The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สารบริสุทธิ์ วิทยาศาสตร์ม.1

วิชาวิทยาศาสตร์



ชั้นมัธยมศกษาปีที่ 1

รหัสวิชา ว 21101



หน่วยการเรียนที่ 1 เรื่อง สารบริสุทธิ์



















คุณครูภัทราวดี หนูพงษ์

ครู วิทยฐานะครูช านาญการ

สารบริสุทธิ์และสารผสม

สารบริสุทธิ์ คือ สารเนื้อเดียวที่มีจุดเดือด และ จุดหลอมเหลวคงที่

1. ธาต คือ สารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยอะตอมเพียงชนิดเดียวกัน เช่น
คาร์บอน ( C ) , ก ามะถัน ( S8 )

2. สารประกอบ เกดจากธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกน โดยมี

อัตราส่วนในการร่วมกันคงที่แน่นอนได้แก่ กรดน้ าส้ม ( CH3COOH ) , กรด
ไฮโดรคลอริก ( HCl ) ฯลฯ
สารผสม ( Mixture ) หมายถึง สารที่ไม่บริสุทธิ์ซึ่งเกิดจากสารบริสุทธ ิ์
ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปผสมกัน ซึ่งมี 3 ประเภท ได้แก ่

1. สารละลาย ( Solution Substance ) เป็นสารเนื้อเดียวที่มี
สัดส่วนในการรวมกันของธาตุ หรือ สารประกอบไม่คงที่ไม่สามารถเขียนสูตร
ได้อย่างแน่นอน และ มีขนาดอนุภาคที่เล็กกว่า 10 เซนติเมตร
-7
2. สารแขวนลอย ( Suspension Substance ) คือ สารที่เกด ิ

จากอนุภาคขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางที่มากกว่า 10 เซนติเมตร
-4
3. คอลลอยด ( Colliod ) จะประกอบด้วยอนุภาคขนาด

-4
-7
เส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 10 และ 10 เซนติเมตร ซึ่งจะไม่มีการตกตะกอน

สามารถกระเจิงแสงได้ ซึ่งเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า " ปรากฏการณ์ทินดอลล์ "

แบบจ าลองอะตอม

ดีโมครีตัสกล่าวว่าทุกสิ่งทุกอย่างประกอบขึ้นจาก อนุภาคที่เล็กมาก เล็ก
มากจนไม่สามารถมองเห็นได้ อนุภาคเล็กๆเหล่านี้จะรวมพวกเข้าด้วยกัน
โดยวิธิการต่างๆ ส าหรับอนุภาคเองนั้นไม่มีการเปลี่ยนแปลงและไม่สามารถ
จะแตกแยกออกเป็นชิ้นส่วนที่เล็กลงไปอีกได้ ดีโมครีตัสตั้งชื่ออนุภาคนี้
ว่า "อะตอม (Atom)" จากภาษากรีกที่ว่า atoms ซึ่งมีความหมาย
ว่า "ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีก" ตามความคิดเห็นของเขา อะตอมเป็น
ชิ้นส่วนที่เล็กที่สุดของสสารที่สามารถจะคงอยู่ได้
































ไทม์ไลน์ของแบบจ าลองอะตอม

ธาต ุ

ธาตุ ( Element ) คือ สารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยอะตอมเพียง
ชนิดเดียวกัน























แบบจ ำลองอะตอมของธำตุ

อนุภาคในอะตอม อะตอมประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานที่ส าคัญ 3 อนุภาค
ได้แก่ โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน
1. โปรตอน อนุภาคชนิดนี้เป็นอนุภาคที่ถูกตรึงแน่นอยู่ในนิวเคลียส
(Neucleus) มีอนุภาคเป็นบวก (+)
2. นิวตรอน อนุภาคชนิดนี้เป็นอนุภาคที่ถูกตรึงแน่นอยู่ในนิวเคลียสรวม
กับโปรตอนมีคุณสมบัติเป็นกลางทางไฟฟ้า
3. อิเล็กตรอน อนุภาคชนิดนี้มีคุณสมบัติทางไฟฟ้าเป็นประจุลบ (-) วิ่งอยู่
รอบ ๆ นิวเคลียสของอะตอมของธาตุด้วยความเร็วสูงในวงโคจร


สัญลักษณ์นิวเคลียรของธาต ุ

ประกอบด้วยตัวเลข 2 อยู่ตัวด้วยกนอยู่ในต าแหน่งด้านบนซ้าย
และด้านล่างซ้ายของสัญลักษณ์ธาตุ โดยตัวเลขในต าแหน่งบนซ้ายจะเป็น
“มวลอะตอม” ส่วนตัวเลขในต าแหน่งล่างซ้ายจะเป็น “เลขอะตอม”

การจัดกลุ่มธาต ุ
















ตำรำงธำตุ

1. โลหะ (metal) มีสถานะ : เป็นของแข็งในสภาวะปกติ ยกเวน
ปรอทซึ่งเป็นของเหลว ไม่มีโลหะที่เป็นก๊าซในภาวะปกติความมันวาว : มีวาว
โลหะ ขัดขึ้นเงาได้ การน าไฟฟ้าและน้ าความร้อน : น าไฟฟ้าและน าความร้อน

ได้ดี เช่น สายไฟฟ้ามักท าด้วยทองแดง ความเหนียว : ส่วนมากเหนียว ดึงยืด
เป็นเส้นลวด หรือตีเป็นแผ่นบ่างๆ ได้ ความหนาแน่น หรือความถ่วงจ าเพาะ :



ส่วนมากมีความหนาแน่นสูง จดเดือดและจดหลอมเหลว : ส่วนมากสูง เช่น
o
o

เหล็ก มีจดหลอมเหลว 1,536 C จดเดือด 3,000 C การเกดเสียงเมื่อ



เคาะ : มีเสียงดังกงวาน ได้แก ลิเทียม (Li) โซเดียม (Na) โพแทสเซียม (K)


แม็กนีเชียม (Mg) แคลเซียม (Ca) เหล็ก (Fe) ทอง (Au) เงิน (Ag) ทองแดง
(Cu) ตะกว (Pb) สังกะสี (Zn) ปรอท (Hg) อะลูมิเนียม (Al) ประโยชน์
ั่
ของธาตุโลหะ (metal)

2. อโลหะ (Nonmetal, non-metal) ความมันวาว : ส่วนมากไม่
มีวาวโลหะ ยกเว้นแกรไฟต์ (ผลึกคาร์บอน) เกล็ดไอโอดีน (ผลึกไอโอดีน)

การน าไฟฟ้าและน้ าความร้อน : น าไฟฟ้าและน าความร้อนไม่ได้ ยกเวน
แกรไฟต์น าไฟฟ้าได้ดี ความเหนียว : อโลหะที่เป็นของแข็งมีเปราะดึงยืด
ออกเป็นเส้นลวดหรือตีเป็นแผ่นบางๆ ไม่ได้ ความหนาแน่นหรือความ


ถ่วงจาเพาะ : มีความหนาแน่นต่ า จดเดือดและจุดหลอมเหลว : ส่วนมากต่ า
โดยเฉพาะพวกอโลหะที่เป็นกาซ การเกดเสียงเมื่อเคาะ : ไม่มีเสียงดังกงวาน



ได้แก่ ไฮโดรเจน (H) คาร์บอน (C) ไนโตรเจน (N) ออกซิเจน (O) ฟอสฟอรัส
(P) ก ามะถัน (S) โบรมีน (Br) ซีลีเนียม (Se) คลอรีน (Cl) ประโยชน์ของ
ธาตุอโลหะ (Nonmetal, non-metal)










ึ่
3. ธาตกงโลหะ (Metalloids) เป็นธาตุในอนุกรมเคมี ที่มี

สมบัติทั้งทางเคมีและฟิสิกส์อยู่กงกลางระหวางโลหะและอโลหะคุณสมบัติ
ึ่

ส าคัญที่ใช้จาแนกประเภทของธาตุเหล่านี้คือคุณสมบัติการน าไฟฟ้าธาตุกง ึ่

ึ่
โลหะส่วนใหญ่จะเป็นสารกงตัวน า(semiconductors) ธาตุกงโลหะใน
ึ่
ตารางธาตุ ได้แก โบรอน (B) ซิลิกอน (Si) เจอร์เมเนียม (Ge) สารหนู

Arsenic (As) พลวง Antimony (Sb) เทลลูเรียม (Te) พอโลเนียม
(Po) และ แอสทำทีน (At) ประโยชน์ของธาตุธาตุกึ่งโลหะ (Metalloids)

ธาตุกัมมันตรังสี (radioactive element)
เรียกธาตุที่มีการแผ่รังสีได้เองว่าธาตุกัมมันตรังสี และ เรียก
ปรากฏการณ์แผ่รังสีได้เองอย่างต่อเนื่องว่ากัมมันตภาพรังสี เป็นปรากฏการณ์
การสลายตัว ที่เกิดขึ้นเองของนิวเคลียสของอะตอมที่ไม่เสถียร
- รังสีแอลฟา ใช้สัญลักษณ์เป็น α มีอ านาจทะทะลวงต่ าเดินทางในอากาศ
ได้ระยะทางที่สั้นมาก การใช้กระดาษมาก าบังรังสีแอลฟ่าได้

- รังสีบีตา ใช้สัญลักษณ์เป็น β มีอ านาจทะลวงสูงกวารังสีแอลฟา
ประมาณ 100 เท่ามีความเร็วใกล้เคียงความเร็วแสง อนุภาคอิเล็กตรอน
พลังงานสูง สามารถผ่านกระดาษได้ ใช้แผ่นพลาสติก แผ่นอะลูมิเนียมมาก าบัง
รังสีได้
- รังสีแกมมา ใช้สัญลักษณ์เป็น γ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นสั้น
มากไม่มีประจุและไม่มีมวลรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าเช่นเดียวกับรังสีเอกซ์ สามารถ
ทะลุผ่านแผ่นไม้ โลหะ และเนื้อเยื่อได้ มีอ านาจทะลุทะลวงสูง จึงต้องใช้วัสดุที่
มีความหนาแน่นสูงมาก าบังรังสี เช่น ตะกั่ว, เหล็ก, คอนกรีตหนา เป็นต้น















สารกัมมันตรังสี หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งวา ไอโซโทปกัมมันตรังสี นอกจาก
จะสลายตัวให้รังสีต่างๆ แล้ว ยังมีคุณสมบัติที่ส าคัญอีกประการหนึ่งคือมีอัตรา
การสลายตัวด้วยค่าคงตัว เรียกว่า “ครึ่งชีวิต (half-life)” ซึ่งหมายถึง
ระยะเวลาที่ไอโซโทปจ านวนหนึ่งจะสลายตัวลดลงเหลือเพียงครึ่งหนึ่งของ
จ านวนเดิม ตัวอย่างเช่น ทอง-198 ซึ่งเป็นไอโซโทปรังสี ที่ให้รังสีแกมมา
ออกมา และใช้ส าหรับรักษาโรคมะเร็ง มีครึ่งชีวิต 2.7 วัน หมายความวา เมื่อ

เราซื้อทอง-198 มา 10 กรัม

ประโยชน์ของสารกัมมันตรังสี
















ประโยชน์สารกัมมันตรังสี













โรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์

โทษของสารกัมมันตรังสี













ผลกระทบจากการได้รับปริมาณรังสีผลจากสารกัมมันตรังสี

สารประกอบ

ิ์
สำรประกอบ (Compound) เป็นสารบริสุทธที่ประกอบด้วยอะตอม


ของธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกนด้วยแรงยึดเหนี่ยวทางเคมี เกดเป็นสาร

ชนิดใหม่ เรียกว่าสารประกอบ ดังนั้นหน่วยย่อยของสารประกอบคือ โมเลกล
ซึ่งอาจแยกสลายได้เมื่อได้รับความร้อนหรือพลังงานไฟฟ้า สารประกอบที่พบ


ในชีวตประจาวน เช่น น้ า (H2O) เกลือแกง (NaCl) น้ าตาลทราย

(C12H22O11)

โมเลกุลของธาต ุ
กำรรวมตัวกนของอะตอมของธำตุชนิดเดียวกัน













โมเลกุลของสารประกอบ
การรวมตัวกนของอะตอมของธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป










โมเลกุลน ้า โมเลกุลเกลือแกง

สมบัติของสารบริสุทธิ์และสารผสม

1. การหาจุดเดือด ( Boiling Point )
– สารบริสุทธิ์จะมีจุดเดือดคงที่
- สารไม่บริสุทธิ์ หรือ สารละลายจุดเดือดไม่คงที่ เกิดจาก

อัตราส่วนระหว่างจานวนโมเลกุลของตัวถูกละลาย และ ตัวท าละลาย

เปลี่ยนแปลงไปโมเลกุลที่มีจดเดือดต่ าจะระเหยไปเร็วกว่าท าให้สารที่มีจุดเดือด
สูงใน อัตราส่วนที่ มากกว่าจึงเป็นผลให้จุดเดือดสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยดูจากรูปที่
แสดงเป็นกราฟ











กราฟเปรียบเทียบจุดเดือดของสารบริสุทธิ์กับสารละลาย


2. การหาจดหลอมเหลว ( Melting Point )

– สารบริสุทธิ์จะมีจุดหลอมเหลวคงที่ และ มีอุณหภูมิช่วงการ

หลอมเหลวแคบ
– สารไม่บริสุทธิ์จะมีจุดหลอมเหลวไม่คงที่ และ มีอุณหภูมิ
ในช่วงการหลอมเหลวกว้างซึ่งอุณหภูมิช่วงการหลอม หมายถึง อุณหภูมิที่สาร
เริ่มต้นหลอมจนกระทั่งสารนั้นหลอมหมดโดยในอุณหภูมิช่วงการหลอม ถ้า
แคบต้องไม่เกิน 2 องศาเซลเซียส โดยดูจากรูปที่แสดงเป็นกราฟ












กราฟเปรียบเทียบจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์กับสารละลาย

สมบัติคอลลิเกทีฟของสารละลาย กำรเพิ่มขึ้นของจุดเดือดเป็น

หนึ่งในสมบัติคอลลิเกทีฟของสำรละลำย (Colligative properties)
เนื่องจำกสมบัติของละลำยบริสุทธิ์ ณ ที่สภำวะหนึ่งๆ จะมีจุดเดือดคงที่แต่เมื่อ
ตัวละลำยที่ระเหยยำกผสมอยุ่ในสำรละลำยจะส่งผลให้สมบัติบำงประกำรของ
สำรเปลี่ยนแปลงไปโดยท ำให้จุดเดือดของสำรละลำยเพิ่มสูงขึ้นดังนั้นปริมำณ
ของตัวละลำยจะมีผลท ำให้จุดเดือดของสำรละลำยสูงขึ้น เช่น น้ ำเกลือ เป็น
สำรละลำยที่มีเกลือเป็นตัวละลำยจะมีจุดเดือดสูงกว่ำน้ ำซึ่งเป็นสำรบริสุทธ ิ์

จุดเดือดของธาตุหรือสสารกับความดัน

ของเหลวในสิ่งแวดล้อมที่เป็นสุญญากาศจะมีจดเดือดต่ ากวา ่

ของเหลวที่ความดันบรรยากาศ (1 atm) ของเหลวในสิ่งแวดล้อมความดัน


สูงจะมีจดเดือดสูงกวาของเหลวที่ความดันบรรยากาศ ในความดันเท่ากน


ของเหลวต่างชนิดกันย่อมเดือดที่อุณหภูมิต่างกัน ถ้าเราเพิ่มความดันให้สูงกวา
760 torr หรือ 1 atm จุดเดือดของของเหลวก็จะสูงกว่าจุดเดือดปกติ















o
จุดเดือดปกติของน้ า คือ 100 C แต่ถ้าความดันเพิ่มขึ้นจุดเดือด
ก็จะเพิ่มขึ้นด้วย ที่ความดัน 300 torr ถ้าลากเส้นขนานไปกับแกนนอนซึ่ง
แสดงอุณหภูมิ จุดตัดระหว่างเส้นที่ลากกับเส้นกราฟของสารก็คือจุดเดือดของ
สารเหล่านั้นเช่นกันแต่ไม่ใช่จุดเดือดปกติ

3. ความหนาแน่น (density)
เป็นสมบัติเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิด หาได้จากอัตราส่วนระหว่าง
มวลและปริมาตร สารบริสุทธิ์จะมีความหนาแน่นคงที่ แต่สารผสมจะมีความ
หนาแน่นไม่คงที่

ความหนาแน่นของสารบางชนิด
ที่อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียสและความดัน 1 บรรยากาศ



















ความหนาแน่นของพลาสติก
ที่อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียสและความดัน 1 บรรยากาศ
ชนิดของ ความหนาแน่น ผลที่ได ้
พลาสติก (กก./ลบ.ม.)
PET 1550 จมน้ า
PVC 1300 จมน้ า
PS 1047 จมน้ า
น้ า 1000 -
HDPE 953 ลอยน้ า
LDPE 924 ลอยน้ า
PP 900 ลอยน้ า

การค านวนหาความหนาแน่น














(ความหนาแน่นมีหน่วย คือ กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร หรือ กรัมต่อ
ลูกบาศก์เซนติเมตร)

ตัวอย่างการค านวนหาความหนาแน่น


Click to View FlipBook Version