13/06/64
บทที่ หุ้นส่วน บรษิ ัท
15 และสมาคม
สาระการเรยี นรู้
1. ความหมายและลักษณะการดาเนินงาน
ของหา้ งหุ้นสว่ น
2. ห้างหุ้นส่วนสามัญ
3. ห้างหนุ้ สว่ นสามญั นิติบุคคล
4. ห้างหนุ้ สว่ นจากัด
5. บรษิ ัทจากัด
6. บรษิ ัทมหาชนจากัด
7. สมาคม
1
13/06/64
1. ความหมายและลักษณะการดาเนินงานของห้างหุ้นสว่ น
“อันสญั ญาจัดตั้งห้างหุ้นสว่ นหรอื บรษิ ัทน้ัน คือสัญญาซ่ึงบุคคลต้ังแต่สองคน
ขึ้นไปตกลงเข้ากันเพื่อกระทากิจการรว่ มกัน ด้วยประสงค์จะแบ่งปันกา ไรอันจะพึง
ได้แต่กิจการท่ีทาน้ัน” ซ่ึงจากมาตรา 1012 น้ีสามารถพิจารณาลักษณะของสัญญา
เข้าเป็นหุ้นส่วนได้ดังนี้
1. ต้องมีบุคคลตั้งแต่ 2 คนข้ึนไป ซึ่งกฎหมายกาหนด
เพยี งจานวนข้ันต่าคือ 2 คน แต่ไม่ได้กาหนดจานวนข้ันสูงไว้
2. มีการตกลงกันโดยนาทุนมาเข้ารว่ มซ่ึงไม่ใช่การทามา
หาได้รว่ มกันฉันพ่นี ้อง
3. กระทากิจกรรมรว่ มกันตามวัตถปุ ระสงค์ทต่ี กลงกันไว้
4. ประสงค์จะแบง่ กาไรอันจะพึงได้จากกิจการทีท่ านั้น
2. ห้างหุ้นส่วนสามัญ
หา้ งห้นุ ส่วนสามัญ คือ ห้างหนุ้ สว่ นประเภททผ่ี เู้ ป็นหนุ้ ส่วนทกุ คนต้องรว่ มรบั ผดิ
เพื่อหน้ีทง้ั ปวงของหุ้นส่วนโดยไมม่ ีขดี จากัด ซ่งึ หมายความดังนี้
1. ผเู้ ป็นหนุ้ ส่วนต้องรบั ผดิ รว่ มกัน
2. ต้องรบั ผดิ ในหนี้ทกุ ชนิดของหา้ ง
3. การรบั ผดิ เป็นการรบั ผดิ แบบไมจ่ ากัดจานวน
4. คณุ สมบตั ิของห้นุ สว่ นเป็นสาระสาคัญ
5. หา้ งห้นุ สว่ นสามัญย่อมเลกิ กันด้วยเหตุ เช่น
- ถ้าในสัญญาจัดตั้งห้างมีการกาหนดไว้ว่ากรณีใดเป็นเหตุให้ห้างเลิก
และได้เกิดกรณีน้ันขึ้น
- ถ้าในสญั ญาจัดตั้งห้างกาหนดเวลาเลกิ กันไวก้ ็ใหเ้ ลิกเม่อื ถึงเวลาน้ัน
2
13/06/64
3. ห้างหุ้นส่วนสามญั นิติบุคคล
ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคลมีพ้ืนฐาน
เริ่มจากห้างหุ้นส่วนสามัญ แต่เมื่อผู้เป็น
หุ้ น ส่ ว น น า เ อ ก ส า ร จั ด ต้ั ง ห้ า ง ไป ข อ จ ด
ทะเบียนกับนายทะเบียน ห้างหุ้นส่วนน้ีก็จะมี
สถานะเป็นนิติบุคคล มีตัวตนแยกออกจากผู้
เป็นหุ้นส่วน เรียกว่า ห้างหุ้นส่วนสามัญจด
ทะเบียน หรอื หา้ งหนุ้ สว่ นสามญั นิติบุคคล
3. หา้ งหุ้นส่วนสามญั นิติบุคคล
การดาเนินงานของห้างห้นุ ส่วนสามัญนิติบุคคล
1. หา้ งห้นุ ส่วนสามญั นิติบุคคลต้องมีผดู้ าเนินการจัดการ
ห้างเรยี กว่า หุ้นส่วนผู้จัดการ
2. ผู้เป็นหุ้นส่วนห้ามทาการค้าขายแข่งกับห้าง ไม่ว่าจะ
เพอื่ ประโยชน์ของตนเองหรอื ผอู้ ื่น
3. ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนต้องร่วมรับผิดในห้างโดยไม่
จากัดจานวน
4. ผู้เป็นหุ้นส่วนไม่มีสิทธิเรยี กเอาทรพั ย์สินของห้างมา
ชาระหนี้ส่วนตัว
3
13/06/64
3. ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล
การดาเนินงานของห้างหนุ้ สว่ นสามญั นิติบุคคล
5. ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคลมีวัตถุประสงค์และผู้มี
อานาจจัดการทไ่ี ด้จดแจ้งไวเ้ ม่อื จดทะเบยี นหา้ ง
6. กฎหมายกาหนดให้ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล
สามารถเลิกได้ด้วยเหตุเดียวกันกับการเลิกห้างหุ้นส่วน
สามญั
7. เม่ือมีการเลิกห้างต้องมีการชาระบัญชีโดยการต้ังผู้
ชาระบัญชีและจดทะเบียนขอเลิกห้าง ต่อนายทะเบียน
ภายใน 14วัน นับแต่วันท่ีเลิกกัน ผ้ชู าระบัญชีต้องจัดการ
ชาระหน้ีสิน
4. ห้างหุน้ สว่ นจากัด
ห้างหุ้นส่วนจากัด เป็นห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลอีกลักษณะหนึ่ง คือตัวห้าง
ต้องจดทะเบยี นเป็นนิติบุคคล ทาให้ห้างหุ้นส่วนจากัดจึงมีสภาพเป็นบุคคลแยก
ออกต่างหากจากผู้เป็นหุ้นส่วนการเรยี กชื่อห้างหุ้นส่วนจากัด ให้มีคาว่าจากัด
ต่อทา้ ยคาว่าห้างหุ้นสว่ นเสมอ
การดาเนินงานของหา้ งหนุ้ ส่วนจากัด
1. หุ้นส่วนจาพวกจากัดความรบั ผิด ซง่ึ จะจากัดความรบั ผดิ
เพียงไม่เกินจานวนเงนิ ทีต่ นลงหุ้น และหนุ้ สว่ นประเภทน้ีจะมสี ทิ ธิ
หน้าทีท่ จี่ ากัด
2. ห้นุ ส่วนจาพวกไมจ่ ากัดความรบั ผิด ต้องรบั ผดิ รว่ มกันใน
บรรดาหน้ีของหา้ งหุ้นส่วนโดยไม่จากัดจานวน แต่ต้องคานึงอยู่
เสมอวา่ เมอ่ื หา้ งเป็นนิติบุคคลแยกออกต่างหากจากหนุ้ สว่ น
4
13/06/64
4. ห้างหุ้นส่วนจากัด
การดาเนินงานของห้างหนุ้ ส่วนจากัด
1. หนุ้ ส่วนจาพวกจากัดความรบั ผิด
1) ผเู้ ป็นหุ้นส่วนจาพวกจากัดความรบั ผดิ สามารถโอนหนุ้ ของตนได้โดยไม่ต้องได้รบั
ความยนิ ยอมจากหนุ้ ส่วนอ่ืน
2) การตาย การลม้ ละลาย หรอื การตกเป็นคนไรค้ วามสามารถของผเู้ ป็นหนุ้ สว่ นจาพวก
จากัดความรบั ผดิ ไมท่ าใหห้ า้ งเลิกกัน (เว้นแต่จะมีข้อกาหนดไวเ้ ป็นอย่างอื่น)
3) จะเอาช่ือผเู้ ป็นหนุ้ สว่ นจา พวกจากัดความรบั ผดิ มาเป็นชอ่ื ของห้างไมไ่ ด้
4) ผเู้ ป็นหุ้นส่วนจาพวกจากัดความรบั ผดิ ไม่มีสิทธิจัดการงานของหา้ ง
5) ผเู้ ป็นหุ้นสว่ นจาพวกจากัดความรบั ผดิ จะลงหุ้นได้แต่เฉพาะเงนิ หรอื
ทรพั ยส์ ินอ่ืนเท่านั้น
4. ห้างหนุ้ ส่วนจากัด
การดาเนินงานของหา้ งหนุ้ ส่วนจากัด
1. หนุ้ ส่วนจาพวกจากัดความรบั ผิด
6) ผเู้ ป็นห้นุ ส่วนจาพวกจากัดความรบั ผดิ จะไมไ่ ด้รบั แบ่งเงนิ ปันผลหรอื
ดอกเบีย้ นอกจาก ผลกาไรของหา้ งหนุ้ ส่วน
7) ผเู้ ป็นหนุ้ ส่วนจาพวกจากัดความรบั ผดิ มสี ทิ ธใิ นการออกความเหน็
แนะนา ออกเสยี ง เลือกต้ังหรอื ถอดถอนผจู้ ัดการได้
8) ผเู้ ป็นหุ้นสว่ นจาพวกจากัดความรบั ผดิ มสี ิทธคิ า้ ขายแขง่ กับห้างได้
9) ผเู้ ป็นหนุ้ ส่วนจาพวกจากัดความรบั ผดิ มสี ิทธิเป็นผชู้ าระบัญชีของหา้ ง
ห้นุ สว่ นได้
10) ผเู้ ป็นห้นุ ส่วนจา พวกจากัดความรบั ผดิ จะรบั ผดิ ไม่เกินจานวนทตี่ นรบั
จะลงหุ้นในห้าง
11) ผเู้ ป็นห้นุ ส่วนจา พวกจากัดความรบั ผดิ จะรบั ผดิ ก็ต่อเมื่อห้างเลิกกัน
5
13/06/64
4. หา้ งห้นุ สว่ นจากัด
การดาเนินงานของห้างหนุ้ ส่วนจากัด
2. หุน้ ส่วนจาพวกไม่จากัดความรบั ผิด
ต้องรบั ผดิ รว่ มกันในบรรดาหน้ีของห้างหุ้นส่วนโดยไมจ่ ากัดจานวน แต่
ท้ังน้ีต้องคานึงอยู่เสมอว่าเม่ือห้างเป็นนิติบุคคลแยกออกต่างหากจาก
หุ้นส่วน ซึ่งตามปกติเจ้าหน้ีจะบังคับเอากับตัวห้างหุ้นส่วนก่อน จากน้ันเม่ือ
ห้างไม่ชาระหนี้จึงค่อยบังคับเอากับหนุ้ สว่ น
ทง้ั น้ีใหน้ าหลกั เกณฑท์ ่ีเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนสามัญมาใช้กับห้างหุ้นส่วน
ท่ีไมจ่ ากัดความรบั ผดิ เช่น การรว่ มรบั ผดิ การตายของหนุ้ ส่วน เป็นต้น
การชาระบัญชีของห้างหุ้นส่วนจากัด ให้นาหลักเกณฑ์เดียวกันกับ
ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคลมาใช้ คือเมอ่ื มกี ารเลิกห้างต้องมีการชาระบัญชี
และจดทะเบียนขอเลิกหา้ งต่อนายทะเบียน
5. บรษิ ัทจากัด
ลักษณะของบรษิ ัทจากัด
1. บรษิ ัทจากัดต้องมีคู่สัญญาหรอื ผู้ถือหุ้นตั้งแต่ 3
คนขนึ้ ไป
2. มีการแบ่งทุนเป็นหุ้น แต่ละหุ้นมีมูลค่าเท่า ๆ กัน
และจะต้องไมต่ ่ากวา่ หนุ้ ละ 5 บาท
3. ผู้ถือหุ้นมีความรับผิดจากัดเพียงค่าหุ้นที่ยังส่ง
ไม่ครบ
4. บรษิ ัทจากดั ต้องจดทะเบยี นเปน็ นิติบุคคล
5. คุณสมบัติของผถู้ อื หุ้นไมเ่ ป็นสาระสาคัญ
6. ในการบริหารจัดการบรษิ ัทน้ันผู้บรหิ ารบรษิ ัท
คือกรรมการบริษั ทซ่ึงทางานร่วมกันเป็นคณะ
เรยี กวา่ คณะกรรมการ (Board of Directors)
6
13/06/64
5. บรษิ ัทจากัด
การดาเนินงานของบรษิ ัท
1. ผู้ดาเนินงานบรษิ ัท
คือกรรมการบรษิ ัทซง่ึ ผถู้ ือห้นุ โดยท่ปี ระชมุ ใหญ่เป็นผแู้ ต่งต้ังและกรรมการ ถือ
ว่าเป็นผู้แทนของบรษิ ัท มีหน้าที่สาคัญที่จะต้องรบั ผิดชอบตามวัตถุประสงค์ในการ
ดาเนินกิจการของบรษิ ัท โดยกรรมการบรษิ ัทชุดแรกแต่งต้ังโดยที่ประชุมใหญ่ของ
การตั้งบรษิ ัท สว่ นกรรมการชดุ ต่อไปทปี่ ระชมุ ใหญ่ของผถู้ ือหนุ้ เป็นผแู้ ตง่ ต้ัง และเป็น
ผกู้ าหนดว่ามีจานวนเท่าใด ซึ่งโดยปกติกรรมการบรษิ ัทไม่จาเป็นต้องเป็นผู้ถือหุ้น
แต่เพ่อื ความมน่ั ใจบรษิ ัทก็จะมขี ้อบังคับใหก้ รรมการบรษิ ัทเป็นผถู้ ือหุ้นด้วยเสมอ
5. บรษิ ัทจากัด
2. การประชุมใหญ่
หมายถึงการประชุมผู้ถือหุ้นท้ังหมดของบรษิ ัท ซ่ึงที่ประชุมใหญ่มีสิทธิลงมติ
ควบคมุ ดูแลการบรหิ ารงานของบรษิ ัท แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การประชุมใหญ่
สามัญ และการประชมุ ใหญว่ สิ ามญั
3. มติของท่ปี ระชมุ ใหญ่
หมายถึง มติของผถู้ ือหุ้นเสยี งขา้ งมากในท่ีประชุมใหญ่ แบง่ ออกเป็น 2 ชนิด คือ
มติสามัญ และมติพเิ ศษ
7
13/06/64
5. บรษิ ัทจากัด
4. เงินปันผล
หมายถึง เงินตอบแทนจากการลงทุนที่บรษิ ัทจ่ายให้แก่ผถู้ ือหุ้น ซ่ึงโดยปกติแล้ว
บรษิ ัทสามารถจ่ายเงินปันผลได้ตามกรณีต่าง ๆ
5. การเพ่มิ ทนุ และลดทนุ
การเพ่ิมทุน เป็นการบริหารงานของบริษัทท่ีต้องการขยายกิจการ แต่ไม่
ต้องการกู้ยมื เงนิ โดยต้องจดทะเบียนเพม่ิ ทนุ จากทีไ่ ด้จดทะเบียนไว้
การลดทนุ เป็นวิธกี ารบรหิ ารของบรษิ ัทจากัด ซึ่งบรษิ ัทอาจจะมีเงินทุนในการ
ดาเนินงานมากเกินไป จึงจะลดจานวนทุนจดทะเบียนลงเพอ่ื คืนใหก้ ับผถู้ ือหุ้น
5. บรษิ ัทจากัด
6. การเลิกบรษิ ัท
ย่อมเลิกกันด้วยสาเหตุ 2 ประการด้วยกัน คือ ด้วยผลของกฎหมาย และด้วย
คาส่งั ของศาล
7. การชาระบญั ชี
คือ เม่ือบริษัทได้จดทะเบียนเลิกบริษัทแล้วก็ต้องทาการชาระบัญชี คือการ
สะสางงานของบริษัทให้เสร็จสิ้น ตลอดจนจัดการเรอ่ื งหนี้สินและทรัพย์สินของ
บรษิ ัทแก่เจ้าหน้ีและผถู้ ือหุ้น จากนั้นจึงไปจดทะเบยี นชาระบัญชกี ับนายทะเบียน
8
13/06/64
6. บรษิ ัทมหาชนจากัด
ความหมายและลักษณะของบรษิ ัทมหาชนจากัด
คื อ บ ริษั ท ป ร ะ เ ภ ท ซ่ึ ง ต้ั ง ขึ้ น ด้ ว ย ค ว า ม
ประสงค์ท่ีจะเสนอขายหุ้นต่อประชาชน โดยที่ผู้
ถือหุ้นมีความรับผิดจากัดไม่เกินจานวนเงินค่า
หุ้นท่ีต้องการชาระ และบริษัทดังกล่าวได้ระบุ
ความประสงค์เช่นนั้นไว้ในหนังสือบรคิ ณห์สนธิ
ลักษณะของบรษิ ัทมหาชนจากัด มดี ังนี้
1. เป็นกิจการทีม่ ีความประสงค์จะเสนอขายหุ้นต่อประชาชน
2. ผู้ถือหุ้นมีความรับผิดจากัดไม่เกินจานวนเงินค่าหุ้นท่ี
ต้องการชาระ
3. ความประสงค์ในการเสนอขายหุน้ ต่อประชาชนต้องระบุ
ไวใ้ นหนังสือบรคิ ณหส์ นธทิ ่ขี อจดทะเบยี น
6. บรษิ ัทมหาชนจากัด
การจัดต้ังบรษิ ัทมหาชนจากัด
การจัดต้ังบริษั ทมหาชนจากัดมีกระบวนการ
คล้ายคลึงกับการต้ังบริษั ท เช่น มีผู้ก่อตั้ง การจด
ทะเบียน แต่ด้วยบรษิ ัทมหาชนจากัดเป็นกระบวนการ
ท่ีเก่ียวข้องกับประชาชนโดยทั่วไป กฎหมายจึงได้
กาหนดหลักเกณฑ์บางเรอ่ื งไวเ้ ป็นพิเศษ ดังนี้
1. ผเู้ รมิ่ จัดต้ังบรษิ ัท
2. หนังสอื บรคิ ณหส์ นธิ
3. การเสนอขายหุ้นออกใหม่
4. ประชมุ จัดตั้งบรษิ ัท
5. แจ้งใหผ้ จู้ องหนุ้ ชาระค่าหุ้นเต็มจานวน
6. ขอจดทะเบยี นบรษิ ัท
9
13/06/64
6. บรษิ ัทมหาชนจากัด
การดาเนินงานของบรษิ ัทมหาชนจากัด
1 . บ ริ ษั ท ม ห า ช น จ า กั ด มี ก า ร ด า เ นิ น ก า ร โ ด ย
คณะกรรมการอย่างน้อย 5 คน และกรรมการไม่น้อย
กว่าก่ึ งหน่ึ งต้ อง มีถ่ิ น ท่ีอยู่ในราชอาณ าจั ก รแล ะ
กรรมการทุกคนต้องเป็นบุคคลธรรมดาท่ีบรรลุนิติ
ภาว ะ ไ ม่ เป็ น บุ ค ค ลไร้ค ว าม สาม าร ถ เ สมื อ น ไร้
ความสามารถ หรอื ลม้ ละลาย
2. คณะกรรมการต้องจัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นเป็น
การประชุมสามัญประจาปีภายใน 4 เดือน นับแต่วัน
สิ้นสุดรอบปีบัญชีของบรษิ ัท นอกเหนือจากน้ีเรยี กว่า
การประชมุ วิสามัญ
6. บรษิ ัทมหาชนจากัด
การเลิกบรษิ ัทมหาชนจากัด
การเลิกบรษิ ัทมหาชนจากัดมีอยู่ 3 ประการ คือ
เมื่อมีเหตุใดเหตุหน่ึง ดังต่อไปนี้ให้ดาเนินการเลิก
บรษิ ัท
1. เมื่อท่ีประชุมผู้ถือหุ้นลงมติให้เลิกคะแนนเสียงไม่
น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจานวนเสียงท้ังหมดของผู้ถือ
หนุ้ ซง่ึ มาประชมุ และมสี ิทธอิ อกเสยี งลงคะแนน
2. เมอื่ บรษิ ัทล้มละลาย
3. เมื่อศาลมีคาสั่งให้เลิกบรษิ ัทเมื่อผู้ถือหุ้นซ่ึงมีหุ้น
นับรวมกันได้ไม่น้อยกว่า 1 ใน 10 ของจานวนหุ้นที่
จาหน่ายได้ท้ังหมด
10
13/06/64
7. สมาคม
ลักษณะของสมาคม
1. เปน็ การรวมตัวของกล่มุ บุคคล
2. เพอ่ื กระทาการใด ๆ เปน็ การต่อเนื่องไม่ใช่ทากนั
เพียงชัว่ ครง้ั ชวั่ คราว
3. มใิ ช่เป็นการหาผลกาไรหรอื รายได้มาแบง่ ปนั กนั
4. มขี ้อบังคับเปน็ แนวทางการดาเนินการ ซ่ึงตาม
กฎหมาย
5. ต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล
7. สมาคม
การจัดตั้งสมาคมและการจดทะเบียนสมาคม
การจัดต้ังสมาคมต้องมีข้อบังคับสมาคม
เป็ น แน ว ท า ง ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ด า เนิ น กิ จ ก า ร ข อ ง
สมาคม ต้องมรี ายการต่อไปนี้
1. ชื่อสมาคม
2. วัตถุประสงค์ของสมาคม
3. ที่ตั้งสานักงานใหญ่และทตี่ ้ังสานักงานสาขาท้งั ปวง
4. วธิ รี บั สมาชกิ และการขาดจากสมาชิกภาพ
5. อัตราค่าบารุง
6. ข้อกาหนดเกี่ยวกับคณะกรรมการของสมาคม
7. ข้อกาหนดเก่ียวกับการจัดการสมาคม
8. ขอ้ กาหนดเกี่ยวกับการประชมุ ใหญ่
11
13/06/64
7. สมาคม
การบรหิ ารกิจการสมาคม
1. ขอเลขประจาตัวผู้เสียภาษีอากรของสมาคมต่อ
สรรพากรท้องท่ีภายใน 60 วัน นับแต่วันที่จดทะเบียน
เป็นนิติบุคคล
2. ดาเนินงานของคณะกรรมการสมาคมทภ่ี ายในรอบ
ปีมกี ิจกรรมทส่ี าคัญทตี่ ้องปฏบิ ัติดังน้ี
1) ประชมุ คณะกรรมการสมาคม
2) จดั ประชุมสามัญประจาปีอย่างน้อยปลี ะครง้ั
3) การแต่งต้ัง เปลี่ยนแปลงกรรมการ หรือแก้ไข
ข้อบังคับ แต่ต้องแจ้งต่อนายทะเบียนภายในเวลาที่
กาหนด
7. สมาคม
การเลิกสมาคม
สมาคมสามารถเลิกกันได้ด้วยเหตหุ น่ึงเหตุใด
ดังต่อไปน้ี
1. เมื่อมเี หตุตามท่ีกาหนดในขอ้ บังคับ
2. ถ้าสมาคมต้ังข้นึ ไว้เฉพาะระยะเวลาใด
เม่ือสิ้นระยะเวลาน้ัน
3. ถ้าสมาคมตั้งขึ้นเพือ่ กระทากิจการใด
เม่ือกิจการนั้นสาเรจ็ แล้ว
4. เมอ่ื ที่ประชุมใหญม่ ีมติใหเ้ ลกิ
5. เมอื่ สมาคมล้มละลาย
6. เมื่อนายทะเบียนถอนช่อื สมาคมออกจากทะเบยี น
7. เม่อื ศาลส่ังใหเ้ ลิก
12
13/06/64
สรุป
บุคคลเข้ารวมหุ้นกันดาเนินกิจกรรมทางธุรกิจ ท้ังน้ีเพ่ือแก้ปัญหาการขาด
แคลนเงนิ ทนุ หรอื กาลังความคิดในรูปแบบของผปู้ ระกอบการรายเดียว โดยอาจอยู่
ในรูปของห้างห้นุ ส่วน หรอื กระท่ังในรูปแบบของนิติบุคคล เช่น ห้างหุ้นส่วนสามัญ
จดทะเบียน หา้ งหุ้นส่วนจากัด บรษิ ัทจากัด ตลอดจนบรษิ ัทมหาชนจากัด
ท้ังนี้กฎหมายได้วางหลักเกณฑ์เก่ียวกับองค์กรธุรกิจในรูปแบบต่าง ๆไว้เพื่อ
ควบคุม และกากับดูแลองค์กรธุรกิจแบบต่าง ๆ ใหเ้ ป็นไปด้วยความเรยี บรอ้ ย
สว่ นสมาคมเป็นนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ประเภทหน่ึง
แต่มิได้มีวัตถุประสงค์แบ่งปันหรอื แสวงหากาไรหรอื รายได้ กฎหมายจึงกาหนด
รูปแบบจัดตั้ง การดาเนินการและการเลกิ สมาคมไวเ้ ป็นการเฉพาะอีกลักษณะหนึ่ง
13