The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือแกนนำนักเรียนฉบับสำหรับระนอง ชุมพร สุราษฎร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by fareedah.benwalee39332, 2022-03-26 13:33:02

คู่มือแกนนำนักเรียนฉบับสำหรับระนอง ชุมพร สุราษฎร์

คู่มือแกนนำนักเรียนฉบับสำหรับระนอง ชุมพร สุราษฎร์

รายชือ่ คณะครู

1. นายศุภชัย เวชกุล ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลสุราษฎร์ธานี

2. นางสาวณฎั ฐณิ ี วงศ์สันติวฒั น์ ผู้ประสานโครงการวจิ ยั

3. นายสเุ ทพ เปียกบุตร ผู้อำนวยการโรงเรยี นอนบุ าลกระบ่ี

4. นางธนภรณ์ บญุ เรืองขาว ผปู้ ระสานโครงการวิจัย

5. นายพีระ เสมพชื ผอู้ ำนวยการโรงเรียนอนุบาลพังงา

6. นางชุลพี ร พดู งาม ผู้ประสานโครงการวิจยั

7. นายวิลาศ ปรญิ ญานิยม ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลภูเกต็

8. นายวนั ใหม่ คงทองคำ ผู้ประสานโครงการวจิ ยั

9. นายมนตรี สังขช์ ุม ผอู้ ำนวยการโรงเรียนอนุบาลระนอง

10. นางจฬุ าลักษณ์ วรี วงศว์ วิ ฒั น์ ผปู้ ระสานโครงการวจิ ัย

11. นางสาวเสาวนยี ์ ชว่ ยอนันต์ ผู้อำนวยการโรงเรยี นอนุบาลชุมพร

12. นางสาวศิรพิ ร สนานคุณ ผปู้ ระสานโครงการวิจัย

รายชอ่ื คณะวิจัย

1. ผศ. ปาลรี ตั น์ วงศ์ฤทธิ์ หัวหน้าโครงการวิจยั

2. ผศ.ดร.พิมาน ธีระรตั นสุนทร ผ้รู ว่ มวิจยั

3. ผศ.ดร.นิรชร ชตู พิ ฒั นะ ผู้วจิ ัยร่วม

4. อาจารย์ ดร.ดนิตา จำปาแก้ว ผู้วิจัยรว่ ม

5. อาจารย์ ดร.จิราพร เจรญิ พูล ผ้วู จิ ยั รว่ ม

6. อาจารย์ปภสั รา ชา้ งกลาง ผวู้ จิ ยั ร่วม

7. อาจารยภ์ ูวศนิ ทร์ บัวเกษ ผวู้ จิ ยั ร่วม

8. อาจารย์ ดร.พฒั นศกั ด์ิ คำมณจี ันทร์ ผู้วจิ ยั รว่ ม

9. นางสาวฟารีด๊ะ เบ็นวลี ผชู้ ว่ ยวจิ ยั /เลขานุการ



คำนำ

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ท่ัวโลก ทวคี วามรนุ แรงเพิ่มมาก
ข้นึ โดยเฉพาะในประเทศสหรฐั อเมริกาอนิ เดยี และยโุ รป รวมถงึ การแพรร่ ะบาดของโรคโค
วิด 19 ในเอเชียระลอก 2 ขยายวงกว้าง มากขึ้นและ รวดเร็ว พบว่า มีผู้ติดเชือ้ ยืนยนั ราย
ใหม่วันละหลายร้อยรายอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการระบาดในประเทศไทยที่มีความรุนแรง
เพิ่มขึ้น ดังนั้นโครงการวิจัย “โมเดลการใช้ชีวิตปกติรูปแบบใหม่ของนักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาตอนปลายต่อการระบาดของโรค COVID - 19 ด้วยการจดั การโดยใชโ้ รงเรียน
เป็นฐานในพื้นที่จังหวัดภาคใต้ตอนบน” ร่วมกับคณะทำงานโครงการวิจัยใน โรงเรียน
นานาชาตเิ ทศบาลนครนครศรีธรรมราช ร่วมกบั ผ้เู ชีย่ วชาญและภาคเี ครือข่าย เล็งเหน็ และ
ตระหนักถึงความสำคัญอย่างยิ่งในการสร้างการมีส่วนร่วมในกลุ่มแกนนำนักเรียนในการ
ปอ้ งกันการแพรร่ ะบาด ของโรคโควดิ 19 โรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช
ใหส้ อดคล้องกับนโยบายกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการ จึงได้จัดทำ“คู่มือ
การการจัดการเรียนการสอนและมาตรการป้องกันในสถานการณโ์ รคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) ในโรงเรยี นนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช โดยหวังเป็นอยา่ ง
ยง่ิ วา่ บุคลากร ของสถานศึกษา และผู้เกย่ี วข้อง จะได้นำไปใชป้ ระกอบและเปน็ แนวปฏิบัติ
ในการเฝ้าระวัง กำกับติดตาม และเตรียมการเตรียมพร้อม ต่อการเผชิญเหตุรองรับ
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 อาจเกดิ ขน้ึ ได้อยา่ งทนั เหตุการณ์ อันจะส่งผล
ให้นักเรียน บุคลากรของสถานศึกษา และผู้เกี่ยวข้อง ปลอดภัย ไม่เสี่ยง ไม่มีอาการป่ วย
ของโรคโควดิ 19 และสามารถดำเนินชวี ติ อย่างปกติสขุ ตามแนวชวี ิตวถิ ีใหมต่ ่อไป

คณะผ้จู ดั ทำ

สารบัญ ข

เรอื่ ง หน้า

คำนำ...................................................................................................................................ก
สารบัญ................................................................................................................................ข
ชอ่ื โครงการวจิ ยั ...................................................................................................................ค

บทที่ 1
โรค สาเหตุ การตดิ ต่อและอาการ ของโรคโควิด-19.............................................1

บทที่ 2
ปัจจยั เสีย่ งการตดิ เชอื้ โรคโควิด-19.......................................................................5

บทที่ 3
การวนิ ิจฉัย การป้องกนั และรักษาโรคโควดิ -19....................................................9

บทที่ 4
แนวทางการป้องกันโรคโควิด-19.......................................................................11

บทที่ 5
แนวทางปฏบิ ตั กิ ารป้องกนั แพรก่ ระจายเชือ้ โรคโควดิ -19ในโรงเรยี น สำหรับแกน
นำนกั เรียน.........................................................................................................16
5.1 แนวทางสง่ เสรมิ และติดตาม 6 มาตรการหลัก (DMHC-RC) ในโรงเรียน
...........................................................................................................................16
5.2 แนวทางสง่ เสรมิ และตดิ ตาม 6 มาตรการเสริม (SSET-CQ) ในโรงเรยี น
...........................................................................................................................16
5.3 บทบาทหน้าท่ขี องนักเรยี นแกนนำด้านสขุ ภาพ...........................................17
5.4 แบบบันทึกพฤติกรรมนกั เรยี น.....................................................................19



บทที่ 1

โรค ความหมาย สาเหตุ และชอ่ งทางการ
ตดิ ตอ่ โรคโควิด-19

1

โรคโควิด-19 หมายถงึ

• โรคโควิด 19 คือ โรคติดต่อซง่ึ เกดิ จากไวรัสโคโรนาชนิดที่มกี ารค้นพบล่าสุด

• ไวรัสและโรคอุบัติใหม่น้ี ไม่เป็นท่ีรู้จักเลยก่อนท่ีจะมีการระบาดใน เมืองอู่
ฮน่ั ประเทศจนี ในเดือนธนั วาคมปี 2019

• ขณะนี้โรคโควิด-19 มีการระบาดใหญ่ไปท่ัว ส่งผลกระทบแก่หลายประเทศ
ทวั่ โลก

สาเหตุของโรคโควิด-19

สารพันธุกรรมของเชื้อไวรัส SARS-
CoV-2 นักวจิ ัย พบวา่ มีนวิ คลีโอไทด์
(Nucleotide) คล้ายกับเชื้อที่พบ
จากค้างคาวในประเทศจีน จึงทำให้
เกิดการสันนิษฐานว่า ต้นกำเนิดของ
เชื้อไวรัส SARS-CoV-2 มาจากไวรัส
ที่พบในค้างคาว และเกิดการกลาย
พันธจ์ุ นสามารถแพรจ่ ากสตั ว์มาสู่คน
ได้ จนนำไปส่กู ารติดเชื้อจากคนสู่คน
ในท่ีสุด (รูปท่ี 1)

ช่องทางการติดต่อ

เชื้อ COVID-19 สามารถติดต่อได้ รูปท่ี 1 สาเหตุของโรคโควดิ -19

จากการรับละอองฝอยจากระบบทางเดิน

หายใจของผู้ปว่ ย เช่น การไอจามรดกัน รวมถงึ การสมั ผัสกับสารคัดหล่ังของผู้ติดเช้ือ
เช่น การสัมผัสน้ำลาย น้ำมูก เสมหะ สัมผัสเชื้อที่อยู่บนพื้นผิวของสิ่งของเครื่องใช้
ต่างๆ และเชื้อในอากาศ ผา่ นการรบั เชอื้ ทางตา จมกู ปาก

อาการและอาการแสดงของผตู้ ิดเช้อื โควดิ -19 2

รปู ท่ี 2 อาการของโรคโควิด-19

อาการและอาการแสดงของผู้ติด
เชอ้ื โควิด-19 จะแตกต่างกนั ตาม
สายพันธ์ของเชือ้ ก่อโรค โดยมี
อาการทค่ี ล้ายคลงึ กนั คอื ไข้ ปวด
ศีรษะ อ่อนเพลยี ปวดเมือ่ ย
กล้ามเนอื้ ไอ เจ็บคอ มเี สมหะ
อาเจยี น ท้องเสีย หายใจลำบาก
จมูกไม่ได้กลิน่ ล้นิ ไม่รับรส

สำหรบั สายพนั ธท์ ี่มีการแพร่ รปู ที่ 3 อาการของโรคโควดิ -19สายพนั ธ์โอมคิ รอน
ระบาดในปจั จุบันคือ โอมิครอน
จะมีอาการดังน้ี คือ มไี ข้
เลก็ นอ้ ย อ่อนเพลีย ปวดเม่อื ย
กลา้ มเนื้อ ไอ เจ็บคอ

กลมุ่ เสยี่ งโรคโควิด-19 3

กลมุ่ เสี่ยงสำคญั โรคโควิดมีหลายกลุ่ม โดยเฉพาะผู้ทีม่ ีภูมิต้านทานต่อโรคต่ำ
เชน่ ไดแ้ ก่ กลุม่ เด็กเลก็ ผู้สงู อายุ ผูท้ ม่ี ภี าวะภมู ิคมุ้ กันบกพรอ่ ง หญิงตัง้ ครรภ์

นอกจากนั้นกลมุ่ อาชีพทเี่ สย่ี งในการตดิ เช้อื สูงสดุ คอื กลุ่มผู้ใหบ้ ริการทางการ
แพทย์ เชน่ แพทย์ พยาบาล กลุ่มทีม่ อี าชพี รับจา้ ง พนกั งานสง่ ของ ซึง่ เป็นผทู้ ่ีมีปัจจัย
เสี่ยงจากการสัมผัสโดตรง หรือ สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ที่มีเชื้อโควิด ทั้งที่มีอาการ และ
กลมุ่ ผู้ติดเชื้อท่ยี ังไม่มีอาการ

กลมุ่ ผปู้ ่วยท่เี ส่ียงติดเชือ้ โควิด-19สูงสดุ และทำใหม้ อี าการรนุ แรงถึงเสยี ชีวิตได้

กลุม่ ผ้ปู ่วยโรคเร้อื รังท่ีเส่ยี ง เน่ืองจาก เนือ่ งจากความต้านทานตอ่ โรคต่ำทำ

ใหม้ คี วามไวตอ่ การรบั เช้ือและเชื้อเข้าไปทำลายระบบตา่ งๆไดง้ า่ ยและเร็วกว่าคนปกติ

ไดแ้ ก่ กลุ่มผู้ป่วยโรคเร้ือรัง 7 โรคสำคญั ไดแ้ ก่

1) โรคทางเดินหายใจเร้อื รัง

2) โรคเบาหวาน
3) โรคหวั ใจและหลอดเลือด
4) โรคไตวายเร้อื รงั
5) โรคหลอดเลือดสมอง
6) โรคอว้ น
7) โรคมะเร็ง

รปู ท่ี 4 กลมุ่ ผู้ปว่ ยทีม่ คี วามเสยี่ ง
สงู ต่อการตดิ เชือ้ โรคโควิด-19

บทท่ี 2

การประเมนิ ความเส่ียงในการตดิ เช้ือ
โรคโควดิ -19

การแบ่งกลมุ่ เส่ียงในการติดเช้อื โรคโควดิ -19ในโรงเรียน 4

นกั เรียนแกนนำสามารถแบ่งประเภทกลุ่มเสีย่ งของนักเรียนจากลักษณะการ
สัมผสั หรือรบั เชือ้ หรอื อาการอย่างใดอยา่ งหนงึ่ ตามแนวทางกรมควบคมุ โรค
กระทรวงสาธารณสุขแบ่งประเภทไว้ ดังนี้

1) นกั เรียนกลมุ่ สงสัยปว่ ย หมายถึง ผู้ทีม่ ีประวัติไข้หรือวัดอณุ หภมู กิ ายไดต้ ั้งแต่
37.5 องศาเซลเซยี ส หรือ มีอาการทางเดนิ หายใจอยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง หรอื เดินทาง
กลบั จากพ้ืนที่เสีย่ งสงู ภายใน 14 วัน

2) นักเรยี นปว่ ยยนื ยนั หมายถึง นักเรียนทีม่ ีผลตรวจทางหอ้ งปฏิบัตกิ ารพบว่าติด
เชื้อไวรัสโควิด-19

3) ผู้สัมผัสท่มี ีความเสี่ยงต่อการตดิ เช้ือสูง หมายถงึ ผู้สัมผสั ใกล้ชิดตามลกั ษณะข้อ
ใดข้อหนง่ึ ดังน้ี
- ผทู้ ีเ่ รียนร่วมหอ้ งหรือเพอื่ นสนทิ ท่ีคลุกคลกี นั หรือ ผ้สู ัมผสั ใกล้ชิดหรอื มี
การพดู คุยกบั ผู้ป่วยในระยะ 1 เมตรนานกว่า 5 นาทีหรอื ถกู ไอ จาม รด
จากผ้ปู ว่ ยโดยไมม่ กี ารปอ้ งกนั เชน่ ไม่สวมหน้ากากอนามัย
- ผู้ทีอ่ ยู่ให้บรเิ วณทีป่ ิดไม่มกี ารถ่ายเทอากาศ เชน่ ในรถปรับอากาศ ให้
ห้องปรบั อากาศ ร่วมกับผปู้ ว่ ยและอยู่หา่ งจากผู้ป่วยไม่เกิน 1 เมตร นาน
กวา่ 15 นาทโี ดยไมม่ กี ารปอ้ งกนั

4) ผู้สมั ผัสที่มีความเสีย่ งตอ่ การติดเช้อื ต่ำ หมายถึง ผู้ท่ที ำกิจกรรมอื่นๆร่วมกับ
ผู้ปว่ ย แตไ่ ม่เข้าเกณฑ์ความเสย่ี งสงู

5) ผไู้ ม่ไดส้ มั ผัส หมายถงึ ผู้ทอ่ี ยใู่ นโรงเรยี นแตไ่ มม่ กี จิ กรรมหรือพบผ้ปู ว่ ยในชว่ ง 14
วัน กอ่ นปว่ ย

5

บทบาทแกนนำนกั เรยี นในการประเมินความเสีย่ งการติดเชอื้ โรคในหอ้ งเรียน
แกนนำรว่ มประเมนิ ระดบั ความเสีย่ งของตนเองและของเพอ่ื นๆในห้องเรียน

โดยการแบง่ ระดับความเส่ยี งเป็น 3 กลมุ่ คือ ผู้มีความเสยี่ งสงู ผมู้ คี วามเสยี่ งตำ่ และ
ผู้ไมม่ คี วามเส่ียง ดงั รปู ท่ี 6

รปู ท่ี 6 การแบง่ กลมุ่ เส่ยี งในการตดิ เช้ือ

ตารางการแบ่งระดับความเสยี่ งของนกั เรียน 6

ระดบั ความ การปฏบิ ตั ิตวั บทบาทแกนนำนกั เรียน

เสย่ี ง 1. ตรวจตรา เฝ้าระวังสอบถาม และ
ประเมินเพื่อนในห้องเรียน ในวันแรกของ
1. ผู้มีความเสี่ยง 1. ผูเ้ สีย่ งสงู ตรวจหา การมาเรียนในห้องเรียนทุกสัปดาห์ หาก
พบผู้เสี่ยงสูงให้แจ้งครูเวร หรือครูประจำ
สูง หมายถึง ผู้ท่ี เชื้อดว้ ยวิธี ATK และ กัก ช ั ้ น ท ร า บ เ พ ื ่ อ ใ ห้ ค ร ู จ ั ด ก า ร แ ย ก เ พ ื ่ อ น
นกั เรยี นคนดงั กล่าวไปห้องพกั คอย
สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ ตัวในสถานทที่ ี่กำหนด
2. ตรวจตรา เฝ้าระวังสอบถาม และ
ติดเชื้อยืนยันโรค เชน่ โรงพยาบาล บา้ น ประเมินเพื่อนในห้องเรียน ในวันแรกของ
การมาเรียนในห้องเรียนทุกสัปดาห์ หาก
โควดิ -19 หรอื ทพ่ี ัก ปฏบิ ตั ิตนตาม พบผู้เสี่ยงต่ำ นักเรียนแกนนำสามารถให้
ข้อมูลเกี่ยวกับการกักตัวเพื่อสังเกตอาการ
แนวทาง DMHTT อยา่ ง และการใช้เครื่องมือป้องกันการกระจาย
ของเชื้อโรคอย่างเคร่งครัด เช่น สวม
เคร่งครัด หน้ากากตลอดเวลา และล้างมือบ่อยๆ
พร้อมทั้งเข้มงวดเรื่องการเว้นระยะ 1-2
2. ผู้มีความเสี่ยง 2. เสี่ยงต่ำ สงั เกต อาการ เมตร กรณีจำเป็นต้องไปในที่ชุมชนหรือมี
คนหนาแนน่
ต่ำ หมายถึง ผู้ท่ี หลีกเลยี่ งการไปในท่ี 3. ตรวจตรา เฝ้าระวังสอบถาม และ
ประเมินเพื่อนในห้องเรียน ในวันแรกของ
อ ย ู ่ ใ น พ ื ้ น ที่ ชมุ ชน ปฏบิ ตั ิตนตาม การมาเรียนในห้องเรียนทุกสัปดาห์ หาก
พบผู้ไม่มีความเส่ียง แกนนำสามารถให้
เดียวกันกับผู้ป่วย แนวทาง DMHTT อย่าง ข ้ อ ม ู ล เ พ ิ ่ ม เ ต ิ ม ใ น ก า ร ด ู แ ล ต น เ อ ง เ พ่ื อ
ป้องกันโรค คือ สวมหน้ากากอนามัย ล้าง
แต่ไม่ได้ส ัมผัส เครง่ ครัด มือบ่อยๆ และ เว้นระยะ อย่างน้อย 1-2
เมตรอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
ใกล้ชิด

3. ผทู้ ีไ่ มม่ คี วาม 3. ผ้ทู ่ีไมม่ คี วามเสย่ี ง
เส่ียง หมายถงึ ผู้ ปฏิบัติตนตามแนวทาง
ทีส่ ัมผัสใกลช้ ดิ กับ DMHTT อยา่ งเครง่ ครัด

ผู้มคี วามเส่ยี งตำ่
หรอื ผ้ไู ม่เก่ยี วข้อง
ใด ๆ

พฤตกิ รรมเสย่ี งต่อการติดเช้ือโควิด-19 ในโรงเรียน 7

• ไม่สวมหน้ากาก หรือไม่ได้
สวมตลอดเวลา

• ใช้ของใช้ส่วนตัว เช่น แก้ว
นำ้ จาน ช้อน รว่ มกนั

• ทานอาหารร่วมกันหรือนง่ั
รว่ มโตะ๊ เดยี วกันโดยไม่เว้น
ระยะ

• ทำกิจกรรมร่วมกัน เช่น
เล่นกันเป็นกลุ่ม ประชุม
เข้าแถวทำกิจกรรมต่าง ๆ
โ ดยไ ม่เว ้น ร ะยะ เช่น
เคารพธงชาติ ต่อคิวซ้ือ
อาหาร

รูปที่ 7 พฤตกิ รรมเส่ียงต่อการติดเช้อื โควิด-19

นอกจากน้นั การเขา้ ไปอยู่ใน
พน้ื ท่ีเสีย่ ง ก็เปน็ ปัจจัยทำให้เสยี่ งตอ่ การติดเชือ้ ได้งา่ ย ประกอบดว้ ย

• ชุมชนหรอื สถานทแี่ ออดั เชน่ ตลาดนดั สนามบิน
• การอยูร่ วมกนั ในสถานที่ต่าง ๆ เชน่ ห้างสรรพสนิ ค้า โรงเรียน โรงอาหาร

สถานท่แี ปรงฟนั ในโรงเรยี น สนามเดก็ เล่น รถรับส่งนักเรยี น สระวา่ ยน้ำ
• ห้องทม่ี ีอากาศไม่ถ่ายเท เช่น ห้องคอมพวิ เตอร์ ฟติ เนต

สัมผัสจุดเสี่ยง 8

การสัมผสั จดุ เส่ยี งที่นกั เรยี นใชร้ ่วมกันเปน็ สาเหตุหนึ่งของการรบั เช้ือโรคที่
ตดิ อยู่บริเวณพื้นผิวของจุดต่างๆในโรงเรียน ท่พี บไดบ้ ่อยและนักเรียนควรหลีกเลยี่ ง
การสัมผัส หรอื หากจำเปน็ ต้องสมั ผัสใหร้ ีบลา้ งมือดว้ ยสบ่หู รือ เจลแอลกอฮอล์ทนั ที
ได้แก่

• ราวบันได
• ลฟิ ต์
• โทรศพั ท์
• เคร่ืองคอมพวิ เตอร์
• ลูกบดิ ประตู
• โต๊ะ เก้าอ้ี
• ห้องนำ้
• อ่างน้ำ จดุ แปรงฟัน
• ธนบตั ร
• ตู้กดเงนิ สด (ATM)

รปู ที่ 8 พนื้ ทเ่ี สย่ี งและจดุ สมั ผัสเส่ยี งตอ่ การตดิ เชอื้ โค
วดิ -19

บทท่ี 3

การวินิจฉยั การปอ้ งกนั และรกั ษา

การวนิ ิจฉัย การป้องกนั และรักษาโรคโควิด19 9

เมื่อแกนนำนักเรียน พบว่า นักเรียนที่รับการคัดกรองมีอาการ ไข้ ไอ เจ็บ
คอ มีน้ำมูก ให้รายงานครูประจำชัน้ หรือครเู วรทราบทันทีเพื่อให้ครูจัดการตรวจหา
เชื้อ (ตรวจ ATK) หากพบว่าผลตรวจหาเชื้อเป็นบวก ครูเวรดำเนินการรายงาน
ผปู้ กครองพร้อมทงั้ แจ้งประสานไปยงั โรงพยาบาลท่ีดแู ลเบ้ืองตน้ เพื่อนำนักเรียนป่วย
โดยโรงพยาบาลจะทำการตรวจหาเชือ้ เพ่อื ยนื ยนั เรยี กวา่ ตรวจ อารท์ ี-พซี ีอาร์ (RT –
PCR) และสง่ ตอ่ ใหแ้ พทย์ประเมนิ ความรุนแรงและทำการรักษาต่อไป

การตรวจหาเชอื้ ไวรสั โดยแบ่งเปน็ 3 แบบ คือ

แบบท่ี 1 ตรวจหา เชื้อ
ไวรัส หรือ ATK การตรวจวิธีนี้
สามารถทำไดเ้ อง หลงั มอี าการ
ปว่ ย 5 - 7 วัน ทราบผลใน 15
นาที ปัจจุบนั ใชเ้ ปน็ แนวทางคัด
กรองและวินจิ ฉยั เบือ้ งตน้ ใน
กลุ่มสมั ผัสผู้ป่วย และมีอาการ
เบือ้ งต้น

แบบที่ 2 ตรวจสาร
พนั ธุกรรมของไวรสั ดว้ ยวธิ ี
Real-time RT- PCR ใชต้ รวจ
ยนื ยนั สำหรับโรงพยาบาล วิธีน้ี
มีความไว ความจำเพาะสูง
ทราบผลภายใน 3 – 5
ชั่วโมง

รูปท่ี 9 วิธีตรวจหาการติดเช้ือโควิด-19

10

แบบท่ี 3 การตรวจภมู ิคมุ้ กัน ต่อเช้ือ Sar-CO-V 2 โดยการตรวจภูมิคุ้มกัน
ในชว่ งแรกของการรบั เชื้อ ท้งั ทม่ี ีอาการหรือไม่มอี าการ การตรวจวิธีน้ียังไมม่ ีความ
ชัดเจนเนือ่ งจากเปน็ โรคอุบตั ิใหม่

การจดั การสง่ ตอ่ และรักษาเมอื่ พบผปู้ ว่ ยโรคโควิด 19

- กรณผี ลบวกและอาการไมร่ นุ แรง แยกกักตัว รกั ษาตามอาการ และยาตา้ น

ไวรัส ได้แก่ ยาฟา้ ทะลายโจร ลดการอักเสบ ไข้ ไอ เจ็บคอ ปรับภูมิคุ้มกัน

และยับยงั้ การเพม่ิ จำนวนไวรัส

- กรณีผลบวกและอาการ

รนุ แรง เช่น หายใจลำบาก

ปอดอักเสบ เข้ารบั การ

รักษาในโรงพยาบาล ซง่ึ

อาจไดร้ ับยาต้านไวรสั ฟา

วพิ ริ าเวียร์ (Favipiravir)

มีท้งั รูปแบบทเ่ี ปน็ เม็ดและ

เปน็ น้ำขัดขวางการสร้าง

RNA ของไวรัสชนดิ ต่าง ๆ

ยบั ยง้ั การเพิ่มจำนวนของ

ไวรสั

- ทำให้เชือ้ ไวรสั กลายพนั ธ์ุ

จนภูมติ ้านทานของ

ร่างกาย สามารถเขา้ ไป

กำจัดไวรัสได้หมด รปู ที่ 10 การสง่ ต่อและการบำบดั รักษาเม่ือผลบวก

การดแู ลตนเอง 11

การดูแลตนเองของผู้ติดเชื้อสำคัญมาก ดังนน้ั หลงั จากสัมผัสกับผทู้ ต่ี ิดเชื้อโค
วดิ -19 แกนนำควรใหค้ ำแนะนำให้ทำตามขน้ั ตอนตอ่ ไปนี้
- แจง้ คุณครเู พือ่ โทรหาผู้ใหบ้ ริการสขุ ภาพหรอื สายด่วนโควดิ -19 เพอ่ื หาสถานที่

และเวลาเพ่อื รบั การตรวจ
- ใหค้ วามร่วมมอื ตามขนั้ ตอนการติดตามผู้สมั ผัสเพื่อหยดุ การแพรก่ ระจายของ

ไวรัส
- หากยังไมท่ ราบผลตรวจ ใหอ้ ยูบ่ า้ นและอย่หู า่ งจากผู้อนื่ เป็นเวลา 10-14 วนั
- ขณะทกี่ กั ตวั อย่าออกไปท่ีทำงาน โรงเรียน หรอื สถานทีส่ าธารณะ ขอให้ผู้อน่ื นำ

ของกินของใช้ส่วนตัวมาให้
- รักษาระยะห่างจากผู้อนื่ อยา่ งน้อย 1 เมตร แมจ้ ะเปน็ สมาชกิ ในครอบครวั กต็ าม
- กักตวั เองในหอ้ งแยกจากสมาชกิ ครอบครวั คนอืน่ ๆ สวมหนา้ กากอนามยั

ตลอดเวลา เพือ่ ป้องกันการแพร่เชื้อส่ผู อู้ น่ื
- ลา้ งมอื บอ่ ยๆ จัดให้หอ้ งมีอากาศถา่ ยเทสะดวก สังเกตอาการตนเองเปน็ เวลา 14

วัน
- กรณีกักตัวทบี่ า้ น หากพบสญั ญาณอันตรายตอ่ ไปน้ี ได้แก่ หายใจลำบาก สูญเสยี

ความสามารถในการพดู และเคลอ่ื นไหว แน่นหนา้ อกหรือมภี าวะสับสนโทรหาผู้
ให้บรกิ ารสุขภาพทนั ที
- ตดิ ตอ่ กับคนที่คุณรกั ดว้ ยโทรศัพทห์ รือทางออนไลน์ รวมถงึ ออกกำลงั กายทบ่ี า้ น
เพอ่ื ให้คณุ มีสภาพจิตใจท่ีดีอยเู่ สมอ

บทที่ 4

แนวทางการปอ้ งกันโรคโควิด-19

การปฏิบัติตวั เพ่อื ปอ้ งกนั โรคโควดิ 12

การป้องกันโรคโควิดของนักเรียนต้องดูแลป้องกันตนเองอย่างต่อเนื่องทั้ง
ในขณะที่มาโรงเรียน หรือการออกจากบ้านไปสถานที่ตา่ งๆ สิ่งสำคัญในการป้องกัน
ตนเองให้รอดพ้นจากโควิด -19 นักเรียนแกนนำควรให้คำแนะนำนักเรียน เพื่อนใน
ห้อง ในขอ้ ปฏิบตั ิ DMHTTA และเหตผุ ลในการปฏบิ ตั ิ ดังตอ่ ไปนี้

ขอ้ ปฏิบตั ิ วิธีปฏิบัติ

Social Distancing -D การเว้นระยะห่างทางสังคม คือการ

เว้นระยะหา่ งจากคนอน่ื อยา่ งน้อย 1-2 สร้างระยะห่างระหว่างตัวเรากับผู้อื่น

เมตร ในสงั คม รวมถงึ การลดการออกไปนอก

บ้านโดยไม่จำเป็น หลีกเลี่ยงการใช้

ขนส่งสาธารณะ และการทำงานอยู่ที่

บ้าน ทั้งนี้การทำ Social Distancing

จะชว่ ยลดการแพรร่ ะบาดของโควดิ -19

ได้

1. งดจัดประชุม หรืองดเข้าร่วมการ

ประชุม หรือการชุมนุมขนาดใหญ่ ที่

ตอ้ งเผชญิ หนา้ กบั คนจำนวนมาก

2. หลีกเลี่ยงชั่วโมงเร่งด่วน และ

สถานการณ์ที่มีแนวโน้มดึงดูดคน

จำนวนมาก โดยการเปล่ียนกำหนดการ

รปู ที่ 11 การเวน้ ระยะห่างในการทำ ใหห้ า่ งจากช่ัวโมงเรง่ ดว่ น
กิจกรรมขณะเรียน 3. ระวังการใช้สิ่งของสาธารณะ

หลีกเลี่ยงสิ่งที่คนอื่นสัมผัส เมื่อเจอ

สถานการณ์ที่ต้องสมั ผัสบ่อย ๆ ให้ล้าง

มอื ทนั ที

13

ข้อปฏิบัติ วธิ ีปฏิบัติ

Social Distancing –D (ตอ่ ) 4. ลดการเดินทางเข้าสถานที่จำเป็น

เวน้ ระยะห่างจากคนอืน่ อย่างนอ้ ย 1- เช่น รา้ นขายของชำ หรอื หอ้ งซักรีดรวม
2 เมตร ในชว่ งเวลาเรง่ ด่วน ควรเลือกไปในเวลา

ทำงานหรอื เช้าตรแู่ ทน
5. เปลี่ยนพฤติกรรมการทำงานจากที่
บ้าน โรงเรียน สื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต

เรยี นทางไกลแทน
6. งดการแสดงความรัก หรือทักทาย

ด้วยการจับมอื หอมแก้ม กอด
7. หลีกเลี่ยงพื้นที่ในห้องแออัด งดเข้า
รปู ท่ี 12 การเวน้ ระยะห่างในการเข้าแถว ในพน้ื ทป่ี ิด เชน่ โรงหนัง สนามกฬี า
8. หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับการ
โต้ตอบอย่างใกล้ชิด โดยเว้นระยะห่าง

การส่ือสารตา่ ง ๆ ทเ่ี หมาะสม
9. เว้นระยะอย่างน้อย 1-2 เมตร จาก
ผ้อู ืน่ เช่น การตอ่ คิวซื้อของ รอลฟิ ต์ รอ

คิวตา่ ง ๆ
10. กักตัวอยู่ในบ้านให้มากที่สุด จะลด

โอกาสติดโรคน้อยลงเมื่อไม่ได้ออกไป
ข้างนอก โดยเฉพาะครอบครัวที่มี
ผู้สูงอายุและเด็ก สมาชิกควรคำนึงถึง

ก า ร เ ป ็ น พ า ห ะ น ำ โ ร ค ม า ใ ห ้ บ ุ ค ค ล ท่ี
อ่อนแอกว่า

14

ขอ้ ปฏบิ ัติ วธิ ปี ฏิบตั ิ

Mask wearing – M ความสำคัญของหน้ากากอนามัย

สวมหน้ากากอนามัยและการถอด เพือ่ นๆทราบหรอื ไมว่ า่

หน้ากากอนามยั อย่างถกู ต้อง จากรูป “หน้ากากอนามยั ” ท่ีชว่ ยปกปอ้ งการ

ด้านล่างนี้จะพบวา่ การสวมหน้ากากท่ี แพร่กระจายของเช้ือไวรัส Covid-19

ถกู ต้องจะมปี ระสิทธิภาพในการลดการ น้นั จะสามารถทำงานได้เต็ม

ติดเช้อื ได้ในอตั ราที่แตกตา่ งกนั คือ ประสิทธภิ าพก็ตอ่ เม่อื มีการสวมอย่าง

ถกู ตอ้ ง ดังนัน้ ทุกคนควรฝึกการสวม

1.เม่อื เขา้ ใกลช้ ดิ ผตู้ ดิ เช้ือและผตู้ ดิ เชื้อไม่ หน้ากากอนามยั อยา่ งถกู ตอ้ งด้วยการ

สวมหน้ากาก จะลดอัตราการตดิ เช้อื ลง - สวมหน้ากากใหค้ ลมุ ทั้งจมกู และ

ถึง 30 % ปาก

- เปล่ียนหน้ากากทกุ วัน หรือเมื่อ

2. หากผตู้ ิดเชื้อสวมหน้ากากถกู ต้อง เปรอะเปื้อน เปียกช้ืน

และผู้สมั ผสั ใกลช้ ิด ไมไ้ ด้สวมหน้ากาก - สวมหน้ากากอนามยั อยู่

จะช่วยปกปอ้ งและลดอัตราการติดเชอ้ื ตลอดเวลาเมือ่ ออกจากบา้ น หรอื

ได้ถงึ 95% ต้องพบเจอผูค้ น

3. หากทุกคนสวมหน้ากากจะลดอัตรา
การติดเชื้อได้สูงถงึ 98.5%

รปู ที่ 12 ตวั อยา่ งการสวมหนา้ กากอนามัยถูกตอ้ ง

15

ข้อปฏบิ ัติ วธิ ปี ฏบิ ัติ

ทำไมต้องทิง้ หนา้ กากอนามยั ให้ วิธีการถอดหน้ากากอนามัยและทิ้ง

ถกู ต้อง หนา้ กากท่ใี ชแ้ ล้วทีถ่ กู ต้อง

หน้ากากอนามยั เปน็ สิ่งที่รองรบั สัมผัส มี ข้นั ตอน ดังน้ี

น้ำมูกน้ำลายของผู้ใช้ตลอดวัน ดังน้ัน 1.ถอดหน้ากากออก โดยไมส่ ัมผัสดา้ น

ถือได้ว่า หน้ากากอนามัย เป็นขยะติด ในของหน้ากาก

เชื้อ ตามนิยามองค์การอนามัยโลก 2.พับหนา้ กาก เก็บให้สว่ นที่สมั ผัส

(WHO ร่างกายอยูด่ ้านใน

3.มว้ นสายรดั หรือสายท่ีคล้องหู แล้วพนั

โดยรอบหน้ากาก

4.ท้ิงลงถังขยะติดเชอ้ื หรอื ถงั ขยะมฝี า

ปดิ ที่แยกจากขยะทัว่ ไป

5.ล้างมอื ให้สะอาด

รปู ท่ี 13 มาตรการโรงเรียนในการป้องกันโรคโควิด

16

ขอ้ ปฏบิ ัติ วิธปี ฏิบตั ิ

Hand washing-H ลา้ งมือดว้ ยสบหู่ รือเจลแอลกอฮอล์
ลา้ งมือดว้ ยสบู่อย่างถกู วิธี / ใช้เจลลา้ งมือ ทกุ คร้ัง ก่อนรับประทานอาหาร หลงั

ข้อมูลจาก : กรมควบคมุ โรค ใชส้ ้วม ไอจาม หรอื สิ่งของที่ใช้
รว่ มกนั รวมถงึ แนะวิธกี ารลา้ งมอื ท่ี
ถกู ต้องให้ 7 ขน้ั ตอน คอื

1.ฝา่ มอื ถกู ัน
2.ฝ่ามอื ถหู ลังมอื และนิว้ ถูซอกน้วิ

3.ฝา่ มือถูฝ่ามือและถกู ซอกนวิ้
4.หลังน้ิวมอื ถฝู ่ามือ
5.ถูนิ้วหวั แมม่ อื โดยรอบดว้ ยฝา่ มอื

6.ปลายนว้ิ มอื ถูฝ่ามือ และ
7.ถรู อบขอ้ มอื แล้วล้างออกดว้ ยน้ำ

สะอาด ท้งั นห้ี ากใครท่ีไมส่ ะดวกลา้ ง
มอื ก็สามารถใช้เจลล้างมือแทนได้

รปู ที่ 14 การล้างมอื 7 ขน้ั ตอน

Testing temperature - T การตรวจวัดอณุ หภมู ิและสแกนไทย
และ (ATK testing) ชนะ

Thai CHA NA app.-TA เม่ือนกั เรยี นออกจากบา้ นหรอื
จำเปน็ ตอ้ งเข้าไปสถานทีต่ ่างๆ อย่า

ลมื ตรวจวัดอุณหภูมริ ่างกายทุกครง้ั
และบนั ทึกในรายการหรือ สแกน
แอบไทยชนะ เพื่อมีข้อมลู ไว้

ตรวจสอบกรณมี กี ารตดิ เช้อื เกิดขึ้นใน
สถานทน่ี น้ั ๆ

บทท่ี 5

แนวทางปฏบิ ตั ิการปอ้ งกันแพร่กระจายเชื้อ
โรคในโรงเรียน สำหรบั แกนนำนักเรยี น

17

5.1 แนวทางส่งเสรมิ และตดิ ตาม 6 มาตรการหลกั (DMHC-RC) ในโรงเรยี น
มสี ่วนร่วมกบั โรงเรียนในการเฝา้ ระวังในการดำเนนิ การ 6 มาตรการหลัก (DMHC-
RC) ในโรงเรยี น ดังน้ี

• เว้นระยะหา่ ง Distancing

• สวมหน้ากาก Mask Wearing

• ล้างมอื Hand Washing

• คัดกรองวัดไข้ Testing

• ลดการแออดั Reducing

• ทำความสะอาด Cleaning

ท่ีมาภาพ: กองควบคุมโรค กระทรวง
สาธารณสขุ

รูปท่ี 15- 6 มาตรการหลกั ในโรงเรยี น รปู ท่ี 16- 6 มาตรการเสรมิ ใน
โรงเรียน
5.2 แนวทางส่งเสริมและตดิ ตาม 6
มาตรการเสริม (SSET-CQ) ใน
โรงเรยี น ดงั นี้

• ดูแลตนเอง Self-care
• ใช้ช้อนกลางสว่ นตวั Spoon
• กนิ อาหารปรงุ สกุ ใหม่ Eating
• ลงทะเบยี นเข้า – ออก Track
• สำรวจตรวจสอบ Check
• กักกนั ตัวเอง Quarantine

ที่มาภาพ: กองควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

18

5.3 บทบาทหนา้ ท่ีของนักเรียนแกนนำดา้ นสขุ ภาพ (NICSMAN) 19

นกั เรียนที่มจี ิตอาสาและเป็นแกนนำนักเรยี น ช่วยคณุ ครแู ละชว่ งโรงเรียน เข้ารับ

การอบรมแกนนำอาสาป้องกันโรคโควิดในโรงเรยี น จะได้รับมอบหมายให้ทำหน้าท่ี
เป็น อาสาสมัครช่วยดูแลสุขภาพเพื่อนนักเรียนด้วยกันหรือดูแลรุ่นน้อง ด้วย โดยมี

บทบาทหนา้ ทด่ี งั น้ี
1. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรค พื้นที่เสี่ยง

คำแนะนำการป้องกนั ตนเองและลดความเส่ียง จากแหลง่ ข้อมูลท่ีเชือ่ ถือได้

2. ช่วยครตู รวจคดั กรองวัดอณุ หภูมิร่างกายของนกั เรียน ทกุ คนที่มาเรียนใน
ตอนเชา้ เนน้ การจัดเวน้ ระยะหา่ ง อย่างน้อย 1 – 2 เมตร บรเิ วณทางเขา้ โดยมีครูดูแล

ให้คำแนะนำอยา่ งใกลช้ ดิ
3. ตรวจดูความเรียบร้อยของนกั เรียนทกุ คนท่ีมาเรยี น ตอ้ งสวมหน้ากากผ้า

หรือหน้ากาก อนามัย หากพบนักเรียนไม่ได้ปฏิบัติ ให้แจ้งครูผู้รับผิดชอบเพ่ือจัดหา

หนา้ กากผา้ หรอื หน้ากากอนามยั สำรองให้
4. เฝ้าระวังสังเกตอาการของนักเรียน หากมีอาการไข้ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ

หายใจลำบาก เหนอื่ ยหอบ ไมไ่ ด้กลิ่น ไม่รรู้ ส ใหร้ บี แจง้ ครูทนั ที
5. จัดกจิ กรรมสอื่ สารใหค้ วามรู้แนะนำการป้องกนั และลดความเส่ียงจากการ

แพร่กระจาย โรคโควิด-19 แก่เพื่อนนักเรียน เช่น สอนวิธีการล้างมือ การสวม

หน้ากาก การถอดหนา้ กาก การเวน้ ระยะหา่ งระหว่างบคุ คล
6. ตรวจอปุ กรณข์ องใช้สว่ นตัวของเพือ่ นนักเรยี นและร่นุ นอ้ งให้พร้อมใช้งาน

เน้นไม่ใชร้ ่วมกบั ผ้อู ื่น เช่น จาน ชอ้ น สอ้ ม แกว้ น้ำ ผ้าเชด็ มอื ของตนเอง
7. จดั เวรทำความสะอาดหอ้ งเรยี น ห้องเรยี นร่วม และบริเวณจุดสัมผัสเส่ียง

ทุกวัน เช่น ลูกบิด ประตูกลอนประตู ราวบันได สนามเด็กเล่น อุปกรณ์กีฬา เครื่อง

ดนตรี คอมพวิ เตอร์
8. เป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัตติ ัวเพื่อป้องกันโรคโควดิ -19 ด้วยการสวม

หน้ากากผา้ หรือ หน้ากากอนามัยล้างมอื บอ่ ย ๆ กนิ อาหารใช้จาน ชอ้ น ส้อม แก้วน้ำ
ของตนเอง การเว้นระยะห่าง เป็นต้น โดยถือปฏิบัติเป็นสุขนิสัยกิจวัตรประจำวัน
อยา่ งสม่ำเสมอ

ทีม่ าข้อมูลจากคูม่ ือแนวทางการป้องกนั และควบคมุ โรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ในโรงเรียน สถานศกึ ษา

5.4 ตดิ ตามพฤติกรรมโดยใช้แบบบนั ทึกพฤตกิ รรมก่อน-หลัง ของนักเรยี น 20
ชว่ งทปี่ ระเมิน วันท.่ี ...... ถึงวนั ท.ี่ ..............เดือน.....................

การปฏิบตั ติ ัวของนกั เรียน ใน 1 สัปดาห์ ผรู้ บั รอง
ผปค. ครู
กิจกรรม จนั องั พธุ พฤ ศุก เสา อาทติ ย์

ทร์ คา หสั ร์ ร์



1. เวน้ ระยะหา่ ง 1-2

เมตรนัง่ เรยี นในห้อง

2. เวน้ ระยะห่าง 1-2

เมตรเล่นในสนาม

3. เวน้ ระยะหา่ ง 1-2

เมตรเขา้ แถวเคารพธง

ชาติ

4. สวมหนา้ กากอนามยั

โดยการนำดา้ นทีม่ ีสี

เข้มออกนอก และปรับ

โครงหนา้ กากให้

กระชับกับสันจมูก

5. ถอดหนา้ กากอนามัย

และทิง้ ลงถังมฝี าปดิ

6. ลา้ งมือ ด้วยสบกู่ อ่ น

ทานอาหาร

7. ลา้ งมือ ดว้ ยสบหู่ ลัง

เข้าห้องนำ้

5.4 ติดตามพฤติกรรมโดยใชแ้ บบบนั ทกึ พฤตกิ รรมก่อน-หลงั ของนักเรียน 21
ช่วงทีป่ ระเมิน วนั ที่....... ถงึ วันที.่ ..............เดอื น............. ......

การปฏบิ ัตติ วั ของนกั เรยี น ใน 1 สัปดาห์ ผูร้ บั รอง

กจิ กรรม จัน อังคา พธุ พฤ ศกุ เสาร์ อาทิตย์ ผปค. ครู

ทร์ ร หสั ร์

8. ลา้ งมอื บอ่ ยๆ ด้วยเจล

แอลกอฮอล์ระหว่างคาบ

9. คัดกรองวัดไข้กอ่ นเข้า

หอ้ ง

10. คดั กรองวดั ไข้กอ่ น

กลบั บา้ น

11. ลดการแออดั โดยการ

นง่ั เวน้ ระยะ อยา่ ง

น้อย 1-2 เมตร ใน

หอ้ งเรยี น

12. ลดการแออดั โดยการ

นงั่ เวน้ ระยะ อย่าง

น้อย 1-2 เมตร ในโรง

อาหาร

13. ทำความสะอาดของใช้

สว่ นตัว โตะ๊ เกา้ อี้

กระเป๋าหนังสือที่

โรงเรียน

14. การแยกของใช้ส่วนตัว

เชน่ แก้ว จาน ช้อน

และไม่ใช้รว่ มกับเพือ่ น

คนอืน่ ๆ

5.4 ตดิ ตามพฤติกรรมโดยใช้แบบบนั ทกึ พฤติกรรมก่อน-หลัง ของนกั เรียน 22

ช่วงทป่ี ระเมิน วันที่....... ถงึ วันท.่ี ..............เดอื น..........................

การปฏบิ ัติตัวของนักเรยี น ใน 1 สัปดาห์ ผู้รับรอง

กจิ กรรม จัน องั คา พุธ พฤ ศุก เสา อาทิต ผปค. ครู

ทร์ ร หสั ร์ ร์ ย์

15. กนิ อาหารปรุงสุก

ใหม่

16. ลงทะเบยี นเขา้ –

ออก ที่โรงเรยี น

17. สำรวจตรวจสอบ

อาการไข้ ไอ จาม

เจบ็ คอ กอ่ นไป

โรงเรียน

18. ประเมนิ ตนเองว่ามี

ความเสย่ี งสงู หรือไม่

มคี วามเสีย่ ง

19. แจง้ ผปู้ กครอง หรอื

ครูเวรทราบ เมื่อ

ประเมินวา่ ตวั เองมี

ความเสยี่ งสงู

20. กักกันตัวเอง เมอื่

ประเมนิ วา่ ตัวเองมี

ความเสีย่ งสูง

แบบสังเกตพฤติกรรมก่อน-หลงั ของนักเรยี น 23

คำชแ้ี จง ให้คุณครปู ระจำช้นั ของแกนนำ เฉพาะ ป.4-ป.5 หอ้ งละ 5 คน รวม 40 คน
ประเมินโดยการสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบัตติ วั ของแกนนำและกาถกู √ ในชอ่ งการ
ปฏบิ ตั ิ แต่ละกจิ กรรมให้ใกลเ้ คยี งกบั ความเปน็ จริงมากท่สี ุด

[ ] คณุ ครูเปน็ ผสู้ งั เกตขณะอยู่โรงเรยี น [ ] ผู้ปกครองเปน็ ผู้สังเกตกรณีอยู่ทบี่ า้ น

วนั ท่สี งั เกต..................... เดือน...............พ.ศ. 2565

การปฏบิ ัติ

กจิ กรรม ไมท่ ำ ทำบ้าง ทำเป็น
ประจำ

6 มาตรการหลัก (DMHC-RC)

กระทรวงสาธารณสขุ

• เว้นระยะห่าง Distancing

• สวมหน้ากาก Mask Wearing

• ล้างมือ Hand Washing

• คดั กรองวดั ไข้ Testing

• ลดการแออัด Reducing

• ทำความสะอาด Cleaning

6 มาตรการเสรมิ (SSET-CQ)

กระทรวงสาธารณสขุ

• ดูแลตนเอง Self- care

• ใช้ชอ้ นกลางสว่ นตัว Spoon

• กนิ อาหารปรงุ สกุ ใหม่ Eating

• ลงทะเบยี นเขา้ – ออก Track

• สำรวจตรวจสอบ Check

• กกั กนั ตัวเอง Quarantine

คมู่ อื แกนนำนักเรียนเลม่ นีเ้ ป็นลขิ สทิ ธ์ขิ องโครงการวจิ ัย
ซ่ึงผู้วิจัยร่วมกบั คณะทำงาน

โรงเรียนนานาชาตเิ ทศบาลนครนครศรีธรรมราช
ได้จดั ทำขึ้นเพ่อื ประกอบการเสรมิ สรา้ งความรู้เกีย่ วกับการป้องกนั โรคโค

วดิ ในการจัดโปรแกรมโรงเรยี นรอบรตู้ น้ แบบภายใต้โครงการวิจยั
“โมเดลการใช้ชีวิตปกติรปู แบบใหม่ของนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาตอน

ปลายต่อการระบาดของโรค COVID – 19 ดว้ ยการจดั การ
โดยใชโ้ รงเรียนเปน็ ฐานในพื้นทจี่ งั หวัดภาคใต้ตอนบน”

หากมีข้อสอบถามขอ้ มลู เพิ่มเติมสามารถติดตอ่ ไดท้ ่ี
หัวหนา้ โครงการ: อาจารยป์ าลรี ัตน์ วงศฤ์ ทธ์ิ

สำนกั วิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั วลัยลักษณ์
ต.ไทยบรุ ี อ.ทา่ ศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80160

โทร. +66 0 7567 2700, +66 0 7567 2719 แฟกซ์ +66 07567 2705

โครงการวิจยั ไดร้ บั ทุนสนบั สนนุ จากสถาบนั วจิ ยั ระบบสาธารณสุข (สวรส.)


Click to View FlipBook Version