The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชางานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by abhichatdotcom, 2019-06-04 02:59:37

หน่วยที่ 1 ระบบความปลอดภัย

วิชางานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น

หน่วยท่ี 1 ระบบความปลอดภยั

ครูอภชิ าติ อนุกลู เวช

22

ใบความรู้

23

ใบความรู้ท่ี 1 สอนคร้ังท่ี 1
รวม 4 ชั่วโมง
รายวชิ า งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกสเ์ บ้อื งตน้ รหสั วชิ า 2100-1003 จานวน 1 ช่ัวโมง
หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วย ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ช่ือเร่ือง ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์

แนวคดิ

ความปลอดภยั เป็ นส่ิงท่ีมีความสาคญั เป็ นอยา่ งยง่ิ โดยเฉพาะความปลอดภยั ในงานไฟฟ้า
และอิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงในชีวติ ประจาวนั ของมนุษยม์ ีความเก่ียวขอ้ งกบั ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ ซ่ึง
อุปกรณ์ทางดา้ นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นสิ่งท่ีอานวยความสะดวก ความสบายเป็ นอยา่ งมาก
ดงั น้ันจึงตอ้ งมีการศึกษาถึงวธิ ีการป้องกนั เพื่อก่อให้เกิดความปลอดภยั ของชีวิตและทรัพยส์ ินใน
งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

สาระการเรียนรู้
1.1 ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
1.2 อนั ตรายของไฟฟ้าตอ่ ร่างกายมนุษย์
1.3 การป้องกนั อนั ตรายทีเ่ กิดจากไฟฟ้า
1.4 หลกั ปฏิบตั เิ พอื่ ความปลอดภยั
1.5 การช่วยเหลือผปู้ ระสบอนั ตรายจากไฟฟ้าดูด
1.6 การปฐมพยาบาลผไู้ ดร้ บั อนั ตรายจากกระแสไฟฟ้าเบ้อื งตน้

24

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป
เพอื่ ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์
จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
เม่ือผเู้ รียน เรียนจบหน่วยการเรียนน้ีแลว้ มีความสามารถดงั ตอ่ ไปน้ี
ด้านพุทธิพสิ ัย
1. อธิบายระบบความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ได้
2. อธิบายวธิ ีการป้องกนั อนั ตราย ที่เกิดจากไฟฟ้าได้
3. อธิบายขอ้ ควรปฏิบตั ิในการทางานเพอื่ ป้องกนั อนั ตรายทเี่ กิดจากไฟฟ้าและ

อิเลก็ ทรอนิกสไ์ ด้
4. อธิบายวิธีการช่วยเหลือผปู้ ระสบอนั ตรายจากกระแสไฟฟ้าได้
5. อธิบายวธิ ีการปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ แก่ผไู้ ดร้ บั อนั ตรายจากกระแสไฟฟ้าได้
6. ประยกุ ตใ์ ชง้ านระบบความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกสใ์ น

ชีวติ ประจาวนั ได้

25

ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์

ความปลอดภยั เป็นส่ิงจาเป็นอยา่ งยง่ิ ในการทางานโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ความปลอดภยั ในงาน
ไฟฟ้า ซ่ึงไฟฟ้าเป็ นพลงั งานชนิดหน่ึง จะมีท้งั คุณและโทษในเวลาเดียวกนั หากใชไ้ ดอ้ ย่างถูกวิธี
จะเกิดประโยชน์มหาศาล แต่ถา้ หากใชไ้ ม่ถูกวธิ ีจะทาให้เกิดโทษอยา่ งมหาศาล จะทาใหเ้ กิดความ
เสียหายถึงชีวติ และทรัพยส์ ิน เช่น การเกิดไฟฟ้าดูดหรือไฟฟ้าซ๊อต ปริมาณของกระแสไฟฟ้าที่
ไหลผา่ นทางร่างกายแตกตา่ งกนั ทาใหเ้ กิดอนั ตรายน้อย แต่ถา้ หากกระแสไฟฟ้าไหลผา่ นมากจะทา
ใหเ้ ป็นอนั ตรายมาก อาจมีผลถึงทาใหเ้ สียชีวติ ได้

การปฏิบตั ิงานทางด้านไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ท่ีปลอดภยั ผูใ้ ช้ไฟฟ้าจะตอ้ งทราบและ
เขา้ ใจถึงคุณสมบตั ิทางไฟฟ้า ตอ้ งระมดั ระวงั ไม่ประมาท ทางานอยา่ งเป็ นระบบรอบคอบคานึงถึง
ความปลอดภยั ในขณะทางาน

ดงั น้ันการช่วยเหลือผูป้ ระสบอันตรายหรืออุบตั ิเหตุจากไฟฟ้าจึงเป็ นส่ิงที่มีความจาเป็ น
ตอ้ งกระทาอย่างถูกวิธี รวดเร็ว รอบคอบ และระมัดระวงั ทาให้ผูป้ ระสบอนั ตรายมีโอกาสรอดพน้
อนั ตรายและชีวติ ได้

1.1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์
การทางานเกี่ยวกบั ระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ถา้ ขาดความระมดั ระวงั จะทาใหไ้ ดร้ ับ

อนั ตราย และเกิดความเสียหายได้ เนื่องจากร่างกาย ส่วนใดส่วนหน่ึง เขา้ ไปสัมผสั กบั วงจรไฟฟ้า
คุณสมบตั ิของไฟฟ้าโดยทวั่ ไป จะพยายามไหลและแทรกซึมเขา้ หาสื่อตวั นาต่าง ๆ เช่น โลหะ ดิน
น้าเป็นตน้ เมื่อร่างกายของเราเขา้ ไปสมั ผสั จะทาใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลผา่ นตวั เราเขา้ สู่พน้ื ดินหรือน้า

กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านร่างกาย แมจ้ ะมีปริมาณเพยี งเล็กน้อยก็อาจจะทาให้ไดร้ ับอนั ตราย
ได้ ในกรณีที่กระแสไฟฟ้าไหลผา่ นอวยั วะท่ีสาคญั ของร่างกาย สาเหตุท่ีทาใหไ้ ดร้ ับอนั ตรายจาก
ไฟฟ้าแบง่ เป็น 2 กรณีคือ

1. กระแสไฟฟ้าไหลเกิน เป็นสาเหตุท่ีทาใหอ้ ุปกรณ์ไฟฟ้าหรือทรัพยส์ ินอื่นเกิดเสียหาย
2. ไฟฟ้าดูด เป็นสาเหตุท่ีทาให้เกิดอนั ตรายกบั มนุษยถ์ ึงข้นั เสียชีวติ ได้
1.1.1 กระแสไฟฟ้าไหลเกิน (Over Current)
กระแสไฟฟ้าไหลเกิน หมายถึง สภาวะของกระแสทไี่ หลผา่ นตวั นาจนเกินพกิ ดั ที่กาหนดไว้
อาจเกิดได้ 2 ลกั ษณะดว้ ยกนั คือ

26

1. โหลดเกิน (Over Load) หมายถึง กระแสไหลในวงจรปกติ แต่นาอุปกรณ์ที่
กินกาลงั ไฟสูงหลาย ๆ ชุดมาต่อในจุดเดียวกนั ทาให้กระแสไหลรวมกนั เกินกว่าที่จะทนรับภาระ
ของโหลดได้ เช่น นาเอาอุปกรณ์มาต่อท่จี ุดต่อเดียวกนั ของเตา้ รับหลายทางแยก

2. การลดั วงจร (Short Circuit) หรือเรียกกนั ทวั่ ๆ ไปวา่ ไฟฟ้าช็อต เกิดจากฉนวน
ชารุด ทาให้เกิดสายท่ีมีไฟ (Line) และสายดิน (Ground) สัมผสั ถึงกัน มีผลทาให้เกิดความร้อน
ฉนวนทหี่ ่อหุม้ ลวดตวั นาจะลุกไหมใ้ นท่สี ุด

1.1.2 ไฟฟ้าดูด (Electric Shock)
ไฟฟ้าดูด คือการท่ีมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายของมนุษย์ โดยบางส่วนของร่างกาย
จะมีสภาพเป็นตวั นาไฟฟ้า โดยเฉพาะขณะที่ส่วนหน่ึงส่วนใดของร่างกายมนุษยส์ ัมผสั อยกู่ บั พ้ืนน้า
พ้นื ดิน พ้ืนปูน หรือโลหะท่ีต่อถึงพ้ืนดินพ้ืนน้า กระแสสามารถไหลผ่านร่างกายลงสู่พ้ืนน้าหรือ
พ้นื ดินไดส้ ะดวก และกรณีท่ีร่างกายมนุษยส์ มั ผสั ถูกสายไฟฟ้าพร้อมกนั มากกวา่ หน่ึงเส้น ร่างกาย
มนุษยจ์ ะกลายเป็ นภาระหรือโหลด (Load) ไฟฟ้าแทนเครื่องใช้ไฟฟ้า ทาให้เกิดกระแสไหลผา่ น
ร่างกาย เรียกการเกิดลกั ษณะน้ีวา่ ไฟฟ้าดูดหรือไฟฟ้าชอ็ ต

รูปท่ี 1.1 แสดงลกั ษณะของการถูกไฟฟ้าดูด
ทม่ี า : http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/unit01.html

1.2 อนั ตรายของไฟฟ้าต่อร่างกายมนุษย์
ไฟฟ้าเป็ นพลงั งานที่สามารถเปลี่ยนรูปไดโ้ ดยอาศยั แรงดนั และกระแสไฟฟ้า เพื่อจ่ายให้

อุปกรณ์ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ ไฟฟ้าเคล่ือนท่ีได้ดีในวตั ถุตัวนาจาพวกโลหะต่าง ๆ เช่น
ทองแดง เงิน เหล็ก ตะกวั่ และอะลูมิเนียม เป็ นตน้ ไฟฟ้าไม่สามารถเคล่ือนที่ไดใ้ นวตั ถุท่ีเป็ น
ฉนวน เช่น พลาสติก ยาง แกว้ ไม้ และเซรามิก เป็นตน้ ไฟฟ้าเป็ นส่ิงท่ีมองไม่เห็น ดงั น้นั ในการ
ทดสอบจงึ ตอ้ งใชเ้ ครื่องมือวดั ไฟฟ้าในการวดั และตรวจสอบ

27

ร่างกายมนุษยเ์ ป็ นตวั นาไฟฟ้าเช่นเดียวกบั ตวั นาไฟฟ้าสามารถใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลผา่ น
ร่างกายไปไดอ้ ยา่ งสะดวก ดงั น้ันจึงควรระมดั ระวงั ไม่ใหร้ ่างกายทกุ ส่วนสมั ผสั ถูกตวั นาไฟฟ้าทีต่ ่อ
อยกู่ บั แหล่งกาเนิดไฟฟ้า หรือในขณะท่ีมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตวั นาไฟฟ้าน้นั โดยเฉพาะขณะที่
ส่วนหน่ึงส่วนใดของร่างกายมนุษยส์ มั ผสั อยกู่ บั พ้นื น้า พ้ืนดิน พ้ืนปูน หรือโลหะท่ีต่อถึงพ้นื ดิน
พ้ืนน้า กระแสไฟฟ้าสามารถไหลผ่านร่างกายสู่พ้ืนน้าหรือพ้ืนดินไดส้ ะดวก และกรณีท่ีร่างกาย
มนุษยส์ ัมผสั ถูกสายไฟฟ้าพร้อมกนั มากกว่าหน่ึงเส้น ร่างกายมนุษยจ์ ะกลายเป็ นภาระหรือโหลด
(Load) ไฟฟ้าแทนเคร่ืองใช้ไฟฟ้า เกิดกระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกาย เรียกการเกิดลักษณะน้ีว่า
ไฟฟ้าดูดหรือไฟฟ้าชอ็ ต

รูปท่ี 1.2 การเกิดไฟฟ้าดูดหรือไฟฟ้าช็อต
ทม่ี า : http://www.thaibodyguard.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538682935

อนั ตรายของไฟฟ้าต่อร่างกายมนุษย์ คืออาจทาให้เกิดการบาดเจบ็ เกิดการสูญเสียอวยั วะ
หรืออาจถึงเสียชีวิตได้ อนั ตรายที่เกิดข้ึนจะมากหรือน้อยข้ึนอยูก่ ับขนาดของกระแสที่ไหลผ่าน
ร่างกายไป กระแสปกติวดั ออกมามีหน่วยเป็ นแอมแปร์ (A) หรือหน่วยเล็กลงมาเป็ นมิลลิแอมแปร์
(mA) และไมโครแอมแปร์ (µA) โดยที่แรงดนั จะเป็ นเทา่ ไรก็ตาม ปกติแรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั ท่ี
ใชต้ ามบา้ นเรือนมีค่า 220 โวลต์ กระแสไฟฟ้าจานวนน้อยเป็ นอนั ตรายน้อยกระแสไฟฟ้าจานวน
มากเป็ นอนั ตรายมาก และระยะเวลาของกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านร่างกายก็มีผลต่ออนั ตรายที่
เกิดข้นึ เวลาท่ีกระแสไหลผา่ นนอ้ ยเป็นอนั ตรายนอ้ ย เวลาทีก่ ระแสไฟฟ้าไหลผา่ นมากเป็ นอนั ตรายมาก
เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายมนุษย์ ส่งผลใหเ้ กิดอาการเกร็งของกลา้ มเน้ือ ทาให้ไม่สามารถ
เคลื่อนไหวหรือด้ินรนให้หลุดพน้ จากการถูกไฟฟ้าดูดได้ ความสัมพนั ธ์ของกระแสไฟฟ้ากับ
ปฏกิ ิริยาทเี่ กิดข้ึนตอ่ ร่างกายมนุษย์

28

ตารางที่ 1.1 ความสมั พนั ธข์ องกระแสกบั ปฏิกิริยาทเี่ กิดข้ึนตอ่ ร่างกายมนุษย์

ปริมาณกระแสไหลผ่านร่างกาย ปฏิกิริยาที่เกิดขนึ้
มนุษย์เป็ นมิลลแิ อมแปร์ (mA)

นอ้ ยกวา่ 0.5  ไม่เกิดความรู้สึก

0.5 – 2  เร่ิมเกิดความรู้สึก กลา้ มเน้ือกระตกุ เลก็ นอ้ ย

2 - 10  กลา้ มเน้ือหดตวั กระตุกปานกลาง ถึงกระตกุ รุนแรง

10 – 25  เจบ็ ปวดกลา้ มเน้ือ เกร็ง ไม่สามารถขยบั เขยอ้ื นได้

25 – 50  กลา้ มเน้ือเกร็ง กระตุกรุนแรง

50 – 100  หวั ใจเตน้ ผดิ ปกติ เตน้ ถี่รัว และอาจเสียชีวติ

มากกวา่ 100  หวั ใจหยดุ เตน้ เน้ือหนงั ไหม้

1.3 การป้องกันอนั ตรายทีเ่ กิดจากไฟฟ้า
วธิ ีป้องกนั ไม่ใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกาย คือ ใชฉ้ นวนทีก่ ระแสไฟฟ้าไหลผา่ นไดย้ าก

เช่น การสวมถุงมือยาง รองเทา้ ยาง หรือการต่อสายดิน เป็ นตน้ ในปัจจุบนั มีผคู้ ิดคน้ ระบบป้องกนั
อันตรายท่ีเกิดจากไฟฟ้า เพื่อใชใ้ นการคุม้ ครองชีวิต และทรัพยส์ ินมากมาย เช่น การต่อสายดิน
เซฟต้ีคทั แอคคิวคทั ฟิ วส์ เซอร์กิตเบรคเกอร์ อุปกรณ์จะถูกตดิ ต้งั บริเวณตน้ ทางของวงจรไฟฟ้า
เพอ่ื ป้องกนั มิใหเ้ กิดการลดั วงจร การเลือกขนาดของฟิ วสแ์ ละเซอร์กิตเบรคเกอร์ควรสูงกวา่ โหลดที่
ใชแ้ ตไ่ ม่เกินพกิ ดั ของสายไฟฟ้าเพราะอาจทาใหส้ ายเกิดการชารุดเสียหายได้

ระบบการป้องกันทางไฟฟ้า คือ ระบบการป้องกันที่ไม่ให้แรงดันไฟฟ้าเกินค่าสูงสุด ซ่ึง
เป็ นแรงดนั ที่ยอมให้มนุษยส์ ัมผสั ไดโ้ ดยตรง (แรงดนั ไม่เกิน 65 โวลต)์ อยา่ งไรก็ตามแรงดนั ไฟฟ้า
ระดบั น้ี จะก่อใหเ้ กิดอนั ตรายไดห้ รือไม่ ข้ึนอยกู่ บั สภาพความตา้ นทานไฟฟ้า ของแตล่ ะบุคคล ซ่ึง
โดยปกติ ค่าความตา้ นทานของมนุษย์ มีค่าอยรู่ ะหว่าง 1,000 - 4,000 โอห์ม ดงั น้นั เราสามารถหา
กระแสไฟฟ้า ทีไ่ หลผา่ นตวั มนุษยไ์ ดจ้ ากสูตร

กระแสไฟฟ้า = แรงดนั ตกคร่อมตวั มนุษย์
ความตา้ นทานตวั มนุษย์

เช่น กระแสไฟฟ้า = 65 โวลต์
4000 โอหม์

 กระแสไฟฟ้า = 16.25 มิลลิแอมป์

29

ในกรณีทร่ี ่างกายเปี ยกช้ืนจะมีค่าความตา้ นทานประมาณ 1,300 โอห์ม จะหาค่ากระแสไฟฟ้า
ท่ไี หลผา่ นร่างกายไดด้ งั น้ีคอื

กระแสไฟฟ้า = แรงดนั ตกคร่อมตวั มนุษย์
เช่น กระแสไฟฟ้า = ความตา้ นทานตวั มนุษย์

65 โวลต์
1300 โอหม์

 กระแสไฟฟ้า = 50 มิลลิแอมป์

ถา้ ศึกษาจากตารางที่ 1.1 จะเห็นไดว้ า่ ในกรณีทกี่ ระแสไฟฟ้าไหลผา่ นร่างกายมนุษย์ จานวน
50 มิลลิแอมป์ ถือวา่ อนั ตรายมาก ซ่ึงอาจทาใหห้ วั ใจเตน้ ผดิ ปกติ เตน้ ถี่รัว และอาจเสียชีวิตได้

รูปที่ 1.4 แสดงกระแสไฟฟ้าไหลผา่ นร่างกายมนุษย์
ทม่ี า : http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/unit01.html

1.4 หลกั ปฏิบตั เิ พื่อความปลอดภัย
การปฏิบตั ิงานทางดา้ นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์จะตอ้ งมีความระมดั ระวงั อยา่ งมาก และ

ตอ้ งม่ันใจว่าเกิดความปลอดภยั ขณะปฏิบตั ิงานตอ้ งมีอุปกรณ์อานวยความสะดวกและอุปกรณ์
ป้องกนั อนั ตรายอยา่ งเพียงพอ ตอ้ งปฏิบัติงานให้ถูกข้นั ตอน ทางานอยา่ งเป็ นระบบและมีความ
รอบคอบ หลกั การปฏบิ ตั งิ านทางดา้ นไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ที่ปลอดภยั มีดงั น้ี

1.4.1 การปฏิบตั ิงานทางดา้ นไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกสท์ ่ีปลอดภยั
1) ควรคานึงถึงกฎแห่งความปลอดภยั ขณะทางานหรือซ่อมบารุงเครื่องใช้และ

อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ทุกคร้ัง และอยา่ ทางานดว้ ยความประมาท

30
2) ก่อนการปฏบิ ตั งิ านเก่ียวกบั ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ ใหค้ ดิ อยเู่ สมอวา่ อุปกรณ์
ไฟฟ้าเหล่าน้นั มีกระแสไฟฟ้าจ่ายอยู่ ตอ้ งตรวจสอบจนแน่ใจวา่ ไม่มีไฟฟ้าจ่ายไปยงั อุปกรณ์น้นั ๆ
เช่น ถอดเตา้ เสียบ ปลดสวติ ช์ เป็นตน้

รูปที่ 1.5 การตดั กระแสไฟฟ้าก่อนลงมอื ซ่อม
ทม่ี า : http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/unit01.html

3) การปฏบิ ตั งิ านเกี่ยวกบั ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ เร่ืองใด จะตอ้ งมีความรู้ความ
เขา้ ใจในเรื่องน้นั ก่อนการปฏบิ ตั งิ าน ถา้ ขาดความรู้ดา้ นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ไมค่ วรซ่อมและ
แกไ้ ขอุปกรณ์ดงั กล่าวดว้ ยตวั เอง เพราะอาจทาใหถ้ ูกกระแสไฟฟ้าดูด เกิดอนั ตรายได้

รูปท่ี 1.6 ไม่ควรซ่อมและแกไ้ ขอุปกรณ์ไฟฟ้าถา้ ไม่มีความรู้
ทีม่ า : http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/unit01.html

31
4) เตา้ รับและเตา้ เสียบของเครื่องใชไ้ ฟฟ้า หากพบว่าแตกชารุดใหร้ ีบเปล่ียนใหม่
โดยเร็ว และหากพบวา่ สายไฟฟ้าของเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าเปื่ อย ชารุด ให้ทาการเปล่ียนหรือซ่อมแซมให้
สมบรู ณ์

เตา้ รบั แตกชารุด

รูปท่ี 1.7 เปล่ียนเตา้ รบั และเตา้ เสียบที่ชารุด
ทีม่ า : http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/unit01.html

5) อยา่ ปฎิบตั งิ านเม่ือรู้สึกอ่อนเพลีย เหนื่อย หรือรบั ประทานยาทาใหง้ ่วงนอน
6) อยา่ ปฏิบตั ิงานในขณะร่างกายเปี ยกช้ืน เช่น มือ เทา้ เปี ยก หรือยนื อยบู่ นพ้ืนที่
เปี ยกน้า ไม่ควรแตะตอ้ งอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เพราะหากอุปกรณ์ดงั กล่าวชารุดหรือมี
ไฟรว่ั จะทาใหถ้ ูกกระแสไฟฟ้าดูดและอาจเสียชีวติ ได้

รูปท่ี 1.8 เม่ือร่างกายเปี ยกช้ืนไม่ควรสมั ผสั อุปกรณ์ไฟฟ้า
ทมี่ า : http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/unit01.html

7) ถา้ จาเป็ นตอ้ งปฏิบตั ิงานในที่มีคนพลุกพล่าน หรือมีการปฏิบตั ิงานอ่ืน ๆ ร่วมดว้ ย
ตอ้ งแขวนป้ายหรือเขยี นป้ายแสดงการงดใชไ้ ฟฟ้าไวใ้ หม้ องเห็นชดั เจนทกุ คร้งั ก่อนเริ่มการปฏบิ ตั ิงาน

8) ถา้ จาเป็ นตอ้ งปฏิบตั ิงานในท่ี ๆ ไม่สามารถตดั ไฟออกได้ ตอ้ งก้นั บริเวณหรือ
ป้องกนั ไม่ใหผ้ ไู้ ม่เก่ียวขอ้ งเขา้ ใกลไ้ ด้

32

9) การปฏิบตั งิ านถา้ มีการละงานไปชว่ั คราว เช่น พกั เทยี่ ง เมื่อกลบั มาปฏิบตั งิ านต่อ
จะตอ้ งตรวจสอบคตั เอาต์ เซอร์กิตเบรคเกอร์ ตลอดจนเครื่องหมายต่าง ๆ ท่ีทาไว้ จะตอ้ งอยูใ่ น
สภาพเดิมก่อนปฏิบตั ิงานต่อไป

10) การปฏบิ ตั งิ านแต่ละคร้ัง ควรมีผรู้ ่วมปฏบิ ตั กิ ารดว้ ยอยา่ งนอ้ ย 2 คน
11) การปฏิบตั ิงานเกี่ยวกบั ไฟฟ้าแรงสูง ควรใชเ้ ครื่องช่วยป้องกนั ไฟฟ้าใหม้ ากข้ึน
กว่าปกติ เช่น ใช้เสื่อยางฉนวนปูพ้ืน สวมถุงมือฉนวน และปลอกแขนฉนวน เป็ นตน้ ก่อนการ
ปฏิบตั งิ านทุกคร้ัง
1.4.2 การปฏิบตั งิ านทางดา้ นการซ่อมบารุงเกี่ยวกบั ไฟฟ้า
การที่จะทาหน้าท่ีซ่อมบารุงเกี่ยวกบั ไฟฟ้าได้ ตอ้ งเป็ นผมู้ ีความรู้ทางไฟฟ้า เป็ นคนรอบคอบ
ช่างสังเกต ตอ้ งตรวจตราอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ เป็ นประจา มีตารางกาหนดการซ่อมบารุงเก่ียวกับ
ไฟฟ้าที่เเน่นอน ขณะปฏิบตั ิงานซ่อมบารุงไฟฟ้าตอ้ งแจง้ ให้ผูร้ ่วมงานงานคนอ่ืน ๆ รู้อย่างทวั่ ถึง
มีการติดป้ายการซ่อมบารุงให้เห็นชดั เจน พร้อมกบั กาหนดเวลาที่แน่นอน และขณะปฏิบตั ิงาน
ไม่ควรปฏงิ านคนเดียว หลกั การปฏิบตั ิงานดา้ นการซ่อมบารุงเกี่ยวกบั ไฟฟ้า มีดงั น้ี
1) การตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า ควรใชเ้ ครื่องมือทดสอบ และ
เครื่องมือต่าง ๆ อยา่ งถูกหอ้ ง
2) เคร่ืองมือช่างทน่ี ามาใชง้ าน ตอ้ งอยใู่ นสภาพปกติ ไม่ชารุดบกพร่อง และท่ีดา้ มจบั
ของเคร่ืองมือช่างเหล่าน้นั ตอ้ งมีฉนวนหุม้
3) การซ่อมบารุงอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดใด ตอ้ งรู้และเขา้ ใจ
การทางานและวงจรไฟฟ้าเหล่าน้นั เป็ นอยา่ งดี
4) ขณะทาการซ่อมบารุงเก่ียวกบั ไฟฟ้าไม่ควรใส่เครื่องประดบั ต่าง ๆ ที่เป็ นสื่อไฟฟ้า
เช่น สร้อยคอ แหวน และสรอ้ ยขอ้ มือ เป็นตน้ และควรสวมใส่เคร่ืองป้องกนั ไฟฟ้าตา่ ง ๆ ใหร้ ัดกมุ
5) การเปล่ียนอุปกรณ์ใหม่ทกุ คร้ังควรใชอ้ ะไหล่ท่เี ช่ือถือไดเ้ เละมีมาตรฐาน
6) การเปลี่ยนฟิวส์ อยา่ ใชฟ้ ิวส์ทม่ี ีขนาดใหญ่เกินความจาเป็ น และหา้ มใชล้ วดทองแดง
ใส่แทนฟิ วส์

33

รูปที่ 1.9 เปลี่ยนฟิ วสใ์ หถ้ ูกขนาดและเหมาะสม
ที่มา : http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/unit01.html

7) อุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเครื่องใชไ้ ฟฟ้าใด เมื่อตรวจสอบแลว้ ทราบวา่ มีการชารุดเสียหาย
หากยงั ไม่ทาการซ่อมบารุง ควรตดิ ป้ายแจง้ บอกใหช้ ดั เจน

8) เตา้ เสียบ เตา้ รับ และเซอร์กิตเบรคเกอร์ หากพบวา่ แตกชารุดใหร้ ีบเปลี่ยนใหม่
โดยเร็ว อยา่ ใชส้ ายไฟฟ้าเสียบท่ีเตา้ รับโดยตรง หรือใชเ้ ตา้ เสียบท่ีแตกชารุด ไปเสียบที่เตา้ รับ เพราะ
อาจเกิดกระแสไฟฟ้าลดั วงจร หรืออาจพล้งั พลาดถูกกระแสไฟฟ้าดูดได้

เตา้ รับที่แตกชารุด

เตา้ เสียบท่ีชารุด

รูปท่ี 1.10 ไม่ควรใชเ้ ตา้ รับและเตา้ เสียบทแี่ ตกชารุด
ที่มา : http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/unit01.html

9) การซ่อมแซมหรือเปล่ียนแปลงอุปกรณ์ไฟฟ้า หรือเครื่องใชไ้ ฟฟ้าทุกคร้ัง
ควรตดั กระแสไฟฟ้าออกกอ่ น เเละแขวนป้ายงดใชไ้ ฟฟ้าใหเ้ ห็นชดั เจน

10) อุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเครื่องใชไ้ ฟฟ้าทเี่ ปี ยกน้าหรือช้ืน ก่อนทาการซ่อมแซมควร
ทาใหแ้ หง้ สนิดเสียก่อน

34

11) การใชน้ ้ามนั ประเภทไวไฟลา้ งอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า ก่อนการนา
อุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเครื่องใชไ้ ฟฟ้าไปใชง้ าน ควรทาใหน้ ้ามนั ทต่ี กคา้ งอยแู่ หง้ สนิทเสียก่อน

12) การใชอ้ ุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าตอ้ งใชใ้ ห้ถูกวธิ ี หากใชผ้ ิดวธิ ีหรือใช้
ผดิ ไปจากปกดิ อาจเป็นเหตทุ าใหเ้ กิดเพลิงไหมไ้ ด้

1.5 การช่วยเหลือผู้ประสบอนั ตรายจากไฟฟ้าดดู
การช่วยเหลือผูป้ ระสบอันตรายจากกระแสไฟฟ้านับเป็ นสิ่งจาเป็ นและสาคญั อย่างย่ิง

ท่ีควรกระทาอยา่ งถูกวธิ ี และระมดั ระวงั เพื่อให้ผูป้ ระสบอนั ตรายมีโอกาสรอดพน้ จากอันตราย
ข้นั รา้ ยแรง และผใู้ หค้ วามช่วยเหลือมีความปลอดภยั ไม่เกิดอนั ตรายตามไปดว้ ย ในกรณีที่พบเห็นผู้
ถูกกระแสไฟฟ้าดูด จะตอ้ งช่วยเหลือใหถ้ ูกวิธีและรวดเร็ว หลงั จากน้ันให้ทาการปฐมพยาบาลและ
ช่วยเหลือก่อนนาส่งโรงพยาบาล โดยใหป้ ฏิบตั ิตามข้นั ตอนดงั น้ีคือ

1. หากพบผูถ้ ูกกระแสไฟฟ้าดูดอยา่ ใช้มือเปล่าแตะตอ้ งตวั ผูท้ ่ีกาลังติดอยู่กบั สายไฟฟ้า
หรือตวั นาไฟฟ้าท่ีมีกระแสไหลผา่ น เพอื่ ป้องกนั ไม่ใหผ้ ใู้ หค้ วามช่วยเหลือเกิดอนั ตรายไปดว้ ย

2. ใหต้ ดั การจ่ายไฟ เช่น คตั เอาต์ เพอ่ื ตดั ไฟ ถา้ ทาไม่ไดใ้ หใ้ ชว้ ตั ถุท่ีไม่เป็ นสื่อไฟฟ้า เช่น
ผา้ เชือก สายยาง ไมแ้ ห้ง หรือพลาสติกที่แหง้ สนิท เขย่ี สายไฟให้หลุดออกจากตวั ผปู้ ระสบอนั ตราย
หรือลากตวั ผปู้ ระสบอนั ตรายใหพ้ น้ จากส่ิงทม่ี ีกระแสไฟฟ้า

รูปท่ี 1.11 ตดั การจ่ายกระแสไฟโดยการยกคตั เอาตล์ ง
ท่ีมา : http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/unit01.html

35
ผา้ แหง้

รูปท่ี 1.12 ใชผ้ า้ แหง้ คลอ้ งผถู้ ูกกระแสไฟฟ้าดูด
ท่มี า : http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/unit01.html

ไมแ้ หง้
รูปท่ี 1.13 ใชไ้ มแ้ หง้ เขี่ยอุปกรณ์ไฟฟ้าใหพ้ น้ จากตวั ผปู้ ระสบอนั ตราย
ท่ีมา : http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/unit01.html
3. เม่ือไม่สามารถทาวธิ ีอื่นใดไดแ้ ลว้ ใหใ้ ชม้ ีด ขวาน หรือของมีคมที่มีดา้ มเป็นไมห้ รือ
ดา้ มเป็นฉนวน ฟันสายไฟฟ้าใหข้ าดหลุดออกจากผปู้ ระสบภยั โดนเร็วทส่ี ุด และตอ้ งแน่ใจวา่
สามารถ ทางานไดด้ ว้ ยความปลอดภยั
4. อยา่ ลงไปในน้า กรณีทมี่ ีกระแสไฟฟ้าอยใู่ นบริเวณทมี่ ีน้าขงั ใหห้ าทางเขี่ยสายไฟฟ้า
ออกไปใหพ้ น้ น้า หรือตดั กระแสไฟออกก่อนจึงจะลงไปช่วยผปู้ ระสบอนั ตรายทีอ่ ยใู่ นบริเวณน้นั
5. หากเป็นสายไฟฟ้าแรงสูงใหพ้ ยายามหลีกเลี่ยง แลว้ รีบแจง้ การไฟฟ้าท่ีรับผดิ ชอบ
โดยเร็วท่สี ุด

36

1.6 การปฐมพยาบาลผู้ได้รับอนั ตรายจากกระแสไฟฟ้าเบื้องต้น
กระแสไฟฟ้าจะทาอันตรายมนุษย์ โดยมีผลต่อระบบประสาทและกล้ามเน้ือ ซ่ึงหาก

กระแสไฟฟ้าไหลผา่ นร่างกายจานวนมากและนานพอ ก็อาจทาให้ผปู้ ระสบภยั เสียชีวิตได้ เมื่อพบ
เห็นผถู้ ูกไฟฟ้าดูด ใหด้ าเนินการช่วยเหลือดงั น้ี

1.6.1 การปฐมพยาบาลผทู้ ถี่ ูกไฟฟ้าลดั วงจร
ผปู้ ระสบอนั ตรายจากกระแสไฟฟ้าดูดถา้ หากหมดสติไม่รูส้ ึกตวั หวั ใจหยดุ เตน้ และไม่หายใจ
สงั เกตไดจ้ ากอาการที่เกิดข้ึนดงั น้ี ริมฝีปากเขียว สีหนา้ ซีดเขียวคล้า ทรวงอกเคลื่อนไหว นอ้ ยมาก
หรือไม่เคล่ือนไหว ชีพจรเตน้ ชา้ และเบามาก หากหวั ใจหยดุ เตน้ จาคลาชีพจรไม่พบ ม่านตาขยายคา้ ง
ไม่หดเล็กลง หากหมดสติตอ้ งรีบใหก้ ารปฐมพยาบาลทนั ที เพ่ือใหป้ อดและหวั ใจทางาน โดยวธิ ีการ
ผายปอดดว้ ยการให้ลมหายใจทางปาก ร่วมกบั การนวดหัวใจก่อนนาผปู้ ่ วยสงแพทย์ การปฏิบตั ิมี
ข้นั ตอนดงั น้ี
วธิ ีการผายปอดด้วยวิธปี ากต่อปาก

1) ใหผ้ ปู้ ่ วยนอนราบ จดั ท่าทเี่ หมาะสมเพอ่ื เปิ ดทางใหอ้ ากาศเขา้ สู่ปอดไดส้ ะดวก
โดยใหผ้ ปู้ ฐมพยาบาลอยทู่ างดา้ นขวาหรือดา้ นซา้ ยบริเวณศีรษะของผปู้ ่ วย

รูปท่ี 1.14 ผปู้ ่ วยนอนหงาย
ท่มี า : http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/unit01.html

2) ใชม้ ือขา้ งหน่ึงดึงคางผูป้ ่ วยหรือดนั ใตค้ อพร้อมกบั ใชม้ ืออีกขา้ งดนั หน้าผาก
ให้หนา้ แหงน เป็ นวิธีป้องกนั ไม่ใหล้ ้ินตกไปอุดทางเดินใจหายใจ และตอ้ งระวงั ไม่ใหน้ ้ิวมือท่ีดึง
คางน้ันกดลึกลงไปในส่วนของเน้ือใตค้ าง เพราะจะทาใหอ้ ุดก้นั ทางเดินหายใจได้ โดยเฉพาะอยา่ ง
ยง่ิ ในเด็กเล็ก สาหรบั ในเดก็ แรกเกิด ไม่ควรควรหงายคอมากเกินไป เพราะอาจทาให้หลอดลมแฟบ
และอุดตนั ทางเดินหายใจได้

37

รูปที่ 1.15 วางผปู้ ่ วยใหน้ อนหงายแลว้ ชอ้ นคอใหแ้ หงนข้ึน
ที่มา : http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/unit01.html

3) สอดนิ้วหวั แม่มือเขา้ ไปในปากผปู้ ่ วย จบั ขากรรไกรล่างยกข้นึ จนปากอา้ ออก
4) ลว้ งเอาสิ่งอ่ืน ๆ ท่ีอาจตดิ คา้ งอยใู่ นปากและลาคอออกใหห้ มด เช่น ฟันปลอม
เศษอาหาร เป็นตน้ เพอ่ื ไม่ใหข้ วางทางลม

รูปที่ 1.16 สงั เกตวา่ ในช่องปากมีสิ่งอุดตนั หลอดลมหรือไม่
ทีม่ า : http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/unit01.html

5) ผปู้ ฐมพยาบาลอา้ ปากให้กวา้ งหายใจเขา้ ปอดเตม็ ท่ี มือขา้ งหน่ึงบีบจมูกผปู้ ่ วย
ใหแ้ น่นสนิท ในขณะที่มืออีกขา้ งหน่ึงยงั ดึงคางผปู้ วยอยู่ แลว้ จึงประกบปากปิ ดปากผูป้ ่ วยใหส้ นิท
พร้อมกบั เป่ าลมเขา้ ไปเป็ นจงั หวะ ๆ ประมาณ 12 - 15 คร้งั /นาที ในเด็กเล็กประมาณ 20 - 30 คร้ัง/นาที
หรือใชช้ ุดอุปกรณ์สาหรับการปฐมพยาบาล ซ่ึงไม่ทาให้ปากของผูช้ ่วยเหลือสัมผสั กับปากของ
ผปู้ ่ วย เป็นการป้องกนั การตดิ ต่อของเช้ือโรค

38

รูปที่ 1.17 ประกบปากปิ ดปากผปู้ ่ วยใหส้ นิท
ท่มี า : http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/unit01.html

6) ขณะทาการเป่ าปาก ตาตอ้ งเหลือบดูดว้ ยว่าหน้าอกผูป้ ่ วยมีอาการขยายข้ึนลง
หรือไม่หากไม่มีการกระเพื่อมข้ึนลงอาจเป็ นเพราะท่านอนไม่ดีหรือมีสิ่งกีดขวางทางเดินหายใจ
ซ่ึงตอ้ งรีบแกไ้ ขจดั ทา่ ใหม่ และอยา่ ใหม้ ีส่ิงกีดขวางทางเดินหายใจ

7) ถา้ ไม่สามารถอา้ ปากของผปู้ ่ วยได้ ใหใ้ ชม้ ือปิ ดปากผปู้ ่ วยให้สนิท และทาการ
เป่ าลมเขา้ ทางจมูกแทน โดยใชว้ ธิ ีปฏบิ ตั ิทานองเดียวกบั การเป่ าปาก

8) ขณะนาผปู้ ่ วยส่งโรงพยาบาลใหท้ าการเป่ าปากไปดว้ ยจนกวา่ ผปู้ ่ วยจะฟ้ื นฟู
หรือไดร้ ับการช่วยเหลือจากแพทยแ์ ลว้

การปฐมพยาบาลด้วยวิธีนวดหัวใจ
เม่ือพบว่าหวั ใจผูป้ ่ วยหยดุ เตน้ โดยทราบไดจ้ ากการฟังเสียงหวั ใจเตน้ และการจบั ชีพจร ให้
ดูการเตน้ ของหลอดเลือดแดงที่ขาหนีบ ที่ขอ้ พบั แขนหรือที่ขอ้ มือ ตอ้ งรีบทาการช่วยใหห้ วั ใจกลบั
เตน้ ข้ึนมาทนั ทีดว้ ยการนวดหวั ใจ ซ่ึงมีวธิ ีการปฏิบตั ดิ งั น้ี
1. ให้ผปู้ ่ วยนอนราบกบั พน้ื แข็ง ๆ หรือใชไ้ มก้ ระดานรองที่หลงั ของผปู้ ่ วย ผปู้ ฐมพยาบาล
คุกเข่าลงขา้ งขวาหรือขา้ งซา้ ยบริเวณหนา้ อกผปู้ ่ วย คลาหาส่วนล่างสุดของกระดูกอกท่ีตอ่ กบั กระดูก
ซ่ีโครงโดยใช้น้ิวสัมผสั ชายโครงไล่ข้ึนมา ถา้ คุกเขา้ ขา้ งขวาใชม้ ือขวาคลาหากระดูกอกดา้ นซ้าย
หากคุกเขา่ ขา้ งซา้ ยใหม้ ือซา้ ยคลาหากระดูกอกดา้ นขวา ตรงตาแหน่งส่วนล่างสุดของกระดูกอก
2. เมื่อน้ิวสมั ผสั ชายโครงแลว้ เลื่อนนิ้วมาตรงกลางจนกระทงั่ น้ิวนางสมั ผสั ปลายกระดูก
หนา้ อกได้ ใหป้ ลายน้ิวช้ีและน้ิวกลางวางบนกระดูกหนา้ อกตอ่ จากนิ้วนาง
3. วางมืออีกขา้ งทบั บนหลงั มือท่ีวางในตาแหน่งท่ีถูกตอ้ ง เหยยี ดน้ิวมือตรงและเก่ียวน้ิวมือ
2 ขา้ งเขา้ ดว้ ยกัน เหยียดแขนตรงโน้มตวั ต้งั ฉากกบั หน้าอกผปู้ ่ วย ทิ้งน้าหนักลงบนแขนขณะกด
หน้าอกผปู้ ่ วยใหก้ ระดูกลดระดบั ลง 1.5 - 2 น้ิว เม่ือกดสุดแลว้ ให้ผอ่ นมือข้ึนทนั ที โดยท่ีตาแหน่งมือ
ไม่ตอ้ งเล่ือนจากจดุ ทก่ี าหนด ขณะกดหนา้ อกนวดหวั ใจ หา้ มใชน้ ้ิวมือกดลงบนซี่โครงผปู้ ่ วย

39

รูปที่ 1.18 ใ ชม้ ือกดเหนือล้ินปี่ ใหถ้ ูกตาแหน่ง
ทมี่ า : http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/unit01.html

4. ขณะที่กดหนา้ อกแตล่ ะคร้งั ตอ้ งนบั จานวนคร้ังท่กี ดดงั น้ี หน่ึง และสอง และสาม และส่ี
และหา้ .... โดยกดหนา้ อกทกุ คร้ังทน่ี บั ตวั เลข และปล่อยมือตอนคาวา่ “และ” สลบั กนั ไป ใหไ้ ดอ้ ตั รา
การกดประมาณ 90 - 100 คร้ัง/นาที

รูปที่ 1.19 ฟังการเตน้ ของหวั ใจของผปู้ ่ วย
ทมี่ า : http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/unit01.html

5. ถา้ ผปู้ ฏิบตั ิมีคนเดียว ใหน้ วดหวั ใจ 15 คร้ัง สลบั กบั การเป่ าปาก 2 คร้งั ทาสลบั กนั เช่นน้ี
จนครบ 4 รอบ แลว้ ตรวจชีพจรและการหายใจ หากคลาชีพจรไม่ไดต้ อ้ งนวดหวใจต่อ แตถ่ า้ คลาชีพ
จรไดแ้ ละผปู้ ่ วยยงั ไม่หายใจตอ้ งเป่ าปากต่อไปอยา่ งเดียว

40

รูปที่ 1.20 กรณีผปู้ ่ วยหวั ใจหยดุ เตน้ ให้เป่ าปาก
ที่มา : http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/unit01.html

6. ถา้ มีผปู้ ฏิบติ 2 คน ใหน้ วดหวั ใจ 5 คร้ัง สลบั กบั การเป่ าปาก 1 คร้ัง โดยขณะที่เป่ าปาก
อีกคนตอ้ งหยดุ นวดหวั ใจ

รูปท่ี 1.21 การนวดหวั ใจ
ที่มา : http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/unit01.html

7. ในเด็กอ่อนหรือเด็กเเรกเกิด การนวดหัวใจให้ใชน้ ้ิวเพียง 2 นิ้ว กดบริเวณก่ึงกลางกระดูก-
หนา้ อกใหไ้ ดอ้ ตั ราการกดประมาณ 100 - 120 คร้ัง/นาที

8. การนวดหัวใจตอ้ งทาอยา่ งระมดั ระวงั และกูกวิธี มิเช่นน้ันอาจทาให้กระดูกซี่โครงหัก
ตบั และมา้ มแดกได้ โดยเฉพาะในเดก็ เลก็ ตอ้ งใชค้ วามระมดั ระวงั เป็นพเิ ศษ

1.6.2 การช่วยเหลือและการปฐมพยาบาลผทู้ ่ถี ูกไฟไหม้
การช่วยเหลือผทู้ ถ่ี ูกไฟไหม้ ในกรณีท่ีไฟไหมต้ วั เราเอง ใหเ้ อาผา้ ท่ีอยใู่ นท่ีเกิดเหตพุ นั ตวั เอง
หรือนอนกล้ิงลงกบั พ้นื ถา้ ไฟไหมร้ ่างกายผอู้ ่ืน ใหห้ าผา้ ห่มหรือผา้ อ่ืนใดพนั ตวั หลาย ๆ ช้นั จนกวา่
ไฟจะดบั แลว้ รีบนาออกจากที่เกิดเหตุ ราดน้าที่ตวั ผปู้ ่ วยเพอ่ื ผอ่ นคลายความรอ้ น ถอดเคร่ืองประดบั
ออกจากตวั ผปู้ ่ วยใหห้ มดแลว้ เอาผา้ ห่มแหง้ ๆ ห่มใหค้ วามอบอุ่น จากน้นั รีบนาส่งแพทย์

41

การปฐมพยาบาล
1) ลดความเจบ็ ปวดโดยแช่ส่วนท่ีถูกไฟไหมใ้ นน้าเยน็ หรือน้าแขง็ ประมาณ 30 นาที
2) นาผา้ วาสลินกอ๊ สบางช้นั เดียวปิ ดพนั แผลไว้
3) ก่อนนาส่งแพทย์ตอ้ งใหผ้ ปู้ ่ วยไดร้ บั ความอบอุ่นโดยให้ใส่เส้ือผา้ แหง้ และหนา หรือห่มผา้ ให้
4) ให้ผปู้ ่ วยดื่มน้ามาก ๆ เพอ่ื ทดแทนน้าและน้าเหลืองทเ่ี สียไป
5) ถา้ มีบาดแผลท่คี อ ตอ้ งใหผ้ ปู้ ่ วยอมน้าแขง็ ไว้ เพอื่ ป้องกนั เลือดออกมากเกินไป
1.6.3 การป้องกนั อนั ตรายทเ่ี กิดจากสารเคมี
แหล่งกาเนิดสารเคมีจากงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ไดแ้ ก่ ควนั จากการบดั กรีวงจร
อิเล็กทรอนิกส์ พบวา่ อนั ตรายจากสารตะกว่ั คอื เป็นตน้ เหตุของโรคโลหิตจาง ตวั ซีด ปวดทอ้ ง อ่อนเพลีย
เบื่ออาหาร กลา้ มเน้ือไม่มีแรง และเดินไม่ได้ ในส่วนของการป้องกนั เบ้ืองตน้ ก็คอื การจดั ให้มีการ
ระบายอากาศในสถานทีท่ างาน ส่วนวธิ ีลา้ งสารเคมีท่สี มั ผสั กบั ผวิ หนงั มีขอ้ ควรปฏิบตั ดิ งั น้ี
1. ไม่ลา้ งมือดว้ ยน้ามนั หรือสารตวั ทาละลายที่มีคุณสมบตั ิในการละลายไขมนั เพราะสาร
เหล่าน้ีเป็นพษิ จะดูดซึมผา่ นผวิ หนงั หากรับสารมากเกินไปอาจเกิดอนั ตรายได้
2. ตอ้ งใชน้ ้ามนั และสบ่ลู า้ งมือ แมจ้ ะสะอาดชา้ แต่กม็ ีความปลอดภยั กบั ผวิ หนงั มากกวา่

42

สรุป

 การทางานเกี่ยวกบั ระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ถ้าขาดความระมดั ระวงั จะทาให้ได้รับ
อนั ตราย และเกิดความเสียหายซ่ึงอันตรายของไฟฟ้าต่อร่างกายมนุษยอ์ าจทาให้เกิดการ
บาดเจ็บและเกิดการสูญเสียอวยั วะหรืออาจถึงข้นั เสียชีวติ ได้ ดังน้นั อนั ตรายที่เกิดข้ึนจะมาก
หรือน้อยข้ึนอยู่กับขนาดของกระแสท่ีไหลผ่านร่างกายจึงจาเป็ นต้องมีวิธีป้องกันไม่ให้
กระแสไฟฟ้าไหลผา่ นร่างกายไดง้ ่าย

 การปฏิบตั ิงานทางดา้ นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์จะตอ้ งมีความระมดั ระวงั อยา่ งมาก และตอ้ ง
มนั่ ใจวา่ เกิดความปลอดภยั ขณะปฏิบตั ิงานตอ้ งมีอุปกรณ์อานวยความสะดวกและอุปกรณ์
ป้องกนั อนั ตรายอยา่ งเพียงพอ ตอ้ งปฏิบตั ิงานใหถ้ ูกข้นั ตอน ทางานอยา่ งเป็นระบบและมีความ
รอบคอบ

 การช่วยเหลือผปู้ ระสบอนั ตรายจากกระแสไฟฟ้านบั เป็ นส่ิงจาเป็ นและสาคญั อย่างยง่ิ ท่ีควร
กระทาอยา่ งถูกวิธี และระมดั ระวงั เพื่อให้ผปู้ ระสบอนั ตรายมีโอกาสรอดพน้ จากอนั ตรายข้นั
ร้ายแรง และผูใ้ ห้ความช่วยเหลือมีความปลอดภัย ไม่เกิดอันตรายตามไปด้วย เพราะ
กระแสไฟฟ้าจะทาอันตรายมนุษย์ โดยมีผลต่อระบบประสาทและกล้ามเน้ือ ซ่ึงหาก
กระแสไฟฟ้าไหลผา่ นร่างกายจานวนมากและนานพอ ก็อาจทาใหผ้ ปู้ ระสบภยั เสียชีวติ ไดใ้ น
กรณีท่ีพบเห็นผูถ้ ูกกระแสไฟฟ้าดูด จะตอ้ งช่วยเหลือให้ถูกวธิ ีและรวดเร็ว หลงั จากน้นั ให้ทา
การปฐมพยาบาลและช่วยเหลือก่อนนาส่งโรงพยาบาลตอ่ ไป

43

ใบงาน

44

ใบงานที่ 1.1

ชื่อวิชา งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบ้ืองตน้ รหสั วิชา 2100-1003 สอนคร้ังที่ 1

หน่วยที่ 1 ช่ือหน่วย ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ รวม 4 ช่ัวโมง

ช่ืองาน ความปลอดภยั ในโรงงาน จานวน 3 ช่ัวโมง

จุดประสงค์การเรียนรู้

จดุ ประสงค์ทว่ั ไป
เพอื่ ใหม้ ีความรูค้ วามเขา้ ใจเก่ียวกบั ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
เม่ือผเู้ รียน เรียนจบแลว้ สามารถ
1. เขียนภาพความปลอดภยั ในโรงงานได้
2. อธิบายหนา้ ท่ี หรือความหมายของภาพความปลอดภยั ในโรงงานได้
3. นาหลกั การประยกุ ตใ์ ชง้ านในชีวติ ประจาวนั ได้

เครื่องมือและอปุ กรณ์
- แผน่ ภาพภายในโรงงาน

ข้อควรระวงั
1. ขณะศึกษาภาพความปลอดภยั ในโรงงาน ควรระมดั ระวงั อยา่ ใหเ้ กิดความเสียหาย
2. ขณะศกึ ษาภาพความปลอดภยั ในโรงงาน ควรระมดั ระวงั ความปลอดภยั ต่อตนเองและผอู้ ่ืน

ข้อเสนอแนะ
- คน้ ควา้ เพมิ่ เติมจากแหล่งความรูอ้ ื่น ๆ เพม่ิ เติม จากเวบ็ http://kpp.ac.th/elearning/

elearning3/unit01.html

45

ลาดับข้นั การทดลอง
1. ใหผ้ เู้ รียนสารวจและศกึ ษาแผน่ ภาพเกี่ยวกบั ความปลอดภยั ในโรงงาน
2. เขียนภาพและรายละเอียดลงในตารางท่ี 1.1.1

ตารางที่ 1.1.1 ภาพและรายละเอียดเก่ียวกบั ความปลอดภยั ในโรงงาน

ที่ ภาพ รายละเอียด

1

2
3
4

5
6
7
8
9
10

46

สรุปผลการทดลอง
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

คาถาม
คาสั่ง จงตอบคาถามใหส้ มบูรณ์
1. จงบอกวธิ ีการช่วยเหลือผปู้ ระสบภยั จากไฟฟ้าดูดมาเป็นขอ้ ๆ พอเขา้ ใจ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

47

ใบประเมนิ ผลท่ี 1.1

ชื่องาน ความปลอดภยั ในโรงงาน

ที่ รายงานการประเมนิ คะแนนทไ่ี ด้ หมายเหตุ
1 การเตรียมงาน (3 คะแนน)
- การวางแผน ; มี ได้ 1 คะแนน
- มกี ารวางแผนการทางาน (1 คะแนน)
- จดั เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อยา่ ง ;ไม่มี ได้ 0 คะแนน

มรี ะเบยี บ (1 คะแนน) - การเตรียมเครื่องมือ ; ครบ ได้ 1 คะแนน
- ศกึ ษารายละเอียดใบงาน (1 คะแนน)
และอุปกรณ์ ; ไมค่ รบ ได้ 0 คะแนน
2 การดาเนนิ การปฏบิ ัตงิ าน (5 คะแนน)
- ปฏิบตั ิงานตามข้นั ตอน (2 คะแนน) - ศึกษาใบงาน ; มี ได้ 1 คะแนน
- รู้จกั การแกป้ ัญหา (1 คะแนน)
- การบนั ทกึ ผลการทดลองอยา่ งถูกตอ้ ง ;ไม่มี ได้ 0 คะแนน
(1 คะแนน)
- ปฏิบตั ิงานถูกตอ้ งปลอดภยั (1คะแนน) - การปฏิบตั ิงาน ; เป็นข้นั ตอน ได้ 2 คะแนน

3 การใช้งานและบารุงรักษาเครื่องมือและ ; เป็นข้นั ตอนพอใช้ ได้ 1 คะแนน
อุปกรณ์ (2 คะแนน)
- การใชเ้ คร่ืองมอื และอุปกรณถ์ ูกตอ้ ง ;ไม่เป็นข้นั ตอน ได้ 0 คะแนน
และเหมาะสมกบั งาน ( 1 คะแนน)
- มีการบารุงรักษาเคร่ืองมอื และอุปกรณ์ - การแกป้ ัญหาและการบนั ทึกผลการทดลอง
(1 คะแนน)
; ดี ได้ 1 คะแนน
4 คุณภาพของงาน (10 คะแนน)
- ขอ้ มูลครบสมบูรณ์ (2 คะแนน) ;นอ้ ย ได้ 0 คะแนน
- สรุปผลการทดลองถูกตอ้ ง (3 คะแนน)
- ตอบคาถามถูกตอ้ ง (3 คะแนน) - ความปลอดภยั ; มี ได้ 1 คะแนน
- ผลงานสะอาดเรียบร้อย (2 คะแนน)
;ไม่มี ได้ 0 คะแนน
รวมคะแนนทีไ่ ด้ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน)
- การใชเ้ ครื่องมือและอุปกรณ์

;ถูกตอ้ งถูกวธิ ี ได้ 1 คะแนน

;ไม่เหมาะสม ได้ 0 คะแนน

- การบารุงรักษาเคร่ืองมอื และอุปกรณ์

; มี ได้ 1 คะแนน

;ไม่มี ได้ 0 คะแนน

- ขอ้ มูลครบสมบรู ณ์ ; ครบทกุ ข้นั ตอน ได้ 2 คะแนน

; ไมช่ ดั เจน ได้ 1 คะแนน

- การสรุปผลและตอบคาถาม

; ถูกตอ้ ง ชดั เจน ได้ 3 คะแนน

; ถูกตอ้ งปานกลาง ได้ 2 คะแนน

; ถูกตอ้ งนอ้ ย ได้ 1 คะแนน

- ความสะอาด ; เรียบร้อย ได้ 2 คะแนน

; ไม่เรียบร้อย ได้ 1 คะแนน

คะแนนท่ีได้ .................................................................ผลการประเมนิ ผา่ น  ไมผ่ า่ น 
ขอ้ เสนอแนะ................................................................................................................... .........................................................

ลงช่ือ................................................(ผปู้ ระเมนิ )
(นายอภิชาติ อนุกลู เวช)

................/................./..............


Click to View FlipBook Version