The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kru Kanogwan, 2021-10-27 03:00:36

บทที่ 16

บทที่ 16

13/06/64

บทที่ กฎหมายทรพั ยส์ ิน
16 ทางปัญญา

สาระการเรยี นรู้

1. ความหมายและลักษณะของทรพั ยส์ ิน
ทางปญั ญา
2. ลิขสิทธิ์
3. สทิ ธบิ ัตรและอนุสทิ ธบิ ัตร
4. เครอ่ื งหมายการคา้
5. ส่งิ บ่งชี้ทางภมู ิศาสตร์
6. แผนผงั ภูมขิ องวงจรรวม

1

13/06/64

1. ความหมายและลักษณะของทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา

ทรพั ย์สินทางปัญญา (Intellectual property) หมายถึง ผลงานอันเกิดจาก
การประดิษฐ์ คิดค้น หรอื สรา้ งสรรค์ของมนุษย์ ซึ่งเน้นที่ผลผลิตของสติปัญญาและ
ความชานาญ โดยไม่คานึงถึงชนิดของการสร้างสรรค์หรือวิธีในการแสดงออก
ทรพั ย์สนิ ทางปัญญาสามารถแบง่ ออกได้ 2 ลกั ษณะหลกั คือ

1. ลิขสิทธิ์ หมายถึง งานหรอื ความคิดสรา้ งสรรค์ใน
สาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรี งานภาพยนตร์ หรือ
งานด้านอ่ืนใดในแผนกวิทยาศาสตร์

2 . ท รัพ ย์ สิ น ท า ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม เป็ น ค ว า ม คิ ด
สร้างสรรค์ของมนุษย์ที่เกี่ยวกับสินค้าอุตสาหกรรม แบ่ง
ออกได้เป็น สิทธิบัตร เครอ่ื งหมายการค้า การออกแบบ
อุ ตส าห กรร ม ความลั บทางก ารค้ า และ ส่ิง บ่งชี้ ทาง
ภมู ิศาสตร์

2. ลิขสิทธ์ิ

ลิขสิทธ์ิ (Copyright) หมายถึง สิทธ์ิแต่เพียงผู้เดียวในการทาซ้า ดัดแปลง
เผยแพร่ อนุญาตให้ผู้อื่นใช้สิทธ์ิในงานที่ตนสรา้ งสรรค์ขึ้น ผสู้ รา้ งสรรค์ได้รบั ความ
คุ้มครองงานสรา้ งสรรค์โดยตนเอง หรอื ลิขสิทธ์ิ โดยทันที นับต้ังแต่ผูส้ รา้ งสรรค์ได้
สรา้ งผลงานขึ้นโดยไม่ต้องจดทะเบียน งานอันมลี ิขสทิ ธ์ไิ ด้แก่
(1) วรรณกรรม หมายถึง งานนิพนธห์ รอื งานเขียนทกุ ชนิด รวมถึงคาปราศรยั
สุนทรพจน์ และโปรแกรมคอมพวิ เตอรด์ ้วย
(2) นาฏกรรม หมายถึง ท่าเต้นหรอื รา่ ยรา
(3) ศิลปกรรม ได้แก่

(3.1) งานจิตรกรรม
(3.2) งานประติมากรรม
(3.3) งานภาพพิมพ์
(3.4) งานสถาปัตยกรรม

2

13/06/64

2. ลิขสิทธ์ิ

(3.5) งานภาพถ่าย
(3.6) งานภาพประกอบ แผนที่ งานสรา้ งรูปทรงสามมิติทางภมู ิศาสตร์
(3.7) งานศิลปะประยุกต์ เช่น นา ภาพวาดมาพมิ พบ์ นเสื้อ
(4) งานดนตรี
(5) โสตทศั นวสั ดุ หมายถึง การแสดงการลาดับภาพไม่วา่ ด้วยวิธใี ด
(6) ภาพยนตร์
(7) สง่ิ บนั ทกึ เสียง
(8) นักแสดง

2. ลิขสทิ ธิ์

ทัง้ น้ีกฎหมายกาหนดให้ช้ินงานบางลักษณะเป็นงานที่ไม่มีลิขสิทธิ์ ได้แก่
(1) ข่าวประจาวนั
(2) กฎหมายต่าง ๆ
(3) เอกสารราชการ
(4) คาพิพากษาของศาล
(5) คาแปลเอกสารและการรวบรวมขอ้ มูลของ
หน่วยงานราชการ
(6) สิ่งผิดกฎหมาย

3

13/06/64

ประเภทของงานทไ่ี ด้รับความคุ้มครองลขิ สิทธ์ิ
งานจติ รกรรม

4

13/06/64

งานประติมากรรม

งานภาพพมิ พ์ งานสถาปัตยกรรม

5

13/06/64

งานภาพถ่าย

งานภาพประกอบ

6

13/06/64

งานศิลปประยุกต์

7

13/06/64
8

13/06/64
9

13/06/64

อายุแห่งการคุ้มครองลขิ สิทธ์ิ
1. งานทว่ั ไป ลขิ สิทธ์ิจะมอี ยู่ตลอดอายุของผ้สู ร้างสรรค์และมอี ยู่

ต่อไปอกี เป็ นเวลา 50 ปี นับแต่ผ้สู ร้างสรรค์ถงึ แก่ความตาย
2. งานภาพถ่าย โสตทศั นวสั ดุ ภาพยนตร์ ส่ิงบนั ทกึ เสียง หรือ

งานแพร่เสียงแพร่ภาพ มอี ายุ 50 ปี นบั แต่ได้สร้างสรรค์งาน
น้นั ขึน้
3. งานศิลปประยุกต์ มอี ายุ 25 ปี นบั แต่ได้สร้างสรรค์งานน้นั
ขึน้

10

13/06/64

4. งานทผี่ ้สู ร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์
(มาตรา 20) คือ 50 ปี นบั แต่ได้สร้างสรรค์งาน

5. งานทไี่ ด้สร้างสรรค์ขึน้ โดยการจ้าง หรือตามคาส่ัง หรือใน
ความควบคุมตามมาตรา 14 คือ นบั แต่ได้สร้างสรรค์งาน แต่
ถ้าได้มกี ารโฆษณางานน้นั ในระหว่างระยะเวลาดงั กล่าว ให้
ลขิ สิทธ์ิมอี ยู่ต่อไปอกี 50 ปี นับแต่โฆษณางานคร้ังแรก

บทกาหนดโทษ
1. การละเมิดลขิ สิทธ์ิโดยตรง : มโี ทษปรับต้งั แต่ 20,000 บาท ถงึ 200,000

บาท หากเป็ นการกระทาเพื่อการค้า มโี ทษจาคุกต้ังแต่ 6 เดือน ถงึ 4 ปี
หรือปรับต้งั แต่ 100,000 บาท ถงึ 800,000 บาท หรือท้งั จาท้งั ปรับ
2. การละเมิดลขิ สิทธ์ิโดยอ้อม : มโี ทษปรับต้งั แต่ 10,000 บาท ถงึ 100,000
บาท หากเป็ นการกระทาเพ่ือการค้า มโี ทษจาคุกต้ังแต่ 3 เดือน ถงึ 2 ปี
หรือปรับต้งั แต่ 50,000 บาท ถงึ 400,000 บาท หรือท้งั จาท้งั ปรับ

11

13/06/64

• ผู้ใดกระทาความผดิ ต้องระวางโทษตามพระราชบญั ญัตลิ ขิ สิทธ์ิฉบับนี้ เมื่อพ้น
โทษแล้วยงั ไม่ครบกาหนด 5 ปี กระทาความผิดต่อพระราชบญั ญัตินอี้ กี จะต้อง
ระวางโทษเป็ น 2 เท่าของโทษทีก่ าหนดไว้สาหรับความผดิ น้ัน

• กรณที นี่ ิตบิ ุคคลกระทาความผดิ ตามพระราชบญั ญตั ินี้ ให้ถือว่ากรรมการหรือ
ผู้จัดการทุกคนของนิติบุคคลน้ันเป็ นผู้ร่วมกระทาความผิดกบั นิตบิ ุคคลน้ัน เว้น
แต่จะพสิ ูจน์ได้ว่ามไิ ด้รู้เห็นหรือยนิ ยอมด้วย

• ค่าปรับที่ได้มีการชาระตามคาพพิ ากษาน้ัน คร่ึงหนึ่งจะตกเป็ นของเจ้าของ
ลขิ สิทธ์ิอย่างไรกด็ กี ารได้รับค่าปรับดงั กล่าวไม่กระทบต่อสิทธิของเจ้าของ
ลขิ สิทธ์ิ ทจี่ ะฟ้องเรียกค่าเสียหายในทางแพ่งสาหรับส่วนที่เกินจานวนเงนิ ค่าปรับ
ทีเ่ จ้าของลขิ สิทธ์ิได้รับไว้แล้วน้ัน

3. สิทธบิ ัตรและอนุสทิ ธบิ ัตร

สิทธิบัตร (Patent) หมายถึง หนังสือสาคัญที่รฐั
อ อ ก ให้ เพื่ อ คุ้ ม ค ร อ ง ก า ร ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ก า ร อ อ ก แบ บ
ผลิตภัณฑ์ หรอื ผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์ ท่ีมีลักษณะ
ตามที่กฎหมายกาหนด

สิง่ ทีส่ ามารถจะขอสทิ ธิบตั รได้ต้องมีการสรา้ งสรรค์
ท่ีมีขั้นตอนการสรา้ งสรรค์ท่ีไม่เคยปรากฏมาก่อน และ
สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม พาณิช
ยกรรม หัตถกรรมได้ หากมีกระบวนการสรา้ งสรรค์ที่
ซับซ้อนน้อยกว่าสิทธิบัตร รฐั จะออกหนังสือรบั รองให้
เรยี กว่าอนุสิทธบิ ตั ร (Petty Patent)

12

13/06/64

3. สิทธบิ ตั รและอนุสิทธบิ ัตร

ทัง้ น้ีการประดิษฐ์ ออกแบบผลิตภัณฑ์บางลักษณะ ไม่สามารถขอสิทธิบัตรหรอื
อนุสิทธบิ ัตรได้ ได้แก่

1. จุลชีพและส่วนประกอบส่วนใดส่วนหน่ึงของจุลชีพท่ีมีอยู่
ตามธรรมชาติ สัตว์ พืช หรอื สารสกัดจากสัตว์ หรอื พชื
2. กฎเกณฑ์และทฤษฎที างวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์
3. ระบบข้อมูลสาหรบั การทางานของเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์
4. วธิ กี ารวินิจฉัย บาบัด หรอื รกั ษาโรคมนุษย์ หรอื สัตว์
5. การประดิษฐท์ ่ีขัดต่อความสงบเรยี บรอ้ ย หรอื ศีลธรรมอันดี
อนามัยหรอื สวสั ดิภาพของประชาชน

13

13/06/64
14

13/06/64

ความแตกต่างระหว่างการประดษิ ฐ์และการออกแบบผลติ ภณั ฑ์

การประดษิ ฐ์ การออกแบบผลติ ภณั ฑ์

- เกย่ี วข้องกบั โครงสร้าง - เกยี่ วข้องกบั รูปร่าง

ภายใน ภายนอก

- ไม่สามารถมองเห็นได้จาก - สามารถมองเห็นได้จาก

รูปร่างภายนอก ภายนอก

15

13/06/64

อนุสิทธิบตั ร
อนุสิทธิบตั ร คือ หนังสือสาคญั ทีอ่ อกให้เพ่ือคุ้มครองการประดษิ ฐ์

เช่นเดยี วกบั สิทธิบตั ร แต่มรี ะดบั ข้นั การประดษิ ฐ์ทีเ่ ป็ นการประดษิ ฐ์ง่าย ๆ หรือ
เป็ นการประดษิ ฐ์ทีไ่ ด้ปรับปรุงให้มีประโยชน์ใช้สอยมากขึน้
การประดษิ ฐ์ที่จะขอรับอนุสิทธิบตั รได้ กฎหมายกาหนดไว้ว่า
1. ต้องเป็ นการประดษิ ฐ์ขนึ้ ใหม่ ซ่ึงมีหลกั เช่นเดยี วกบั สิทธิบตั รการประดษิ ฐ์
2. ต้องเป็ นการประดษิ ฐ์ท่สี ามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ในทางอตุ สาหกรรม

เกษตรกรรม พาณชิ ยกรรม หรือหัตถกรรมได้เช่นเดยี วกบั สิทธิบัตร

ความแตกต่างระหว่างสิทธิบตั รการประดษิ ฐ์ และ อนุสิทธิบัตร

สิทธิบตั รการประดษิ ฐ์ อนุสิทธิบัตร
- มเี ทคนิคการประดษิ ฐ์ข้นั สูง
- มอี ายุการคุ้มครอง 20 ปี - มเี ทคนิคการประดษิ ฐ์ไม่สูงนัก

- ใช้เวลานานในการขอรับ - มอี ายุการคุ้มครอง 6 ปี ต่ออายุ
สิทธิบตั ร ได้อกี 2 คร้ัง @ 2 ปี

- ค่าธรรมเนียมแพง - ใช้เวลาน้อยในการขอรับอนุ
สิทธิบตั ร

- ค่าธรรมเนียมจะถูกกว่า
สิทธิบัตรคร่ึงหนึ่ง

16

13/06/64
17

13/06/64

ความผดิ และการกาหนดโทษ

โทษเจ้าพนกั งานผู้ฝ่ าฝื นตามมาตรา 81
มาตรา 81* เจ้าพนกั งานผ้ใู ดฝ่ าฝื นมาตรา 21 หรือ

มาตรา 23 วรรคสอง หรือ มาตรา 65 ประกอบด้วยมาตรา 21 หรือ
มาตรา 65 ทศ ประกอบด้วยมาตรา 21 หรือมาตรา 23 วรรคสอง
ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกนิ 2 ปี หรือปรับไม่เกนิ 200,000 บาท
หรือท้งั จาท้งั ปรับ

โทษบุคคลผู้ฝ่ าฝื นตามมาตรา 82
มาตรา 82* บุคคลใดฝ่ าฝื นมาตรา 22 หรือมาตรา 65

ประกอบด้วยมาตรา 22 หรือมาตรา 65 ทศ ประกอบด้วย
มาตรา 22 ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกนิ 6 เดือน หรือปรับไม่
เกนิ 20,000 บาท หรือท้งั จาท้งั ปรับ

18

13/06/64

โทษผ้ฝู ่ าฝื นมาตรา 83 , 84
มาตรา 83* บุคคลใดฝ่ าฝื นมาตรา 23 วรรคสอง หรือมาตรา

65 ทศ ประกอบด้วยมาตรา 23 วรรคสอง ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกนิ
1 ปี หรือปรับไม่เกนิ 50,000 บาท หรือท้งั จาท้งั ปรับ

มาตรา 84 บุคคลใดฝ่ าฝื นมาตรา 75 หรือมาตรา 76 ต้อง
ระวางโทษจาคุกไม่เกนิ 1 ปี หรือปรับไม่เกนิ 200,000 บาท หรือท้งั
จาท้งั ปรับ

โทษผู้กระทาโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ทรงสิทธิบตั ร
มาตรา 85* บุคคลใดกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งตาม

มาตรา 36 หรือมาตรา 63 โดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ทรง
สิทธิบัตร ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกนิ 2 ปี หรือปรับไม่เกนิ
400,000 บาท หรือท้งั จาท้งั ปรับ

19

13/06/64

โทษผู้กระทาโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ทรงอนุสิทธิบตั ร
มาตรา 86* บุคคลใดกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งตาม

มาตรา 65 ทศ ประกอบด้วยมาตรา 36 โดยไม่ได้รับอนุญาต
จากผู้ทรงอนุสิทธิบตั ร ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกนิ 1 ปี
หรือปรับไม่เกนิ 200,000 บาท หรือท้งั จาท้งั ปรับ

บญั ชีอตั ราค่าธรรมเนียม*

รายการ ค่าธรรมเนียม
1. คาขอรับสิทธิบตั รหรืออนุสิทธิบตั ร ฉบบั ละ 1,000 บาท
2. คาขอรับสิทธิบัตรสาหรับแบบผลติ ภัณฑ์อย่างเดียวกนั และ
ยื่นขอในคราวเดยี วกนั ต้งั แต่10 คาขอขนึ้ ไป 10,000 บาท
3. การประกาศโฆษณาคาขอรับสิทธิบตั ร
4. คาขอให้ตรวจสอบการประดษิ ฐ์ 500 บาท
5. คาคดั ค้านการขอรับสิทธิบตั ร ฉบับละ 500 บาท
6. สิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบตั ร ฉบับละ 1,000 บาท
ฉบบั ละ 1,000 บาท

20

13/06/64

4. เครอ่ื งหมายการค้า

เครอื่ งหมายการค้า หมายถึง เครอ่ื งหมาย สญั ลักษณ์ หรอื ตราทีใ่ ชก้ ับสินค้าหรอื บรกิ าร
รูจ้ ักกันดีในชอ่ื ยห่ี ้อ โลโก้ แบรนด์ ซ่ึงเครอ่ื งหมายการค้าแบง่ ออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่

1. เครอ่ื งหมายการค้า (Trade Mark) คือ เครอ่ื งหมายท่ีใช้
เป็นทหี่ มายเกี่ยวข้องกับสินค้า เพื่อแสดงว่าสินค้าท่ีใช้เครอื่ งหมาย
นั้นแตกต่างกับสินค้าท่ีใช้เครอื่ งหมายการค้าของบุคคลอ่ืนโดยคา
หรอื ข้อความนั้นต้องไม่เก่ียวขอ้ งกับคุณสมบัติของตัวสินค้า

2. เครอ่ื งหมายบรกิ าร (Service Mark) คือ เครอื่ งหมายท่ี
ใช้เป็นทหี่ มายหรอื เก่ียวขอ้ งกับการบรกิ าร เพื่อแสดงว่าบรกิ ารที่ใช้
เครือ่ งหมายนั้นแตกต่างกับบริการท่ีใช้เครื่องหมายบริการของ
บุคคลอ่ืน

4. เครอื่ งหมายการค้า

3. เครอื่ งหมายรบั รอง (Certification Mark) คือ
เคร่อื งหมายที่เจ้าของเครื่องหมายรับรอง ใช้เป็นท่ีหมาย
หรือเก่ียวข้องกับสินค้าและบริการของบุคคลอื่น เพ่ือเป็น
การรบั รองคุณภาพของสินค้า หรอื บรกิ ารน้ัน

4. เครื่องหมายร่วม (Collective Mark) คือ
เครอื่ งหมายการค้าหรอื เครอื่ งหมายบรกิ ารท่ีใช้ โดยบรษิ ัท
หรอื รฐั วสิ าหกิจในกลุ่มเดียวกัน หรอื โดยสมาชิกของสมาคม
กลุ่มบุคคล หรอื องค์กรอื่นใดของรฐั หรอื เอกชน

เครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้ว มีอายุความ
คุ้มครอง 10 ปี เมื่อครบกาหนดสามารถที่จะต่ออายุได้
เป็นคราว ๆ คราวละ 10 ปี

21

13/06/64
22

13/06/64

เคร่ืองหมายการค้าทจ่ี ดทะเบียนได้
1. เป็ นเคร่ืองหมายการค้าทม่ี ีลกั ษณะบ่งเฉพาะ
2. เป็ นเครื่องหมายการค้าทไ่ี ม่มลี กั ษณะต้องห้ามตาม

พระราชบัญญตั นิ ี้ และ
3. ไม่เป็ นเคร่ืองหมายการค้าทเ่ี หมือนหรือคล้ายกบั เครื่องหมาย

การค้าทบี่ ุคคลอ่ืนได้จดทะเบียนไว้แล้ว

23

13/06/64

เครื่องหมายการค้าทจ่ี ดทะเบยี นไม่ได้
1. ตราแผ่นดนิ พระราชลญั จกร ลญั จกรในราชการ ตราจกั รี

ตราเครื่องราชอสิ ริยาภรณ์ ตราประจาตาแหน่ง ตราประจากระทรวง ทบวง กรม
หรือตราประจาจงั หวดั
2. ธงชาติของประเทศไทย ธงพระอสิ ริยยศ หรือธงราชการ
3. พระปรมาภิไธย พระนามาภไิ ธย พระปรมาภไิ ธยย่อ พระนามาภไิ ธยย่อ หรือนาม
พระราชวงศ์
4. พระบรมฉายาลกั ษณ์ หรือพระบรมสาทิสลกั ษณ์ของพระมหากษตั ริย์ พระราชินี
หรือรัชทายาท
5. ช่ือ คา ข้อความ หรือเครื่องหมายใด อนั แสดงถงึ พระมหากษตั ริย์ พระราชินี รัช
ทายาท หรือพระราชวงศ์

6. ธงชาติหรือเครื่องหมายประจาชาตขิ องรัฐต่างประเทศ ธงหรือเคร่ืองหมาย
ขององค์การระหว่างประเทศ ตราประจาประมุขของรัฐต่างประเทศ

7. เคร่ืองหมายราชการ เครื่องหมายกาชาด นามกาชาด หรือกาเจนีวา
8. เครื่องหมายที่เหมือนหรือคล้ายกบั เหรียญ ใบสาคญั หนังสือรับรอง

ประกาศนียบัตร หรือเคร่ืองหมายอื่นใดอนั ได้รับเป็ นรางวลั ในการแสดงหรือ
ประกวดสินค้าทร่ี ัฐบาลไทย
9. เครื่องหมายที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอนั ดขี องประชาชน
10. เคร่ืองหมายทเ่ี หมือนกบั เครื่องหมายที่มชี ่ือเสียงแพร่หลายทั่วไป ตาม
หลกั เกณฑ์ทีร่ ัฐมนตรีประกาศกาหนด

24

13/06/64
25

13/06/64

5. สิ่งบง่ ชท้ี างภมู ิศาสตร์

ส่ิงบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์ (Geographical Indications: GI) เป็นทรพั ย์สินทาง
ปัญญาประเภทหนึ่ง ซ่ึงจะเกิดข้ึนได้ก็ต่อเมื่อมีความเชื่อมโยง (Links) ระหว่าง
ปัจจัยทางธรรมชาติและทรพั ยากรมนุษย์ กลา่ วคือ ชุมชนหรอื บุคคลในท้องถิ่นนั้น ๆ
ได้อาศัยลักษณะเฉพาะท่ีมีอยู่ในแหล่งภูมิศาสตร์ตามธรรมชาติ แบ่งได้เป็น 2
ลกั ษณะ คือ

1. สิ่งบ่งชีท้ างภูมิศาสตรโ์ ดยตรง (Direct Geographical Indication)
เป็นชื่อทางภมู ิศาสตรท์ ่ีเกี่ยวขอ้ งกับสินค้าน้ัน ๆ โดยตรง
2. ส่ิงบง่ ชท้ี างภูมิศาสตรโ์ ดยอ้อม (Indirect Geographical Indication)
กลา่ วคือ เป็นสญั ลกั ษณ์ หรอื ส่งิ อ่ืนใดทไี่ มใ่ ชช่ ่ือทางภมู ศิ าสตร์ ซงึ่ ใช้เพ่ือบ่ง
บอกแหลง่ ภมู ศิ าสตรอ์ ันเป็นแหล่งกาเนิดหรอื แหล่งผลติ ของสนิ ค้า

26

13/06/64

6. แผนผงั ภูมิของวงจรรวม

แบบผังภูมิ คือ แบบแผนผังหรอื ภาพท่ีทาข้ึนไม่ว่า
จะปรากฏในรูปแบบใดหรอื วธิ ีใดเพอื่ ใหเ้ ห็นถึง การจัดวาง
ให้เป็นวงจรรวม

จา กค า นิ ย า ม ดั ง กล่ า ว จะ เห็ น ไ ด้ ว่ า แบ บ ข อ ง
วงจรไฟฟ้าท่ีได้ออกแบบข้ึนมาหรือท่ีเรียกว่า layout
design และตัวชุดหน้ากากหรอื แผ่นบัง (mark work) ซ่ึง
เป็นตัวต้นแบบท่ีใช้ในการสรา้ งให้เกิดแบบผังภูมิก็จัดว่า
อยู่ในข่ายท่ีจะได้รบั ความคุ้มครองตามกฎหมายนี้ด้วย
เช่นกัน

สรุป

ทรพั ย์สินทางปัญญา เป็นผลงานอันเกิดจากการสรา้ งสรรค์
ของมนุษย์ซึ่งเน้นท่ีผลผลิตของสติปัญญาและความชานาญ การ
คุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาจึงมีความสาคัญในการส่งเสริมให้
มนุษย์พัฒนาทรพั ย์สินทางปัญญา เน่ืองจากตนสามารถใช้และเก็บ
เก่ียวผลประโยชน์จากทรพั ยส์ นิ ทางปัญญานั้น

ทรัพย์สินทางปัญญามีอยู่หลายลักษณะ ได้แก่ ลิขสิทธิ์
เครอ่ื งหมายการค้า สิทธิบัตร และอนุสิทธิบัตร ส่ิงบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
แผนผงั ภมู ิของวงจรรวม

27

13/06/64
28


Click to View FlipBook Version