เครืองวดั อณุ หภูมริ ่างกายทาํ งานอัตโนมัติ การแจ้งเตือนผ่านโปรแกรมไลน์
The thermometer works automatically notifications through the LINE program
รชานนท์ ศิริประเสริฐ
อภสิ ิทธิ กองหิน
ระดับปริญญาวศิ วกรรมศาสตรบณั ฑิต
สาขาวชิ าวศิ วกรรมไฟฟ้า
คณะเทคโนโลยี
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุดรธานี
ปี การศึกษา 2564
เครืองวดั อุณหภูมริ ่างกายทาํ งานอตั โนมัติ การแจ้งเตือนผ่านโปรแกรมไลน์
รชานนท์ ศิริประเสริฐ
อภิสิทธิ กองหนิ
ระดับปริญญาวศิ วกรรมศาสตรบณั ฑิต
สาขาวิชาวศิ วกรรมไฟฟ้า
คณะเทคโนโลยี
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี
ปี การศึกษา 2564
เครืองวดั อณุ หภมู ิร่างกายทาํ งานอตั โนมตั ิ การแจง้ เตอื นผา่ นโปรแกรมไลน์
The thermometer works automatically notifications through the LINE program
รชานนท์ ศิริประเสริฐ
อภิสิทธิ กองหิน
ระดบั ปริญญาวิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต
สาขาวชิ าวศิ วกรรมไฟฟ้า
คณะเทคโนโลยี
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี
ปี การศึกษา 2564
ไดผ้ ่านการพิจารณาจาก
ลงชือ......................................หวั หนา้ สาขาวชิ า ลงชือ......................................อาจารยท์ ีปรึกษา
(ดร.ยทุ ธศกั ดิ ทอดทอง) (รองศาสตราจารยจ์ ุไรรัตนจ์ ินดา อรรคนิตย)์
ลงชือ..................................................กรรมการ ลงชือ..................................................กรรมการ
(รองศาสตราจารย์ ดร.อลงกรณ์ พรมที) (ผชู้ ่วยศาสตราจารยส์ มชาย สิริพฒั นากลุ )
ลงชือ..................................................กรรมการ ลงชือ..................................................กรรมการ
(ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ภูเบศร์ พพิ ิธหิรัญการ) (ดร.อภยั ภกั ดิ ประทุมทิพย)์
ลงชือ..................................................กรรมการ
(อาจารยว์ ชั รวชิ ญ์ ดาวสวา่ ง)
ก
ชือเรือง เครืองวดั อณุ หภูมิร่างกายทาํ งานอตั โนมตั ิ การแจง้ เตือนผา่ นโปรแกรมไลน์
ผ้วู ิจยั
จา่ อากาศเอกรชานนท์ ศิริประเสริฐ รหสั นกั ศึกษา 61201303101
ปริญญา
อาจารย์ทีปรึกษา จ่าอากาศเอกอภิสิทธิ กองหิน รหสั นกั ศึกษา 61201303114
มหาวิทยาลยั
วิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ า วิศวกรรมไฟฟ้า
รองศาสตราจารยจ์ ุไรรัตนจ์ ินดา อรรคนิตย์
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี ปี ทีพิมพ์ 2565
บทคดั ย่อ
โครงงานวิจยั เรือง เครืองวดั อณุ หภูมิร่างกายทาํ งานอตั โนมตั ิ การแจง้ เตือนผา่ นโปรแกรม
ไลน์ มีวตั ถุประสงคเ์ พือเป็ นการวดั อุณหภูมิร่างกายโดยหลีกเลียงการสัมผสั หรือใกลช้ ิดกับบุคคล
หรือกลุ่มเสียงทีอาจติดเชือโควิด โดยมีส่วนประกอบดงั นี คือ ส่วนที 1 เซนเซอร์ GY-906 Infrared
Temperature ส่วนที 2 กลอ้ ง Arduino ESP32-CAM และ ส่วนที 3 ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino
wifi ESP8266 ส่งขอ้ มูลโปรแกรมแจง้ เตือนผา่ นไลน์
จากการทดลองวดั อณุ หภมู ิร่างกายของกลุ่มตวั อยา่ งจาํ นวน 10 คน เพศชาย 7 คน เพศหญิง
3 คน พบว่า สามารถวดั อุณหภูมิไดต้ งั แต่ 30° C - 40° C มีค่าผิดพลาดสูงสุด ± 3.05% และในการ
แสดงผลขอ้ มูลผา่ นแอปพลิเคชนั ไลน์แสดงเป็ นขอ้ ความและรูปภาพ ระยะการทาํ งานของเซนเซอร์
วัดอุณ ห ภูมิ ไม่เกิน 10 เซ น ติเมตร ส ามารถส่ งข้อมูลได้ทุกๆ 3 วินาที โดยจุดท ดส อบ
ตอ้ งมีตวั กระจายสญั ญาณไวไฟ
คําสําคัญ : ไมโครคอนโทรลเลอร์ ; แอปพลิเคชนั ไลน์ ; เซนเซอร์
ข
TITLE The thermometer works automatically notifications through
the LINE program
AUTHOR
Sergeant Rachanon Siriprasert Student ID. 61201303101
DEGREE Sergeant Aphisit Konghin Student ID. 61201303114
ADVISORS Bachelor of Engineering MAJORS Electrical Engineering
UNIVERSITY
Associate Professor Churairatchinda Akkanit
Udon Thani Rajabhat University DATE 2022
ABSTRACT
Research project on The design and construction of a body temperature of thermometer
monitoring automatically by alerting via LINE program in intended to measure body temperature
by avoiding contact with or close contact with people or groups at significant risk of COVID-19.
This instrument has the following key components:
Part 1. Sensor GY-906 Infrared Temperature
Part 2. Camera Arduino ESP32-Cam
Part 3. Arduino Wi-Fi ESP8266 Microcontroller
by sending the notification program information via LINE.
Based on the results of body temperature measurements, a sample group of 10 subjects,
consisted of 7 men and 3 women. It was found that this instrument was able to measure body
temperature from 30 degrees Celsius – 40 degrees Celsius with a maximum possible error of ±
3.05%, and it will display the information through the LINE application as text and images. The
operating distance of the temperature sensor is not more than 10 centimeters. It can transmit data
every 3 seconds while the test point must have a Wi-Fi signal transmitter.
Keywords: Microcontroller ; LINE Application ; Sensor
ค
กติ ตกิ รรมประกาศ
โครงงานวิจยั เรือง เครืองวดั อณุ หภูมิร่างกายทาํ งานอตั โนมตั ิ การแจง้ เตือนผ่านโปรแกรม
ไลน์ สําเร็จสมบูรณ์ได้ด้วยความกรุณาและความช่วยเหลืออย่างสูงยิงจาก รองศาสตราจารย์
จุไรรัตน์จินดา อรรคนิ ตย์ อาจารย์ที ป รึ กษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ส มชาย สิ ริ พัฒ น ากุล
รองศาสตราจารย์ ดร.อลงกรณ์ พรมที ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ภูเบศร์ พิพิธหิรัญการ ดร.ยุทธศกั ดิ
ทอดทอง ดร.อภยั ภกั ดิ ประทุมทิพย์ และ อาจารยว์ ชั รวิชญ์ ดาวสวา่ ง กรรมการสอบ
ขอขอบพระคุณ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าทีเอือเฟื อสถานที วสั ดุอุปกรณ์ต่าง ๆ สําหรับ
ทําโค รงงาน ข อข อ บ คุ ณ เพื อ น ๆ ที ได้ให้ ค วาม ช่ วยเห ลื อ ใน ก ารทําโค รงงาน วิจัย
ทา้ ยทีสุด ขอกราบขอบพระคณุ บิดา มารดา ทีคอยใหก้ าํ ลงั ใจและใหโ้ อกาสการศึกษาอนั มีคา่ ยงิ
รชานนท์ ศิริประเสริฐ
อภิสิทธิ กองหิน
ง
สารบัญ หน้า
ก
เรือง ข
บทคดั ยอ่ ค
ABSTRACT ง
กิตติกรรมประกาศ ฉ
สารบญั ฌ
สารบญั รูป
สารบญั ตาราง 1
1
บทที 1 บทนํา 1
1.1 ความสาํ คญั และทีมา 2
1.2 วตั ถุประสงคข์ องงานวจิ ยั 2
1.3 ขอบเขตของงานวิจยั 3
1.4 ผลทีคาดวา่ จะไดร้ ับ 4
10
บทที 2 ทฤษฎีและงานวจิ ัยทีเกยี วข้อง 17
2.1 ขอ้ มลู พืนฐานเกียวกบั Arduino Wi-Fi Module ESP8266
2.2 ขอ้ มูลพืนฐานเกียวกบั บอร์ด EPS32 17
2.3 ขอ้ มลู พืนฐานเกียวกบั GY-906 Infrared Temperature Sensor Module 20
(GY-906 MLX90614ESF) เซนเซอร์อุณหภมู ิแบบไร้สมั ผสั 20
2.4 หลกั การ Ultrasonic Ranging Module HC-SR04 21
21
บทที 3 วิธีการดําเนนิ งาน 22
3.1 ศึกษาและรวบรวมขอ้ มูล 24
3.2 แผนการปฏิบตั งิ าน 25
3.3 แผนผงั การดาํ เนินงาน 27
3.4 การออกแบบเครืองวดั อณุ หภูมิอตั โนมตั ิ แจง้ เตือนผา่ นแอปพลิเคชนั ไลน์
3.5 วงจรเครืองวดั อณุ หภมู ิอตั โนมตั ิ แจง้ เตือนผา่ นแอปพลิเคชนั ไลน์
3.6 ส่วนประกอบของอปุ กรณ์
3.7 ขนั ตอนการทดลองเขียนโปรแกรม
สารบัญ (ต่อ) จ
เรือง หน้า
3.8 การทดลองวดั อณุ หภมู ิ 35
3.9 การทดลองวดั อณุ หภูมิแจง้ เตือนเขา้ แอปพลิเคชนั ไลน์ 35
3.10 การทดลองการทาํ งานของเซนเซอร์และการแสดงผล 36
3.11 การทดลองสแกนใบหนา้ แจง้ เตือนเขา้ แอปพลิเคชนั ไลน์ 36
3.12 เครืองมือทีใชใ้ นการทดสอบเปรียบเทยี บ 37
39
บทที 4 ผลการศึกษา 39
4.1 ผลการทดสอบโครงงาน 57
4.2 รายละเอียดเครืองมือทีนาํ มาทดสอบในโครงงาน 57
4.3 สรุปผลการทดสอบ 59
59
บทที 5 สรุปผลการศึกษาและแนวทางการพฒั นา 59
5.1 สรุปผลการศึกษา 60
5.2 ปัญหาและอปุ สรรค 61
5.3 ขอ้ เสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ประวัติผู้จดั ทํา
ฉ
สารบญั รูป
รูปที หน้า
2.1 แผนผงั แนวคิด เครืองวดั อุณหภูมิร่างกาย การแจง้ เตือนผา่ นโปรแกรมไลน์ 3
5
2.2 ESP8266 ESP-01 5
2.3 ESP8266 ESP-03 6
2.4 ESP8266 ESP-07 6
2.5 ESP8266 ESP-12E 7
2.6 ESP8266 NodeMCU V2 8
2.7 ESP8266 NodeMCU V3 8
9
2.8 ESP8266 NodeMCU V3 9
2.9 WeMos D1 Mini 11
2.10 Witty cloud Mini NodeMCU 12
2.11 โมดูล ESP ผลิตโดยบริษทั Ai-Thinker หวั ใจหลกั คอื ไอซี ESP8266 13
2.12 บอร์ด NodeMCU 0.9 และบอร์ด NodeMCU 1.0 13
2.13 ดา้ นหนา้ และดา้ นหลงั ของโมดูล ESP31B-WROOM- ใชช้ ิปไอซี ESP31B 14
2.14 โมดูล ESP3212 ที Ai-Thinker ร่วมกบั Seeedstudio ผลิตขึน 15
2.15 โมดูล ESP32S ที Seeedstudio ส่งมอบ 17
2.16 บอร์ดพฒั นา DOIT ESP32 Development Board MicroPython-ESP32 18
2.17 GY-906 รุ่น BCC ระยะตรวจวดั สูงสุดที 10 cm 18
19
2.18 Ultrasonic Ranging Module HC-SR04 22
2.19 Timing Diagram
2.20 Directional characteristics 23
3.1 แผนผงั ขนั ตอนการทาํ งานเครืองวดั อณุ หภูมิร่างกายทาํ งานอตั โนมตั ิ การแจง้ เตือน 23
24
ผา่ นโปรแกรมไลน์ 25
3.2 การออกแบบเครืองวดั อณุ หภูมิอตั โนมตั ิ แจง้ เตือนผา่ นแอปพลิเคชนั ไลน์
3.3 เครืองวดั อณุ หภูมิอตั โนมตั ิ แจง้ เตือนผา่ นแอปพลิเคชนั ไลน์
3.4 โครงสร้างชดุ เครืองวดั อณุ หภูมิอตั โนมตั ิ แจง้ เตือนผา่ นแอปพลิเคชนั ไลน์
3.5 ลกั ษณะภายนอกของเครืองวดั อุณหภมู ิร่างกายแบบอตั โนมตั ิ (ดา้ นหนา้ )
ช
สารบญั รูป (ต่อ)
รูปที หน้า
3.6 ลกั ษณะภายนอกของเครืองวดั อณุ หภูมิร่างกายแบบอตั โนมตั ิ (ดา้ นขา้ ง) 25
26
3.7 ลกั ษณะภายนอกของเครืองวดั อุณหภูมิร่างกายแบบอตั โนมตั ิ (ดา้ นหลงั ) 26
27
3.8 การวางอปุ กรณ์ภายในเครืองวดั อณุ หภมู ิร่างกายแบบอตั โนมตั ิ 27
28
3.9 ทาํ การทดลองเขียนโปรแกรม Arduino 28
29
3.10 ทาํ การสร้าง File Project 29
30
3.11 ทาํ การเขยี นโปรแกรมการทาํ งาน Arduino 30
31
3.12 ทาํ การเชค็ Code ทีเขยี นขึน 32
32
3.13 ทาํ การเลือกบอร์ด Esp8266 V เพอื upload code
33
3.14 ทาํ การเลือก Port เพอื เชือมต่อ 34
35
3.15 ทาํ การคลิกทีลกู ศรเพอื upload code 35
36
3.16 ทาํ การ Serial Monitor 36
37
3.17 การสร้าง Line Token 38
38
3.18 คลิกทีชือไลน์ของเราทีอยดู่ า้ นขวาบนสุด แลว้ คลิกทีเมนู หนา้ ของฉัน
40
3.19 ภายใตห้ วั ขอ้ Generate access token (For developers) ให้คลิกทีป่ มุ “Generate
token”
3.20 ในช่องวา่ งช่องแรก ให้เรากรอกชือกลุ่มทีเราจะเอา token ไปกรอก
3.21 การออก Token
3.22 การทดลองวดั อุณหภมู ิ
3.23 แสดงผลทางแอปพลิเคชนั ทางไลน์
3.24 การทดลองวดั ระยะแสดงผลทางจอ LED
3.25 การทดลองสแกนใบหนา้ แสดงผลทางแอปพลิเคชนั ทางไลน์
3.26 เครืองวดั อณุ หภมู ิร่างกายทาํ งานอตั โนมตั ิ
3.27 เครืองวดั อณุ หภมู ิร่างกายอินฟราเรด Thermometer รุ่น Q3
3.28 เทอร์โมมิเตอร์ปรอทวดั อุณหภมู ิยหี ้อ F.C.P. และ เทอร์โมมิเตอร์ดิจติ อลวดั อุณหภมู ิ
ยหี อ้ CLINICAL DIGITAL THERMOMETER
4.1 กลุ่มตวั อยา่ งทีรอทดสอบ
ซ
สารบัญรูป (ต่อ)
รูปที หน้า
4.2 ทดสอบการวดั เทอร์โมมิเตอร์ปรอทวดั และเทอร์โมมิเตอร์ดิจิตอล 40
41
4.3 ทดสอบเครืองวดั อณุ หภูมิร่างกายทาํ งานอตั โนมตั ิ บริเวณมือของบุคคล 41
4.4 ทดสอบเครืองวดั อณุ หภมู ิร่างกายอินฟราเรด Thermometer รุ่น Q3 บริเวณมือของ 42
บุคคล 43
46
4.5 แสดงคา่ อณุ หภูมิพร้อมภาพเขา้ ไปที app line 46
4.6 แสดงค่าอณุ หภูมิพร้อมภาพเขา้ ไปที app line
4.7 ทดสอบเครืองวดั อณุ หภูมิร่างกายทาํ งานอตั โนมตั ิ บริเวณหนา้ ผากของบุคคล
4.8 ทดสอบเครืองวดั อุณหภูมิร่างกายอินฟราเรด Thermometer รุ่น Q บริเวณหนา้ ผาก
ของบุคคล
ฌ
สารบญั ตาราง
ตารางที หน้า
3.1 แผนการปฏบิ ตั งิ าน 21
4.1 ผลการวดั อุณหภมู ิร่างกายบริเวณมือของบคุ คล 10 คน ทีระยะ 5 เซนติเมตร 44
4.2 ผลการวดั อุณหภูมิร่างกายบริเวณหนา้ ผากของบุคคล 10 บุคคล ทีระยะ 5 เซนติเมตร 47
4.3 ผลการวดั อุณหภมู ิร่างกายบริเวณมือของบุคคล 3 บคุ คล ทีระยะ 5 เซนติเมตร 49
4.4 ผลการวดั อณุ หภูมิร่างกายบริเวณหนา้ ผากของบุคคล 3 บุคคล ทีระยะ 5 เซนติเมตร 53
บทที 1
บทนํา
1.1 ความสําคญั และทีมา
ไวรัสโคโรนา (Coronavirus) เป็ นไวรัสทีถูกพบครังแรกในปี 1960 แต่ยงั ไม่ทราบแหล่งทีมา
อย่างชัดเจนว่ามาจากทีใด แต่เป็ นไวรัสทีสามารถติดเชือได้ทังในมนุษย์และสัตว์ ปัจจุบัน
มีการคน้ พบไวรัสสายพนั ธุ์นีแลว้ ทงั หมด 6 สายพนั ธุ์ ส่วนสายพนั ธุท์ ีกาํ ลงั แพร่ระบาดหนักทวั โลก
ตอนนีเป็ นสายพันธุ์ทียงั ไม่เคยพบมาก่อนคือ สายพันธุ์ที 7 จึงถูกเรียกว่าเป็ น “ไวรัสโคโรนา
สายพนั ธุใ์ หม่” และในภายหลงั ถูกตงั ชืออยา่ งเป็นทางการว่า “โควิด-19” (COVID-19)
เครืองวดั อุณหภูมิก็เป็ นเครืองมือทางการแพทยอ์ ีกชนิดหนึงทีมีใช้งานกนั อย่างแพร่หลายและ
ทุกสถานพยาบาลส่วนใหญ่จาํ เป็ นตอ้ งมีเพือใช้ตรวจวดั ไขข้ องผูป้ ่ วย โดยปกติในการตรวจวดั ไข้
ของแพทยจ์ ะใช้ “เทอร์โมมิเตอร์แบบปรอท” เป็ นเครืองมือวดั อณุ หภูมิร่างกายของผูป้ ่ วย โดยอาศยั
หลกั การทีวา่ ถา้ ระดบั อณุ หภูมิทีวดั ไดส้ ูงกว่าระดบั อุณหภมู ิปกติของร่างกายคือ 37.5 องศาเซลเซียส
ถือว่าผูป้ ่ วยมีไข้ ซึงการใช้งานเทอร์โมมิเตอร์แบบปรอทนัน มีข้อด้อยคือในการวดั แต่ละครัง
ตอ้ งใชว้ ลาค่อนขา้ งมาก เพือรอให้ปรอทหยดุ การเปลียนแปลงก่อนจึงจะสามารถอา่ นค่าอณุ หภมู ิได้
และถา้ ตอ้ งการความรวดเร็วในการวดั ก็อาจจะไม่ไดค้ ่าอุณหภูมิทีแทจ้ ริงก็เป็ นได้ อีกทงั จะตอ้ งมี
การทาํ ความสะอาดทุกครังหลงั จากการใชง้ าน
ในการคัดกรองผูป้ ่ วย เครืองวดั อุณหภูมิร่างกายแบบไม่สัมผสั เป็ นมาตรการทีใช้ประเมิน
ภาวะเสียงต่อการติดเชือโควิด-19 ในเบืองต้น โดยอาศัยการวดั อุณหภูมิมาเป็ นตัวชีวดั สภาวะ
ของร่างกายวา่ มีความเสียงตอ่ การติดเชือโควดิ -19
1.2 วัตถปุ ระสงค์ของงานวิจัย
1.2.1 ทดสอบประสิทธิภาพเซนเซอร์อินฟราเรดและอัลตร้าโซนิคในการประยุกต์ใช้งาน
ทางการแพทย์ นํามาประยุกต์ใช้งานทางการแพทย์เพือความสะดวกและรวดเร็วในการวดั ค่า
อุณหภมู ิ
1.2.2 ออกแบ บและส ร้างเครื องวัดอุณ หภูมิ ร่ างกายแบบ ไม่สัมผัส สําหรับใช้งาน
ในสถานพยาบาลเพืออาํ นวยความสะดวกในการวดั อุณหภูมิร่างกายแบบไม่สัมผสั ของผูป้ ่ วยหรือ
บุคคลทวั ไป
1.2.3 ทดสอบประสิทธิภาพของเครืองวดั อณุ หภมู ิร่างกายเตือนผา่ นโปรแกรมไลน์
2
1.3 ขอบเขตของงานวิจยั
1.3.1 รับคา่ อณุ หภูมิจากผใู้ ชแ้ บบไร้สาย โดยระยะห่างตอ้ งไม่เกิน 10 เซนติเมตร
1.3.2 สามารถวัดอุณหภูมิทีเป้าหมายแบบไร้การสัมผสั ที -70 °C ถึง 380 °C สามารถวัด
อุณหภูมิของสิงแวดลอ้ มได้ที -40 °C ถึง 125 °C สามารถอา่ นค่าความละเอียดของอุณหภูมิทีวดั ได้
0.02 °C โดยมีคา่ ผิดพลาดไม่เกิน +5 % ของคา่ ทีวดั ไดเ้ ทียบกบั ปรอทวดั ไข้
1.3.3 แสดงขอ้ มลู ผ่านจอแสดงผล LED แบบสองหลกั โดยขอ้ มูลทีแสดงมีดงั ตอ่ ไปนี อณุ หภูมิ
เป็ นองศา
1.3.4 เซนเซอร์วดั อณุ หภมู ิทาํ การสแกนและแสดงผล ใน 5 วนิ าที
1.3.5 ใชไ้ มโครคอนโทรลเลอร์ Arduino WiFi ESP8266
1.3.6 ใชก้ ลอ้ งถา่ ยภาพแบบ Arduino ESP32-CAM
1.3.7 แสดงผลไปทีจอ LED และส่งสญั ญาณไปทีแอปพลิเคชนั LINE
1.4 ผลทคี าดว่าจะได้รับ
1.4.1 ความรู้การศึกษาประสิทธิภาพเซนเซอร์อินฟราเรด
1.4.2 ความรู้การศึกษาไมโครคอนโทรลเลอร์
1.4.3 เพอื ความสะดวก รวดเร็ว วดั คา่ อณุ หภมู ิไดโ้ ดยไมต่ อ้ งมีการสัมผสั ตวั บุคคล
3
บทที 2
ทฤษฎีและงานวจิ ัยทีเกยี วข้อง
งานวิจัยเรือง เครืองวดั อุณหภูมิร่างกายทาํ งานอตั โนมตั ิ การแจ้งเตือนผ่านโปรแกรมไลน์
จาํ เป็นตอ้ งศึกษาทฤษฎีทีเกียวขอ้ งดงั นี
2.1 ขอ้ มูลพืนฐานเกียวกบั Arduino Wi-Fi Module ESP8266
2.2 ขอ้ มลู พืนฐานเกียวกบั บอร์ด EPS32
2.3 ข้อมูลพืนฐานเกียวกับ GY-906 Infrared Temperature Sensor Module (GY-906 MLX
90614ESF)
2.4 หลกั การ Ultrasonic Ranging Module HC-SR04
GY-906 BCC ขอ้ ความทาง
Sensor Application
Line
HC-SR04 Arduino Wifi Red LED
Ultrasonic ESP8266 Matrix Driver
Sensor Module MAX7219 IC
Driver Modul
Arduino Buzzer Module
ESP32-CAM
รูปที 2.1 แผนผงั แนวคิด เครืองวดั อณุ หภูมิร่างกาย การแจง้ เตือนผา่ นโปรแกรมไลน์
หลกั การทาํ งาน
เมือ HC-SR04 Ultrasonic Sensor Module รับค่าระยะทางจะส่งข้อมูลไปที Arduino WiFi
ESP8266 จะแสดงผลทีจอ LED จะแสดงค่าระยะทางให้เข้ามาอีกเพือทําการสแกนอุณหภูมิ
เมือ GY-906 BCC sensor สแกนค่าอุณหภูมิ จะทําให้ Arduino ESP32-CAM ถ่ายภาพพร้อมส่ง
ข้อมูลไปที Arduino WiFi ESP8266 และไปแสดงผลทีจอ LED และแสดงผลที APP LINE
4
ส่วน Buzzer Module จะทาํ งานแสดงเสียง เมือทาํ การรับค่าอุณหภูมิทนั ที และจะแสดงเสียงยาว
เมือวดั คา่ อณุ หภมู ิเกินทีกาํ หนดไว้
2.1 ข้อมลู พนื ฐานเกยี วกบั Arduino Wi-Fi Module ESP8266
SP8266 คือเป็ นชือเรียกของชิปของโมดูล ESP8266 สําหรับติดต่อสือสารบนมาตรฐาน WiFi
ทาํ งานทีแรงดนั ไฟฟ้า 3.0-3.6 V ทาํ งานใชก้ ระแสโดยเฉลีย 80 mA รองรับคาํ สัง deep sleep ในการ
ประหยดั พลงั งาน ใชก้ ระแสน้อยกว่า 10 ไมโครแอมป์ สามารถ wake up กลบั มาส่งขอ้ มูลใชเ้ วลา
น้อยกว่า 2 มิลลิวินาที ภายในมี Low power MCU 32bit ทาํ ให้เขียนโปรแกรมสังงานได้ มีวงจร
analog digital converter ทําให้สามารถอ่านค่าจาก analog ได้ความละเอียด 10bit ทํางานได้ที
อณุ หภมู ิ -40 ถึง 125 องศาเซลเซียส เมือนาํ ชิป ESP8266 มาผลิตเป็ นโมดูลหลายรุ่นก็จะขึนตน้ ดว้ ย
ESP866 แลว้ ตามดว้ ยรุ่น เช่น ESP-01, ESP-03, ESP-07, ESP-12E ESP8266 ติดต่อกบั Wi-Fi แบบ
Serial สามารถเขียนโปรแกรมลงไปในชิป โดยใช้ Arduino IDE ได้ ทาํ ให้การเขียนโปรแกรมและ
ใช้งานเป็ นเรื องง่าย คล้ายกับการใช้ Arduino สามารถติดต่ออุปกรณ์อืน ๆ เซนเซอร์ต่าง ๆ
แบบสไตล์ Arduino ถา้ มีพนื ฐาน Arduino อยแู่ ลว้
โมดูล ESP8266 มีหลายรุ่น และมีรุ่นใหม่พฒั นาออกมาเรือย ๆ โดยโครงสร้างและขาทีใชง้ าน
ก็จะมีลกั ษณะคลา้ ยกันคือ GPIO0 เป็ นขาสําหรับเลือกโหมด โดยเมือต่อกับ GND จะเขา้ โหมด
โปรแกรม เมือตอ้ งการให้ทาํ งานปกติก็ไม่ตอ้ งต่อ GPIO15 เป็ นขาทีตอ้ งต่อลง GND เพือให้โมดูล
ทาํ งาน CH_PD หรือ EN เป็นขาทีตอ้ งตอ่ ไฟ VCC เพือ pull up สัญญาณให้โมดูลทาํ งาน โมดูลบาง
รุ่นไม่มีขา Reset มาให้ เมือตอ้ งการรีเซตให้ต่อขา CH_PD กบั GND Reset ต่อกับไฟ VCC เพือ
pull up สัญญาณ โดยเมือตอ้ งการรีเซตใหต้ ่อกบั ไฟ GND
VCC เป็นขาสาํ หรับจ่ายไฟเลียง ใชไ้ ฟเลียง 3.0-3.6 V GND ต่อกบั ไฟ 0V GPIO เป็ นขาดิจิตอล
Input/Output ทาํ งานทีไฟ 3.3 V ADC เป็ นขา Analog INPUT รับแรงดนั สูงสุด 1 V ความละเอียด
10bit หรือ 1024 ค่าเวลาโปรแกรมเพียงมองหาขาเหล่านี แลว้ ต่อให้ครบเท่าทีมีขาให้ต่อก็สามารถ
โปรแกรม ESP8266 ไดท้ กุ รุ่น
โมดูล ESP8266 รุ่นทีนิยม เช่น ESP-01 , ESP-03 , ESP-07 , ESP-12E นอกจากนียงั มีบอร์ด
ESP8266 ทีรวมวงจร USB TTL เข้าไปทําให้โปรแกรมกับ Arduino ได้ง่ายขึน เช่น NodeMCU,
Wemos D1,Wemos mini มาทาํ ความรู้จกั กบั ESP8266 รุ่นทีนิยมใชแ้ บบรวดเร็ว ESP8266 ESP-01
ESP8266 ESP-01 เป็นรุ่นทีมีขาต่อออกมาขา้ งนอก จึงสามารถต่อกบั บอร์ดทดลองไดง้ ่าย มีขา
GPIO 4 ขา คอื GPIO0, GPIO1, GPIO2, GPIO3
5
รูปที 2.2 ESP8266 ESP-01
รูปที 2.3 ESP8266 ESP-03
ESP8266 ESP-03 จะคลา้ ยกบั ESP-01 มี package การต่อขาเป็ นแบบเซอร์เฟสเมาส์ โดยจะมีขา
GPIO มากขึน ทาํ ให้สังงานอุปกรณ์ได้มากกว่า ESP8266 ESP-01 โดย ESP8266-13 มีขาทงั หมด
14 ขา มีเสาอากาศแบบมาให้ในตัว และยงั สามารถต่อสายอากาศเพิมเพือเพิมกําลังการรับส่ง
ไดท้ ีขา 14
6
รูปที 2.4 ESP8266 ESP-07
ESP8266 ESP-07 เพิมแผ่นเหล็กครอบชิป ESP8266 ไว้เพือป้องกันสัญญาณรบกวน มีขา
ทงั หมด 16 ขา โดยมีขา GPIO ใหใ้ ชง้ าน 11 ขา และขา Analog Read อกี 1 ขา
รูปที 2.5 ESP8266 ESP-12E
7
ESP8266 ESP-12E มีการจดั ขาและต่อใช้งานแบบเดียวกับรุ่น ESP-07 โดยเปลียนเสาอากาศ
มาเป็ นแบบเดินวงจรภายใน PCB และเพิมขาอีก 6 ขา คือ SCLK MOSI MISO สําหรับติดต่อกับ
เซนเซอร์อืน ๆ โปรโตคอล SPI ซึงรุ่นนีก็ไดร้ ับความนิยมเป็ นอย่างมาก จนเกิดการต่อยอดเป็ น
บอร์ด ESP8266-12 รุ่นตา่ ง ๆ
2.1.1 การเขียนโปรแกรม ESP8266 Arduino IDE
สาํ หรับการตอ่ วงจรของ ESP8266 เพือเขียนโปรแกรมดว้ ย Arduino เขียนโคด้ เหมือนกนั
ทุกรุ่น โดยแต่ละรุ่นจะมีขาไม่เท่ากนั ดงั นันจึงตอ้ งเปรียบเทียบขา GPIO ใหถ้ ูกตอ้ งในการสังงาน
ก็ใช้ได้แล้ว การเขียนโปรแกรมอัพโหลดโคด้ ลงบอร์ด ESP8266 เกือบทุกรุ่น จะผ่านทาง Serial
ทีขา rx,tx โดยใช้โมดูลUSB TTL ซึงตอ้ งเสียเวลาในการต่อวงจรเพืออัพโหลดโคด้ อีกทงั โมดูล
ESP8266 หลาย ๆ รุ่นมีการต่อขาทีเป็ นแบบเซอร์เฟสเมาส์ ทาํ ให้ไม่สะดวกกับการต่อทดลอง
บนบอร์ดทดลอง ดังนันจึงมีการรวมโมดูล USB TTL และต่อวงจรขยายขา ESP8266 ให้เป็ น
ขาระยะห่างขนาด 2.54 mm ซึงสามารถเสียบลงบอร์ดทดลองได้พอดี กลายเป็ นบอร์ด ESP8266
โดยหนึงในบอร์ดทีนิยมใชง้ านคือ NodeMCU ซึงใชโ้ มดูล ESP8266 ESP-12E
2.1.2 บอร์ด ESP8266 NodeMCU V2
NodeMCU V2 เป็ น ESP8266-12E รวมกับ USB TTL ทีใช้ชิป CP2102 และขยายขา
ให้สามารถต่อทดลองได้ง่ายขึน มีป่ ุม reset และ flash สําหรับใช้โปรแกรม โดยใช้ Arduino IDE
หรือโปรแกรมอืน ๆ ไดอ้ ยา่ งสะดวก
รูปที 2.6 ESP8266 NodeMCU V2
8
2.1.3 บอร์ด ESP8266 NodeMCU V3
NodeMCU V3 เป็ น บ อร์ ด ที ค ล้ายกับ NodeMCU V2 ที ต่างกัน คือ NodeMCU V3
จะมีขนาดกวา้ งกว่า และใช้ชิป USB TTL เป็ น CH340 ซึงการต่อขาใช้งานและโคด้ โปรแกรม
เหมอื นกนั ทุกประการ
ออกแบบให้คล้ายบอร์ด Arduino Uno ใช้ ESP8266-12E เป็ นตัวหลัก ชิป CH340
เป็ นภาค USB TTL รองรับไฟ 9-12V ทีช่อง Adapter , รองรับไฟ 5V ทีช่อง micro usb และ 3.3V
ทีช่อง VIN
รูปที 2.7 ESP8266 NodeMCU V3
รูปที 2.8 ESP8266 NodeMCU V3
9
2.1.4 บอร์ด WeMos D1 Mini
แปลงบอร์ด Wemos D1 ให้มีขนาดเล็กลง โดยการแยกส่วน usb ttl และ ESP8266-12E
ขอ้ ดีคือ เวลาใชง้ านจริงสามารถถอดเฉพาะส่วน ESP8266-12E ไปใช้งาน ก็จะทาํ ให้ประหยดั ไฟ
ไดเ้ ลก็ นอ้ ย Witty cloud Mini NodeMCU
รูปที 2.9 WeMos D1 Mini
รูปที 2.10 Witty cloud Mini NodeMCU
บอร์ดนีมีขนาดเล็ก แยกส่วนได้คล้าย ๆ กับ WeMos D1 Mini โดยใช้ ESP8266-12F
โดยมี LDR สวิตช์ และ LED RGB ต่อมาใหใ้ นบอร์ด ทาํ ให้สะดวกในการต่อทดลอง ขอ้ ดีของรุ่นนี
คอื ฐานออกแบบมาให้มาขนาดเท่ากบั บอร์ดขยายขาของ ESP-07 , ESP-08 , ESP-12 ทาํ ให้สามารถ
นาํ ไปใชโ้ ปรแกรมกบั ESP รุ่นดงั กล่าวไดด้ ว้ ย
10
2.2ข้อมลู พืนฐานเกยี วกบั บอร์ด EPS32
ESP32 คือไอซีไมโครคอนโทรลเลอร์ทีรองรับการเชือมต่อ WiFi และ Bluetooth 4.2 BLE
ในตวั ผลิตโดยบริษทั Espressif จากประเทศจีน โดยตวั ไอซี ESP32 มีสเปคโดยละเอียด ดงั นี
ซีพียใู ชส้ ถาปัตยกรรม Tensilica LX6 แบบ 2 แกนสมอง สญั ญาณนาฬิกา 240MHz มีแรมในตวั
512KB รองรับการเชือมต่อรอมภายนอกสูงสุด 16MB มาพร้อมกับ WiFi มาตรฐาน 802.11 b/g/n
รองรับการใช้งานทงั ในโหมด Station softAP และ Wi-Fi direct มีบลูทูธในตวั รองรับการใช้งาน
ในโหมด 2.0 และโหมด 4.0 BLE ใชแ้ รงดนั ไฟฟ้าในการทาํ งาน 2.6 V ถึง 3 V ทาํ งานไดท้ ีอุณหภูมิ
-40◦C ถึง 125◦C นอกจากนี ESP32 ยงั มีเซนเซอร์ต่าง ๆ มาในตวั ดว้ ย ดงั นี
1. วงจรกรองสัญญาณรบกวนในวงจรขยายสัญญาณ
2. เซนเซอร์แม่เหลก็
3. เซนเซอร์สมั ผสั (Capacitive touch) รองรับ 10 ช่อง
. รองรับการเชือมตอ่ คลิสตอล 32.768kHz สําหรับใชก้ บั ส่วนวงจรนบั เวลาโดยเฉพาะ
5. ขาใชง้ านตา่ ง ๆ ของ ESP32 รองรับการเชือมต่อบสั ตา่ ง ๆ ดงั นี
6. มี GPIO จาํ นวน 32 ช่อง
7. รองรับ UART จาํ นวน 3 ช่อง
8. รองรับ SPI จาํ นวน 3 ช่อง
9. รองรับ I2C จาํ นวน 2 ช่อง
10. รองรับ ADC จาํ นวน 12 ช่อง
11. รองรับ DAC จาํ นวน 2 ช่อง
12. รองรับ I2S จาํ นวน 2 ช่อง
13. รองรับ PWM / Timer ทุกช่อง
14. รองรับการเชือมตอ่ กบั SD-Card
นอกจากนี ESP32 ยงั รองรับฟังกช์ นั เกียวกบั ความปลอดภยั ตา่ ง ๆ ดงั นี
รองรับการเขา้ รหัส WiFi แบบ WEP และ WPA/WPA2 PSK/Enterprise มีวงจรเขา้ รหัส AES /
SHA2 / Elliptical Curve Cryptography / RSA-4096 ใน ตัว ใน ด้าน ป ระสิ ท ธิ ภาพ การใช้งาน
ตวั ESP32 สามารถทาํ งานไดด้ ี โดยรับ-ส่ง ขอ้ มูลไดค้ วามเร็วสูงสุดที 150Mbps เมือเชือมต่อแบบ
11n HT40 ได้ความเร็วสูงสุด 72Mbps เมือเชือมต่อแบบ 11n HT20 ได้ความเร็วสูงสุดที 54Mbps
เมือเชือมต่อแบบ 11g และไดค้ วามเร็วสูงสุดที 11Mbps เมือเชือมต่อแบบ 11b เมือใชก้ ารเชือมต่อ
ผ่าน โปรโตคอล UDP จะส ามารถรับ -ส่ งข้อมูลได้ทีความเร็ ว 135Mbps ในโห มด Sleep
ใช้กระแสไฟฟ้าเพียง 2.5uA จะเห็นได้ว่า ในราคาไม่ถึง 500 บาท (บอร์ดพฒั นาสําเร็จรูป) และ
11
โมดูลเปล่าราคาไม่ถึง 400 บาท สามารถให้ประสิทธิภาพได้เกินราคา ดว้ ยเหตุนี ESP32 จึงเหมาะ
สาํ หรับนาํ มาใชง้ านมาก ดว้ ยเหตผุ ลทางดา้ นราคา และประสิทธิภาพทีได้
2.2.1 ประวตั ิความเป็นมาของ ESP32
ก่อนที ESP32 จะได้ถือกาํ เนิดขึน ไดม้ ีไอซีไมโครคอนโทรลเลอร์ทีมี WiFi ในตวั และ
ทาํ ราคาไดถ้ ูกมาก ๆ ในขณะนัน (เพียง $5 หรือประมาณ 200 บาท) ออกมาปฏิวตั ิโลกของระบบ
สมองกลฝังตวั นันก็คือไอซีเบอร์ ESP8266 ทีผลิตโดยบริษัท Espressif จากประเทศจีน ในช่วง
เริมแรก ไอซี ESP8266 สามารถทาํ งานไดโ้ ดยใชก้ ารสือสารผา่ น UART เท่านนั และพูดคุยสังงาน
ผ่าน AT command ไม่สามารถอัพเดท หรือแก้ไขเฟิ ร์มแวร์ด้านในได้ แต่ต่อมาไม่นานบริษัท
Espressif ก็ไดอ้ อกไอซีเวอร์ชนั ใหม่มา ในครังนีสามารถทีจะอพั เดทเฟิ ร์มแวร์ได้ และเราสามารถ
ลงไปเขียนเฟิ ร์มแวร์เองได้ โดยในขณะนันการเขียนเฟิ ร์มแวร์จะใชภ้ าษา C เพียงอยา่ งเดียว และใช้
ESP8266 SDK เป็นชุดซอฟตแ์ วร์พฒั นา ดว้ ยความยากของการใชง้ านภาษา C เพยี งอยา่ งเดียว ทาํ ให้
ไมไ่ ดร้ ับความนิยมเรืองการพฒั นาเฟิ ร์มแวร์เองมากนกั
รูปที 2.11 โมดูล ESP8266 01 ผลิตโดยบริษทั Ai-Thinker หวั ใจหลกั คือไอซี ESP8266
หลังจากนันมาประมาณ 1 ปี ผูผ้ ลิตบอร์ด NodeMCU ได้พอร์ตตวั Runtime ภาษา Lua
มาลงใน ESP8266 ทาํ ให้ตวั ESP8266 สามารถเขียนโปรแกรมสังงานตรง ๆ ไดง้ ่ายขึนมาก รวมทงั
มีเสถียรภาพเพิมขนึ และในขณะนีเอง บอร์ด NodeMCU เป็นบอร์ดพฒั นา ESP8266 สําเร็จรูปเพียง
บอร์ดเดียวในตลาดทีมาพร้อมกบั USB to UART ทาํ ใหใ้ ห้สามารถอพั โหลดเฟิ ร์มแวร์เขา้ ESP8266
ได้ผ่าน USB โดยตรง นอกจากนีผูพ้ ฒั นาบอร์ด NodeMCU ไดค้ ิดคน้ วงจรการเขา้ โหมดอพั โหลด
โปรแกรมอัตโนมัติ และตังชือว่า nodemcu ซึงภายหลังบอร์ดพัฒนาทุกรุ่น จะใช้วงจรแบบ
nodemcu ในการเข้าโหมดอัพโหลดโปรแกรมอัตโนมัติ และด้วยเหตุผลทีบอร์ด NodeMCU
เป็นบอร์ดพฒั นา ESP8266 บอร์ดแรกในทอ้ งตลาด ทาํ ให้ไดร้ ับความนิยมมาก และหลงั จากบริษทั
12
ในจีนต่าง ๆ ไดล้ อกวงจรและลายปรินของ NodeMCU มาทาํ ขายเองในราคาทีถูก แลว้ ใชช้ ือเดิมคือ
NodeMCU จึงทาํ ใหบ้ อร์ด NodeMCU ไดร้ ับความนิยมมากจนถึงปัจจุบนั
รูปที 2.12 บอร์ด NodeMCU 0.9 และบอร์ด NodeMCU 1.0
หลังจากตัว Runtime ภาษา Lua ได้ถูกพอร์ตมาลง ESP8266 ได้ประมาณ 2 – 4 เดือน
ท างชุม ชน พัฒ น า ESP8266 ที ชื อ ESP8266 Community Forum (www.esp8266.com) ได้ออก
ชุดไลบรารี และคอมไพล์เลอร์สําหรับใช้กับโปรแกรม Arduino IDE มาในชือ Arduino core for
ESP8266 WiFi chip ทาํ ให้การพฒั นาเฟิ ร์มแวร์ของ ESP8266 นันง่ายขึนมาก ๆ โดยใช้การเขียน
โปรแกรมแบบ Arduino ดงั นันคนทีมีพืนฐานการเขียนโปรแกรมลงบอร์ด Arduino เป็ นอยู่แล้ว
จึงมาเขียนเฟิ ร์มแวร์ลง ESP8266 โดยใช้โปรแกรม Arduino ไดไ้ ม่ยาก และนอกจากนี ไลบรารี
ต่าง ๆ ทีใชง้ านไดก้ บั บอร์ด Arduino ยงั สามารถนาํ มาใช้งานกบั ESP8266 ไดเ้ ลย ทาํ ให้ ESP8266
ไดร้ ับความนิยมสูงมากมาจนถึงขณะนี
ดว้ ยความสาํ เร็จอยา่ งถึงทีสุดของไอซี ESP8266 ทาํ ใหบ้ ริษทั Espressif ออกไอซีรุ่นถดั ไป
มาในช่วงแรกใช้ชือว่า ESP31B เปิ ดให้ร้านค้าใหญ่ ๆ อย่าง Adafruit SparkFun และผู้สนใจ
บางส่วนไดท้ ดสอบ โดยในขณะนนั ไดม้ ีการพฒั นาชุดซอฟตแ์ วร์ ESP32_RTOS_SDK ไปพรอ้ ม ๆ
กบั การพฒั นาไอซี ESP31B ทาํ ใหม้ ีคนนาํ ชุด ESP32_RTOS_SDK ไปพฒั นาลงโปรแกรม Arduino
รอก่อนไอซีตัวจริงจะออก ในชือ Arduino core for ESP31B WiFi chip แต่หลังจากนันไม่นาน
บริษทั Espressif ไดย้ กเลิกการใชช้ ุดซอฟตแ์ วร์พฒั นา ESP32_RTOS_SDK แลว้ ไปสร้างชุดพฒั นา
13
ใหม่ทีชือ ESP-IDF แทน (แต่เมือไปเจาะลึก จะพบว่าภายในแทบจะลอก ESP32_RTOS_SDK
มาทงั หมด) จากนนั จึงออกไอซี ESP32 ออกมาเป็นครังแรก
รูปที 2.13 ดา้ นหนา้ และดา้ นหลงั ของโมดูล ESP31B-WROOM-03 ใชช้ ิปไอซี ESP31B
ด้วยในอดีตทีไอซี ESP8266 ได้ทําไว้ดีมาก จึงส่งผลให้ ESP32 ได้รับความสนใจ
อย่างมาก จนผลิตไม่ทนั ต่อความตอ้ งการ โดยในช่วงแรก บริษทั Espressif ได้ให้ข่าวว่าจะผลิต
ESP32 แบบโมดูลออกมาเพียงอย่างเดียว ในชือ ESP-WROOM-32 หลังจากนันไม่นาน บริษัท
Ai-Thinker ได้ร่วมมือกบั Seeedstudio ผลิตโมดูล ESP3212 ขึนมา โดยมีสถานะเป็ นพรีออเดอร์
แต่เมือถึงกําหนดส่ งมอบ บริ ษัท Seeedstudio ได้เลือนการส่งมอบออกไป ด้วยปัญหาด้าน
การออกแบบลายวงจรของตวั โมดูลเอง ทาง Ai-Thinker จึงไดย้ กเลิกการผลิต ESP3212 แลว้ หันไป
ผลิต ESP32S แทน โดยลายวงจรเหมือนกับ ESP-WROOM-32 ทุกประการ แลว้ จึงเริมส่งมอบ
สินคา้ ได้
รูปที 2.14 โมดูล ESP3212 ที Ai-Thinker ร่วมกบั Seeedstudio ผลิตขึน
14
รูปที 2.15 โมดูล ESP32S ที Seeedstudio ส่งมอบ
หลงั จากสินคา้ ESP32S ไดเ้ ริมส่งมอบ ทางทีมผูพ้ ฒั นา Arduino core for ESP8266 WiFi
chip ได้ถูกบริษัท Espressif ซือตวั มาทังหมด แล้วจ้างให้พัฒนาชุดไลบรารีและคอมไพล์เลอร์
สํ าห รั บ Arduino ใน ชื อ Arduino core for ESP32 WiFi chip ทําให้ ก ารพัฒ น าเป็ น ไป ด้วย
ความรวดเร็วมากขึน ภายหลังผู้พัฒนา Arduino core for ESP31B WiFi chip ก็ถูกดึงตัวให้มา
ร่วมทีมพฒั นา Arduino core for ESP32 WiFi chip ด้วยเช่นเดียวกัน การพฒั นา Arduino core for
ESP32 WiFi chip จะทาํ ไปควบคู่กบั การพฒั นา ESP-DF โดยที ESP-IDF จะเป็ นแกนหลกั เมือมีการ
เพิมฟี เจอร์ใหม่ ๆ ให้ ESP-IDF แล้ว จึงจะมีการเพิมใน Arduino core for ESP32 WiFi chip
โดยที ESP-IDF รองรับการเขียนโปรแกรมแบบ Arduino เช่นเดียวกัน และรองรับทุกไลบรารี
ทีใช้ได้สําหรับ Arduino เพียงแต่ ESP-IDF ไม่มีโปรแกรม Editor โดยเฉพาะเท่านันเอง รายชือ
ผพู้ ฒั นาชุด ESP_IDF ในฐานะของผูใ้ ชง้ านเตม็ รูปแบบ ควรทีจะทาํ ความรู้จกั กบั ทีมผพู้ ฒั นากนั บา้ ง
โดยชือทียกมานีเป็นชือทีใชใ้ นเวบ็ GitHubIgrr
Projectgus
Spritetm
Liuzfesp
TianHao-Espressif
wmy-espressif
heyinling
wujiangang
TimXia
Costaud
15
Krzychb
me-no-dev
2.2.2 รายชือผพู้ ฒั นาชดุ Arduino core for ESP32 WiFi chip
เมือเขา้ ไปดูรายชือผูพ้ ฒั นา Arduino core for ESP32 WiFi chip จะพบว่า มีผูพ้ ฒั นาหลกั
อยู่เพียงรายเดียว อาจจะเพราะ ESP_IDF สามารถเขียนโค้ดแบบ Arduino ได้อยู่แล้ว การนํา
ESP_IDF มาลง Arduino อาจไม่ใช่เรืองยาก จึงไม่ต้องใช้นักพัฒนาทีมากมายนัก me-no-dev
(ผพู้ ฒั นาหลกั คนเดียวกบั ทีพฒั นาชุด Arduino core for ESP31B WiFi chip)
2.2.3 ชุดซอฟตแ์ วร์พฒั นา ESP32 อืน ๆ
ตังแต่ยุคของ ESP8266 ทีได้รับความนิยมสูงสุด ได้มีการพยายามนําตัว Runtime
ของภาษาระดับสูงหลาย ๆ ตัวมาใช้ เพือให้คนทีคุ้นชินกับภาษาระดับสูงเหล่านัน ได้มาใช้
ESP8266 ไดง้ ่ายมากยงิ ขึน เมือมาถึงยคุ ESP32 ก็ไดม้ ีการนาํ ซอร์สโคด้ เดิมทีทาํ ไว้ มาดดั แปลงและ
ใชง้ านกบั ESP32 ดว้ ย LuaNode เป็ นชือของชุดพฒั นา ESP32 ทีนาํ Rumtime ของภาษา Lua มาลง
ใน ESP32 ทาํ ให้ ESP32 ใช้ภาษา Lua ได้ พฒั นาโดยบริษทั DOIT ทีทาํ บอร์ดพฒั นา ESP32 ในชือ
DOIT ESP32 Development Board โดยความสามารถของ LuaNode คือรองรับคาํ สังทีใช้บน Lua
จริง ๆ แทบทกุ คาํ สัง และรองรับการควบคมุ WiFi เตม็ รูปแบบ
รูปที 2.16 บอร์ดพฒั นา DOIT ESP32 Development Board MicroPython-ESP32
ชุดพัฒนาทีพยายามสร้างตวั Runtime ของภาษา Python 3 บนไมโครคอนโทรลเลอร์
ต่าง ๆ พฒั นาโดย MicroPython ก่อนหนา้ นีเขาไดเ้ ปิ ดระดมทุนในเวบ็ Kickstarter เพือนาํ Python 3
16
มาลงใน ESP8266 แลว้ ประสบความสําเร็จอย่างมาก ทําให้โครงการสามารถอยู่มาได้เรือย ๆ
จนสามารถนาํ ภาษา Python 3 มาใชบ้ น ESP32 ไดส้ าํ เร็จ
MicroPython-ESP32 รองรับการใช้งานพืนฐานภาษา Python ส่วนใหญ่ได้ รองรับ
การจดั การ WiFi การเชือมตอ่ I2C SPI ADC และการควบคมุ GPIO เตม็ รูปแบบ
2.2.3 Espruino on ESP32
เป็นชุดพฒั นาทีพยายามทาํ ให้สามารถใชภ้ าษา JavaScript ในการสังงานได้ โดยโครงการ
Espruino ได้ทําตัว Runtime ขึนมาใช้กับ ESP32 และไมโครคอนโทรลเลอร์อืน ๆ โครงการ
นอกจากจะพฒั นาตัวเฟิ ร์มแวร์ Runtime แล้ว ยงั ได้พฒั นา Espruino Web IDE ซึงเป็ นโปรแกรม
IDE แบบเวบ็ แอปพลิเคชันทีใช้งานร่วมกบั Google Chrome ด้วย ในการติดตงั จะตอ้ งติดตงั ผา่ น
Chrome เวบ็ สโตร์ รองรับการเขียนโปรแกรมแบบ Text และภาษาบลอ็ ก (Block)
ในขณะทีเขียนชุดบทความนี Espruino on ESP32 รองรับการควบคุม GPIO และบัส
พืนฐานอยา่ ง 1-wire I2C SPI DAC ADC UART และรองรับการใช้งาน WiFi แลว้ แต่ยงั ไม่รองรับ
การใชง้ านบลูทูธ และการอพั โหลดโปรแกรมไรส้ าย (Over-The-Air : OTA)
2.2.4 การเลือกใชช้ ดุ ซอฟตแ์ วร์พฒั นา
การเลือกใช้ แนะนําให้เลือก ESP-IDF เป็ นตวั เลือกอนั ดับตน้ ๆ เนืองจากมีการพัฒนา
อยา่ งต่อเนือง และไปในทิศทางเดียวกบั การพฒั นาชิป แต่หากมีพืนฐานภาษา C ไม่มากนัก ผเู้ ขียน
แนะนําให้เลือกใช้ชุดพัฒนา Arduino core for ESP32 WiFi chip จะดีกว่า เนืองจากการเขียน
โปรแกรมแบบ Arduino มีฟังก์ชนั การใช้งานต่าง ๆ ทีค่อนขา้ งง่าย และมีเวบ็ arduino.cc เป็ นเว็บ
รวมตวั อย่างโคด้ ต่าง ๆ และเอกสารการใชง้ านแตล่ ะฟังก์ชนั อยมู่ าก รวมทงั เวบ็ ไซตส์ ่วนใหญท่ ีรวม
วธิ ีการประยกุ ตใ์ ช้ ESP32 ยงั นิยมใชโ้ คด้ โปรแกรมสําหรับชุดพฒั นา Arduino core for ESP32 WiFi
chip อกี ดว้ ย
ESP32 เป็ นชิปไอซีไมโครคอนโทรลเลอร์ 32 บิต ทีมี WiFi และบลูทธู เวอร์ชนั 4.2 ในตวั
ซึงเป็ นรุ่นต่อของชิปไอซี ESP8266 รุ่นยอดนิยม ผลิตโดยบริษทั Espressif จากประเทศจีน รองรับ
การเขียนโปรแกรมโดยใช้โปรแกรม Arduino IDE และรองรับไลบรารีส่วนใหญ่ของ Arduino
ทาํ ให้สามารถใชง้ านไดง้ ่าย นอกจากนีราคายงั ถูกลงเรือย ๆ ทาํ ให้ไดร้ ับความนิยมมากขึนเรือย ๆ
เชน่ เดียวกนั
17
2.3 ข้อมูลพืนฐานเกียวกับ GY-906 Infrared Temperature Sensor Module (GY-906
MLX90614ESF) เซนเซอร์อณุ หภมู แิ บบไร้สัมผสั
GY-906 Infrared Temperature Sensor Module (GY-906 MLX90614ESF) เซนเซอร์อุณหภูมิ
แบบไร้สัมผสั โมดูลวดั อุณหภูมิแบบอินฟราเรดไร้การสัมผสั ใช้ชิป MLX90614ESF สําหรับ
Arduino ไฟเลียง 3.3 V ห้ามต่อ 5 V เชือมต่อแบบ I2C ใชส้ ายเพียง 2 เส้นใ นการควบคุม สามารถ
วดั อุณหภูมิทีเป้าหมายแบบไร้การสัมผสั ที -70 ถึง 380 องศาเซลเซียส และยงั สามารถวดั อุณหภูมิ
ของสิงแวดลอ้ มได้ที -40 ถึง 125 องศาเซลเซียส ความละเอียดของอุณหภูมิทีวดั ได้ 0.02 องศา
เซลเซียส
GY-906 Infrared Temperature Sensor Module (GY-906 MLX90614ESF)
GY-906 รุ่น BCC ระยะตรวจวดั สูงสุดที 10 cm
รูปที 2.17 GY-906 รุ่น BCC ระยะตรวจวดั สูงสุดที 10 cm
2.4 หลกั การ Ultrasonic Ranging Module HC-SR04
การวดั ระยะทางโดยไมต่ อ้ งมีการสัมผสั กบั พืนผิวของวตั ถุทีตอ้ งการวดั ระยะ อปุ กรณ์ตวั นีราคา
ถูกสุด จึงมีความเหมาะสมกับผูเ้ ริมต้นใช้งาน Arduino Board เพือศึกษาการทาํ งานเบืองตน้ ของ
Arduino และแน่นอนมนั ใชก้ บั บอร์ดไดท้ ุกชนิด ทงั ทีเป็น Arduino หรือเป็นไมโครคอนโทรลเลอร์
อยา่ งอืน
ก่อนอืนมาคุยกนั ถึงหลกั การทีใช้ในการวดั ระยะทางโดยไม่ตอ้ งใช้ไมบ้ รรทดั หลกั การแบบ
สันๆ การทาํ งานของ Ultrasonic sensor ก็เหมือนกบั คา้ งคาวทีบินในเวลากลางคนื คือใชก้ ารส่งคลืน
เสียงทีหูมนุษยไ์ ม่สามารถได้ยินออกไปสะทอ้ นวตั ถุทีตอ้ งการวดั ระยะ แลว้ จบั เวลาเสียงสะทอ้ น
เพอื คาํ นวณระยะทาง
18
รูปที 2.18 Ultrasonic Ranging Module HC-SR04
รูปที 2.19 Timing Diagram
เพือความเข้าใจกันมากขึน อุปกรณ์ตัวนี เริ มต้นทํางานโดยการส่ งสัญญ าณเริ มต้น
ยาว 10 ไมโครวินาที ไปสังให้แหล่งกาํ เนิดเสียงทํางาน จากนันจะส่งคลืนเสียงความถี 40 kHz
ออกไป 8 พลั ส์ แลว้ รอฟังเสียงสะท้อน ตัวซ้ายจะเป็ นตวั ส่งคลืนเสียงออกไป ส่วนตวั ขวาในรูป
จะเป็นตวั รับความถีทีสะทอ้ นกลบั มา เนืองจากเสียงทีส่งออกไปถึงแมจ้ ะไมไ่ ดย้ นิ เพราะเกิน 20 kHz
ทีหูมนุษยจ์ ะรับฟังได้ แต่เนืองจากยงั คงเป็ นคลืนเสียง ดังนันความเร็วของเสียงจึงแปรผนั ตาม
อุณหภูมิดว้ ยตามสูตรนี
C ≈ 331.5 + 0.61θ (m/s)
ดงั นนั เวลาผผู้ ลิตเขียนโปรแกรมออกแบบไวก้ ็อยู่ทีอุณภูมิทาํ งานทีอาจจะแตกต่างจากบา้ นเรา
ก็ทาํ ใหค้ ่าทีวดั ไดม้ ีความผดิ พลาดไปบา้ ง
19
อีกส่วนทีจะตอ้ งรู้ก็คือช่วงวดั และมมุ ทีสามารถวดั ได้ และเนืองจากคุณสมบตั ิของอปุ กรณท์ ีใช้
ในการกําเนิดเสียง และรูปร่างของตัวลําโพง (Horn) ก็ทําให้อุปกรณ์ตัวนีมีมุมวดั 15 องศา
(Measuring Angle) ครับ โดยสามารถวดั ระยะห่างไดต้ งั แต่ 2 ซม. จนถึง 4 เมตร
รูปที 2.20 Directional characteristics
ระยะทางกค็ าํ นวณไดจ้ ากสูตรนี
ระยะทาง = ความยาวของสญั ญาณสะทอ้ น 340 (m/s) / 2
คุณภาพของสญั ญาณ ความแม่นยาํ กข็ ึนกบั วสั ดุ ลกั ษณะของพนื ผิวทีใชว้ ดั
20
บทที 3
วธิ กี ารดาํ เนนิ งาน
วิธีดาํ เนินงาน คณะผูศ้ ึกษาได้ประชุมหารือกัน ขนั ตอนสําคญั เพือทีจะนํามาจดั การแบ่งงาน
ไปยงั ส่วนต่างๆ เพือทีจะง่ายต่อการจดั ทาํ โดยจะเน้นหลกั การและความสามารถของตวั บุคคล
ทีไดร้ ับหนา้ ทีให้จดั ทาํ ในหัวขอ้ ของแต่ละบุคคล หากสมาชิกคนใดมีปัญหาก็จะนํามาปรึกษาและ
หาแนวทางการแกไ้ ขภายในกลุ่มโดยมีขนั ตอนสําคญั ดงั นี
3.1 ศึกษาและรวบรวมขอ้ มูล
3.2 แผนการปฏิบตั งิ าน
3.3 แผนผงั การดาํ เนินงาน
3.4 การออกแบบเครืองวดั อณุ หภูมิอตั โนมตั ิ แจง้ เตือนผา่ นแอปพลิเคชนั ไลน์
3.5 วงจรเครืองวดั อณุ หภูมิอตั โนมตั ิ แจง้ เตือนผา่ นแอปพลเิ คชนั ไลน์
3.6 ส่วนประกอบของอปุ กรณ์
3.7 ขนั ตอนการทดลองเขียนโปรแกรม
3.8 การทดลองวดั อุณหภูมิ
3.9 การทดลองวดั อณุ หภูมิแจง้ เตือนเขา้ แอปพลิเคชนั ไลน์
3.10 การทดลองการทาํ งานของเซนเซอร์และการแสดงผล
3.11 การทดลองสแกนใบหนา้ แจง้ เตือนเขา้ แอปพลิเคชนั ไลน์
3.12 เครืองมือทีใชใ้ นการทดสอบเปรียบเทียบ
3.1 ศึกษาและรวบรวมข้อมลู
เมือแบ่งหน้าทีเรียบร้อยแลว้ และไดม้ ีการเลือก โครงงาน เมือไดโ้ ครงงานตามทีตกลงกนั แลว้
ศึกษาและรวบรวมขอ้ มูลเพอื จดั ทาํ โครงงานในครังนี โดยขอ้ มลู ต่างๆ ทีไดน้ าํ มาศึกษานนั ไดม้ าจาก
- หนงั สือ วารสารโครงงาน ทีเกียวขอ้ ง
- อินเทอร์เน็ต
- อาจารยท์ ีปรึกษาโครงงาน
จุดควบคุมต่างๆ ซึงจะเขียนเป็ นผงั การดาํ เนินงาน เพือทีจะไดเ้ ป็ นกรอบการทาํ งาน เริมจาก
การศึกษาการทาํ งานของระบบอตั โนมตั ิ โดยแบ่งออกเป็นสองส่วน
21
3.2 แผนการปฏบิ ัตงิ าน
ตารางที 3.1 แผนการปฏิบตั ิงาน
ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.
กจิ กรรม 2563 2563 2563 2563 2563
1 2 3412 3 4 1 2 3 4123 4 1234
1. ประชุมกลุ่มนกั ศึกษา
2. ศึกษาคน้ ควา้ หาขอ้ มลู หวั ขอ้ โครงงาน
3. เสนอหัวขอ้ โครงงาน
4. ศึกษาขอ้ มลู เพมิ เติม
5. ออกแบบรายละเอียดเกียวกบั
เครืองวดั อณุ หภูมิ
6. ปรับปรุงและแกไ้ ขเครืองวดั อณุ หภมู ิ
7. ทดสอบเครืองวดั อณุ หภูมิ
8. ปรับปรุงและแกไ้ ขเครืองวดั อณุ หภูมิ
3.3 แผนผังการดําเนินงาน
ในขันตอนการดาํ เนินงานโครงงานวิจยั เรือง เครืองวดั อุณหภูมิร่างกายทํางานอัตโนมัติ
การแจ้งเตือนผ่านโปรแกรมไลน์ ได้แสดงเป็ นผงั การทาํ งาน โดยเริมตงั แต่การนาํ เสนอโครงงาน
การทาํ งานจนเสร็จสมบูรณด์ งั นี
22
เสนอโครงงาน
ศึกษาขอ้ มูลทีเกียวขอ้ ง
จดั หาวสั ดุอุปกรณ์
ประกอบโครงงาน
ทดลอง ไม่ผา่ น แกไ้ ข
ผา่ น ไม่ผา่ น แกไ้ ข
นาํ เสนอ
ผา่ น
ปรับปรุงแกไ้ ข
จบ
รูปที 3.1 แผนผงั ขนั ตอนการทาํ งานเครืองวดั อณุ หภมู ิร่างกายทาํ งานอตั โนมตั ิ การแจง้ เตือน
ผา่ นโปรแกรมไลน์
3.4 การออกแบบเครืองวัดอุณหภูมิอตั โนมัติ แจ้งเตือนผ่านแอปพลเิ คชันไลน์
คณะผูจ้ ัดทาํ ได้ทาํ กาศึกษาข้อมูล หลกั การทีเกียวข้อง และได้นํามาเขียนเป็ นบล็อกแนวคิด
ไดด้ งั นี
23
รูปที 3.2 การออกแบบเครืองวดั อณุ หภมู ิอตั โนมตั ิ แจง้ เตือนผา่ นแอปพลิเคชนั ไลน์
แหล่งจ่ายไฟ LED แบบ Dot Matric
Ultrasonic บอร์ด ESP32-
CAM
บอร์ด Arduino WIFI
GY-906 Infrared
Temperature Sensor
Buzzer Module เสียง
รูปที 3.3 เครืองวดั อณุ หภมู ิอตั โนมตั ิ แจง้ เตือนผา่ นแอปพลิเคชนั ไลน์
24
3.5 วงจรเครืองวัดอุณหภูมิอตั โนมตั ิ แจ้งเตือนผ่านแอปพลเิ คชันไลน์
ทาํ การทดลองต่อวงจร
(ก) การตอ่ วงจร (ข) ประกอบอปุ กรณ์
(ค) อุปกรณ์กอบเสร็จสมบูรณ์
รูปที 3.4 โครงสร้างชุดเครืองวดั อุณหภมู ิอตั โนมตั ิ แจง้ เตือนผา่ นแอปพลิเคชนั ไลน์
3.6 ส่วนประกอบของอปุ กรณ์ 25
จอแสดงผล
เซนเซอร์ Ultrasonic
รูปที 3.5 ลกั ษณะภายนอกของเครืองวดั อณุ หภมู ิร่างกายแบบอตั โนมตั ิ (ดา้ นหนา้ )
รูปที 3.6 ลกั ษณะภายนอกของเครืองวดั อณุ หภูมิร่างกายแบบอตั โนมตั ิ (ดา้ นขา้ ง)
26
รูปที 3.7 ลกั ษณะภายนอกของเครืองวดั อณุ หภมู ิร่างกายแบบอตั โนมตั ิ (ดา้ นหลงั )
รูปที 3.8 การวางอุปกรณ์ภายในเครืองวดั อณุ หภมู ิร่างกายแบบอตั โนมตั ิ
27
3.7 ขันตอนการทดลองเขียนโปรแกรม
ทาํ การเขียนโปรแกรมจากคอมพิวเตอร์เพือควบคมุ คาํ สงั การทาํ งาน Arduino
3.7.1 ทาํ การทดลองเปิ ดโปรแกรม Arduino
รูปที 3.9 ทาํ การทดลองเขียนโปรแกรม Arduino
3.7.2 เลือก File แลว้ New ต่อไป
รูปที 3.10 ทาํ การสร้าง File Project
28
3.7.3 ทาํ การเขียนโปรแกรม การทาํ งานของ Arduino
รูปที 3.11 ทาํ การเขียนโปรแกรมการทาํ งาน Arduino
3.7.4 เมือเขยี นเสร็จแลว้ ทาํ การเช็ค Code ทีเขยี น โดยคลิกทีเครืองหมายถกู
รูปที 3.12 ทาํ การเช็ค Code ทีเขยี นขึน
29
3.7.5 ทาํ การเลือกบอร์ด Esp8266 V2 เพอื ใชใ้ นการ upload code
รูปที 3.13 ทาํ การเลือกบอร์ด Esp8266 V2 เพอื upload code
3.7.6 ทาํ การเลือก Port เพอื เชือมต่อ
รูปที 3.14 ทาํ การเลือก Port เพือเชือมต่อ
30
3.7.7 ทาํ การคลิกที เพอื upload code
รูปที 3.15 ทาํ การคลิกทีลกู ศร เพอื upload code
3.7.8 สินสุดการเขยี น Code จากนนั กด Serial Monitor
รูปที 3.16 ทาํ การ Serial Monitor
31
3.7.9 ขนั ตอนการสร้าง Line Token
1. เขา้ เวบ็ https://notify-bot.line.me/th/
2. คลิกป่ ุม “เขา้ สู่ระบบ” (Log in)
3. กรอก Email และ Password ทีจะใชเ้ ขา้ สู่ระบบ
4. คลิกป่ มุ “ Login ”
รูปที 3.17 การสร้าง Line Token
32
5. คลิกทีชือไลน์ทีอยดู่ า้ นขวาบนสุด แลว้ คลิกทีเมนู “หนา้ ของฉนั ” (My page) ดงั รูปที
3.17
รูปที 3.18 คลิกทีชือไลน์ทีอยู่ดา้ นขวาบนสุด แลว้ คลิกทีเมนู หนา้ ของฉัน
6. ภายใตห้ วั ขอ้ Generate access token (For developers) ใหค้ ลิกทีป่ มุ “Generate token”
ดงั รูปที 3.18
รูปที 3.19 ภายใตห้ วั ขอ้ Generate access token (For developers) ใหค้ ลิกทีป่ มุ “Generate token”
33
7. ในช่องวา่ งช่องแรก ใหก้ รอกชือกลุม่ ทีจะเอา token ไปกรอก ดงั รูปที 3.20
ชอ งนใี้ สช อ่ื ทต่ี องการใหแ สดงตอนแจง เตือน
มา
รูปที 3.20 ในช่องวา่ งช่องแรกใหก้ รอกชือกลุ่มทีจะเอา token ไปกรอก
หมายเหตุ Token คือ รหัสทีไลน์สุ่มมาให้เพือใช้ตรวจสอบว่า ข้อความแจง้ เตือนจาก
ปลกั อิน (Plugin) ไดถ้ ูกส่งไปยงั ผใู้ ชง้ านไลน์ทีถูกตอ้ ง ทงั นีเหตุผลทีทางไลน์ (Line) ไม่ใชไ้ ลน์ไอดี
(Line ID) เป็นตวั เช็คเนืองจากหากมีใครรู้ไลน์ไอดีก็สามารถสแปมขอ้ ความส่งให้โดยทีไม่ตอ้ งการ
ซึง Token ก็เช่นเดียวกัน หากมีใครรู้ token ของคุณ เขาก็จะสามารถสแปมขอ้ ความส่งหาคุณ
34
ไดเ้ ช่นกัน ดังนัน คุณจึงไม่ควรให้ใครเห็น token ของคุณ หากคาดว่ามีคนเห็นหรือทราบ token
ของคุณ คณุ ควรลบ token อนั เก่าทิง แลว้ Generate token อนั ใหมแ่ ทน โดยชือ token ทีคณุ ตงั
8. หลังกด ออก Token จะมีหน้าจอแสดงรหัส Token ขึนมาให้เรากดป่ ุม คัดลอก
แลว้ นาํ ไปวางไวใ้ น word เก็บไวก้ ่อนเพราะถา้ ออกไปแลว้ จะไม่สามารถกลบั มายอ้ นดูรหัสไดอ้ ีก
แลว้ เชิญ Line Notify เขา้ กลุ่มทีเราเลือกไว้
รูปที 3.21 การออก Token
9. หลังจากได้รหัส Token และเชิญ Line Notify เข้ากลุ่มแล้ว ให้ไปเขา้ หน้า web ของ
อุปกรณ์ -> ไปตงั คา่ -> ในช่อง Token ใส่รหสั อนั นีแลว้ กด บนั ทึก (แนะนาํ ใชว้ ธิ ี Copy วาง)
35
3.8 การทดลองวดั อณุ หภูมิ
ทาํ การทดลองวดั อณหภูมิจะแสดงผลไดด้ งั นี
รูปที 3.22 การทดลองวดั อุณหภูมิ
3.9 การทดลองวัดอณุ หภูมแิ จ้งเตือนเข้าแอปพลเิ คชันไลน์
ทาํ การทดลองวดั อณุ หภมู ิแสดงผลทางแอปพลิเคชนั ทางไลน์
รูปที 3.23 แสดงผลทางแอปพลิเคชนั ทางไลน์
36
3.10 การทดลองการทาํ งานของเซนเซอร์และการแสดงผล
ทาํ การทดลองวดั ระยะแสดงผลทางจอ LED
รูปที 3.24 การทดลองวดั ระยะแสดงผลทางจอ LED
3.11 การทดลองสแกนใบหน้าแจ้งเตือนเข้าแอปพลิเคชันไลน์
ทาํ การทดลองสแกนใบหนา้ แสดงผลทางแอปพลิเคชนั ทางไลน์
รูปที 3.25 การทดลองสแกนใบหนา้ แสดงผลทางแอปพลิเคชนั ทางไลน์
37
3.12 เครืองมือทใี ช้ในการทดสอบเปรียบเทียบ
3.12.1 เครืองวดั อุณหภูมิร่างกายทาํ งานอตั โนมตั ิ การแจง้ เตือนผา่ นโปรแกรมไลน์ทีสร้างขึน
จาํ นวน 1 เครือง
3.12.2 เครืองวดั อณุ หภมู ิร่างกายอินฟราเรด Thermometer รุ่น Q3 จาํ นวน 1 เครือง
3.12.3 เทอร์โมมิเตอร์ปรอทวดั อุณหภมู ิยหี ้อ F.C.P. จาํ นวน 1 ชิน
3.12.4 เทอร์โมมิเตอร์ดิจิตอลวัดอุณหภูมิยีห้อ CLINICAL DIGITAL THERMOMETER
จาํ นวน 1 เครือง
รูปที 3.26 เครืองวดั อณุ หภูมิร่างกายทาํ งานอตั โนมตั ิ
38
รูปที 3.27 เครืองวดั อุณหภูมิร่างกายอินฟราเรด Thermometer รุ่น Q3
รูปที 3.28 เทอร์โมมิเตอร์ปรอทวดั อุณหภูมิยหี ้อ F.C.P. และเทอร์โมมิเตอร์ดิจิตอลวดั อุณหภูมิยหี ้อ
CLINICAL DIGITAL THERMOMETER