The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2566 ( V.Thai)
ผลการดำเนินงานศูนย์คามิลเลียน โซเชียล เซนเตอร์ ระยอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prcamillian.rayong, 2024-05-21 23:38:53

รายงานประจำปี 2566

รายงานประจำปี 2566 ( V.Thai)
ผลการดำเนินงานศูนย์คามิลเลียน โซเชียล เซนเตอร์ ระยอง

คามิลเลียน โซเชียล เซนเตอร์ ระยอง รายงานประจําป� 2566


รายงานประจําป พ.ศ.2566 จัดทําขึ้นเพื่อรายงานผลการดําเนินงานการบริหาร จัดการสถานการณเอชไอวีและเอดสในจังหวัดระยองของศูนยคามิลเลียน โซเชียล เซนเตอร ระยอง ในรอบป พ.ศ.2566 (1 มกราคม – 31 ธันวาคม) ทั้งในดานการดําเนินกิจกรรม โครงการตามวัตถุประสงคขององคกรที่มุงสูการเปน “องคกรศาสนาตนแบบที่ทํางานเชิงรุก แบบองครวมเพื่อยุติปญหาเอดส” ซึ่งไดแบงประเภทไวจํานวน 7 แผนงานหลัก ไดแก 1) สถานสงเคราะหเด็กเอกชนที่ไดรับผลกระทบจากเอดส 2) สงเสริมการการดํารงชีวิต โดยอิสระของเยาวชนที่อยูรวมกับเชื้อเอชไอวี/เอดส 3) ดูแลผูปวยเอดสแบบ ประคับประคอง 4) ฟนฟูสุขภาพและอาชีพผูอยูรวมกับเชื้อเอชไอวีและผูพิการ 5) ปองกัน การติดเชื้อเอชไอวี/เอดสในกลุมประชาชน 6) สนับสนุนการเขาถึงสวัสดิการและสังคม สงเคราะห 7) การอภิบาล นอกจากนั้นยังมีรายงานดานการใชจายเงินงบประมาณ ซึ่งแผนงานของโครงการเหลานี้ไดดําเนินการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของคนที่ไดรับ การอบรมผูที่มีเชื้อเอชไอวีและผูที่ไดรับผลกระทบจากเอดส หวังเปนอยางยิ่งวา รายงานประจําปฉบับนี้จะเปนเอกสารที่เปนประโยชน ตอทุกหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของและผูสนใจทั่วไป ขอขอบพระคุณบุคลากรทุกฝายที่ไดให ความรวมมือในการดําเนินงานทุกดานใหสําเร็จลุลวงไปดวยดี บาทหลวงปยะศักดิ์ วองไว ผูอํานวยการศูนยคามิลเลียน โซเชียล เซนเตอร ระยอง สารจากผูอํานวยการ 1


กลุ่มเปาหมาย� • เด็กกําพราที่ติดเชื้อเอชไอวีและเด็กที่ ไดรับผลกระทบจากเอดส • ผูอยูรวมกับเชื้อเอชไอวีและผูปวยเอดสที่ มีฐานะยากจน ไมมีที่พักอาศัย ถูกปฏิเสธ จากครอบครัวและสังคม ผูประสบปญหา อันเนื่องมาจากเอชไอวี/เอดส • ประชาชน โดยเฉพาะเด็ก เยาวชน สตรีที่ มีความเสี่ยงจากเอชไอวี/เอดส บทนํา ศูนยคามิลเลียน โซเชียล เซนเตอร ระยอง เปนกิจการหนึ่งของมูลนิธิคณะ นักบุญคามิลโล ซึ่งมุงการทํางานในประเด็นเอชไอวีและเอดส โดยมีพื้นที่การทํางานอยู ในจังหวัดระยองและจังหวัดใกลเคียง มีสถานะเปนสถานสงเคราะหเด็กเอกชนและ องคกรสาธารณประโยชน ตลอดจนเปนหนวยบริการที่รับการสงตอเฉพาะดานบริการ เอชไอวีและโรคติดตอทางเพศสัมพันธในชุมชน โดยดําเนินการเปนปที่ 28 ใหการดูแล อุปการะ ชวยเหลือ และพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก กําพราที่ติดเชื้อเอชไอวีและเด็ก ที่ไดรับผลกระทบจากเอดส อภิบาลดูแลสนับสนุน ชวยเหลือคนอนาถา โดยเฉพาะอยางยิ่งผูอยู รวมกับเชื้อเอชไอวีและ ผูปวยเอดส พัฒนาและสรางกระบวนการ ทักษะและเครื่องมือ สําหรับให ความชวยเหลือดูแล อภิบาล ฟนฟูสุขภาพ และพัฒนา คุณภาพชีวิตแบบองครวม ใหการศึกษาอบรมแกสาธารณชน เกี่ยวกับเอชไอวี/เอดส และ พัฒนาทักษะการสื่อสารใน การปองกันและดูแลสนับสนุน ค้ําจุนผูปวยเอดส ใหคําปรึกษา ประสานความรวมมือและ การรับ-สงตอกับองคกรภาครัฐ เอกชน เครือขายศาสนา เครือขายผูอยูรวมกับ เชื้อเอชไอวี/เอดสภาคตะวันออก ปองกัน แกไขปญหาเอดสในมิติตาง ๆ พันธกิจ 2


“รักและรับใชผูปวยดุจมารดาดูแลบุตรชายคนเดียวที่กําลังปวยหนัก” ตามแบบอยางนักบุญคามิลโล เด แลลลิส ผูกอตั้งคณะนักบวชคามิลเลียน นโยบายขององคกร วิสัยทัศน พันธกิจ “องคกรศาสนาตนแบบที่ทํางานเชิงรุกแบบองครวมเพื่อยุติปญหาเอดส” 3


คามิลเลียน โซเชียล เซนเตอร ระยอง ใหการดูแล อุปการะ ชวยเหลือ และ พัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กกําพราที่ติดเชื้อเอชไอวีและเด็กที่ไดรับผลกระทบจากเอดส สนับสนุนชวยเหลือคนอนาถาโดยเฉพาะอยางยิ่งผูอยูรวมกับเชื้อเอชไอวีและผูปวย เอดส ตั้งแตปพ.ศ.2539 - พ.ศ.2566 มีผูไดรับบริการจํานวนรวมทั้งหมด 2,279 ราย รายละเอียดในป 2566 ดังนี้ จํานวนผูรับการสงเคราะหจําแนกประเภทและการเขา-ออก ประจําป พ.ศ.2566 ประเภทผูรับการสงเคราะห รับใหม เสียชีวิต กลับสู สังคม คงเหลือ (ป65-66) เด็กและเยาวชน เด็ก (อายุ 3 - 18 ป) ผูหญิง 11 คน ผูชาย 13 คน 3 0 0 24 • อยูรวมกับเชื้อเอชไอวี (พิการทางสติปญญา2คน) 3 0 0 15 • ไดรับผลกระทบจากเอดส 0 0 0 9 เยาวชน (อายุ 13-25 ป) ผูหญิง 9 คน ผูชาย 10 คน 0 0 3 19 • อยูรวมกับเชื้อเอชไอวี 0 0 2 10 • ไดรับผลกระทบจากเอดส 0 0 1 9 ผูใหญ ผูใหญอยูรวมกับเอชไอวี 8 5 4 63 • ผูสูงอายุ 0 3 0 14 • ผูพิการ 2 1 0 44 รวม 11 5 7 109 Source: งานสวัสดิการและสังคมสงเคราะห คามิลเลียนฯระยอง 4


กิจกรรมหลักที่ 1 โครงการดูแลเด็กกําพรา ที่ติดเชื้อเอชไอวีและเด็กที่ไดรับผลกระทบจากเอดส เปาหมาย ใหเด็กที่ไดรับผลกระทบมีคุณภาพชีวิตที่ดี สุขภาพ แข็งแรง ไดรับการศึกษา มีทักษะชีวิตและเห็นคุณคาของตนเอง ทางศูนยฯ ใหการดูแลเด็กที่ไดรับผลกระทบ จากเอชไอวี/เอดส จํานวน 24 คน โดยใหการดูแลดานสุขภาพ การศึกษา พัฒนาการดานอารมณโดยกิจกรรมดนตรีและสันทนาการ พัฒนาทักษะชีวิตและสงเสริมคุณธรรม ผานการจัดกิจกรรมเขาคาย นอกจากนั้น ยังมุงพัฒนาศักยภาพของผูดูแลใหมีความสุข ลดความเครียด เพิ่มความฉลาดทางอารมณเพื่อดูแลเด็ก ๆ ไดอยางมีความสุข ในอนาคต มุงพัฒนาใหผูดูแลมีความรูใหม ๆ และรูเทาทันเทคโนโลยี เพื่อสามารถสนับสนุนใหเด็ก เติบโต ในสังคมปจจุบันไดอยางมีคุณภาพ 5


กิจกรรมหลักที่ 2 โครงการดํารงชีวิตโดยอิสระของเยาวชน เปาหมาย สงเสริมการดํารงชีวิตและเตรียมความพรอมแก เยาวชน เพื่อจะดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง มีการศึกษา มีทักษะ และศักยภาพที่จะใชชีวิตในสังคมไดอยางภาคภูมิใจ เยาวชนในบานเยาวชน มีอายุระหวาง 13-25 ป เปนเยาวชนที่อยูรวมกับเชื้อเอชไอวีและไดรับผลกระทบจาก เอดส ภายในศูนยฯ จํานวน 19 คน ดานสุขภาพของเยาวชน ทางศูนยฯ ใหการอบรมเรื่องอนามัยเจริญพันธรวมกับ โรงพยาบาลระยอง ติดตามผลการรักษา ตลอดจนประเมิน สุขภาวะทางจิตใจและอารมณเปนระยะ นอกจากนั้น ยังมีกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต เชน การศึกษาดูงานเกี่ยวกับธุรกิจที่ประเทศกัมพูชา จัดใหมีสวนรวมรับผิดชอบภารกิจประจําวันในศูนย จัดกิจกรรมสงเสริมอาชีพและปลูกผักเพื่อประหยัดทุน และปลอดสารพิษ มีกิจกรรมสงเสริมคุณธรรม โดยเยาวชนมีสวนรวมในกิจกรรมทางศาสนาและคายเยาวชน ตาง ๆ ตลอดจนสงเสริมใหเยาวชนกลับไปเยี่ยมภูมิลําเนา เพื่อสานสัมพันธกับครอบครัวและถิ่นที่อยูเดิม เพื่อเพิ่มความเขาใจในการอยูรวมกัน 6


เปาหมาย ใหความรูในการทานยาตานไวรัสเพื่อไมใหเกิดโรคฉวยโอกาส สนับสนุนให สามารถใชชีวิตอยูรวมกับครอบครัวและสังคมได ใหมีทักษะอาชีพที่จะนําไปสรางรายได ผลการดําเนินงานในปที่ผานมา ทางศูนยไดดูแลผูอยูรวมกับ เชื้อเอชไอวีและผูปวยเอดสที่ยากไร 25 คน ใหไดรับการดูแลชวยเหลือ ใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ไดรับการรักษาดวยยาตานไวรัส ควบคุมปริมาณ เชื้อไวรัส (Viral Load) ต่ํากวา 20 Copy/ml พนภาวะภูมิคุมกันบกพรอง และสุขภาพแข็งแรงขึ้น มีผูที่สามารถกลับไปใชในชีวิตในสังคมดวยตนเองได ทางศูนยฯ ไดจัดกิจกรรมฟนฟูสุขภาพกายและใจ โดยจัดโปรแกรมควบคุมการทํากายภาพ เชน ปนจักรยานไฟฟา เดินราว นวดกายภาพ ประคบรอน ทุกวัน มีการจัดกิจกรรมบําบัดดานจิตใจ ผานงานศิลปะ ดนตรี การสนทนาพูดคุย การทองเที่ยวทะเล โดยเจาหนาที่และอาสาสมัคร นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรม นันทนาการ เชน วันครอบครัว ทําอาหาร รวมรับประทานอาหาร การอวยพรวันเกิด จัดใหผูปวยเขารวม กิจกรรมตามประเพณีกิจกรรมที่ผูปวยใหความสนใจคือ การเพิ่มทักษะสงเสริมอาชีพ เชน งานฝมือดอกไม ใยบัว เพนทกระถางตนไม ทํางานฝมือเชน พรมเช็ดเทา ที่นอนแมว เปนตน โดยทางศูนยฯ จัดหาอุปกรณ และวัตถุดิบให พรอมทั้งชวยจัดหาตลาดเพื่อการจําหนาย นอกจากนั้น ผูปวยยังรวมกันดูแลสมาชิกที่ เขาสูระยะสุดทาย ดูแลขางเตียง และสวดภาวนาสงดวงวิญญาณใหเพื่อนผูลวงลับ ในสวนของเจาหนาที่ผูดูแลและอาสาสมัคร ทางศูนยใหจัดใหมีการอบรมพัฒนาความรูอยางตอเนื่อง เพื่อนํามาใชกับผูปวยตอไป กิจกรรมหลักที 3 โครงการดูแลผูปวยเอดสแบบประคับประคอง 7


กิจกรรมหลักที่ 4 โครงการฟนฟูสุขภาพและอาชีพ ผูอยูรวมกับเอชไอวีและผูพิการ (สวนเอเดน) เปาหมาย เพื่อใหผูที่อยูรวมกับเชี้อเอชไอวี มีสุขภาพที่แข็งแรง สามารถ กลับไปใชชีวิตในสังคมได ในป 2566 ศูนยสวนเอเดน มีผูอยูรวมกับเชื้อเอชไอวี 33 คน ทุกคนไดรับการฟนฟูสุขภาพใหแข็งแรงขึ้น ไดรับการพบแพทยและรับยาตานไวรัสและยาจิตเวชอยางสม่ําเสมอ การทํากายภาพเพื่อฟนฟูใหรางกายดีขึ้น และ จัดใหมีโครงการเสริมสรางสุขภาพวะทางจิตใจใหกลุมผูหญิงที่อยูรวมกับเอชไอวี มีการฝกอาชีพใหสรางรายไดให ตนเองและพึ่งพาตนเองได ทั้งดานเกษตรกรรมและหัตถกรรม นอกจากนั้น ผูอยูรวมกับเชื้อเอชไอวียังเปน วิทยาการถายทอดองคความรู การทําพรมอเนกประสงค ใหกับสมาชิกผูพิการกลุมอื่น ๆ ดวย ทางศูนยมี ตลาดรองรับผลิตภัณฑทั้งผลผลิตทางการเกษตรและงานฝมือ ผานทางชุมชน สถานประกอบการ สถานศึกษา วัด ซึ่งเปดโอกาสใหนําผลิตภัณฑไปจําหนายอยูเสมอ สําหรับผูดูแลผูปวยและอาสาสมัคร ไดรับการพัฒนาอบรม ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการดูแลผูปวย สิทธิตาง ๆ และการเขาถึงการชวยเหลือดานสวัสดิการของผูปวย เพื่อใหเกิดความเขาใจและชวยเหลือผูปวยไดมากขึ้น 8


เปาหมาย มุงใหการแพรของเชื้อเอชไอวีและโรคติดตอทางเพศสัมพันธลดลง จํานวนผูติดเอดสลดลง และการตั้งครรภไมพรอมในวัยรุนลดลง ในป 2566 ทางศูนยฯ ไดรับการขึ้นทะเบียนและเปนหนวยบริการที่รับการสงตอเฉพาะดานบริการ เอชไอวีและโรคติดตอทางเพศสัมพันธในชุมชนกับสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) ทางโครงการไดจัดใหประชาชน โดยเฉพาะอยางยิ่งเยาวชนและพนักงานบริการหญิงจํานวน กวา 1,500 คนไดเขาถึงบริการความรู รับอุปกรณปองกันเอชไอวีและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ มีผูสนใจ เขารับการตรวจคัดกรองจํานวนกวา 300 คน ทําใหผูที่มีความเสี่ยงไดรับการวินิจฉัยและรับการดูแลรักษา นอกจากนั้น ยังเกิดเครือขายการจัดบริการเชิงรุกในชุมชนที่เขมแข็งและพัฒนาจุดกระจายถุงยาง อนามัยในชุมชนระดับตําบลมากกวา 32 แหง ไดดําเนินการแจกถุงยางมากกวา 26,000 ชิ้น ในวันเอดสโลก โครงการไดจัดกิจกรรมรณรงควันเอดสโลกรวมกับภาคีเครือขายและจัดใหมีบริการ ออนไลนใหคําปรึกษา สงตอ เผยแพรขอมูลและกิจกรรม นอกจากนั้นยังสนับสนุนและจัดใหมีอาสาสมัคร บริการชุมชนจากพนักงานที่สมัครใจ เขารวมการอบรมและสามารถใหบริการชุมชนไดเพิ่มขึ้น กิจกรรมหลักที่ 5 โครงการปองกัน การติดเชื้อเอชไอวี/เอดส 9


กิจกรรมหลักที่ 6 งานสวัสดิการและสังคมสงเคราะห เปาหมาย สงเสริม สนับสนุนผูที่อยูรวมกับเชื้อเอชไอวีสามารถกลับสูสังคม ครอบครัวได และมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีพฤติกรรมที่เหมาะสม เขาถึงระบบการรักษาสุขภาพ การศึกษา อาชีพ มีศักยภาพสามารถกลับไปใชชีวิตในสังคมไดดวยตนเอง ในป 2566 ผูที่อยูรวมกับเชื้อเอชไอวีสามารถเขาถึงสิทธิสวัสดิการ ผูพิการที่มีบัตร จํานวน 35 ราย ไดรับสิทธิการรักษาผูปวยเอดสและเด็ก ๆ ไดเขาเรียนตามสิทธิทั้งหมด นอกจากนั้น ยังมีผูที่เขารับการสงเคราะหออกไปใชชีวิตอยูรวมกับครอบครัวและสังคมได 6 ราย กิจกรรมหลักที่ไดทําไดแก งานแรกรับ การประเมินผูปวยกอนเขารับการสงเคราะห การปรับแก พฤติกรรมและพัฒนาศักยภาพผูรับการสงเคราะห โดยจัดกิจกรรมเสริมสรางทักษะชีวิตใหกับเด็กและเยาวชน การประสานสิทธิ สวัสดิการตาง ๆ การเตรียมความพรอมกอนกลับเขาสูสังคม การติดตามและเยี่ยมบาน การจัดกิจกรรมทางจิตวิทยาและสงเสริมพัฒนาการใหสมาชิก การใหคําปรึกษาทั้งผูที่รับการสงเคราะหและผูที่ โทรศัพทมาปรึกษา นอกจากนั้น ยังมีการพัฒนาบุคลากรดานสังคมสงเคราะหและจิตวิทยาในเรื่องความรูใหม ๆ อยูเสมอ เชน พระราชบัญญัติคุมครองสวนบุคคล (Personal Data Protection Act-PDPA) กับงานสงเคราะห, กระบวนการอบรม NLP, การปรับพฤติกรรมเด็กและเยาวชนเพื่อใหทันตอสังคมปจจุบัน 10


กิจกรรมหลักที่ 7 การอภิบาล เปาหมาย พัฒนาความเปนมนุษยในทุกมิติของชีวิตในบริบท สถานสงเคราะห เพื่อชีวิตที่สมบูรณ โดยเนนถึง ความสัมพันธ 3 มิติของชีวิต คือ พระเจากับมนุษย มนุษยกับมนุษย และมนุษยกับธรรมชาติ จากกระตุนใหเด็ก ผูปวยและบุคลากรมีสวนรวมในงานอภิบาล ทําใหเด็กมีความสนใจและมีสวนรวมใน การทําหนาที่ในพิธีกรรมตาง ๆ เชน การอานบทอาน การขับรองเพลง การเลนดนตรีและนําสวดในพิธีกรรม ตลอดจนชวยจัดเตรียมพิธีกรรมทางศาสนาในวันสําคัญตาง ๆ และเขารวมพิธีกรรมและกิจกรรมกับชุมชนวัดแม พระมารดานิจจานุเคราะห การจัดการแสดงละครศักดิ์สิทธิ์ การรองเพลงอวยพรเทศกาลคริสตมาส บุคลากรเห็นความสําคัญของหนาที่ในการอภิบาลผูปวย การดูแลเด็ก ๆ ปฏิบัติหนาที่ของตนเองอยาง ตั้งใจมากขึ้น โดยยึดผูปวยและเด็กเปนศูนยกลางในการทํางาน เด็ก ผูปวยและบุคลากรมีศาสนสัมพันธ ทั้งพิธีกรรมทางศาสนาคริสตและศาสนาพุทธ โดยการรวม พิธีกรรมตาง ๆ อยางเต็มใจและเปนการเรียนรูความเชื่อ การปฏิบัติทางศาสนาของกันและกัน เชน วันคริสตมาส พิธีปลงศพและการฌาปนกิจผูปวยที่จากไป 11


งานประชาสัมพันธและระดมทุน เปาหมาย เพื่อประชาสัมพันธกิจกรรมและโครงการตาง ๆ ขององคกร ใหเกิดภาพลักษณเปนที่รูจักและประทับใจแกสังคมภายนอกและเพื่อระดมทุน เงิน ทรัพยากรและแหลงของทรัพยากรที่จําเปนสําหรับการดําเนินงานของศูนย ในปที่ผานมา มีผูรูจักศูนยคามิลเลียน โซเชียล เซนเตอร ระยอง ผานแพลตฟอรมโซเชียลมีเดียตาง ๆ ดังนี้ Facebook 13,411 (66%) Website 4,978 (24%) Line Official 1,682 (8%) Tik Tok 267 (1%) Instagram 143 (1%) แพลตฟอร์ม Facebook Website Line Official Tik Tok Instagram www.facebook.com/cscrayong www.camillianrayong.org www.tiktok.com/@camillian.rayong www.instagram.com/camilliansocialcenterrayong https://lin.ee/KiEbYj9 12


งานดานขอรับบริจาคภายในประเทศ นอกจากการลงขาวประชาสัมพันธกิจกรรมตาง ๆ ของศูนยในสื่อโซเชียลตาง ๆ แลว ทางศูนยฯ ไดฝากขาว ประชาพันธกับสื่อสิ่งพิมพระดับทองถิ่นอยางสม่ําเสมอ เชน สถานีวิทยุ ติดปายประชาสัมพันธตามสถานที่ตาง ๆ ในเขตพื้นที่จังหวัดระยอง กิจกรรมและโครงการตาง ๆ ที่รับบริจาคภายในประเทศ (Domestic Donation) มีหลายโครงการเพื่อใหผูบริจาคเลือกวัตถุประสงค ตามตองการได เชน โครงการเลี้ยงอาหาร 3 มื้อ, โครงการระดมทุน เพื่อชวยเหลือเด็กและผูปวย, โครงการเพื่อชีวิตใหม 1 เตียง 1 ชีวิต 1 ผูอุปถัมภ, โครงการสะพานแหงความหวัง, โครงการยาเวชภัณฑ อุปกรณการเรียน สมทบทุนคาสาธารณูปโภค ขายสินคาการกุศล, โครงการการศึกษา, โครงการภาพวาดดิจิตอลของเด็ก เปนตน และในป 2566 ไดรับการระดมเงินบริจาคภายในประเทศไดจํานวนรวม 5,185,706.33 บาท งานดานขอรับบริจาคภายนอกประเทศ งานรับบริจาคจากตางประเทศ (Donation Abroad) ทางศูนยฯ มีโครงการตาง ๆ เชน โครงการพอแม อุปภัมภ(Sponsorships) มีการประชุมกลุมยอยกับองคกรประเทศฝรั่งเศสและอังกฤษทุกเดือนเพื่อติดตาม พอแมอุปถัมภ เพื่อชวยเหลือและสนับสนุนเด็ก ๆ โครงการพัฒนาระยะสั้น จํานวน 13 โครงการ โดยเปนโครงการ ตามความตองการและจําเปนของศูนยในการดูแลผูปวยและเด็ก เชน โครงการตูเสื้อผาเด็ก โครงการสนามกีฬา คอนกรีตบานเยาวชน, โครงการพัฒนาทักษะดานจิตใจสําหรับเด็กที่ไมไดกลับบานชวงปดภาคเรียน โครงการ ชุดนักเรียนและอุปกรณนักเรียน โครงการรองเทากีฬาของเด็ก โครงการโรงเรือนเกษตรบานเยาวชน โครงการ ระบบน้ําและสายลอฟาบานเอเดน โครงการเครื่องสูบน้ําสวนเอเดน โครงการของขวัญวันคริสตมาสสําหรับนอง โครงการเสริมทักษะชีวิต เปนตน ในป 2566 ไดรับการระดมเงินบริจาคจากตางประเทศจํานวน 4,230,214.31 บาท 13


กิจกรรมเพื่อการระดมทุน วันที่ 19 พฤศจิกายน 2566 ทางศูนยจัดกิจกรรม วิ่งการกุศล “Run for kids วิ่งดวยใจ ใหดวยรัก #8” ซึ่งจัดตอเนื่องทุกปและในปนี้เปนครั้งที่ 8 เพื่อระดมทุน นํารายไดมาสมทบคาใชจายในการดําเนินกิจการของศูนย ชวยเหลือและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูปวย เด็กและเยาวชนที่ ไดรับผลกระทบจากเอชไอวี/เอดส ณ ศูนยคามิลเลียนโซเชียล เซนเตอร ระยอง มีผูเขารวมกิจกรรม 1,406 คน และไดรับเงิน สมทบ 1,498,090.28 บาท วันที่15 ตุลาคม 2566 บานเอเดนไดจัดงานกองบุญ ผาปาสามกอง (กองทุน กองขาว กองน้ํา) เพื่อผูปวยฯ และ คนพิการสวนเอเดน 2566 เพื่อระดมทุน นํารายไดมาสมทบ คาใชจายในการดําเนินกิจการบานเอเดน กิจกรรมนี้ไดรับการ สนับสนุนดวยดีจากผูมีจิตศรัทธาที่รวมกันทําบุญ โดยเฉพาะ อยางยิ่งในชุมชนที่บานเอเดนตั้งอยู มีผูใหความสนใจและเขา รวมกิจกรรมมากกวา 200 คน บานเอเดนไดรับเงินสมทบ หลังจากหักคาใชจายแลว 249,666.75 บาท 14


งบรายรับและคาใชจาย สําหรับปพ.ศ.2566 สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2566 รายงานการเงินและบัญชี 1.รายรับ 26,048,248.25 1.1 การบริจาคจากตางประเทศ 14,793,511.06 1.2 การบริจาคภายในประเทศ 10,648,455.19 1.3 เงินอุดหนุนจากรัฐ 606,282.00 2.รายจาย 27,213,429.74 2.1 คาใชจายดูแลเด็กกําพราและทุนการศึกษา 2,528,791.70 2.2 คาใชจายสงเสริมการดํารงชีวิตอิสระเยาวชน 2,008,659.52 2.3 คาใชจายดูแลผูปวยแบบประคับประคอง 1,927,828.79 2.4 คาใชจายฟนฟูสุขภาพและอาชีพ 1,481,035.91 2.5 คาใชจายดานการปองกันเอชไอวี/เอดส 635,799.70 2.6 คาใชจายงานสวัสดิการและสังคมสงเคราะห 707,235.84 2.7 คาใชจายงานอภิบาลและศาสนา 143,646.25 2.8 คาใชจายงานประชาสัมพันธและระดมทุน 1,481,787.25 2.9 คาบริหารจัดการ สาธารณูปโภค สื่อสาร เดินทาง ซอมบํารุง 5,577,780.33 2.10 คากอสรางใหม รถยนต 8,292,844.85 43% 46% 41% 55% 51% 57% 2% 3% 2% 2564 2565 2566 แสดงรายรับจําแนกตามแหลงทุน เปรียบเทียบ พ.ศ. 2564 - พ.ศ. 2566 บริจาคในประเทศ บริจาคตางประเทศ หนวยงานรัฐ หน่วย : บาท 15


สรุปการเงินป พ.ศ. 2566 จํานวน (บาท) ยอดเงินคงเหลือยกมา 31 ธันวาคม 2565 12,049,821.96 เงินรับเขา 1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2566 26,048,248.25 เงินออก 1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2566 27,213,429.74 เงินคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566 10,884,640.47 ลูกหนี้เงินยืม 1,545,896.00 เงินสํารองจาย 207,095.07 เงินสด 319,288.13 เงินฝากออมทรัพย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกรุงเทพ เงินฝากประจํา ธนาคารกรุงศรีอยุธยา 8,812,361.27 • กองทุนสําหรับการบริหารจัดการโครงการทั้งหมด 2,551,246.00 • กองทุนเพื่อสุขภาพเด็ก 18,052.60 • กองทุนโครงการปองกันเอชไอวี/เอดสและเอดสโลก 2,511,815.67 • กองทุนโครงการสวนเอเดน 853,329.60 • กองทุนสะสมเลี้ยงชีพสําหรับเจาหนาที่ 728,500.00 16


รายนามผูบริจาค ป พ.ศ.2566 จํานวนเงินรับเขาป พ.ศ.2566 (บาท) 26,048,248.25 บาท อัตราแลกเปลี่ยนเงิน ณ วันที่ 29 ธค.66., 1 USD: 34.51 บาท 754,802.90 $ รายนามผูบริจาค จํานวนเงิน (บาท) 1. Catholic million 19 mackenzie st lavender bay sydney new sou (Project on Children Living With HIV/AIDS) (coffee shop Independent) 4,708,876.18 2. Les Amis de I' Orphelinat de pattaya (Project on Teenager living with HIV/AIDS) And Donated From Mr. Patrick F. Through French Assosiation 3,737,539.68 3. Terraboa Foundation ( General Donation) 2,071,200.00 4. นายแพทยประสิทธิ์ จันทราทิพย ( General Donation) 2,000,000.00 5. กิจกรรมระดมทุนพิเศษ "สะพานแหงความหวัง","หักบัตรเครดิต" , “สวนเอเดน", "อาหารกลางวัน","กลองบริจาค","เดิน-วิ่งการกุศล", "Covid-19","เสื้อมัดยอม", "แพมเพิรส"," คาน้ํา" "คาไฟฟา","ไมกวาด", "เหลือหนูขอ", "ตูเก็บยา","ตูแชครัว","เครื่องอุปโภค-บริโภค", "ปนสุขปน รอยยิ้ม","อุปกรณการเรียน,“ "Christmas","บุญใหญสงทายป","ตูเสื้อผา"," แพมเพิรส","สแลน","การศึกษา","ทริปจันทบุรี","ชุดนักเรียน","รองเทากีฬา" 1,715,442.98 6. บริจาคทั่วไป ภายในประเทศ ( Individual donations in Thailand ) 1,668,295.27 7. บริจาคทั่วไป ตางประเทศ ( Individual donations from abroad ) 1,462,587.25 8. มูลนิธิแบงปนชีวิต ( General Donation) 1,456,902.25 9. The Philip and Irene Toll Gage Foundation Professor Piero and Bettie Gambaccini (Scholarship For children affected by HIV/AIDS) 679,861.00 10. โครงการกองบุญ (Project of Eden ) 333,817.00 11. Safe Child Thailand ( Project on Orphaned Children living with HIV/AIDS ) 325,384.62 12. กิจกรรมทางศาสนา ( Religious activity ) 310,240.00 13. องคการบริหารสวนจังหวัดระยอง (Prevention Program) 300,000.00 14. บริษัทเจริญชัยฟารมกรุป จํากัด (Project on Pcu ) 288,000.00 15. ศูนยสังคมพัฒนา สังฆมณฑลจันทบุรี (General Donation ) 255,459.00 17


รายนามผูบริจาค จํานวนเงิน (บาท) 16. Dr. Andrea Winkler Stiftung (Project on Children Living With HIV/AIDS) 234,622.57 17. Mr. Carl & Ann (Renovate of the electrical system and lightning protection ststem + Sponsorship) 221,865.20 18. สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (Prevention Program) 218,250.00 19. Mr. John Macur (Project on children ' Education) 200,000.00 20. คุณวนิดา อังศุพันธุ (Project on Children Living With HIV/AIDS) 200,000.00 21. คณะบุคคลผูผลิตชิ้นสวนอีซูซุ (สํานักงานใหญ) (Project on the life of hope) 200,000.00 22. Mr. Mulvey Thomas Joseph (General Donation) 188,045.11 23. นอ. สุทธิพงษ เมธาพัฒนะ (Project on Children ' Life Skill Camp) 169,600.00 24. Mr. Armando Kranzlin (Project on the auto water pump for solving flooding at the garden of Eden) 155,011.50 25. German-Embassy (Project on the auto water pump for solving flooding at the garden of Eden) 149,409.20 26. St. Camillus Angels 'Village Foundation (Project on Orphaned Children Living With HIV/AIDS) 126,555.24 27. Bro. Della Rizza giovanni (Project on Children ' Education) 120,000.00 28. Mr. Frank Collet ( Sponsorship) 118,849.73 29. บริษัท แคทเธอรพิลลาร(ประเทศไทย) จํากัด ( Run For Kids) 101,000.00 30. Mr. Kuldip Sing Minhas (Run For Kids ; General Donation ) 100,999.00 31. คณะภคินีเซนตปอล เดอ ชารตร แหงประเทศไทย ( Run For Kids ;Project on Children' Education) 100,000.00 32. มินิมาราธอน คนเหล็ก (General Donation ) 100,000.00 33. คุณพรทิพย เชื้อสุขศานตทอง (Run For Kids ) 100,000.00 34. Mr. Alessio Panza (General Donation ) 100,000.00 35. โรงพยาบาลคามิลเลียน กรุงเทพ (General Donation) 100,000.00 18


รายนามผูบริจาค จํานวนเงิน (บาท) 36. สํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 6 ชลบุรี (สคร.6) (Prevention Program) 88,032.00 37. Mr. Ed Wickes ( Project On renovate the water system at the Garden of Eden) 84,453.50 38. Pontifical Society of The Missionary Childhood (Project on orphaned children living with HIV/AIDS) 71,600.00 39. Share Kikin (General Donation) 70,815.00 40. มูลนิธิบานสุทธาวาส (General Donation) 70,000.00 41. บริษัท สิริศรีชุมพล จํากัด (Run For Kids ; General Donation) 60,000.00 42. บริษัท เอ็นเอสบลูสโคป ประเทศไทย (Run For Kids) 60,000.00 44. บริษัท ลินเซนส(ประเทศไทย) จํากัด (New wardrobe for our children) 55,848.15 45. โรงเรียนเซนตโยเซฟนครสวรรค ( [Renovate restroom for elder and disabled HIV patients the Garden of Eden) 50,000.00 46. โรงเรียนมารีวิทยสัตหีบ ( General Donation) 50,000.00 47. Top Union Co., Ltd : Mr. Jehyun Seong (General Donation) 50,000.00 48. คุณชนะชัย ดอกไมทอง (General Donation) 50,000.00 49. คุณศิริหยก ทักษะอุดม ดอกไมทอง (General Donation) 50,000.00 50. บริษัท พีอีซีไอ - ไทย จํากัด (Run For Kids) 50,000.00 51. บริษัท ออลพอรต คารโก เซอรวิส (Run For Kids) 50,000.00 52. Mr. Usr Thorney (Sponsorship) 49,900.00 53. Mr. Francesco Ikuji (YAI) (Sponsorship) 48,953.31 54. Mr. Fulvio De Marco (Project On renovate the water system at the garden ofEden) 48,000.00 55. บริษัท เหล็กสยามยามาโตะ จํากัด ( General Donation) 45,000.00 56. บริษัท ชลบุรีอีซูซุเซลล จํากัด ( General Donation) 44,233.00 57. Mr. Daniel Schwarting (Sponsorship) 40,000.00 58. Miss Larissa Viravaidaya Stillman (Sponsorship) 36,000.00 59. Mr. Frank Geisler (Sponsorship) 35,882.00 60. Mrs. Daniela Bliem-Ritz (Sponsorship) 35,148.08 19


รายนามผูบริจาค จํานวนเงิน (บาท) 61. ดอกเบี้ยธนาคาร (Bank Interest ) 35,137.43 62. คุณสิงคิ์ วิเศษพจนกิจ (General Donation ) 33,920.00 63. บริษัท ดรากอน คารโก เซอรวิส จํากัด (Run For Kids ; General Donation ) 33,400.00 64. บริษัท นิกโก คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (General Donation ) 32,301.00 65. Mr. Ron Small (Project on the replace the concrete area in front of our kitchen canteen building) 31,812.00 66. บริษัท เลมอนโฮม จํากัด (General Donation) 30,000.00 67. คุณสุบิน นอยมีสุข (General Donation) 30,000.00 68. บริษัท เอส.เอ็น.ดีล.แคร จํากัด (General Donation) 30,000.00 69. คุณชาตรียังวาณิช (General Donation) 30,000.00 70. คุณจิดาทิพย จินะดํารง (Project On Eden) 30,000.00 71. บริษัท สลีฟ โปรดักสอินเตอรเนชั่นนัล จํากัด (General Donation) 30,000.00 72. บริษัท เอทีมเมนเทนแนนทแอนดเซอรวิส จํากัด(Run For Kids) 30,000.00 ศูนยชวยเหลือคนอนาถาและสถานสงเคราะหเด็กเอกชน 1/1 ซ.คีรี ต.หวยโปง อ.เมือง จ.ระยอง 21150 โทรศัพท: 0-3868-5480 โทรสาร: 0-3898-7480 มือถือ 06-1620-6102 https://www.camillianrayong.org Email: camillianrayong@gmail.com, prcamillian@yahoo.com, สวนเอเดน Eden - ศูนยฟนฟูสุขภาพผูปวยและผูพิการ (The Garden of Eden) 165/1 ม.3 ต.หนองบัว อ.บานคาย จ.ระยอง 21120 โทรศัพท 0-3801-6298, 09-5861-5657 Email: eden.rayong@gmail.com 20


แบบฟอรมสนับสนุน ขาพเจามีความประสงครวมสนับสนุนการดําเนินงานของคามิลเลียน โซเชียล เซนเตอร ระยอง ชื่อ-นามสกุล (นาย/นาง/นางสาว)..................................................................................................... ที่อยู......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................ โทรศัพท (ที่บาน/ที่ทํางาน).................................................โทรศัพทมือถือ........................................ E-mail:............................................................................ ID LINE................................................... ขอรวมสมทบทุน งานสถานสงเคราะหเด็กกําพราที่มีเชื้อเอชไอวีและเด็กที่ไดรับผลกระทบจากเอดส งานสงเสริมการดํารงชีวิตโดยอิสระของเยาวชน งานทุนการศึกษาสําหรับเด็กที่ไดรับผลกระทบจากเอดสในชุมชน งานดูแลผูปวยเอดสแบบประคับประคอง งานฟนฟูสุขภาพและอาชีพผูอยูรวมกับเชื้อเอชไอวี หรือโครงการเอเดน งานปองกันการติดเชื้อเอชไอวีและเอดส งานสวัสดิการและสังคมสงเคราะห งานอภิบาล จํานวนเงิน.........................................................................................................บาท (.................................................................................................................) วิธีการชําระเงิน เรียกเก็บเงินจากบัญชีเครดิต กรุณาระบุธนาคาร .............................................................................................. VISA MASTER หมายเลขบัตร - - - ชื่อเจาของบัตร................................................................................................................................. บัตรหมดอายุ................................................................................................................................... ลายมือชื่อผูถือบัตร........................................................................................................................... ขาพเจายินดีใหเรียกเก็บเงินจากบัญชีบัตรเครดิตที่ขาพเจาถืออยูตามที่ขาพเจาระบุไวขางตน สั่งจายเช็คในนาม “มูลนิธิคณะนักบุญคามิลโลแหงประเทศไทย” ***กรุณาสง หลักฐานการโอนเงินพรอมแบบฟอรมสมทบทุนกลับมายัง คามิลเลียน โซเชียล เซนเตอร ระยอง ทางธุรกิจตอบรับ หรือ E-mail เพื่อจะไดจัดสงใบเสร็จรับเงินที่สามารถหักลดหยอนภาษีได กลับคืนไปยังทาน*** โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย “มูลนิธิคณะนักบุญคามิลโลแหงประเทศไทย” ธนาคาร กรุงศรีอยุธยา สาขา มาบตาพุด เลขที่บัญชี 2 2 9 – 1 – 2 9 3 3 6 – 3 21


22


Click to View FlipBook Version