The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

งานอิชิตัน e-book (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

งานอิชิตัน e-book (1)

งานอิชิตัน e-book (1)

อิชิ อิ ตั ชิ นตั x ฟิล์ม ธนภัท ภั ร


ผู้จัดทำ หวังว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้ที่กำ ลังศึกษา หาข้อมูลเรื่องนี้อยู่หากมีข้อแนะนำ หรือข้อผิดพลาดประการใดผู้จัด ทำ ขอน้อมรับและขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย หนังสือเล่มนี้จัดทำ ขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของประกาศนียบัตรวิชาชีพ ขั้นสูงเพื่อประสงค์ให้ผู้เรียนได้รับความรู้ในเรื่องกลยุทธ์ทางการ ตลาดเพื่อเป็นประโยชน์ในการเรียน คำ นำ นายศรชัย เคนโพธิ์ ผู้จัดทำ ก


สารบัญ บั ประวัติความเป็นมาของ บริษัท อิชิตันกรุ๊ป จำ กัด (มหาชน) แนวคิดเกี่ยวกับส่วนประสมทางตลาด (Marketing Mix) ความแตกต่างของผลิตภัณฑ์ (Product Differentiation) องค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ (Product Component) การกำ หนดต่ำ แหน่งผลิตภัณฑ์ (Product Positioning) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Product Development) ส่วนประสบผลิตภัณฑ์และสายการผลิต (Product Mix and Line) กลยุทธ์ด้านราคา (Price Strategies) ช่องทางการจัดจำ หน่าย ( Channel of distribution) กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมการตลาด (Promotion Strategies) การส่งเสริมการขาย (Sales Promotion) ข 1 2 2 3 4 4 5 6 7 8 9


บริษัท อิชิตัน กรุ๊ป จากัด จัดตั้งโดย คุณตัน ภาสกรนที เมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2553 โดยใน การจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทนั้นใช้ชื่อว่า บริษัท ไม่ตัน จากัด เพื่อประกอบเครื่องดื่ม ซึ่งประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์น้าผลไม้ผสม ดับเบิลดริงก์และชาเขียวอิชิตัน ทั้งนี้คุณตันประกาศคามั่นสัญญาในการดา เนินงาน ของบริษัทว่าตั้งแต่ปีแรกที่ดาเนินการ เขาและภรรยาจะแบ่งครึ่งของ เงินปันผลที่ได้จากบริษัทฯ ในส่วนที่ ทั้งสองถือหุ้นอยู่ ให้กับมูลนิธิตันปัน เพื่อพัฒนาการศึกษาและสิ่งแวดล้อม ซึ่งก่อตั้งในช่วงเดียวกันนั้น จนกระทั่ง เมื่อคุณตันมีอายุครบ 60 ปี คือเริ่มตั้งแต่วันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป เขาจะเพิ่มเงิน บริจาคจากส่วนที่ได้รับปันผลขึ้นเป็นไม่ต่ากว่าร้อย ละ 90 อีกด้วยและปัจจุบันได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท อิชิตัน กรุ๊ป จากัด ประวัติวัติ ความเป็นมาของ บริษั ริ ท ษั อิชิ อิ ตั ชิ นตั กรุ๊ป จำ กัด กั (มหาชน) 1


ประวัติวัติฟิล์ม ธนภัท ภั ร ฟิล์ม ธนภัทร กาวิละ เกิดวันที่ 20 เมษายน พ.ศ.2536 ที่จังหวัดสระบุรี สำ เร็จการ ศึกษาระดับมัธยมปลาย จากโรงเรียนสระบุรีวิทยาคม ระดับอุดมศึกษา จากคณะ บริหารธุรกิจ สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยกรุงเทพ โดยฟิล์มได้รับเกียรตินิยม อันดับ 2 เคยเป็นสจ๊วตสายการบิน ไทยไลอ้อนแอร์ และเคยประกวด DUTCHIE BOY & GIRL 2013 เข้าวงการจากโครงการ “รักฝุ่นตลบ Casting Project” เพื่อค้นหา นักแสดงหน้าใหม่ที่จะเซ็นสัญญาเป็นนักแสดงในสังกัด เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์ และร่วมแสดงในซีรีส์ “รักฝุ่นตลบ ” เป็นที่รู้จักจากการรับบท หมออินทัช ใน “ เสน่หา Diary ตอน กับดักเสน่หา ” และ เพชร ใน “ เรือนเบญจพิษ ” ผลงาน เรื่อง “ เมีย 2018” ในบท วศิน ส่งผลให้ฟิล์มเข้าครองใจสาว ๆ เพิ่มมากขึ้น และ ในปี พ.ศ.2562 ฟิล์มได้ผันตัวเป็นนักร้องเต็มตัวครั้งแรก และร้องเพลงในชีวิตแรก อย่างเพลง คนเดียว กับ อภิวัฒน์ พงษ์วาท


แนวคิดเกี่ย กี่ วกับ กัส่วนประสมทางตลาด (Marketing Mix) กลยุทธ์การตลาดที่ใช้ในการศึกษาในภาคนิพนธ์นี้ คือส่วนประสมทางการตลาด ซึ่งคุณตัน ภาสกรนที ผู้ก่อตั้งบริษัท อิชิตัน กรุ๊ป จากัด (มหาชน)และเป็นผู้ที่ ตัดสินสินใจในการกาหนด ส่วนประสมทางการตลาด โดยให้ฝ่ายการตลาดสายธุรกิจ เครื่องดื่ม เป็นฝ่ายรับผิดชอบหลักในการบริหาร กลยุทธ์นี้ 2 ความแตกต่างของผลิต ลิ ภัณ ภั ฑ์ (Product Differentiation) ชาเขียวอิชิตันเป็นเครื่องดื่มชาเขียวพร้อมดื่มรูปแบบออร์แกนิค (Organic) ที่ ดูแลคัดสรรมาอย่างดีทั้งกลิ่นและรสชาติจะต้องปลอดสารเคมี ซึ่งกลายเป็นเครื่องดื่มชา เขียวที่มีความเป็น ธรรมชาติมากที่สุด เนื่องจากในปัจจุบันยังไม่มีเครื่องดื่มชาเขียว พร้อมดื่มใดที่ได้กาหนดผลิตภัณฑ์ให้เป็น รูปแบบ ชาออร์แกนิค ซึ่งกลายเป็น ลักษณะที่โดดเด่นของบริษัทอิชิตัน


องค์ประกอบของผลิต ลิ ภัณ ภั ฑ์ (Product Component) •ชื่อผลิตภัณฑ์ อิชิตัน มีความหมายมาจากคาว่า “ อิชิ” ในภาษาญี่ปุ่นแปลว่า หนึ่ง โดยให้สื่อความหมายถึงสิ่งที่ดีที่สุด และตัน มาจากชื่อของตัน ภาสกรนที ซึ่งเป็นการสื่อสารถึงตรา สินค้าบุคคลและผู้ที่เป็นผู้ก่อตั้งบริษัทอิชิตัน •การออกแบบตราสัญลักษณ์ (Logo) ของชาเขียวอิชิตันนั้น มีความสอดคล้อง กับตราสินค้าคือ โลโก้มีลักษณะเป็นเลขหนึ่งไทยโดยหมายถึงคาว่าอิชิในผลิตภัณฑ์ และความเป็นที่ หนึ่งของชาเขียวอิชิตัน แต่รูปแบบของตราสัญลักษณ์นั้น ไม่จาเป็น ต้องเป็นลักษณะลายเส้นบนพื้นสีแดง เท่านั้น โดยสามารถใช้รูปแบบตราสัญลักษณ์ อื่นตามความเหมาะสมกับผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดที่ออกมาได้ เพื่อให้เกิดความแปลกใหม่ แต่ต้องมีความสอดคล้อง น่าจับต้องและน่าลอง •การออกแบบบรรจุภัณฑ์ของชาเขียวอิชิตัน ถือว่าเป็นกลยุทธ์ที่มีความสาคัญ โดย พิจารณาเป็นขนาดที่เหมาะสมต่อการบริโภคครั้งเดียวหมด นอกจากนี้การออกแบบรูปแบบ ทรงขวดจะเน้นให้มีเอวคอดบริเวณกลางขวด เพราะเวลาเรียงขวดใส่แช่ตู้ แล้ว ขวดจะไม่ ชิดกัน มีช่องว่างระหว่างขวด เพื่อให้ความเย็นไหลผ่านระหว่างขวดได 3 •การออกแบบฉลากบนขวดนั้น จะมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในหน้าเดียว และให้ มีความชัดเจนในการบ่งบอกคุณลักษณะ (Character) ของสินค้าแต่ละชนิด และ นอกจากนั้นยังมี การพิมพ์รูปตัน ภาสกรนที ลงบนฉลาก เพื่อสร้างการรับรู้และการจดจา ตราสินค้าของผู้บริโภคในช่วงแรก ที่มีการเปิดตัวชาเขียวอิชิตันเข้าตลาด


การกำ หนดต่ำ แหน่งผลิต ลิ ภัณ ภั ฑ์ (Product Positioning) 4 ชาเขียวอิชิตันได้กาหนดตาแหน่งผลิตภัณฑ์ของตนคือ Master of Green หรือ การเป็น ตัวจริงเรื่องชาเขียวโดยการกาหนดตาแหน่งผลิตภัณฑ์ดังกล่าวนั้นสะท้อน นิสัยและ ทัศนคติของตัน ภาสกรนที ซึ่งเป็นผู้นาขององค์กร อย่างไรก็ตาม ในการกาหนดตาแหน่ง ผลิตภัณฑ์ ไม่ได้มีการสารวจความต้องการของผู้บริโภค เนื่องจากมีประสบการณ์ที่องค์กร เคยสารวจความ ต้องการของผู้บริโภคแล้วนามากาหนดตาแหน่งผลิตภัณฑ์ แต่กลับไม่ ประสบความสาเร็จทางด้านยอดขาย ดังนั้นองค์กรจึงเลือกที่จะกาหนดตาแหน่งผลิตภัณฑ์ เอง โดยตั้งสมมติฐานในขั้นต้น แล้วจึงนาไปสอบถาม ความพึงพอใจของผู้บริโภค แล้วจึง นาคาตอบที่ดีที่สุดมากาหนดตาแหน่งผลิตภัณฑ์ การพัฒนาผลิต ลิ ภัณ ภั ฑ์ (Product Development) การพัฒนาผลิตภัณฑ์สาหรับบริษัทอิชิตันมีอยู่สามเป้าหมายอันได้เเก่ 1.เพิ่ม ยอดขาย 2.เพิ่มกาไร 3.รักษา Positioning ของผลิตภัณฑ์ที่รองลงมา โดยมีการนาเสนอจาก ฝ่าย การตลาดหรือฝ่ายการพัฒนาเเละการวิจัยโดยขั้นตอนต่อไปคือการเลือกว่าจะ พัฒนาส่วนใดในน้าชาโดยอาจจะเป็นรสชาติหรือการปรับปรุงสูตรใหม่โดยอาจจะ เป็นการเปลี่ยนใบชา ผงชาหรือคุณภาพชาเเละ ส่วนประกอบเเละให้ฝ่ายการตลาด สอบถามความพึงพอใจรวมไปถึงวางเเผนการตลาดในอนาคตโดย อาจจะตั้งราคาที่สูง ขึ้นหรือตั้งราคาที่เหมาะสมกับราคาที่จะสามารถตอบสนองกับความต้องการของลูกค้า ที่จะ เกิดขึ้นได้ในขั้นต่อไปโดยเป้าหมายทั้งหมดจะผู้นาองค์กรจะเป็นผู้ที่ช่วยกันกาหนด พร้อมกับฝ่าย การตลาดเเละฝ่ายวิจัยซึ่งก็คือคุณตัน ภาสกรนที


กลยุทธ์ด้านส่วนประสมผลิตภัณฑ์ที่อิชิตันทานั้นโดยหลักจะมีเป้าหมายคือการ รักษา ตาเเหน่งผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่ เเละสร้างการรับรู้จดจาว่าเป็นตราสินค้าที่มีนวัตกรรมเเละความ เข้าใจ เรื่องชาเขียวเป็นอย่างดี (Master of Green) ซึ่งจะพบได้ว่าอิชิตันมีการวางเเผ นพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ขึ้นทุกๆปีเพื่อที่จะเป็นเเรงขับที่จะตอกย้าถึงตาเเหน่งผลิตภัณฑ์ ความเป็นชาเขียวตัวจริงสายการผลิตของอิชิตันนั้นจะอาศัยการร่วมมือกับโรงงานภายนอก (OEM) ซึ่งจะเป็นการวางเเผนสายงานทั้งปีไม่ว่าจะเป็นสินค้าที่เคยผลิตอยู่เเล้วหรือสินค้า ใหม่ๆที่คาดว่าจะพัฒนา ซึ่งจะทางฝ่ายเเผนพัฒนาเเละวิจัยหรือฝ่ายทางเเผนการตลาดจะ ติดต่อเข้ามาเพิ่มเติมกับความต้องการ รวมถึงจานวนเเละปริมาณที่จะต้องส่งต่อช่องทางจัดจา หน่าย โดยในด้านการจัดหาวัตถุดิบทางอิชิตันได้ใช้ วิธีการควบคุมต้นทุนคุณภาพสินค้าโดย การทาสัญญาซื้อขายล่วงหน้ากับผู้ผลิตเเละผู้จัดหาวัตถุดิบต่างๆ ที่สาคัญยังสามารถป้องกัน ความเสี่ยงในการขาดเเคลนวัตถุดิบในการผลิตอีกด้วย อีกทั้งจะใช้เเผนควบคุม คุณภาพใน การตรวจสอบคุณภาพโดยจะดูทั้งกายภาพ เคมี ชีวภาพ เเละประสาทสัมผัสตามมาตรฐาน ก่อน ส่งผลิดภัณฑ์ ส่วนประสบผลิต ลิ ภัณ ภั ฑ์และสายการ ผลิต ลิ (Product Mix and Line) 5


เนื่องจากอิชิตันเป็นบริษัทที่ดาเนินการมาเเล้วเป็นเวลาหลายปีทาให้กลยุทธ์ทางด้าน ราคาของบริษัทอิชิตันนั้นใช้การกา หนดราคาต่ากว่าคู่เเข่งขัน (Pricing Below the Competition) เนื่องจากคุณค่าที่รับรู้ของราคาสาหรับตาเเหน่งผลิต ภัณท์ของอิชิตัน(Percevied Value) นั้น ต้องมีราคาที่สูงกว่าตลาดคู่เเข่งซึ่งก็คือ เพียวริคุ ที่ได้ตั้งราคาไว้ที่ 12 บาทซึ่ง จาก การศึกษาพบว่าทาให้ลูกค้ามีการรับรู้จดจาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์นี้เป็นผลิตภัณท์ที่ไม่มีคุณค่าทาง สารอาหาร เเละใช้ สารประกอบทางเคมีเพื่อลดต้นทุน ซึ่งทาให้การวางตาเเหน่งผลิตภัณฑ์นั้นไม่ เป็นไปตามที่ได้ตั้งไว้ว่าอิชิตันเป็น Master of Green ส่งผลให้ต้องตั้งราคาที่สูงกว่าเพียวริคุ เเต่ ทว่าการที่เดิมอิชิตันนั้นต้องมีค่าธรรมเนียมเเรกเข้าสาหรับ การวางสินค้าในตลาดธุรกิจสมัยใหม่ เเละการว่าจ้างบริษัทต่างๆในการกระจายสินค้าทาให้ต้นทุนคงที่นั้นสูง (Fixed Cost) ทาให้ต้องมี การจัดการควบคุมต้นทุนเเปรผัน(Viariable Cost) โดยการทาสัญญาซื้อขายล่วงหน้าเป็น ระยะ เวลา 1 ปี ซึ่งในส่วนนี้จะช่วยให้บริษัทนั้นป้องการขาดเเคลนเเละผันผวนของสินค้าที่จะต้อง ใช้ เช่น ใบชา เเละส่วน ผสมรสชาติผลไม้ต่างๆ เเละเมื่อพิจารณาการเเข่งขันของตลาดเครื่องดื่ม ชาเขียวจะค้นพบว่าบริษัทโออิชินั้นได้มีศักยภาพ ทั้งตลาดธุรกิจดั้งเดิมเเละธุรกิจสมัยใหม่ (ราคา 20 บาทต่อขวด ขนาด 500 มิลลิลิตร) ส่วนบริษัทเพียวริคุนั้นได้มี ศักยภาพในตลาดธุรกิจดั้งเดิม (ราคา 16 บาทต่อขวด ขนาด 350 มิลลิลิตร) ส่งผลให้คุณตันได้มองเห็นช่องว่างของ ตลาดที่ คนไทยนั้นชอบของดีราคาถูกเเละได้มีความคิดเกี่ยวกับขนาดเเละราคาของอิชิตันไว้อยู่ที่ราคา16 บาทต่อขวดเเละ มีขนาด 420 มิลลิลิตร ซึ่งเป็นขนาดที่ลูกค้านั้นสามารถดื่มได้หมดเเละไม่รู้สึก ว่าน้อยเกินไปจนต้องซื้อขวดใหม่ ซึ่งได้ เเก้ข้อเสียของผลิตภัณฑ์ของทั้งโออิชิเเละเพียวริคุในเวลา นั้น ยิ่งไปกว่านั้นด้วยการออกเเบบขวด ปริมาณขวดเเละราคา นี้ได้คานึงถึงช่วงที่จะต้องทาการ ส่งเสริมการขายไว้เรียบร้อยเเล้ว เพื่อเตรียมพร้อมกับสถานการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นในการก ระตุ้น ยอดขายหรือเพื่อต้องการสร้างเเรงขับให้กับตราสินค้าอีกขณะหนึ่ง สาหรับกลุ่มเป้าหมายของ อิชิตันนั้นคือตลาด มวลรวม ซึ่งจากราคาที่ได้กล่าวไว้ข้างต้นนั้นได้คานึงถึงพฤติกรรมการซื้อเเละ ระดับรายได้เฉลี่ยของผู้บริโภคทั้งหมดไว้ เเล้วทาให้มั่นใจได้ว่าด้วยราคาที่ตั้งไว้ลูกค้าทุกเพศทุกวัย หรือทุกกลุ่มอายุนั้นจะสามารถซื้อได้โดยยังคงรักษาตาเเหน่ง ผลิตภัณฑ์ที่ตั้งไว้ได้ 6 กลยุทธ์ด้า ด้ นราคา (Price Strategies)


7 ช่องทางการจัด จั จำ หน่าย ( Channel of distribution) 1. บริษัทดีเคเอสเอช(ประเทศไทย)จากัดที่เป็นผู้จัดจาหน่ายหลักของบริษัท โดยมีสัดส่วนอยู่ที่ ร้อยละ 79.6 ของยอดขายปี พ.ศ. 2558 ซึ่งจะเน้นส่วน ใหญ่เป็นตลาดธุรกิจสมัยใหม่ เเต่ก็ยังกระจายสินค้าสู่ตลาดธุรกิจเเบบดั้งเดิม ด้วยเช่นกัน 2. บริษัทไอเเอมกรีนทีจากัดเป็นบริษัทที่ได้มีการจัดตั้งมาจากบริษัทอิชิตันที่ ได้ตั้งขึ้นมาเพื่อกระจายสินค้าในตลาดธุรกิจเเบบดั้งเดิมที่ไม่ทับซ้อนกับ บริษัทบุญรอดเอเชียขึ้นมา เเละมีสัดส่วนเเบ่งอยู่ที่ร้อยละ 12.8 3. บริษัทบุญรอดเอเชียจากัดมีส่วนเเบ่งอยู่ที่ร้อยละ5.1โดยจะเน้นอยู่ที่ตลาด ธุรกิจดั้งเดิมซึ่งมีศักยภาพมากในตลาดธุรกิจดั้งเดิมเพราะเป็นสายส่งเดียวกับ เครื่องดื่มเบียร์สิงห์ ที่ทำ ตลาดได้มีศักยภาพมากกว่าบริษัท ดีเคเอสเอช จา กัด 4. ส่งออกไปประเทศในกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC)คิดเป็นร้อย ละ2.5ของยอดขายปีพ.ศ. 2558 เช่น ลาว กัมพูชา พม่า อินโดนีเซีย เป็นต้น โดยพื้นที่การกระจายสินค้าของผู้จาหน่ายเเต่ละรายนั้นมีเขตพื้นที่ ไม่ทับซ้อนกัน


กลยุทธ์ด้า ด้ นการส่งเสริม ริ การตลาด (Promotion Strategies) 8 การโฆษณา (Advertising) คือ การสื่อสารการตลาดโดยใช้สื่อต่างๆ เช่น สื่อโทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร สื่อนอกบ้าน สื่อกลางแจ้ง สื่อ ณ จุดขาย ฯลฯ บริษัท อิชิตัน จากัดได้ว่าจ้างบริษัท วายเเอนด์อาร์ จากัดให้เป็นที่ปรึกษา เกี่ยว กับกลยุทธ์การสร้างตราสินค้าเเละการผลิตโฆษณาโดยบริษัทต้องการสร้างการรับรู้ ให้ครอบคลุมกับตลาดมวลที่เป็นเป้าหมายของอิชิตันให้ครอบคลุมมากที่สุด มีวัตถุประสงค์หลักคือการรับรู้เเละจดจาตราสินค้า ในการใช้ยุทธวิธีการโดยใช้สื่อโทรทัศน์ของบริษัทฯนั้นเน้นใช้การโฆษณาเเบบ สร้างสรรค์ให้เชื่อมโยงตราสินค้าบุคคล (คุณตัน ภาสกรนที) กับตราสินค้าชาเขียวอิชิ ตัน เพื่อสร้างการรับรู้ เเละจดจาตราสินค้าภายในระยะเวลาอันสั้น มีการปรับยุทธวิธีในการใช้โฆษณาเพิ่มเติมคือมี การใช้โฆษณาเพื่อรักษาขอบเขตทางการค้าของตนเนื่องจากคู่เเข่งมีการออก ผลิตภัณฑ์ที่มีรูปลักษณ์เเละ ลักษณะใกล้เคียงกับชาเขียวอิชิตัน จึงทาให้บริษัท ต้องลงโฆษณาที่อธิบายความเเตกต่างของผลิตภัณฑ์ทั้ง สองซึ่งเพื่อสร้างความเข้าใจ ที่ถูกต้อง การตัดสินใจใช้ คุณตันเป็นผู้โฆษณาตั้งเเต่ต้นถือเป็นการตัดสินใจที่ สามารถป้องกันความสับสนของผลิตภัณฑ์ระหว่างของสองสินค้าได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ยังมีการใช้สื่ออื่นอย่างเช่น ยูทูป หรือที่เรียกกันว่า เพื่อสร้างการ รับรู้ตราสินค้าชาเขียวอิชิตัน


- การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่คนกลาง การกระตุ้นคนกลางของชาเขียวอิชิตันนั้น จะเน้นการใช้กลยุทธ์ทางราคา เช่น การลดรา คาเเละการเเถมสินค้ากับร้านค้าส่งเเละร้านค้าปลีก โดยการส่งเสริมการตลาดผ่านผู้ค้าของอิ ชิตัน เช่น ซุปเปอร์มาร์เกต ไฮเปอร์มาเกต เเละร้านสะดวกซื้อ เป็นต้น นั้นจะจัดทาใน ฤดูฝนหรือช่วงเดือน มิถุนายนถึงกันยายน ซึ่งจะจัดรายการส่งเสริมการขายเป็น การลด ราคาสินค้าลง การเเถมสินค้าฟรี เเละการซื้อสินค้าเพื่อร่วมชิงรางวัลต่างๆเป็นต้น การส่งเสริม ริ การขาย (Sales Promotion) 9 - การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค การทากิจกรรมส่งเสริมการขายของอิชิตันนั้นเป็นตามฤดูโดยฤดูร้อนจะจัดตั้งเเต่ ระหว่าง ช่วงเดือนกุมพาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคม เเละเป็นกิจกรรมการชิงโชคเสียเป็นส่วน ใหญ่ โดยมีพื้นฐานมา จากพฤติกรรมของคนไทยที่ชอบลุ้นรางวัลเสียเป็นส่วนใหญ่ เช่น อิชิตันรหัสรวยเปรี้ยง 3 เเจกเบนซ์ทุกวัน 50 คัน 50 วัน เเละรหัสลุ้นรวย เปรี้ยง 60 วัน 60 ล้าน รีเทิร์น เป็นต้น - การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่พนักงาน เนื่องจากการที่อิชิตันนั้นอาศัยผู้จัดจาหน่ายทั้งสามรายในการทาการจัดจาหน่าย ทาให้ อิชิ ตันนั้นใช้วิธีการให้ค่าคอมมิสชั่น (Commission) ในการกระตุ้นพนักงานของบริษัททั้ง สามโดยมีฝ่าย การตลาดเชิงพานิชย์เป็นผู้กาหนดเเผนงาน ควบคุมเเละจัดการซึ่งถ้าหากมี ผลิตภัณฑ์ใดที่มียอดขายที่ตา กว่าเป้าหมายก็จะกระตุ้นพนักงานโดยการให้ค่าคอมมิสชั่น เพิ่มมากกว่าผลิตภัณฑ์ที่ขายดีอยู่เเล้ว ถ้าหาก สามารถขายผลิตภัณฑ์ดังกล่าวได


•การตลาดเชิงกิจกรรม• (Event Marketing) การจัดตลาดเชิงกิจกรรมของอิชิตันนั้น เป็นการจัด กิจกรรมการตลาดระหว่างปี โดยจะ เลือกเข้าร่วมกับกลุ่ม เป้าหมายที่มาร่วมงานมากกว่า 3,000 คนขึ้นไป โดยจะ พิจารณาจากความคุ้มค่าใน การร่วมงานดังกล่าวทั้งในเเง่ ของการกระตุ้นยอดขายเเละการสร้างตราสินค้า •Direct Marketing• ใช้ Email Marketing เป็น ศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์เพื่อการร้อง เรียน 24 ชั่วโมง การประชาสัมพันธ์ (Public Relation) สำ หรับวัตถุประสงค์สร้างการรับรู้สินค้าที่เปิดตัวใหม่เเละกิจกรรมทางการตลาดโดยจะ ทารูปเเบบสื่อมวลชน สัมพันธ์(PressRelease) โดยใช้รูปเเบบข่าวเเจกโดยขอความร่วมมือจากสื่อ หนังสือพิมพ์โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สาหรับหนังสือพิมพ์ทั่วไปจะใช้ไทยรัฐ เดลินิวส์ ข่าวสด มติชน คมชัดลึก ส่วนหนังสือพิมพ์ธุรกิจจะลงใน หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ โพสต์ทูเดย์ ฐานเศรษฐกิจ ประชาชาติธุรกิจ เอเอสทีวี ผู้จัดการรายวันเเละดอกเบี้ย ธุรกิจ ในขณะที่การลงในหนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษจะใช้เป็น The Nation เเละ Bangkok Post วัตถุประสงค์การสร้างภาพลักษณ์ของตราสินค้าจะใช้การสัมภาษณ์ผู้บริหารในเเง่กลยุทธ์ การตลาดเเละบริหาร งาน ซึ่งยังรวมถึงวัตถุประสงค์การสร้างความมั่นใจให้กับนักลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ โดยจะจัดพิมพ์บทความ ลงในสื่อต่างๆที่กล่าวมาข้างต้น


swot Strength เป็นผู้นำ ด้านการตลาดทำ ให้เป็นที่น่า สนใจและดึงดูดใจแก่ของผู้บริโริภค Weakness จะเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ๆนั้น นั้ เป็นไปได้ ยากเนื่องจากอิชิตันเป็นที่รู้จักของผู้ บริโภคในด้านน้ำ ดื่มประเภทชา Op.pornity ตลาดยังเปิดกว้างสำ หรับเครื่องดื่มไร้แอลกอฮอล์ สารสื่อไร้พรมแดนทำ ให้ผลิตภัณฑ์เข้าถึงผู้ บริโภคได้ง่ายขึ้น ขึ้ Treat สินค้าตัวแทน เนื่องจากตลาดเครื่องดื่มนี้มี นี้ มี การขยายออกอย่างแพร่หลายทำ ให้ผู้บริโภค มีทางเลือกมากขึ้น ขึ้ กว่าในอดีต


The BCG Matrix Bottled water ichitan kinley dasani ichitan RELATIVE MARKET SHARE M A R K E T G R O W T H R A T E ผลิตภัภัณฑ์ต่างๆในสี่ส่วนชื่อ Dogs,Stars,Cash Cows และ the Question mark ใน BCG matrix ของอิชิตัน เราจะ วิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ที่มีการเติบโตช้า ผลิตภัณฑ์ที่มียอด ขายสูง มีการเติบโตสูง มียอดขายสูง และมีการเติบโตต่ำ


Click to View FlipBook Version