารามหลวง

ขอบขายเนือ้ หา

กกกกกกกเร่ืองที่ 1 ความหมาย ความสาํ คญั ของพระอารามหลวง
กกกกกกกเร่ืองท่ี 2 การจัดลําดบั ชนั้ ของพระอารามหลวง
กกกกกกกเรื่องท่ี 3 พระอารามหลวงในอาํ เภอเมืองนนทบุรี

ส่อื ประกอบการเรียน

กกกกกกก1. หนังสอื พระอารามหลวง ชอื่ ผูแตง ลําจลุ ฮวบเจริญ ปท พี่ มิ พ 2555
โรงพิมพ ดวงกมลพับลิชชิ่ง
กกกกกกก2. หนังสอื พระกฐินพระราชทาน ประจําป 2555 ชอ่ื ผูแตง กรมทรัพยากรน้าํ บาดาล
ปท ีพ่ มิ พ 2555 โรงพิมพ กรมทรพั ยากรน้ําบาดาล

12

กกกกกกก3. หนงั สอื รายงานการศกึ ษา ศาสนสถานประเภทวดั ในกรุงเทพมหานคร ประจําป 2555
ช่อื ผแู ตง กองนโยบายและแผนงาน สํานักผังเมือง กรงุ เทพมหานคร ปท่ีพมิ พ 2555
กกกกกกก4. เวบ็ ไซต บทความ วัดไทย พระอารามหลวง/วัดราษฎร สบื คน จาก
http://www.dhammathai.org/watthai/royalwat.php
กกกกกกก5. เว็บไซต บทความ ความรูเกีย่ วกับ พระอารามหลวง หรือ วดั หลวง สืบคน
จาก https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/84467.html
กกกกกกก6. เว็บไซต บทความ พระอารามหลวง สบื คนจาก http://www.wikiwand.com/th/
กกกกกกก7. วัดเขมาภริ ตารามราชวรวิหาร ตั้งอยูเลขที่ 74 หมู 8 ถนนพิบูลสงคราม ตําบลสวนใหญ
อําเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี หมายเลขโทรศัพท 02-5264-813
กกกกกกก8. วดั เฉลมิ พระเกียรติวรวหิ าร ตง้ั อยเู ลขท่ี 86 ถนนทา น้าํ นนท – วัดโบสถด อนพรหม
ตาํ บลบางศรีเมือง อาํ เภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท 02-8816-323
กกกกกกก9. วัดบัวขวัญ พระอารามหลวง ต้งั อยูเลขท่ี 1 หมู 9 ตําบลบางกระสอ อาํ เภอเมืองนนทบรุ ี
จังหวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท 02-9528-062-3

เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คญั ของพระอารามหลวง

กกกกกกก1. ความหมายของพระอารามหลวง
พระอารามหลวง มีความหมายตามที่กําหนดในพระราชบัญญัติลักษณะปกครอง

คณะสงฆ ร.ศ. 121 (พ.ศ. 2545) มาตราท่ี 5 หมวดที่ 3 ซ่ึงกําหนดไววา “พระอารามหลวง คือวัดท่ี
พระเจาแผนดินทรงสราง หรือทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหเขาในบัญชีวัดวาเปนพระอาราม
หลวง” ตอมาในป พ.ศ. 2484 มีการแกไขความหมายของพระอารามหลวงตามพระราชบัญญัติ
คณะสงฆ พ.ศ. 2484 วาหมายถึง วัดท่ีไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา จากความหมายดังกลาว
พระอารามหลวง จะมีลักษณะแตกตางจากวัดราษฎรท่ีสําคัญคือ เปนวัดท่ีพระมหากษัตริยสมเด็จพระราชินี
หรือสมเด็จพระยุพราช ทรงสรา ง หรอื บูรณปฏสิ ังขรณ เปน การสว นพระองค หรอื วัดที่พระบรมวงศนุวงศ
และขาทูลละอองธุลีพระบาทสรางหรือปฏิสังขรณข้ึน แลวนอมเกลานอมกระหมอมถวายเปน
พระอารามหลวง หรือเปนวัดที่ราษฎรสรางหรือบูรณปฏิสังขรณ มีความงดงาม และมีคุณสมบัติ
ครบถว นตามท่คี ณะสงฆกําหนดไว และไดขอพระราชทานยกข้ึนเปนพระอารามหลวง พระอารามหลวง
ในสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยา สว นใหญเ ปน วดั ที่พระมหากษัตริยทรงสรางข้ึน แตในสมัยรัตนโกสินทร สวนใหญ
เปนวัดทีพ่ ระบรมวงศานวุ งศ และขนุ นางสราง แลว ทลู เกลา ทูลกระหมอมถวายเปน พระอารามหลวง

กลาวโดยสรปุ พระอารามหลวง หมายถึง วัดท่ีพระมหากษัตริย สมเด็จพระราชินี และ
สมเด็จพระยุพราชทรงสราง หรือทรงบูรณปฏิสังขรณ รวมถึงวัดที่พระมหากษัตริยทรงพระกรุณา
โปรดเกลา โปรดกระหมอ มใหยกฐานะจากวัดราษฎรเปน พระอารามหลวง

13

กกกกกกก2 ความสําคญั ของพระอารามหลวง
พระอารามหลวงมีความสาํ คัญ คือ เปน วัดทพี่ ระมหากษัตริย หรือพระบรมวงศานุวงศทรงสราง

หรือทรงรับไวเปนวัดของพระราชวงศ หรือเปนวัดท่ีทรงอุปถัมภ จัดเปน “วัดหลวง” จึงเปนวัดท่ีมี
ความสําคัญ ทจี่ ะไดรบั พระมหากรุณาธคิ ุณเสดจ็ พระราชดําเนินไปถวายพระกฐิน เรียกวา “กฐินหลวง” หรือ
โปรดเกลาโปรดกระหมอมใหกระทรวง ทบวง กรมตาง ๆ ตลอดจนคณะบุคคล หรือบุคคลที่สมควรรับ
พระราชทานผา กฐินใหไ ปถวายยงั พระอารามหลวง เรียกวา “กฐินพระราชทาน”

กลาวโดยสรุป พระอารามหลวงมีความสําคัญ คือ เปนวัดหลวงท่ีพระมหากษัตริย หรือพระบรม
วงศานุวงศทรงสราง หรือทรงรับไวเปนวัดของพระราชวงศ หรือเปนวัดท่ีทรงอุปถัมภ ไดรับการถวาย
พระกฐินเปน ประจาํ ทุกป

เรื่องที่ 2 การจดั ลาํ ดับชัน้ ของพระอารามหลวง

พระอารามหลวงมี 3 ลําดบั ชัน้ คือ
1. พระอารามหลวงชั้นเอก ไดแก วดั ท่ีมเี จดียสถานสาํ คัญ วัดท่ีบรรจุพระบรมอฐั ิ หรอื
วดั ท่มี ีเกยี รติอยา งสูงมี 3 ชนิด คอื

1.1 ราชวรมหาวิหาร
1.2 ราชวรวหิ าร
1.3 วรมหาวหิ าร
2. พระอารามหลวงช้นั โท ไดแ ก วดั ที่มเี จดยี สถานสําคัญหรือวัดทีม่ ีเกียรติ มี 4 ชนิด คือ
2.1 ราชวรมหาวิหาร
2.2 ราชวรวหิ าร
2.3 วรมหาวิหาร
2.4 วรวหิ าร
3. พระอารามหลวงช้ันตรี ไดแก วดั ทมี่ ีเกยี รติ วดั ประจาํ หัวเมอื ง หรอื วดั สามัญ
มี 3 ชนิด คอื
3.1 ราชวรวหิ าร
3.2 วรวิหาร
3.3 สามญั (ไมม ีสรอยนามตอทาย)
นอกจากนี้ พระอารามหลวงทแี่ บง เปนช้นั เอก โท ตรี ยังมีคําจํากัดความยอย เพ่ือระบุ
ฐานะอยางเปนระบบอกี วา

14

ราชวรวหิ าร คอื พระอารามหลวง ทพ่ี ระมหากษัตรยิ  สมเด็จพระราชนิ ี และสมเดจ็ พระยพุ ราช
ทรงสราง และปฏิสงั ขรณ เปนการสว นพระองค หรอื วัดที่ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมให
บูรณปฏสิ งั ขรณ

วรวหิ าร คอื พระอารามหลวงท่ีพระมหากษัตริย สมเด็จพระราชนิ ี และสมเดจ็ พระยุพราช
ทรงสรา ง และปฏิสังขรณ ซงึ่ ไดพระราชทานเปน เกยี รติยศแกผูตา่ํ ศกั ดิล์ งมา หรอื แกว ดั เองรวมทั้งวดั ท่ี
ประชาชนสรา งหรอื บูรณปฏสิ งั ขรณ ตอ มาทรงพระกรุณาโปรดรับไวในพระบรมราชูปถัมภ

ราชวรมหาวิหาร คอื พระอารามหลวง ชนิดวรวหิ ารทเี่ ปนพระอาราม และ มีสิง่ กอสรา ง
ศาสนสถานสําคญั ๆ และใหญโ ต

วรมหาวิหาร คือ พระอารามหลวง ชนดิ วรวิหารท่ีเปน พระอาราม และมีสงิ่ กอสรา ง
ศาสนสถานสําคัญ ๆ และใหญโ ต

สามัญ คอื พระอารามหลวงที่ไมเขาในหลกั เกณฑ
กลาวโดยสรุป การจัดลําดบั ชัน้ ของพระอารามหลวงมี 3 ลาํ ดบั คือ พระอารามหลวง
ช้นั เอก พระอารามหลวงช้ันโท และพระอารามหลวงชน้ั ตรี

15

เรอื่ งที่ 3 พระอารามหลวงในอาํ เภอเมอื งนนทบุรี

พระอารามหลวงในอาํ เภอเมืองนนทบรุ ี มี 3 แหง ดังน้ี
1. วดั เขมาภริ ตารามราชวรวหิ าร เปน พระอารามหลวงช้นั โท ชนิดราชวรวหิ าร ตั้งอยู
เลขท่ี 74 หมทู ี่ 8 ถนนพิบลู สงคราม ตาํ บลสวนใหญ อาํ เภอเมืองนนทบรุ ี จงั หวัดนนทบุรี

ปายวัดเขมาภริ ตารามราชวรวิหาร

อโุ บสถวดั เขมาภริ ตารามราชวรวิหาร

16
2. วัดเฉลมิ พระเกียรตวิ รวิหาร เปนพระอารามหลวงชั้นโท ชนดิ วรวิหาร ตั้งอยู
เลขที่ 86 ถนนทานํ้านนท -วดั โบสถดอนพรหม ตําบลบางศรีเมอื ง อําเภอเมืองนนทบรุ ี จงั หวัดนนทบรุ ี

ปา ยวัดเฉลิมพระเกียรตวิ รวิหาร

อุโบสถ วัดเฉลมิ พระเกยี รติวรวหิ าร

17
3. วัดบัวขวญั พระอารามหลวง ไดร ับการพระราชทานพระบรมราชานุญาตสถาปนา
เปน พระอารามหลวงชนั้ ตรี ชนดิ สามัญ ต้งั อยูเลขท่ี 1 หมูท ่ี 9 ซอยงามวงศวาน 23 ถนนงามวงศว าน
ตําบลบางกระสอ อําเภอเมืองนนทบรุ ี จังหวดั นนทบรุ ี

ปายวัดบัวขวัญ พระอารามหลวง

18

พระอุโบสถจตั รุ มขุ วดั บวั ขวญั พระอารามหลวง
กลาวโดยสรปุ พระอารามหลวงในอําเภอเมืองนนทบุรี มีอยู 3 แหง คอื
(1) วัดเขมาภิรตารามราชวรวหิ าร (2) วัดเฉลิมพระเกยี รติวรวหิ าร และ (3) วดั บวั ขวญั พระอารามหลวง

19

กิจกรรมทา ยบท

กกกกกกกกิจกรรมท่ี 1
กกกกกกกคาํ ช้แี จง ใหผ เู รยี นศกึ ษากจิ กรรมที่ 1 แลว เลอื กคําตอบท่ถี กู ตองที่สุดเพยี งขอเดียวเขยี น
คําตอบลงในกระดาษทแ่ี จกให หรือกระดาษเปลาของผเู รียน
กกกกกกก1. ขอ ใดเปนความหมายของพระอารามหลวง

ก. วัดทพ่ี ระราชินีสรา งข้ึน
ข. วดั ที่ต้ังอยใู นเมืองหลวง
ค. วดั ทคี่ ณะบคุ คลรวมกนั สราง
ง. วัดทป่ี ระชาชนทวั่ ไปรว มกนั สรา งข้นึ
กกกกกกก2. พระอารามหลวงในขอใดตัง้ อยูในอาํ เภอเมอื งนนทบรุ ี จังหวดั นนทบรุ ี
ก. วดั ปรมยั ยกิ าวาสวรวิหาร
ข. วัดบางไผพระอารามหลวง
ค. วดั บวั ขวัญพระอารามหลวง
ง. วัดสรอ ยทองพระอารามหลวง
กกกกกกก4. พระอารามที่พระมหากษัตรยิ  ทรงสรา งหรือปฏิสังขรณเปนการสวนพระองค คือชนิดใด
ก. ชนิดราชวรมหาวหิ าร
ข. ชนดิ วรมหาวหิ าร
ค. ชนิดราชวรวหิ าร
ง. ชนิดวรวิหาร
กกกกกกก5. ขอใดไมใชอันดับช้นั ของ พระอารามหลวง
ก. พระอารามหลวงช้นั พิเศษ
ข. พระอารามหลวงช้ันเอก
ค. พระอารามหลวงช้นั โท
ง. พระอารามหลวงชน้ั ตรี
กกกกกกก6. พระอารามหลวงช้ันโทแบงตามฐานนั ดรกช่ี นิด
ก. 3 ชนิด
ข. 4 ชนิด
ค. 5 ชนิด
ง. 6 ชนดิ

20

กกกกกกกกิจกรรมที่ 2

กกกกกกกคําช้ีแจง ใหผ เู รียนเติมคาํ หรือขอความสน้ั ๆ ลงในชอ งวางใหถ ูกตองสมบูรณ ดวยการเขยี น

คาํ ตอบลงในกระดาษที่แจกให หรอื กระดาษเปลาของผูเ รยี น

กกกกกกกการจดั ลําดบั ชน้ั ของพระอารามหลวง มี.............ลําดับชน้ั คอื .............................................

พระอารามหลวงไดร บั .................................เปนประจําทกุ ป พระอารามหลวงชนั้ เอกไดแ ก วัดท่บี รรจุ

..................................................วัดประจําหวั เมอื ง คือ พระอารามหลวง.............................................

กิจกรรมที่ 3

คําชีแ้ จง ใหผ เู รยี นศกึ ษากิจกรรมท่ี 3 ดวยการจับคูของขอความหลงั ตัวเลขดานซายมอื ของ

กระดาษ และขอ ความหลงั ตวั อักษรดา นขวามือของกระดาษทม่ี ีความสัมพนั ธกนั แลว นาํ คําตอบทไ่ี ด

ไปเขียนในกระดาษท่ีแจกให หรอื กระดาษเปลาของผเู รียน

…………...1. วัดเฉลิมพระเกยี รตวิ รวหิ าร ก. ตาํ บลสวนใหญ

…………...2. วัดบัวขวญั พระอารามหลวง ข. ตําบลบางเขน

…………...3. วดั เขมาภิรตารามราชวรวหิ าร ค. ตําบลบางศรเี มือง

…………...4. วดั สามัญ ง. ไมมสี รอยพระนามตอ ทา ย

…………...5. กฐินพระราชทาน จ. ตําบลบางกระสอ

ฉ. ชนิดราชวรมหาวหิ าร

ช. ชนดิ ราชวรวหิ าร

ซ. พระอารามหลวง

21

บทท่ี 2
วัดเขมาภิรตารามราชวรวหิ าร

สาระสําคัญ

กกกกกกก1. ที่ต้ัง แผนที่ การเดินทางของวัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร
กกกกกกก 1.1 ทีต่ ้งั วดั เขมาภิรตารามราชวรวิหาร ตั้งอยูเลขที่ 74 หมทู ี่ 8 ซอยพิบูลสงคราม 3
ถนนพบิ ลู สงคราม ตําบลสวนใหญ อําเภอเมอื งนนทบุรี จังหวัดนนทบรุ ี โทรศัพท 02-525-0470
กกกกกกก 1.2 การเดินทางมาวัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร สามารถเดินทางได 2 แบบ คือ (1) ทางบก
เดินทางโดยรถประจาํ ทางขนสงมวลชนกรงุ เทพ (ขสมก.) สาย 32, 33, 64, 90 และ 97 (2) ทางนํา้ เดินทางโดย
เรือดวนเจาพระยา และเรือขามฟากแมน้ําเจาพระยา จากฝงทานํ้าวัดตึก ตําบลบางไผ อําเภอเมืองนนทบุรี
ขนึ้ ที่ทาเรือวดั เขมาภิรตารามราชวรวิหาร
กกกกกกก2. ประวตั ิ ความเปน มาของวัดเขมาภิรตารามราชวรวหิ าร วัดเขมาภริ ตารามราชวรวหิ าร
เชื่อวา มีมาต้ังแตสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยพระเจาอูทองทรงสราง เปนวัดหลวงในสมัยกรุงศรีอยุธยา เดิมช่ือ
“วัดเขมา” หรือบางเรียก “วัดเข็นมา”โดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 4 ทรงใหทัศนะ
เชื่อวา พระเจา อูทอง ไดเ คยปฏิสังขรณ แตม ิไดเ ปนผูสรา ง นาจะสรางต้ังแตส มยั ทีเ่ ขมรยังครอบครองดินแดน
บริเวณนต้ี อ มาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 ทรงบูรณปฏิสังขรณ เพ่ือฉลอง
พระคุณสมเดจ็ พระบรมราชชนนี แลว พระราชทานนามเพิม่ วา วดั เขมาภริ ตาราม
กกกกกกก 3. ความสําคัญของวดั เขมาภิรตารามราชวรวหิ าร เปน พระอารามหลวงช้นั โท ชนดิ ราชวรวิหาร
ข้ึนทะเบียนโบราณสถาน วันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2478 มีการกอสรางและปฏิสังขรณเปนระยะ ๆ ต้ังแต
พ.ศ. 2478 จนถงึ ปจจบุ นั
กกกกกกก 4. โบราณสถาน และโบราณวตั ถใุ นวัดเขมาภริ ตารามราชวรวหิ าร

4.1 โบราณสถานในวัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร มีหลายแหงเปดใหประชาชนเขาชม และ
สักการบูชา ซ่ึงประกอบดวย (1) พระอุโบสถ (2) พระมหาเจดีย (3) พระตําหนักแดง (4) พระที่นั่งมูลมณเฑียร
และ (5) ศาลาการเปรียญ

4.2 โบราณวัตถุในวัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร ไดแก พระประธานองคที่ 1 เปน พระประธาน
องคใหญมีพระเพลากวาง 2.90 เมตร สรางครอบพระพุทธรูปทองคําองคเดิม พระประธานองคที่ 2 เปน
พระประธานองคเ ลก็ มพี ระนามวา รูปพระอินทรแปลง อญั เชิญมาจากวงั จนั ทรเกษม จังหวดั พระนครศรีอยุธยา

22

กกกกกกก 5. ประเพณีทีส่ ําคัญในวัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร ไดแก งานนมสั การพระบรมสารีริกธาตุ
เปน งานประจาํ ป จัดข้นึ ทกุ ปว ันสุดทายจะตองตรงกบั วนั มาฆบูชาของปน ัน้ ๆ เมอ่ื เดอื น ตลุ าคม
พ.ศ. 2495 มีการซอมสรางพระมหาเจดียครั้งใหญ ปรากฏวาไดพ บพระบรมสารีรกิ ธาตุ มีการพสิ จู น
ตามตําราวา เปน พระธาตแุ ท ประชาชนท่ีทราบขา วตา งพากนั หลัง่ ไหลมานมสั การ เมื่อบูรณะพระมหา
เจดียเ สร็จเรยี บรอย จึงกําหนดใหมงี านนมัสการพระบรมสารรี กิ ธาตเุ ปน งานประจาํ ป

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

กกกกกกก1. บอก และอธิบายวัดเขมาภิรตารามราชวรวหิ ารได
กกกกกกก2. ตอบกิจกรรมทายบทวัดเขมาภิรตารามราชวรวิหารได
กกกกกกก3. ตระหนกั ถึงคณุ คาของวดั เขมาภริ ตารามราชวรวิหาร

ขอบขายเนอ้ื หา

กกกกกกก เร่ืองที่ 1 ทตี่ ้ัง แผนที่ การเดินทางไปวัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร
กกกกกกก เร่ืองที่ 2 ประวัติ ความเปน มาวัดเขมาภริ ตารามราชวรวิหาร
กกกกกกก เร่ืองที่ 3 ความสําคัญของวดั เขมาภริ ตารามราชวรวิหาร
กกกกกกก เรื่องท่ี 4 โบราณสถาน โบราณวตั ถุวดั เขมาภริ ตารามราชวรวิหาร
กกกกกกก เร่ืองท่ี 5 กจิ กรรม ประเพณีท่สี าํ คญั วดั เขมาภิรตารามราชวรวหิ าร

สอ่ื ประกอบการเรยี น

กกกกกกก1. หนงั สือพระอารามหลวงแหงราชอาณาจักรสยาม ชือ่ ผูแ ตง ลาํ จุล ฮวนเจริญ ปท ่พี มิ พ
กนั ยายน 2555 สาํ นักพิมพ ดวงกมลพบั ลชิ ชิ่ง
กกกกกกก2. หนงั สอื ประวตั ิวดั ท่ัวราชอาณาจกั ร เลม 1 ช่ือหนวยงาน ฝา ยพทุ ธสถาน กองพุทธศาสน
สถาน กรมการศาสนา ปที่พิมพ ตุลาคม 2525 โรงพิมพ ยไู นเตด็ โปรดกั ชนั่ จํากดั
กกกกกกก3. หนงั สือพระกฐนิ พระราชทาน ประจําป 2555 ชื่อหนวยงาน กรมทรัพยากรนา้ํ บาดาล
สํานักบรหิ ารกลาง ฝายบรหิ ารท่วั ไป ปท่ีพิมพ กุมภาพันธ 2555
กกกกกกก4. บทความ วดั เขมาภิรตารามราชวรวิหาร สบื คน จาก https://th.wikipedia.org/
วดั เขมาภริ ตารามราชวรวหิ าร
กกกกกกก5. คลบิ ยทู ูป (youtube) เรือ่ ง ประวัตวิ ดั เขมาภริ ตารามราชวรวิหาร
www.youtube.com/watch?v=n9YILYnCTL8 โดย กสิณคลปิ แชนแนล KASINCLIP CHANNEL
เผยแพรเมื่อวนั ท่ี 29 พฤษภาคม 2559

23

กกกกกกก6. วัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร ตั้งอยูเ ลขท่ี 74 หมู 8 ซอยพบิ ูลสงคราม 3

ถนนพบิ ลู สงคราม ตําบลสวนใหญ อําเภอเมืองนนทบรุ ี จังหวัดนนทบรุ ี โทรศัพท 02-526-4813

เรือ่ งท่ี 1 ทต่ี ั้ง แผนที่ การเดนิ ทางของวดั เขมาภริ ตารามราชวรวิหาร

กกกกกกก1. ทีต่ ัง้ วัดเขมาภิรตารามราชวรวหิ าร ตัง้ อยูเลขท่ี 74 หมทู ี่ 8 ซอยพบิ ลู สงคราม 3 ถนน
พิบลู สงคราม ตําบลสวนใหญ อาํ เภอเมืองนนทบรุ ี จงั หวดั นนทบรุ ี 11000

กกกกกกก อาณาเขตอยูทางดานใตต ัวเมืองนนทบรุ ี รมิ ฝง ตะวันออกของแมน ้ําเจาพระยามพี น้ื ท่ี 26 ไร
กกกกกกก ทิศเหนือ จรด โรงเรยี นกลาโหมอทุ ิศ และโรงเรียนวัดเขมาภริ ตาราม ตลอดถึง
ถนนพิบูลสงคราม
กกกกกกก ทิศใต จรด วัดพลับพลา เลยี บไปตามคคู ่นั รอบวดั
กกกกกกก ทิศตะวนั ออก จรด ถนนพบิ ูลสงคราม โรงเรียนสตรนี นทบรุ ี
กกกกกกก ทศิ ตะวันตก จรด แมน ้าํ เจาพระยา

2. การเดินทางมาวัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร สามารถเดินทางไดท้งั ทางบก และทางนํา้
ทางบก เดินทางโดย รถประจําทางขนสงมวลชนกรงุ เทพ (ขสมก.) สาย 32, 33, 64, 90,

97, 117 และ 203
ทางน้าํ เดนิ ทางโดยเรือดว นเจา พระยาและเรือขามฟาก แมน ํา้ เจาพระยาจากฝงทาน้ํา

วดั ตกึ ตาํ บลบางไผ อําเภอเมืองนนทบรุ ี ข้ึนที่ทาเรือวดั เขมาภิรตารามราชวรวหิ าร

24

เรอื่ งที่ 2 ประวตั ิความเปน มาวัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร

กกกกกกกวัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร เปนวัดโบราณสมัยกรุงศรีอยุธยา หรือกอนสมัยกรุงศรีอยุธยา
พระเจา อทู องทรงสรา ง เปนวดั หลวงในสมัยกรุงศรีอยธุ ยาสรา งประมาณป พ.ศ. 1893 ตอมา ในสมัยรัตนโกสินทร
วดั เขมาภริ ตารามราชวรวหิ าร เปน วดั ที่อยใู นสังกดั บญั ชีกฐินหลวงของสมเดจ็ พระบวรราช
เจากรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย รัชกาลท่ี 2
เดิมเรยี กวา วัดเขมา บางคร้งั เรียกวา วัดเข็นมา
กกกกกกกในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย รัชกาลที่ 2 สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี
พระอคั รมเหสี โปรดเกลา โปรดกระหมอมใหส มเด็จเจาฟา มงกุฎพระราชโอรส ซ่ึงตอมาไดเสด็จข้ึนครองราชสมบัติ
เปน พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 4 เสด็จไปเขาเฝาสมเด็จพระบวรราชเจามหาเสนานุรักษ
เพื่อกราบทูลขอวัดเขมาเปนวัดสําหรับกฐินใน สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี จากนั้นไดทรงบริจาค
พระราชทรพั ยบ ูรณปฏสิ งั ขรณว ัดเขมา และมีการฉลองใน พ.ศ. 2371 ตอ มาในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็
พระจอมเกลาเจาอยหู วั รัชกาลท่ี 4 ทรงบรู ณปฏสิ งั ขรณ เพอื่ ฉลองพระคณุ สมเดจ็ พระบรมราชชนนี
แลว พระราชทานนามเพิ่มวา วดั เขมาภริ ตาราม
กกกกกกกวดั เขมาภิรตารามราชวรวิหาร เดมิ ชือ่ “วัดเขมา” หรือบางเรียก “วัดเข็นมา” เปนวัดโบราณสราง
แตสมัยกรุงศรีอยุธยา หรือกอนสมัยกรุงศรีอยุธยา ปรากฎวาเคยเปนวัดหลวงมาแตคร้ังกรุงศรีอยุธยาแลว
ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 ทรงใหทัศนะเช่ือวา พระเจาอูทองไดเคยปฏิสังขรณ
มิไดเปนผูสราง โดยสันนิษฐานวาสรางตั้งแตสมัยท่ีเขมรยังครอบครองดินแดนบริเวณน้ีอยู ซึ่งชื่อ “เขมา”
แปลวา “เขมร” แตหลวงวิจิตรวาทการ ไดกลาววา เร่ืองวัดเขมานี้มีแตช่ือเทาน้ันท่ีเปนเคร่ืองมือสันนิษฐาน
ไมมีจารึก หรืออักษรวัตถุโบราณอันใดที่จะเปนเครื่องชวยเหลือ เพราะไดเปลี่ยนแปลงกันมาหลายคร้ัง
หลกั ฐานดงั้ เดมิ จงึ สญู ไป แมพระประธานในพระอุโบสถองคเดิมก็ถูกสรางองคใหมทับลงไป พระประธานองค
เดิมขางในจึงร้ือออกดูไมได เอกสารในวัดไมสามารถหาไดกอนสมัยรัชกาลท่ี 4 เครื่องมือที่จะใชสันนิษฐาน
จึงมีอยางเดียวคือ ช่ือวัด แตคําวา “เขมา” ก็ไมไดมี ความหมายวา “เขมร” เทานั้น แตยังสามารถแปลวา
“ความสุขเกษม ความพน จากเรื่องหวงใย ความปลอดภัยจากกงั วลทัง้ หลาย” ดว ย
กกกกกกกกลาวโดยสรุป วดั เขมาภริ ตารามราชวรวหิ าร เชอื่ วามมี าตัง้ แตสมยั กรงุ ศรีอยธุ ยา โดยพระเจาอูทอง
ทรงสรา ง เปน วดั หลวงในสมยั กรงุ ศรีอยุธยา เดิมชือ่ วดั เขมา หรือ วดั เข็นมา โดยพระบาทสมเดจ็
พระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 4 ทรงใหทัศนะไววา พระเจาอูทอง ไดเคยปฏิสังขรณ แตมิไดเปนผูสราง
นาจะสรางต้ังแตสมัยท่ีเขมรยังครอบครองดินแดนบริเวณนี้ ตอมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกลาเจาอยูหัวรัชกาลท่ี 4 ทรงบูรณปฏิสังขรณ เพื่อฉลองพระคุณสมเด็จพระบรมราชชนนีแลว
พระราชทานนามเพม่ิ วา วดั เขมาภริ ตาราม

25

เรื่องที่ 3 ความสาํ คัญของวัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร

กกกกกกกวัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร เปนพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ข้ึนทะเบียนเปน
โบราณสถาน วันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2478 สรางขน้ึ สมัยกรงุ ศรีอยุธยาเรียกวา วัดเขมา ในสมัยพระบาทสมเด็จ
พระพุทธเลิศหลานภาลัย รัชกาลท่ี 2 สมเด็จพระศรีสุริเยนทราทรงปฏิสังขรณอีกคร้ัง พรอมกับอัญเชิญ
พระพุทธรูปหลอเกาแกจากวังจันทรเกษม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มาประดิษฐานเปนพระประธานใน
พระอุโบสถ
กกกกกกกความสําคัญของวัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร มีการกอสราง และปฏิสังขรณเปนระยะ ๆ
ตง้ั แต พ.ศ. 2478 จนถึงปจจุบนั อาทิ เชน
กกกกกกกป พ.ศ. 2478 สรา งศาลาเฉลยอนุสรณ 1 หลัง
กกกกกกกป พ.ศ. 2481 สรา งโรงเรยี นวัดเขมาภริ ตาราม ซื้อทีด่ ินเพ่มิ ดา นทิศเหนือเพื่อขยายโรงเรยี น
ปจจบุ ัน
กกกกกกกป พ.ศ. 2442 ยา ยศาลาเลก็ ขางพระตาํ หนักแดงมาปลูกในพ้ืนท่ใี หเรยี งเขาแถวกับกฏุ ิหลงั อน่ื ๆ
กกกกกกกป พ.ศ. 2495 บรู ณะพระมหาเจดีย ลานพระเจดีย กาํ แพงแกว รอบพระอุโบสถ พระวิหารเล็ก 2 หลงั
ศาลาดิน หนาพระอโุ บสถ 2 หลัง พระทน่ี ั่งมลู มณเฑียร ถนนพ้นื ลานหนาพระอโุ บสถ
กกกกกกกป พ.ศ. 2496 ซอมแซมศาลาการเปรียญ
กกกกกกกป พ.ศ. 2497 ดดั แปลงพระท่นี งั่ มูลมณเฑยี รเปนหอสมุดประชาชน
กกกกกกกป พ.ศ. 2505 ร้ือหอระฆังเกาท่หี นาพระอโุ บสถนอกกําแพงดานซายทีช่ าํ รุดแลวสรางใหมท่ี
รมิ สระเกา ขา งพระตําหนักแดง
กกกกกกกป พ.ศ. 2509 ร้ือกฏุ ิไมส กั ทรงไทย เปลีย่ นใหมเ ปน ช้ันเดียวยกใตถ ุนสูง
กกกกกกกป พ.ศ. 2540 บูรณะพระตําหนักแดง ซอมภาพเขยี นในพระอโุ บสถ
กกกกกกกกลาวโดยสรุป ความสําคัญของวัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร เปนพระอารามหลวงชั้นโท
ชนิดราชวรวิหาร ข้ึนทะเบียนโบราณสถาน วันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2478 มีการกอสราง และ
ปฏิสงั ขรณเปนระยะ ๆ ตัง้ แต พ.ศ.2478 จนถงึ ปจ จุบนั

26

เรื่องท่ี 4 โบราณสถาน โบราณวตั ถุวดั เขมาภริ ตารามราชวรวหิ าร

กกกกกกก1. โบราณสถาน วัดเขมาภิรตารามราชวรวหิ าร

กกกกกกก 1.1 พระอุโบสถ วดั เขมาภริ ตารามราชวรวหิ าร

กก

กกกกกกก กรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
รัชกาลที่ 2 แหงกรุงรัตนโกสินทร มีพระราชศรัทธาทรงโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหปฏิสังขรณ
พระอุโบสถ และรับสั่งใหชางเขาในกรมขุดรากฐานของพระอุโบสถวัดเขมา และรับสั่งใหชางเขาในกรม
ขุดรากฐานของพระอโุ บสถขยายออกไปใหกวา งและถมพื้นพระอโุ บสถใหสูงขึน้ พระบาทสมเด็จ
พระพุทธเลิศหลานภาลัย รัชกาลท่ี 2 และกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ รับส่ังใหกอพระประธาน
องคใหม สวมพระพุทธรูปองคเกาแลวบูรณะพระพุทธรูปทั้งหมด แลวทรงโปรดใหกอกําแพงรอบ
พระอุโบสถและศาลาการเปรียญ ฝากระดานดา นหนา พระอุโบสถ จนสาํ เร็จเรียบรอ ย

ตอมาปกุน ตรีศก ศักราช 1213 (พ.ศ.2394) พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว
รัชกาลที่ 4 ทรงรับส่ังใหปฏิสังขรณวัดเขมาคร้ังใหญทั้งพระอาราม โดยใหขุดคูรอบวัด ทรงสราง
พระอสตี ิมหาสาวกลอ มพระประธาน และภาพศลิ ปะจิตรกรรมฝาผนงั ภายในพระอุโบสถ

27

กกกกกกก 1.2 พระมหาเจดยี ก วดั เขมาภริ ตารามราชวรวหิ าร
กกกกกกก

พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 4 ทรงโปรดเกลาโปรดกระหมอม
ใหสรางเม่ือ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2397 อยูดานหลังพระอุโบสถ โดยถายแบบศิลปะจากกรุงศรีอยุธยา
ภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ 3 องค ตนไมเงิน ตนไมทอง พระมหาเจดียสูง 30 เมตร แลวโปรดเกลา
โปรดกระหมอมใหมีการจัดงานฉลองในวันพุธ ข้ึน 4 คํ่า เดือนย่ี พ.ศ. 2406 ตอมาไดรับความเสียหาย
จากสงครามโลกคร้ังที่ 2 สวนยอดของพระมหาเจดีย ไดหักลงมาถึงปลองไฉน ซอมเสร็จเม่ือ
วันท่ี 10 มกราคม พ.ศ. 2496 สมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวงวรชิรญาณวงศ (ชื่น นพวงศ) ทรงดําริ
จัดใหม ีการสมโภชนเปน งานนมสั การพระบรมสารีริกธาตุเปนประจําทุกปกอนวันมาฆบูชา โดยจัดงาน
กอ นวนั มาฆบชู าสกั ก่ีวนั กไ็ ด แตต องส้นิ สดุ ในวันมาฆบชู า

28

กกกกกกก 1.3 พระตาํ หนักแดง

พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 ทรงใหยายมา เพ่ือเปนอนุสรณ
สมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย บรมราชินี ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย รัชกาลที่ 2
เดมิ พระตําหนักแดงเปนที่ประทับของสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย (พระราชมารดา) ถูกยายมาถึง
3 คร้ัง ครั้งแรกยายไปพระราชวังเดิม ครั้งที่สองยายไปถวายวัดโมฬีโลกยาราม ครั้งที่สามยายมาเปน
กุฏิเจาอาวาสวัดเขมาภิรตาราม ลักษณะเปนเรือนไมสักทั้งหลังแบบเรือนฝากระดาน มีอายุมากกวา
160 ป ปจจุบันกรมศิลปากรไดบูรณะ มีขนาดเทาเดิมยกใตถุนสูง ระหวางวันที่ 16 กันยายน
พ.ศ.2540 ถึงวันท่ี 12 กรกฎาคม พ.ศ.2541 ปจจุบันใชบริเวณใตถุนพระตําหนักเปนสถานท่ีตักบาตร
ทกุ วันธรรมสวนะ

29

กกกกกกก 1.4 พระที่นั่งมลู มณเฑยี ร

กกกกกกก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 5 ทรงโปรดเกลาโปรดกระหมอม
ใหร้ือพระท่ีน่ังมูลมณเฑียรจากพระบรมมหาราชวัง เดิมเปนตําหนักไม ยายมาปลูกเปนตึกไว ณ
วัดเขมาภิรตาราม ทรงพระราชอุทิศเปนที่เรียนชั้นเด็กโตจนถึงป พ.ศ. 2497 ตอมาใชเปนหองสมุด
ประชาชน เมื่อหองสมุดประชาชนยายไปอยูหลังพิพิธภัณฑจังหวัดนนทบุรี พระตําหนักจึงใชเปน
หอ งสมดุ หองเรยี น และหอ งเรียนดนตรีไทย ของโรงเรยี นกลาโหมอุทศิ

30

กกกกกกก 1.5 ศาลาการเปรยี ญ

กกกกกกก เดิมกรมสมเด็จพระยาศรีสุริเยนทราบรมราชินี ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
รชั กาลท่ี 2 ทรงใหส รา งข้ึนในป พ.ศ.2371 เปน ฝากระดาน ตง้ั อยดู า นหนา พระอโุ บสถ ตอ มารัชสมัย
พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจาอยูหวั รัชกาลท่ี 4 ทรงโปรดเกลาใหร ้อื แลวสรา งใหมแ บบตกึ โบราณ
ไวดา นขวาหนา พระอุโบสถ
กกกกกกก กลาวโดยสรปุ โบราณสถานในวดั เขมาภริ ตารามราชวรวิหาร มีโบราณสถานหลายแหงที่เปดให
ประชาชนไปเขาชม และสักการบูชา ซงึ่ ประกอบไปดวย (1) พระอุโบสถ (2) พระมหาเจดีย (3) พระตําหนักแดง
(4) พระท่นี ัง่ มูลมณเฑยี ร และ (5) ศาลาการเปรียญ

31

กกกกกกก2. โบราณวัตถุในวดั เขมาภิรตารามราชวรวิหาร
2.1 พระประธานวดั เขมาภิรตาราม

พระประธานองคท่ี 1 องคใหญ สมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตยทรงสรางพระประธาน
ครอบองคเกาท่ีด้ังเดิมเปนทองคํา ใน พ.ศ. 2371 มพี ระเพลากวาง 2.90 เมตร ความสูงตลอดพระรัศมี
4 เมตร ตอมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 ทรงสรางพระอสีติมหาสาวกรอบ
พระประธาน 80 รปู มีชอื่ แตล ะองคสลักปรากฏอยูท ี่ฐานอาสนะ

พระประธานองคท ี่ 2 องคเ ล็กดานหนา เปนพระพุทธรูปโลหะ อัญเชิญมากจากวังจันทรเกษม
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มาประดิษฐานเมื่อวันเสารท่ี 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2401 มีพระเพลากวาง 74
เซนติเมตร ความสงู ตลอดพระรัศมี 109 เซนติเมตร พระนามวา “รปู พระอนิ ทรแ ปลง”

กลาวโดยสรุป โบราณวัตถุในวัตเขมาภิรตารามราชวรวิหาร ไดแก พระประธานองคท่ี 1 เปน
พระประธานองคใ หญม พี ระเพลากวา ง 2.90 เมตร สรางครอบพระพุทธรูปทองคําองคเดิม พระประธานองคท่ี 2
เปนพระประธานองคเล็กมีพระนามวา รูปพระอินทรแปลง อัญเชิญมาจากวังจันทรเกษม จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา

32

เรื่องที่ 5 กิจกรรม ประเพณที ี่สําคญั วัดเขมาภริ ตารามราชวรวหิ าร

งานนมสั การพระบรมสารรี กิ ธาตุ เปน งานประจาํ ปของวดั

งานนมัสการพระบรมสารีริกธาตุเปนงานประจําป จัดข้ึนทุกปวันสุดทายจะตองตรงกับ
วันมาฆบชู าของปน้ัน ๆ เมือ่ เดือน ตลุ าคม พ.ศ. 2495 มีการซอมสรางพระมหาเจดียครั้งใหญ ปรากฏ
วาไดพบพระบรมสารีริกธาตุ มีการพิสูจนตามตําราวา เปนพระธาตุแท ประชาชนที่ทราบขาวตางพา
กันหลั่งไหลมานมัสการ เมื่อบูรณะพระมหาเจดียเสร็จเรียบรอย จึงกําหนดใหมีงานนมัสการพระบรม
สารรี ิกธาตุเปนงานประจําป

กลาวโดยสรุป งานนมัสการพระบรมสารีริกธาตุเปนงานประจําป จัดข้ึนทุกปวันสุดทาย
จะตองตรงกับวันมาฆบูชาของปน้ัน ๆ เม่ือเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2495 มีการซอมสรางพระมหาเจดีย
คร้ังใหญ ปรากฏวาไดพบพระบรมสารีริกธาตุ มีการพิสูจนตามตําราวา เปนพระธาตุแท ประชาชนท่ี
ทราบขาวตางพากันหล่ังไหลมานมัสการ เมื่อบูรณะพระมหาเจดียเสร็จเรียบรอย จึงกําหนดใหมีงาน
นมัสการพระบรมสารรี กิ ธาตุเปน งานประจาํ ป

33

กิจกรรมทา ยบท

กกกกกกกกิจกรรมที่ 1
กกกกกกกคาํ ชแี้ จง ใหผ เู รียนศกึ ษากจิ กรรมที่ 1 แลว เลอื กคาํ ตอบท่ีถกู ตอ งที่สดุ เพียงขอเดียวเขียน
คาํ ตอบลงในกระดาษท่ีแจกให หรอื กระดาษเปลา ของผเู รียน
กกกกกกก1. ขอ โดไมใชโ บราณสถานในวดั เขมาภิรตารามราชวรวหิ าร
กกกกกกก ก. พระมหาเจดีย
กกกกกกก ข. พระตําหนักแดง
กกกกกกก ค. พระอุโบสถจตรุ มุข
กกกกกกก ง. พระท่ีนง่ั มูลมณเฑยี ร
กกกกกกก2. วัดเขมาภิรตารามราชวรวิหารสรา งข้นึ ในสมยั พระมหากษัตริยพ ระองคใ ด
กกกกกกก ก. พระเจา อูทอง
กกกกกกก ข. พอ ขนุ ผาเมือง
กกกกกกก ค. พอขนุ ศรีอนิ ทราทิตย
กกกกกกก ง. สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีท่ี 2
กกกกกกก3. รชั กาลใดทรงโปรดใหเ พ่ิมสรอยพระนาม “ภิรตาราม”ตอทา ยวดั เขมา เปน“วัดเขมาภิรตาราม”
กกกกกกก ก. รัชกาลท่ี 1
กกกกกกก ข. รัชกาลท่ี 2
กกกกกกก ค. รชั กาลท่ี 3
กกกกกกก ง. รัชกาลท่ี 4
กกกกกกก4. พระอสีตมิ หาสาวก ท่ลี อมองคพระประธานในพระอโุ บสถ มจี ํานวนก่ีองค
กกกกกกก ก. 60 องค
กกกกกกก ข. 70 องค
กกกกกกก ค. 80 องค
กกกกกกก ง. 90 องค
กกกกกกก5. พระอนิ ทรแปลงพระพุทธรูปสมั ฤทธ์ิ จากวงั จนั ทรเกษมพระนครศรีอยธุ ยา ประดิษฐาน
อยใู นพระอุโบสถวดั เขมาภริ ตารามราชวรวหิ ารน้ัน เปน พระพทุ ธรปู แบบสมยั ใด
กกกกกกก ก. สมัยอยุธยา
กกกกกกก ข. สมัยสุโขทยั
กกกกกกก ค. สมยั ลพบุรี
กกกกกกก ง. สมยั ทวาราวดี

34

กกกกกกกกจิ กรรมท่ี 2

กกกกกกกคําช้ีแจง ใหผ เู รียนเตมิ คาํ หรือคาํ ตอบสัน้ ๆ ลงในชอ งวา งใหถูกตอ งสมบูรณ ดว ยการเขยี น

คําตอบลงในลงในกระดาษทแ่ี จกให หรอื กระดาษเปลาของผูเรียน

กกกกกกก1. วดั เขมาภริ ตารามราชวรวิหารสรา งในข้นึ สมยั พระเจา ......................................................

กกกกกกก2. โบราณวัตถุในวัดเขมาภริ ตาราม (1)................................(2)............................................

กกกกกกก3. พระจอมเกลาเจา อยหู วั คือ พระมหากษตั ริยรชั กาลที่.......................................................

กกกกกกก4. โบราณสถานในวดั เขมาภริ ตา (1)..................................(2)...............................................

กกกกกกก5. วดั เขมาภิรตารามราชวรวิหาร เปนพระอารามหลวงระดบั ชน้ั .........................................

กกกกกกกกิจกรรมท่ี 3

กกกกกกกคําชี้แจง ใหผ ูเ รยี นศึกษากจิ กรรมที่ 3 ดวยการจับคูของขอความหลังตวั เลขดานซา ยมือของ

กระดาษ และขอความหลงั ตวั อักษรทางดา นขวาของกระดาษท่ีมคี วามสมั พันธกัน แลว นําคําตอบทไ่ี ด

ไปเขียนลงในกระดาษคําตอบท่ีแจกใหห รือกระดาษเปลา ของผูเ รยี น

…………….1. เรือนไมส ักสีแดงตง้ั อยใู นวัดเขมาภิรตารามราชวรวหิ าร ก. พระมหาเจดีย

…………….2. กรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย ข. พระทีน่ ง่ั มูลมณเฑียร

…………….3. โบราณสถานท่ตี ้งั อยทู างดานเหนือของวดั มเี สาสูงยันชายคา ค. พระตาํ หนักแดง

…………….4. สถานท่ีนมสั การพระบรมสารรี ิกธาตุ ง. พระราชินใี นรัชกาลท่ี 2

…………….5. พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจาอยูห ัว จ. รัชกาลท่ี 4

ฉ. รัชกาลที่ 5

ช. ศาลาการเปรียญ

ซ. พระราชนิ ใี นรัชกาลท่ี 1

35

บทท่ี 3
วดั เฉลิมพระเกยี รตวิ รวิหาร

สาระสาํ คญั

1. ที่ตงั้ และการเดนิ ทาง
1.1 วัดเฉลมิ พระเกียรตวิ รวหิ าร ตั้งอยูเลขท่ี 86 หมู 3 ถนนทานํ้านนท – วัดโบสถดอนพรหม

ตาํ บลบางศรีเมือง อําเภอเมืองนนทบรุ ี จงั หวดั นนทบุรี หมายเลขโทรศัพท 02-881-6323
1.2 การเดินทางมาวัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร มี 2 เสนทาง (1) จุดเร่ิมตนท่ีทานํ้านนทบุรี

นั่งเรือขามฟากจากทาน้ํานนทบุรี ไปทาน้ําบางศรีเมือง แลวขึ้นรถโดยสารประจําทาง หรือรถสองแถวจาก
ทา น้ําบางศรเี มือง สายวดั เฉลมิ พระเกยี รติ และ (2) จดุ เร่ิมตน ท่ศี นู ยราชการจังหวัดนนทบุรี เดินทางออกจาก
ศูนยราชการจังหวัดนนทบุรี เล้ียวขวาที่ส่ีแยกแคราย ขามสะพานพระราม 5 เลี้ยวขวาท่ีส่ีแยกบางสีทอง
เขา สถู นนบางกรวย - ไทรนอย เลี้ยวขวาไปทางทา นา้ํ บางศรีเมือง เล้ยี วซา ยทส่ี ่ีแยกบางศรีเมอื ง และเล้ียวขวา
เขาซอยวัดเฉลมิ พระเกียรติ

2. ประวัติ ความเปนมาของวัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร เดิมเปนบริเวณปอมเการิมฝง
ตะวันตกของแมน ํ้าเจาพระยาใตต ลาดขวัญเมอื งนนทบุรีเม่ือครั้งพระบาทสมเด็จพระน่ังเกลาเจาอยูหัว
รชั กาลที่ 3 โปรดเกลา โปรดกระหมอมใหพระยาพระคลงั สมเด็จเจา พระยาบรมมหาประยรู วงศ
(ดิศ บุนนาค) เปนแมกองสรางวัดข้ึนในบริเวณนั้น เพ่ือเปนการเฉลิมพระเกียรติพระอัยกาพระอัยกี
และสมเด็จพระศรีสุลาไลยพระราชชนนีแหงพระองค และทรงพระราชทานนามพระอารามแหงน้ีวา
“วัดเฉลมิ พระเกียรต”ิ

3. ความสําคัญของวัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร เปนพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร
สังกัดคณะสงฆมหานิกาย ที่ดินต้ังวัดมีเนื้อที่ 24 ไร 3 งาน 22 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขท่ี 156460
ต้ังวดั เมือ่ พ.ศ. 2390 ไดพระราชทานวิสุงคามสีมา เม่ือ พ.ศ. 2394 เปนสถานท่ีพักกองทัพเพ่ือรอรับ
การเสด็จพระราชดําเนินมาสงทัพของพระมหากษัตริยมาประกอบพิธีกรรมเพ่ือความเปนสวัสดิมงคล
ของกองทัพในราชการสงคราม ต้ังแตสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 3 ถึงสมัย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหวั รชั กาลที่ 5

4. โบราณสถาน และโบราณวัตถใุ นวดั เฉลิมพระเกยี รติ
4.1 โบราณสถานในวัดเฉลิมพระเกียรติ ไดแก (1) วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร (2) พระอุโบสถ

(3) พระวิหาร (4) การเปรียญหลวง (5) พระเจดีย (6) กําแพงแกว (7) กําแพงใหญหนาวัด (8) ศาลาแดงเหนือ
ศาลาแดงใต และ (9) พระศรีมหาโพธิ์

4.2 โบราณวัตถุในวัดเฉลิมพระเกียรติ ไดแก (1) พระประธานในพระอุโบสถ
(2) พระศลิ าขาว และ (3) ตกุ ตาศลิ าจนี ในอิรยิ าบถตาง ๆ

36

5. กจิ กรรม ประเพณใี นวดั เฉลมิ พระเกยี รติวรวิหาร ไดแ ก งานวัฒนธรรมสองฝงเจาพระยา
ใตฟา นนท

ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

กกกกกกก1. บอกและอธบิ ายวัดเฉลมิ พระเกียรติวรวหิ ารได
กกกกกกก2. ตอบกจิ กรรมทายบทวัดเฉลมิ พระเกยี รตวิ รวิหารได
กกกกกกก3. ตระหนกั ถึงคณุ คา ของวดั เฉลิมพระเกยี รตวิ รวิหาร

ขอบขายเนื้อหา

เร่อื งที่ 1 ทีต่ ง้ั แผนท่ี การเดินทางวัดเฉลิมพระเกยี รตวิ รวหิ าร
เรือ่ งที่ 2 ประวตั ิ ความเปนมาวัดเฉลมิ พระเกียรติวรวิหาร
เร่ืองท่ี 3 ความสําคญั ของวัดเฉลิมพระเกียรติวรวหิ าร
เรือ่ งที่ 4 โบราณสถาน โบราณวัตถวุ ดั เฉลมิ พระเกียรติวรวิหาร
เรอ่ื งที่ 5 กจิ กรรม ประเพณีทีส่ ําคัญวดั เฉลิมพระเกยี รตวิ รวิหาร

ส่อื ประกอบการเรยี น

1. หนังสือ อาคารลํ้าคา ควรรักษาคูเมือง จังหวัดนนทบุรี ช่ือผูแตง องคการบริหารสวน
จังหวดั นนทบรุ ี ปท ่พี มิ พ 2547 โรงพมิ พ ดอกเบ้ยี

2. หนังสือ พระอารามหลวงแหงราชอาณาจักรสยาม ช่ือผูแตง ลําจุล ฮวบเจริญ ปท่ีพิมพ
2555 โรงพมิ พ ดวงกมลพับลชิ ชิ่ง

3. หนังสือ วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร ชื่อผูแตง กองวรรณคดี และประวัติศาสตร ปที่พิมพ
2535 โรงพมิ พ กรมศลิ ปากร

4. หนงั สอื วัดสาํ คัญกรงุ รัตนโกสนิ ทร ช่อื ผูแตง กองวรรณคดี และประวัติศาสตร ปที่พิมพ
2525 โรงพิมพ กรมศลิ ปากร

5. หนงั สอื ประวตั ิวดั ทว่ั ราชอาณาจักร เลม 1 ช่อื ผแู ตง ฝา ยพทุ ธศาสนสถาน
6. หนังสือ วดั เฉลมิ พระเกียรติวรวิหาร จังหวดั นนทบุรี ช่อื ผูแตง สาํ นกั งานอัยการสูงสุด
ปท ่ีพมิ พ 2561 โรงพิมพ แอคคิวเรทเพรส จาํ กดั
7. บทความ เทศกาลงานประเพณี สบื คน จาก http://www.nonthaburitour.com

8. บทความ รายช่อื โบราณสถานในจงั หวัดนนทบุรี สืบคนจาก https://th.wikipedia.org

9. วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร ต้ังอยูที่ 86 หมู 3 ถนนทานํ้านนท – วัดโบสถดอนพรหม
ตาํ บลบางศรเี มือง อาํ เภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท 02-881-6323

37

เรอ่ื งที่ 1 ท่ีต้ัง แผนที่ การเดินทางวัดเฉลมิ พระเกยี รติวรวหิ าร

กกกกกกก1. วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร ตงั้ อยูเลขท่ี 86 หมู 3 ถนนทา นา้ํ นนท – วัดโบสถด อนพรหม
ตาํ บลบางศรีเมอื ง อําเภอเมอื งนนทบรุ ี จงั หวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท 02-881-6323
กกกกกกก2. การเดินทางไปวัดเฉลิมพระเกียรตวิ รวิหารมี 2 เสน ทาง (1) จดุ เร่ิมตนท่ีทา น้ํานนทบรุ ี
นง่ั เรอื ขา มฟาก จากทาน้ํานนทบุรี ไปทานาํ้ บางศรีเมอื ง แลวข้ึนรถโดยสารประจาํ ทาง หรือรถสองแถว
จากทา นํ้าบางศรีเมอื ง สายวดั เฉลิมพระเกียรติ ดังภาพ

(2) จุดเรมิ่ ตนที่ ศูนยราชการจังหวัดนนทบุรี เดินทางออกจากศูนยราชการจังหวัดนนทบุรี เลี้ยวขวาที่ส่ีแยก
แคราย ขามสะพานพระราม 5 เลี้ยวขวาท่ีส่ีแยก บางสีทอง เขาสูถนนบางกรวย - ไทรนอย เล้ียวขวาไปทาง
ทานาํ้ บางศรีเมือง เลีย้ วซา ยทส่ี ีแ่ ยกบางศรเี มอื ง และเลยี้ วขวา เขา ซอยวดั เฉลมิ พระเกียรติ ดงั ภาพ

38

เรื่องท่ี 2 ประวัติ ความเปนมาวัดเฉลิมพระเกยี รตวิ รวิหาร

วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร เดิมเปนบริเวณปอมเการิมฝงตะวันตกของแมนํ้าเจาพระยาใต
ตลาดขวัญเมืองนนทบุรีเม่ือคร้ังพระบาทสมเด็จพระน่ังเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 3 โปรดใหพระยาพระคลัง
(ดิศ บุนนาค) เปนแมกองสรางวัดข้ึนในบริเวณนั้น เพ่ือเปนการเฉลิมพระเกียรติพระอัยกา พระอัยกี และ
สมเด็จพระราชชนนแี หงพระองค และทรงพระราชทานนามพระอารามแหง นี้วา “วัดเฉลิมพระเกยี รต”ิ
การสรางวัดเฉลิมพระเกียรติ ในสมัยรัชกาลท่ี 3 ยังไมเสร็จสมบูรณ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว
รัชกาลท่ี 4 จึงทรงสรางตอมาเปนการสนองพระมหากรุณาธิคุณนพระบาทสมเด็จพระน่ังเกลาเจาอยูหัว
รัชกาลท่ี 3 โปรดใหพ ระยาทพิ ากรวงศ (ขาํ บนุ นาค) เปนแมก องบรู ณะจนแลวเสร็จทั้งพระอาราม และ
ไดม กี ารบูรณปฎสิ งั ขรณกนั มาเรอ่ื ย ๆ จนถึงปจจบุ นั

วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร มีประวัติความเปนมา พระบาทสมเด็จพระน่ังเกลาเจาอยูหัว
รัชกาลที่ 3 ทรงมีพระราชดําริใหสรางวัดขึ้นในบริเวณปอมเการิมฝงตะวันตกของแมนํ้าเจาพระยาใต
ณ ตลาดขวัญเมืองนนทบุรี ซ่ึงเปนนิวาสถานเดิมแหงพระอัยกาพระอัยกีของพระองค กับท้ังยังเปนที่
ประสูติของสมเด็จพระศรีสุลาไลย พระราชชนนีของพระองคดวย เพื่อเปนการเฉลิมพระเกียรติ
พระอยั กา พระอยั กี และพระราชชนนี ในป พ.ศ. 2390 ในการนีโ้ ปรดเกลาโปรดกระหมอ ม ให
สมเด็จเจา พระยา บรมมหาประยรู วงศ (ดศิ บุนนาค) เมอื่ ครั้งเปนพระยาพระคลังตําแหนง สมุหกลาโหม เปน
แมกองสรางวัด โดยโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหสรางปอมปราการกออิฐถือปูนเปนรูปสี่เหล่ียมรอบวัด
มใี บเสมาทาํ นองเดียวกับกําแพงพระบรมมหาราชวัง พระราชทานนามวา วัดเฉลิมพระเกียรติ
กกกกกกกกลาวโดยสรุป วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร มีประวัติความเปนมา คือ เดิมเปนปอมเการิมฝง
ตะวนั ตกของแมน ้ําเจา พระยา ใตต ลาดขวัญเมอื งนนทบรุ ี คร้งั พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 3
โปรดเกลา โปรดกระหมอมใหพระยาพระคลัง สมเด็จเจาพระยา บรมมหาประยูรวงศ (ดิศ บนุ นาค) เปน แมกอง
สรางวดั ข้นึ ในบริเวณนั้น เพื่อเปน การเฉลิมพระเกยี รตพิ ระอัยกา พระอัยกี และสมเด็จพระศรีสลุ าไลยพระราช
ชนนแี หง พระองค และทรงพระราชทานนามพระอารามแหง นี้วา “วัดเฉลิมพระเกยี รติ”

เร่อื งที่ 3 ความสําคัญของวัดวดั เฉลมิ พระเกียรติวรวิหาร

กกกกกกกวัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร เปนพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร สังกัดคณะสงฆมหานิกาย
ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 24 ไร 3 งาน 22 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขท่ี 156460 ต้ังวัดเมื่อ พ.ศ. 2390 ไดพระราชทาน
วิสงุ คามสีมา เม่ือ พ.ศ. 2394
กกกกกกกวัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร มีความสําคัญ เปนสถานท่ีพักกองทัพเพื่อรอรับการเสด็จพระราช
ดําเนินมาสงทัพของพระมหากษัตริยมาประกอบพิธีกรรมเพ่ือความเปนสวัสดิมงคลของกองทัพในราชการ
สงคราม ต้ังแตสมยั พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา เจา อยหู ัว รัชกาลท่ี 3 ถึงสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา
เจาอยูหวั รชั กาลที่ 5

39

กกกกกกกวัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร มีความสําคัญ เม่ือพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว
รัชกาลท่ี 3 ไดทรงสรางวัดเฉลิมพระเกียรติ พระองคก็ทรงไดสรางปอมปราการเปนลักษณะเดียวกัน
กบั กาํ แพงพระบรมหาราชวงั และปอมปราการแหง นี้ตอมาปรากฏวา ไดเปน ท่ีพักกองทัพเพ่ือประกอบ
พิธกี รรมเมือ่ คราวยกทัพไปทางเหนอื หลายครง้ั เทาที่พบหลักฐานมอี ยู 4 คร้งั คือ
กกกกกกกครั้งทหี่ นึ่ง สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหวั รชั กาลที่ 4 พ.ศ. 2395 เมื่อ
กรมหลวงวงศาธิราชเปนแมทัพยกไปตีเมืองเชียงตุง ไดพักพลรอเสด็จพระราชดําเนินมาสง ณ วัดนี้ ดังปรากฏ
ในจดหมายเหตุเรื่องทัพเมอื งเชยี งตงุ
กกกกกกกคร้ังที่สอง สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 5 พ.ศ. 2418 เมื่อเจาพระยา
ภูธราภัย (นุช บุญยรัตพันธุ) เปนแมทัพ ไปปราบฮอไดเคล่ือนขบวนทัพออกจากกรุงเทพมหานคร มาพักพล
เปลย่ี นขบวนทัพใหมท ่วี ัดน้ี ดังปรากฏในจดหมายเหตเุ ร่ืองเจา พระยา ภูธราภัย ยกทพั ไปปราบฮอ
กกกกกกกคร้ังที่สาม ในป พ.ศ. 2428 เมื่อเจาพระยาสุรศักด์ิมนตรี ครั้งยังเปน จหม่ืนไวยวรนารถ ยกทัพ
ไปปราบฮอ กไ็ ดขน้ึ มาพักพลทีว่ ดั นี้
กกกกกกกคร้ังที่ส่ี ในป พ.ศ. 2430 (จ.ศ. 1249) เจาพระยาสุรศักด์ิมนตรี ไดยกทัพไปปราบฮอ อีกคร้ัง และ
ไดพกั พลท่วี ัดเฉลมิ พระเกียรตแิ หงนีอ้ ีกครงั้ หนึง่
กกกกกกกกลาวโดยสรุป ความสําคัญของวัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร เปนพระอารามหลวงช้ันโท
ชนดิ วรวิหาร สังกดั คณะสงฆม หานิกาย ทด่ี ินต้งั วดั มีเนือ้ ที่ 24 ไร 3 งาน 22 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่
156460 ต้ังวดั เม่ือ พ.ศ. 2390 ไดพระราชทานวสิ ุงคามสมี า เม่ือ พ.ศ. 2394 เปนสถานที่พักกองทัพ
เพ่ือรอรับการเสด็จพระราชดําเนินมาสงทัพของพระมหากษัตริยมาประกอบพิธีกรรมเพ่ือความเปน
สวัสดิมงคลของกองทัพในราชการสงคราม ต้ังแตสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 3
ถึงสมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา อยหู วั รชั กาลที่ 5

เรือ่ งที่ 4 โบราณสถาน โบราณวตั ถุวดั เฉลิมพระเกียรตวิ รวิหาร

กกกกกกก1. โบราณสถานในวัดเฉลมิ พระเกยี รติวรวิหาร
กกกกกกก 1.1 วดั เฉลมิ พระเกยี รตวิ รวหิ าร ทะเบยี นเลขที่ 0000210 ทตี่ งั้ 86 หมู 3 ถนนทา นา้ํ
นนท – วดั โบสถด อนพรหม ตําบลบางศรเี มือง อําเภอเมืองนนทบรุ ี จังหวัดนนทบรุ ี ประกาศวนั ท่ี 13
มกราคม พ.ศ. 2541 เลม 115 ตอนพิเศษ 3 ง หนา 1

40

กกกกกกก 1.2 พระอโุ บสถ

สถาปต กรรมแบบพระราชนยิ มมคี วามกวาง 26 เมตร ยาว 40 เมตร ตั้งอยู
ระหวา งการเปรยี ญหลวงกบั พระวหิ ารหลวงมีกําแพงแกวลอมรอบ ดานเหนือ และดานใตยาวดาน
ละ 100 เมตร ดา นตะวันออกและดา นตะวนั ตกยาวดา นละ 45 เมตร พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกลา
เจา อยูหัวโปรดเกลาโปรดกระหมอม ใหพระยาคลัง (ดิศ บนุ นาค) เปน แมกองกอสรา ง โดยกําหนดฤกษ
กอ สรา งพระอโุ บสถในวนั ข้ึน 13 คา่ํ เดือน 11 ตรงกับวันศุกรที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2390 ปมะแมเวลา 4 โมงเชา

41

กกกกกกก 1.3 พระวิหาร

สถาปต ยกรรมแบบราชนยิ มมักเรียกกนั วา “วิหารพระศลิ าขาว” ตัง้ อยูด านทศิ ใต
ของพระอโุ บสถ มีกําแพงแกว ลอ มรอบเชื่อมตอกบั พระอโุ บสถ ขนาดกวาง 15 เมตร ยาว 24 เมตร
รวมพ้ืนทที่ ้ังหมด 360 ตารางเมตร กําแพงดานทิศเหนือและทิศใต ยาวดานละ 28 เมตร สรางดวย
อิฐถอื ปูนเปน สถาปต ยกรรมแบบเดยี วกบั พระอุโบสถ ภายในประดิษฐานพระศิลาขาว

42

กกกกกกก 1.4 การเปรยี ญหลวง

สถาปตยกรรมแบบพระราชนิยมอยทู างทศิ เหนือของพระอุโบสถ ตดิ กบั เขต
สังฆาวาสมีกาํ แพงแกวลอมรอบเช่ือมตอ กบั พระอโุ บสถ และพระวหิ าร ขนาดความกวาง 16 เมตร
ยาว 24 เมตร กําแพงแกว ดานทิศเหนอื และทิศใตย าวดา นละ 35 เมตร ดานทศิ ตะวนั ออก และ
ทศิ ตะวันตกยาวดา นละ 28 เมตร สถาปตยกรรมแบบเดยี วกับพระวหิ าร และพระอุโบสถ ภายใน
ประดิษฐานพระปฏมิ าชัยวฒั น มพี ทุ ธลักษณะนง่ั ขดั สมาธิเพชร พระหตั ถซา ยจบั พดั ถวายพระพร


Click to View FlipBook Version