The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือปฐมนิเทศนักศึกษา นักศึกษาใหม่ สู่รั้วมหาวิทยาลัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by PKRU, 2020-06-19 03:12:22

คู่มือปฐมนิเทศนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

คู่มือปฐมนิเทศนักศึกษา นักศึกษาใหม่ สู่รั้วมหาวิทยาลัย

คำำ�นำำ�

กองพััฒนานัักศึึกษาเป็็นหน่่วยงานบริิการของสถาบัันอุุดมศึึกษา
ที่�่จััดขึ้ �นเพื่�่อส่่งเสริิมและมุ่ �งพััฒนานัักศึึกษาให้้เป็็นคนดีี มีีคุุณธรรม จริิยธรรม
มีีวิินััย และมีีความรัับผิิดชอบ สู่�่ความเป็็นมนุุษย์์ที่่�สมบููรณ์์และก้้าวสู่�่ สัังคมได้้
อย่า่ งสง่า่ งาม
คู่�่ มืือปฐมนิิเทศนัักศึึกษาใหม่่ ที่่�จััดทำ�ำ ขึ้้�นจะเป็็นเครื่่�องมืือสำ�ำ คััญให้้
กัับนัักศึึกษาที่�่จะได้้ทราบ แนวทางกฎระเบีียบและข้้อบัังคัับต่่าง ๆ ที่่�นัักศึึกษา
จะต้้องทราบและปฏิิบััติิตามได้้ถููกต้้อง ทั้้�งเป็็นเครื่่�องมืือสำ�ำ คััญของหน่่วยงาน
กองพััฒนานัักศึึกษาในการดำ�ำ เนิินงาน ด้้านกิิจการนัักศึึกษาได้้อย่่างมีีระบบ
และมีีประสิทิ ธิิภาพ
กองพััฒนานัักศึึกษา ขอขอบคุุณ คณะผู้�จััดทำ�ำ และหน่่วยงานที่�่
เกี่�่ยวข้้องในการร่่วมจััดทำำ�คู่�่ มืือนี้้�ขึ้�นมาและหวัังเป็็นอย่่างยิ่�งว่่าคู่่�มืือกิิจการ
นัักศึึกษาเล่่มนี้้�จะเป็็นประโยชน์์ต่่อนัักศึึกษาตลอดจนผู้ �ที่�่สนใจในมหาวิิทยาลััย
แห่่งนี้้�

กองพััฒนานักั ศึกึ ษา
มหาวิิทยาลััยราชภััฏภููเก็็ต









มหาวิิทยาลััยราชภััฏภููเก็็ต เริ่�มต้้นจากการเป็็นส่่วนหนึ่่�งในสถาบัันการศึึกษาชั้�นสููง (Higher Education
Institution) 3 แห่ง่ ที่จ�่ ัดั ตั้ง� ขึ้น� ในจังั หวัดั ต่า่ ง ๆ ในภููมิภิ าค ในปี ี พ.ศ. 2515 โดยกรมการฝึกึ หัดั ครูู กระทรวงศึกึ ษาธิกิ าร
เป็็นผู้�ริิเริ่�มผลัักดัันให้้สถาปนาขึ้�นที่่�จัังหวััดภููเก็็ต บุุรีีรััมย์์ และลำ�ำ ปาง ด้้วยวััตถุุประสงค์์เชิิงซ้้อน 4 ประการคืือ

1 เพื่�่อผลิิตครูู และส่่งเสริิมวิิทยฐานะครููประจำ�ำ การ เพื่่�อแก้้ปััญหาการขาดแคลนครูู

ที่่�มีีคุุณภาพ และวุุฒิิทางครููอย่่างรุุนแรงในยุุคนั้้�น ตามนโยบายยกระดัับคุุณภาพการศึึกษาของชาติิ
และการรณรงค์์เพื่่�อการรู้้�หนัังสืือของประชาชนในประเทศ (Literacy Campaign) ที่�่เน้้นการลด

2จำำ�นวนผู้�ไม่่รู้�หนัังสืือของประชาชนทั่่ว� ไป

เพื่่�อขยายโอกาสทางการศึึกษาอุุดมศึึกษาไปสู่�่ ประชาชนในท้้องถิ่�นชนบท ด้้วยการ
ลดต้้นทุุนทางการศึึกษาในภาคประชาชนให้้กัับชาวชนบทห่่างไกล ลดภาระในการเดิินทางเพื่่�อรัับ
การศึึกษาสำ�ำ หรัับนัักเรีียนต่่างจัังหวััด และเพิ่่�มโอกาสในการแข่่งขัันให้้กัับเด็็กเรีียนดีี ใฝ่่เรีียน ใฝ่่รู้�

3ใ น ช น บ ทต า ม แ น ว ท า ง ก า ร จัั ด ก า ร ศึึ ก ษ า เ พื่่� อ ก า ร พัั ฒ น า ช น บ ท อ ย่่ า ง ยั่� ง ยืื น

เ พื่�่ อ แ ก้้ ปัั ญ ห า ค ว า ม ข า ด แ ค ล น ค รูู เรื้� อ รัั ง ใ น โร ง เรีี ย น ใ น ท้้ อ ง ถิ่� น ช น บ ทห่่ า ง ไ ก ล
บางแห่่ง เนื่่�องจากคนในท้้องถิ่�นห่่างไกลไม่่มีีโอกาสเรีียนครูู และผู้�ที่�่เรีียนครููซึ่่�งมาจากท้้องถิ่�นอื่่�นที่่�มีี

4ความสะดวกสบายกว่่า ไม่่ประสงค์์ที่่�จะเป็็นครููในโรงเรีียนในท้้องถิ่�นทุุรกัันดารและห่่างไกล

เ พื่�่ อ ก ร ะ จ า ย นัั ก วิิ ช า ก า ร แ ล ะ ผู้้�มีี ค ว า ม รู้� ค ว า ม ส า ม า ร ถ ร ะ ดัั บ สูู ง จ า ก ส่่ ว น ก ล า ง
โดยเฉพาะกรุุงเทพมหานครออกไปประจำำ�ต่่างจัังหวััด เพื่่�อให้้การสนัับสนุุนทางวิิชาการแก่่ชาวชนบท
ใ น ก า รปร ะ ก อ บ ก า ร ง า น อ า ชีีพ อัั น เ ป็็ น ก า ร เ ส ริิ ม ส ร้้ า ง ร า ก ฐ า น ใ น ก า ร พัั ฒ น า ช น บ ท อ ย่่ า ง ยั่ � ง ยืื น แ ล ะ
เป็็นรููปธรรม

8

มหาวิิทยาลััยราชภััฏภููเก็็ต จึึงได้้เริ่�มต้้นจากการเป็็นวิิทยาลััยครููภููเก็็ต จััดการศึึกษาตาม
ปรััชญาและอุุดมการณ์์ดัังกล่่าว โดยเปิิดสอนตามหลัักสููตรประกาศนีียบััตรวิิชาการศึึกษากัับประกาศนีียบััตร
วิิชาการชั้้�นสููง และจััดการอบรมเพื่�่อส่่งเสริิมวิิทยฐานะครููประจำำ�การ ตามหลัักสููตรครููมััธยม (พ.ม.) มีีพื้้�นที่�่
รัับผิิดชอบในการผลิิตครูู และส่่งเสริิมวิิทยฐานะครููในเขตภาคใต้้ 5 จัังหวััดชายฝั่�งตะวัันตก (ฝั่�งอัันดามััน)
ได้แ้ ก่่ จัังหวัดั ภููเก็็ต พังั งา ระนอง กระบี่�่ และตรััง
เมื่่�อได้้มีีประกาศใช้้ พระราชบััญญััติิวิิทยาลััยครูู พ.ศ. 2518 วิิทยาลััยครููภููเก็็ต จึึงได้้เปิิดสอน
ระดัับปริิญญาในสาขาวิิชาการศึึกษา ใช้้ชื่�่อปริิญญาครุุศาสตรบััณฑิิต ในแขนงวิิชาเอกต่่างๆ ทั้้�งด้้าน
วิิทยาศาสตร์์ มนุุษยศาสตร์์ สัังคมศาสตร์์ ศิิลปศาสตร์์ และวิิทยาศาสตร์์ประยุุกต์์ เพื่�่อตอบสนองความต้้อง
การโอกาสทางการศึึกษาอุุดมศึึกษาของประชาชนในท้้องถิ่ �นให้้กว้้างขึ้ �นหลัังจากประกาศใช้้พระราชบััญญััติิ
วิิทยาลััยครูู พ.ศ. 2527 วิิทยาลััยครููภููเก็ต็ ได้้ปรัับเปลี่ย�่ นระบบการจัดั การศึึกษาจากเดิิม โดยเปิดิ สอนตามหลักั
สููตรระดัับปริิญญาตรีี ในสาขาวิิทยาศาสตร์์ ศิิลปศาสตร์์ และบริิหารธุุรกิิจ เพิ่่�มเติิมจากสาขาครุุศาสตร์์
ทำำ�ให้ป้ ระชาชนในท้้องถิ่น� มีีโอกาสทางการศึึกษาระดัับอุดุ มศึกึ ษาเพิ่่ม� มากขึ้น�
ต่่อมาได้้ปรัับเปลี่�่ยนสถานภาพจากวิิทยาลััยครููภููเก็็ต เป็็นสถาบัันราชภััฏภููเก็็ต ตามพระราช
บััญญััติิสถาบัันราชภััฏ พ.ศ. 2538 โดยสาระสำำ�คััญของพระราชบััญญััติิสถาบัันราชภััฏนี้้�มุ่�งเน้้นให้้สถาบััน
ราชภััฏ เป็็นสถาบัันอุุดมศึึกษาเพื่�่อพััฒนาท้้องถิ่�นที่่�ให้้การศึึกษาและวิิชาชีีพชั้้�นสููงได้้หลายสาขาวิิชา
จนถึึงระดัับปริิญญาเอก โดยให้้คงภารกิิจการผลิิต การฝึึกอบรม และการส่่งเสริิมวิิทยฐานะครูู ซึ่่�งเป็็น
ภารกิจิ หลัักในอดีีตเอาไว้เ้ ช่น่ เดิมิ
ในปีี พ.ศ. 2543 สภาองค์์การบริิหารส่่วนตำ�ำ บลนาบิินหลา มีีมติิเห็็นชอบแบ่่งที่�่ดิินทุ่�ง
สาธารณะเลี้�ยงสััตว์์ในทุ่�งโคกชะแง้้ ที่่�ยัังไม่่ได้้ใช้้ประโยชน์์ จำำ�นวน 52 ไร่่ 80 ตารางวา เพื่่�อให้้สถาบัันจััด
ตั้�งศููนย์์ให้้การศึึกษา สถาบัันราชภััฏภููเก็็ตประจำำ�จัังหวััดตรััง สถาบัันฯ ได้้ดำ�ำ เนิินการจััดซื้�อที่�่ดิินบริิเวณ
ข้้างเคีียงเพิ่่�มเติิมที่่�ตำ�ำ บลนาบิินหลา จำำ�นวน 2 แปลง แปลงที่�่ 1 จำ�ำ นวน 12 ไร่่ 55 ตารางวา แปลงที่�่ 2
จำำ�นวน 12 ไร่่ 3 งาน 58 ตารางวา ราคาประเมินิ ไร่ล่ ะไม่่เกิิน 500,000 บาท วัตั ถุปุ ระสงค์์เพื่่อ� ขยายที่ด�่ ิิน
ให้้มีีอาณาเขตติิดต่่อกัับถนน รพช.ตามมติิการประชุุมกรรมการสภาประจำำ�สถาบัันราชภััฏภููเก็็ต
ครั้�งที่�่ 3/2537 วัันอัังคารที่่� 20 เมษายน พ.ศ. 2547 ปััจจุุบัันได้้มีีพระราชบััญญััติิ มหาวิิทยาลััยราชภััฏ
พ.ศ. 2547 โดยให้้มหาวิิทยาลััยราชภััฏภููเก็็ต เป็็นนิิติิบุุคคล และเป็็นส่่วนราชการตามกฎหมายว่่าด้้วยวิิธีี
การงบประมาณในสัังกััดสำ�ำ นัักงานคณะกรรมการการอุุดมศึึกษา มีีภารกิิจตาม มาตรา 7 ซึ่่�งระบุุไว้้ว่่า
“ให้้มหาวิิทยาลััยเป็็นสถาบัันอุุดมศึึกษาเพื่่�อการพััฒนาท้้องถิ่ �นที่�่เสริิมสร้้างพลัังปััญญาของแผ่่นดิิน
ฟื้�้นฟููพลัังการเรีียนรู้� เชิิดชูู ภููมิิปััญญาท้้องถิ่�น สร้้างสรรค์์ศิิลปวิิทยาเพื่�่อความเจริิญก้้าวหน้้าอย่่างมั่�นคง
และยั่�งยืืนของปวงชน มีีส่่วนร่่วมในการจััดการ การบำำ�รุุงรัักษา การใช้้ประโยชน์์จากทรััพยากรธรรมชาติิ
และสิ่ง� แวดล้อ้ มอย่า่ งสมดุลุ และยั่ง� ยืืน โดยมีีวััตถุปุ ระสงค์์เพื่่อ� ให้้การศึกึ ษา ส่ง่ เสริิมวิชิ าการและวิิชาชีีพชั้้�นสููง
ทำ�ำ การสอน วิิจััย ให้้บริิการทางวิิชาการสัังคม ปรัับปรุุง ถ่่ายทอดและพััฒนาเทคโนโลยีี
ทำำ�นุุบำ�ำ รุุงศิิลปะและวััฒนธรรม ผลิิตครููและส่่งเสริมิ วิทิ ยฐานะครูู”

9

ในนามคณะผู้้�บริิหาร คณาจารย์
ได้้มีโี อกาสเล่่าเรีียนในรั้้ว� มหาวิิทยาลััยรา
มหาวิิทยาลััยราชภััฏภููเก็็ตเป็็นม
ทัักษะเชิิงปฏิิบััติิการ พร้้อมสำำ�หรัับการปฏิ
การแข่่งขััน นัักศึึกษา ทุุกคนจึึงจำ�ำ เป็็น
การสอน การดำ�ำ รงชีีวิิตที่่�เปลี่่�ยนแปลงไ
ทัักษะการดำำ�เนิินชีีวิิต และคุุณลัักษ
“คุณุ ธรรม สู้�้งาน จิติ อาสา”
ขออวยพรให้้นัักศึึกษาใหม่่ทุุกคน มี
พิิชิติ ความสำำ�เร็็จในการศึึกษาเล่่าเรียี น มี

10

ย์์ ขอต้้อนรัับนัักศึึกษาใหม่่ทุุกท่่านด้้วยความยิินดีียิ่�ง ที่่�นัักศึึกษาทั้้�งหลาย
ยราชภััฏภููเก็ต็ (มรภ.)
มหาวิิทยาลััยเพื่�่อการพััฒนาสัังคม โดยมีีการมุ่่�งเน้้นการผลิิตบััณฑิิตให้้มีี
ารปฏิิบััติิงานและเป็็นพลเมืืองที่่�มีีคุุณภาพของประเทศ มีีขีีดความสามารถใน
นต้้องทำ�ำ ความเข้้าใจในเรื่่�องดัังกล่่าว พร้้อมทั้้�งปรัับตััวให้้เข้้ากัับสภาพการเรีียน

ไปจากเดิิม และพยายามที่่�จะพััฒนาตนเองให้้เป็็นผู้�้ที่่�มีีความรู้้� ความสามารถ
ษณะที่่�สัังคมต้้องการ ตลอดจนเป็็นไปตามอััตลัักษณ์์ของมหาวิิทยาลััย
คน มีีสุุขภาพพลานามััยที่่�แข็็งแรง มีีพลัังกาย พลัังใจ และพลัังความคิิดเพื่�่อ
ยน มีคี วามสุุขและสนุกุ กับั การเรีียนรู้้�

ผู้�้ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.หิิรัญั ประสารการ
อธิิการบดีมี หาวิิทยาลััยราชภััฏภููเก็็ต

11

ขอต้้อนรัับนัักศึึกษาใหม่
ราชภััฏภููเก็็ตในปีีการศึึกษา 2563 นี้้
รู้�้ในมหาวิิทยาลััยราชภััฏภููเก็็ต ซึ่�่งเน้้นผลิ
มีีความรู้้� ความอดทน มีีสำ�ำ นึึกด้้านคุ
มีีความสามารถในการปรัับตััวเมื่่อ� ต้อ้ งเผชิ
ได้้โดยมีีจิิตใจที่่เ� ข้้มแข็็งและมีีความมุ่�งมั่่
ข อ ใ ห้้นัั ก ศึึ ก ษ า ทุุ ก คน ใ
รู้้�จัักแบ่่งเวลาให้้เหมาะสมซึ่่�งจะเป็็นปร
สั่�งสม เสาะแสวงหา พััฒนาความรู้
ก็็จะสามารถเกิิดความเจริิญงอกงาม
มีีความเป็็นผู้�้นำ�ำ มีีความรัับผิิดชอบ
จิิตสาธารณะ ซึ่่�งสิ่ �งต่่าง ๆ เหล่่านี้้
ท้้ายนี้้�อาจารย์์ขอให้้พวกเ
สิ่�งต่่าง ๆ ที่่�อยู่่�รอบตััวเอง ได้้เสาะแส
ของตััวเองในทุกุ ๆขณะของใช้้ชีวี ิติ ตลอด

12

ม่่ ทุุ ก คนที่่� ผ่่ าน ก ารคัั ด เ ลืื อ ก เ ข้้า ม า เ ป็็ นนัั ก ศึึ ก ษ า ข อ ง ม ห าวิิ ทยาลัั ย
นี้้� ด้้วยความยิินดีีอย่่างยิ่�ง นัับเป็็นโอกาสอัันดีีที่่�ทุุกคนได้้ก้้าวเข้้าสู่่�การเรีียน

น้้นผลิิตบััณฑิิตให้้มีีความตระหนัักรู้�้สููการพััฒนาสัังคม โดยเน้้นให้้เป็็นผู้้�
้านคุุณธรรมและจริิยธรรม เป็็นบััณฑิิตที่่�มีีความเก่่งงานรวมทั้้�งเป็็นคนดีี

ผชิิญกับั ปัญั หาและอุุปสรรคต่า่ ง ๆ ในชีีวิติ สามารถผ่า่ นพ้้นอุุปสรรคต่่าง ๆ ไป
มั่่�นในการพััฒนาตนเองและสัังคม
ช้้ เ ว ล า ใ น ก าร เรีี ยนรู้้� แ ล ะ มีี ค ว า ม เ พีี ยรพยายา ม อ ย่่ า ง ต่่ อ เ นื่�่ อ ง
นประโยชน์์ต่่อการเรีียนของนัักศึึกษาเอง โดยหากนัักศึึกษามีีความมุ่�งมั่่�นในการ
รู้้� ทั้้�งจากการแนะนำำ�สั่ �งสอนจากอาจารย์์และจากการเรีียนรู้�้ด้้วยตนเอง
ทางจิิตใจและสติิปััญญาได้้ และที่่�สำ�ำ คััญควรจะต้้องมีีความรอบรู้้�วิิชาการ
บ มีีโลกทััศน์์ที่่�กว้้างไกล สามารถทำำ�งานร่่วมกัับผู้�้อื่่�นได้้ ตลอดจนการมีี
านี้้�จะเป็็นส่่วนสำำ�คััญต่่อการพััฒนาตนเอง สัังคม และประเทศชาติิต่่อไป
เราทุุกคนได้้เปิิดหััวใจ เปิิดโอกาส เปิิดพื้้�นที่่�ให้้กัับตััวเองในการเรีียนรู้้�
สวงหาสิ่่�งที่่�ดีีงาม สิ่่�งที่่�งดงามที่่�จะเป็็นความงอกงามความงดงามให้้กัับชีีวิิต
ดไป

ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.นพดล จัันระวััง
รองอธิิการบดีฝี ่า่ ยกิจิ การนักั ศึึกษา

13

ในนามของกองพััฒนานัักศึึกษา
ประจำ�ำ ปีกี ารศึกึ ษา 2563 ทุกุ ท่า่ น ด้ว้ ยคว
ซึ่�่งเป็็นโอกาสที่่�ดีีในการเรีียนรู้�้และพััฒนาตน
ที่่�มหาวิิทยาลััยกำำ�หนด กองพััฒนานัักศึ
ประสบการณ์์จากการทำำ�กิิจกรรม
ภายใต้้สภาพเศรษฐกิิจและสัังคม
ทุุกคนจึึงจำำ�เป็็นต้้องทำำ�ความเข้้าใจในแ
ชีีวิิตที่่�เปลี่่�ยนแปลงไปจากเดิิม และพยายา
ที่่ส� ังั คมต้้องการ
ขออวยพรให้้นัักศึึกษาใหม่่ทุุกคน มี
ความมุ่�งมั่่�นในการศึึกษาเล่่าเรียี น การพั

14

า มหาวิิทยาลััยราชภััฏภููเก็็ต ขอต้้อนรัับนัักศึึกษาใหม่่ทุุกคณะ ทุุกสาขาวิิชา
วามยินิ ดีทีี่่ท� ่า่ นทั้้ง� หลายมีโี อกาสเข้้ามาศึกึ ษาเล่า่ เรียี นในมหาวิทิ ยาลัยั ราชภัฏั ภููเก็ต็
นาตนเองสู่�การเป็็นพลเมืืองดีี มีีคุุณธรรม สู้้�งาน และจิิตอาสา ตามอััตลัักษณ์์
ศึึกษา จะเป็็นหน่่วยงานสนัับสนุุนในด้้านสวััสดิิการต่่าง ๆ รวมทั้้�งเสริิมสร้้าง
มในปััจจุุบััน ส่่งผลให้้เกิิดการแข่่งขัันทางด้้านอาชีีพค่่อนข้้างสููง นัักศึึกษา
แต่่ละรายวิิชา พร้้อมทั้้�งปรัับตััวเองให้้เข้้ากัับสภาพการเรีียนการสอน การดำำ�รง
พยายามที่่�จะพััฒนาตนเองให้้เป็็นผู้�้ที่่�มีีทั้้�งความรู้�้ มีีทัักษะ และมีีคุุณลัักษณะ
คน มีีสุุขภาพ พลานามััยแข็็งแรง มีีพลัังกาย พลัังใจ และพลัังความคิิด
ารพััฒนาตนเอง และขอให้้ประสบความสำ�ำ เร็็จทุกุ ท่่าน โดยทั่่ว� กััน

นายธัชั พิิชัยั ปิยิ สวััสดิ์์�ธาดา
รักั ษาการผู้อ้� ำ�ำ นวยการกองพัฒั นานักั ศึึกษา

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

41

42

43

44

45

46

47

------------------------------

โดยที่่�เป็็นการสมควรปรัับปรุุงข้้อบัังคัับมหาวิิทยาลััยราชภััฏภููเก็็ตว่่าด้้วยกิิจกรรมนัักศึึกษา พ.ศ.๒๕๕๘

ให้้มีีความเหมาะสมยิ่ง� ขึ้�น
อาศััยอำ�ำ นาจตามความในมาตรา ๑๘ (๒) แห่่งพระราชบััญญััติิมหาวิิทยาลััยราชภััฏ พ.ศ. ๒๕๔๗
สภามหาวิิทยาลััยราชภััฏภููเก็็ต ในคราวประชุุมครั้�งที่�่ ๓/๒๕๖๒ เมื่�่อวัันที่�่ ๘ เดืือน มีีนาคม ๒๕๖๒ จึึงออก
ระเบีียบไว้้ดัังต่อ่ ไปนี้้�
ข้้อ ๑ ข้้อบังั คัับนี้้เ� รีียกว่่า “ข้้อบัังคัับมหาวิิทยาลััยราชภัฏั ภููเก็ต็ ว่า่ ด้ว้ ย กิิจกรรมนักั ศึกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๒”
ข้อ้ ๒ ข้้อบัังคัับนี้้ใ� ห้้ใช้บ้ ังั คัับตั้�งแต่ว่ ันั ถัดั จากวัันประกาศเป็็นต้้นไป
ข้้อ ๓ ให้้ยกเลิิกข้้อบัังคัับมหาวิิทยาลััยราชภััฏภููเก็็ต ว่่าด้้วย กิิจกรรมนัักศึึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘
บรรดาข้้อบัังคัับ ระเบีียบ คำ�ำ สั่่�ง หรืือประกาศอื่�่นใด หรืือซึ่�งขััดหรืือแย้้งกัับระเบีียบนี้้�ให้้ใช้้ระเบีียบนี้้�แทน
ข้้อ ๔ ในระเบีียบนี้้�
“มหาวิิทยาลััย” หมายความว่า่ มหาวิทิ ยาลััยราชภัฏั ภููเก็ต็
“สภามหาวิทิ ยาลััย” หมายความว่่า สภามหาวิิทยาลัยั ราชภัฏั ภููเก็ต็
“อธิกิ ารบดีี” หมายความว่า่ อธิกิ ารบดีีมหาวิทิ ยาลััยราชภัฏั ภููเก็ต็
“รองอธิกิ ารบดีี” หมายความว่า่ รองอธิกิ ารบดีีมหาวิทิ ยาลััยราชภัฏั ภููเก็ต็
“คณะ” หมายความว่่า คณะที่่�จััดตั้�งขึ้�นเป็็นส่่วนราชการภายในมหาวิิทยาลััย ตามกฎ
กระทรวง และให้้หมายความรวมถึึงส่่วนราชการภายในอื่่�นที่�่มีีฐานะเทีียบเท่่าคณะ
ที่�่จััดตั้�งขึ้�นโดยสภามหาวิิทยาลััยซึ่�งมีีวััตถุุประสงค์์ด้้านการจััดการศึึกษา
“กองพััฒนานัักศึึกษา” หมายความว่่า กองพััฒนานักั ศึกึ ษามหาวิิทยาลัยั ราชภัฏั ภููเก็ต็
“คณาจารย์”์ หมายความว่า่ คณาจารย์ม์ หาวิทิ ยาลัยั ราชภัฏั ภููเก็ต็
“องค์์กรนักั ศึึกษา” หมายความว่่า หน่่วยงานนัักศึึกษาซึ่�งทำำ�หน้้าที่่�บริิหารกิิจกรรมนัักศึึกษาของ
มหาวิิทยาลััย ซึ่่�งประกอบด้้วยหน่่วยงานหลััก ได้้แก่่ สภานัักศึกึ ษา องค์ก์ าร
บริหิ ารนัักศึกึ ษา สโมสรนัักศึกึ ษาคณะ และ ชมรม
“สภานักั ศึึกษา” หมายความว่า่ สภานัักศึกึ ษามหาวิิทยาลััยราชภัฏั ภููเก็ต็
“องค์์การบริหิ ารนัักศึึกษา” หมายความว่า่ องค์์การบริหิ ารนัักศึึกษามหาวิิทยาลััยราชภัฏั ภููเก็ต็
48

“สโมสรนัักศึกึ ษาคณะ” หมายความว่่า สโมสรนัักศึึกษาคณะที่เ่� ปิดิ การศึึกษาระดัับปริญิ ญาใน

มหาวิทิ ยาลัยั ราชภััฏภููเก็ต็
“ชมรม” หมายความว่่า ชมรมกิจิ กรรมนักั ศึึกษาที่ส�่ ังั กัดั องค์ก์ ารบริหิ ารนัักศึึกษา
มหาวิทิ ยาลััยราชภัฏั ภููเก็ต็
“ประธานสภานัักศึกึ ษา” หมายความว่่า ประธานสภานักั ศึึกษามหาวิทิ ยาลัยั ราชภัฏั ภููเก็ต็
“รองประธานสภานัักศึกึ ษา” หมายความว่่า รองประธานสภานักั ศึึกษามหาวิิทยาลัยั ราชภััฏภููเก็ต็
“นายกองค์ก์ ารบริหิ ารนักั ศึึกษา” หมายความว่า่ นายกองค์์การบริิหารนัักศึกึ ษา
มหาวิทิ ยาลัยั ราชภัฏั ภููเก็ต็
“อุุปนายกองค์์การบริิหารนัักศึึกษา” หมายความว่่า อุปุ นายกองค์์การบริหิ ารนักั ศึกึ ษา
มหาวิิทยาลัยั ราชภัฏั ภููเก็ต็
“นักั ศึกึ ษา” หมายความว่่า นัักศึึกษาของมหาวิทิ ยาลััยราชภัฏั ภููเก็ต็
ที่ศ�่ ึกึ ษาในระดับั ปริญิ ญาตรีี
“สมาชิกิ สภานัักศึึกษา” หมายความว่่า สมาชิิกสภานักั ศึกึ ษาของมหาวิิทยาลัยั ราชภัฏั ภููเก็ต็
“คณะกรรมการสภานัักศึึกษา” หมายความว่่า คณะกรรมการสภานักั ศึึกษา
ของมหาวิทิ ยาลััยราชภัฏั ภููเก็ต็
“คณะกรรมการองค์ก์ ารบริหิ ารนัักศึกึ ษา” หมายความว่า่ คณะกรรมการองค์ก์ ารบริิหารนักั ศึึกษาของ
มหาวิิทยาลัยั ราชภััฏภููเก็ต็
“คณะกรรมการชมรม” หมายความว่า่ คณะกรรมการชมรมของมหาวิิทยาลััยราชภััฏภููเก็ต็
“ที่ป�่ รึกึ ษากิจิ กรรมนักั ศึกึ ษา” หมายความว่่า คณาจารย์์ประจำ�ำ ข้้าราชการ หรืือพนัักงานมหาวิทิ ยาลััย
ที่่ไ� ด้ร้ ัับแต่่งตั้ง� จากมหาวิิทยาลัยั ให้้เป็น็ ที่ป�่ รึกึ ษาชมรม
ข้้อ ๕ ให้อ้ ธิกิ ารบดีีเป็น็ ผู้้�รักษาการตามข้อ้ บังั คับั นี้้� และให้้มีีอำ�ำ นาจวินิ ิจิ ฉัยั ชี้ข� าดในกรณีีที่�่เกิิดปัญั หา จากการใช้้
ระเบีียบ คำ�ำ วินิ ิิจฉััยชี้ข� าดของอธิกิ ารบดีี ให้้ถืือเป็็นที่�่สุดุ
ให้อ้ ธิิการบดีีสามารถออกประกาศเพิ่่�มเติิมในการดำำ�เนินิ งานตามข้อ้ บัังคัับได้้ แต่่ต้อ้ งไม่ข่ ััดหรืือแย้้ง
กัับข้้อบัังคับั นี้้�

หมวด ๑
นโยบายและวัตั ถุปุ ระสงค์์
ข้อ้ ๖ นโยบายของการดำ�ำ เนินิ กิจิ กรรมนัักศึกึ ษาตามระเบีียบนี้้� ให้้เป็น็ ไปเพื่�่อสนับั สนุุนการดำ�ำ เนินิ การ
ตามวััตถุุประสงค์์และภาระหน้้าที่่ข� องมหาวิทิ ยาลัยั ตามมาตรา ๖ และมาตรา ๗ แห่ง่ พระราชบััญญัตั ิิการ
ศึกึ ษาแห่่งชาติ ิ พ.ศ. ๒๕๔๒ ประกอบมาตรา ๗ และมาตรา ๘ แห่่งพระราชบัญั ญัตั ิมิ หาวิิทยาลัยั ราชภััฏ
พ.ศ. ๒๕๔๗
ข้้อ ๗ การดำำ�เนิินกิจิ กรรมนักั ศึึกษามีีวััตถุปุ ระสงค์์ดังั นี้้�
(๑) ส่ง่ เสริมิ ให้น้ ักั ศึกึ ษาได้เ้ รีียนรู้�การใช้ส้ ิทิ ธิแิ ละหน้า้ ที่ต�่ ามระบอบประชาธิปิ ไตย อันั มีีพระมหากษัตั ริยิ ์์
ทรงเป็็นประมุุข โดยฝึกึ ฝนและปลููกฝังั นิสิ ััยให้ม้ ีีความรัับผิิดชอบต่่อตนเองและส่ว่ นรวม รวมทั้้�งเคารพสิทิ ธิิ
และหน้้าที่�่ของผู้�อื่�น
(๒) ส่ง่ เสริมิ ความรู้� ความสามารถ และความรับั ผิิดชอบในกิิจกรรมต่่างๆ ของนัักศึกึ ษาเพื่่�อประโยชน์์
ในการพััฒนานักั ศึกึ ษาทั้้ง� ในด้า้ นประสบการณ์ ์ วิชิ าการ และวิชิ าชีีพ

49

(๓) ส่ง่ เสริมิ และปลููกฝังั ให้น้ ัักศึกึ ษามีีคุณุ ธรรม จริิยธรรม ความเสีียสละ และความรับั ผิิดชอบ
(๔) เสริิมสร้า้ งความรู้�ความเข้้าใจในคุุณค่่า ความสำ�ำ นึกึ และความภููมิิใจในวััฒนธรรมของท้้องถิ่น� และ
ของชาติิ
(๕) ส่่งเสริิมให้้นัักศึกึ ษามีีส่่วนร่ว่ มในการจัดั การ การบำ�ำ รุงุ รักั ษา และการใช้ป้ ระโยชน์์จากทรััพยากร
ธรรมชาติแิ ละสิ่�งแวดล้้อมอย่่างสมดุุลและยั่ง� ยืืน
(๖) เชื่�่อมความสััมพัันธ์์ แลกเปลี่่�ยนเรีียนรู้้�ประสบการณ์์ และความรู้�ความเข้า้ ใจ ระหว่่างนัักศึกึ ษากับั
มหาวิิทยาลัยั และกัับสถาบัันอื่�่นทั้้�งในประเทศและต่า่ งประเทศ
(๗) ส่่งเสริิมให้้นัักศึึกษามีีความสามััคคีี ความมีีน้ำ��ำ ใจเป็น็ นัักกีีฬา มีีบุุคลิกิ ภาพ พลานามััยและ
มนุษุ ยสัมั พันั ธ์์ที่ด่� ีี
(๘) ดำำ�รงไว้ซ้ึ่�งการดำ�ำ เนิินงานเพื่อ�่ เผยแพร่่เกีียรติคิ ุณุ ของมหาวิทิ ยาลัยั รวมทั้้�งให้ม้ ีีความรักั และความ
ผููกพันั ต่อ่ มหาวิิทยาลัยั
หมวด ๒
สิิทธิิ เสรีีภาพและหน้า้ ที่ข่� องนัักศึึกษา
ข้อ้ ๘ นักั ศึึกษามีีสิิทธิิและเสรีีภาพ ดังั ต่อ่ ไปนี้้�
(๑) ได้้รัับการศึึกษา การบริกิ าร และการเข้้าร่่วมกิจิ กรรมที่่ม� หาวิทิ ยาลััยจัดั ให้โ้ ดยเท่่าเทีียมกันั
(๒) แสดงความคิิดเห็น็ อันั เป็็นประโยชน์แ์ ก่ก่ ารดำำ�เนิินงานและความเจริญิ ก้้าวหน้า้ ขององค์์กร
นักั ศึกึ ษาอย่่างเสรีี โดยเปิดิ เผย ภายใต้้บทบััญญััติิแห่่งกฎหมาย กฎ ระเบีียบ ประกาศและข้อ้ บังั คับั
ของทางราชการและของมหาวิิทยาลััย
(๓) การสมัคั รเพื่่�อเข้้าดำ�ำ รงตำำ�แหน่ง่ ต่่างๆ ขององค์์กรนัักศึกึ ษา และออกเสีียงแสดงประชามติิ
ในกิิจการต่่างๆของนัักศึกึ ษา ตามระเบีียบของมหาวิทิ ยาลััยที่่เ� กี่ย่� วกับั กิจิ การนั้้�น
(๔) ร้อ้ งเรีียนต่อ่ สภานัักศึกึ ษาเพื่อ�่ พิจิ ารณาและหาแนวทางแก้ไ้ ขเสนอต่อ่ มหาวิทิ ยาลัยั กรณีีที่่ไ� ม่่ได้ ้
รัับความเป็็นธรรม
(๕) เข้้าร่ว่ มกิจิ กรรมที่่อ� งค์ก์ รนัักศึึกษาจัดั ขึ้�นตามความเหมาะสม และใช้ป้ ระโยชน์์จากอาคาร
สถานที่แ่� ละบริกิ ารที่่ม� หาวิิทยาลัยั จััดอำำ�นวยให้้
ข้อ้ ๙ นัักศึกึ ษามีีหน้า้ ที่ด่� ัังนี้้�
(๑) ศึึกษาเล่่าเรีียนตามหลัักสููตรอย่า่ งเต็ม็ กำ�ำ ลังั ความสามารถ
(๒) แต่ง่ กายให้้ถููกต้อ้ งตามระเบีียบของมหาวิทิ ยาลััย
(๓) รัักษาไว้ซ้ึ่�งความสามััคคีี ชื่อ�่ เสีียง เกีียรติขิ องนัักศึึกษาและมหาวิทิ ยาลััย
(๔) ให้ค้ วามร่ว่ มมืือและช่ว่ ยเหลืือในการดำ�ำ เนินิ กิจิ กรรมที่่�สอดคล้อ้ งกับั นโยบายและวัตั ถุปุ ระสงค์์
ของข้้อบัังคัับนี้้�
(๕) ปฏิบิ ััติติ ามกฎ ระเบีียบ ประกาศ ข้อ้ บังั คัับ คำำ�สั่่ง� และประเพณีีอันั ดีีงามของมหาวิทิ ยาลัยั
(๖) ธำ�ำ รงไว้ซ้ึ่ง� วััฒนธรรมองค์์กรของมหาวิทิ ยาลััย
(๗) ให้้ความเคารพและให้เ้ กีียรติิคณาจารย์แ์ ละบุคุ ลากรของมหาวิทิ ยาลััย
(๘) เข้้าร่ว่ มกิจิ กรรมของมหาวิิทยาลัยั คณะ และองค์์กรนัักศึกึ ษา ตามประกาศมหาวิิทยาลัยั

50


Click to View FlipBook Version