The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kissara.kett, 2022-09-13 11:31:32

PA1

PA1

เอกสารขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน

(Performance Agreement : PA)

ประจาปีงบประมาณ 2564
(ระหว่างวนั ที่ 1 ตุลาคม 2564 ถงึ วันท่ี 30 กันยายน 2565)

สาหรบั ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
ตาแหนง่ ครู (ยงั ไมม่ ีวทิ ยฐานะ)

จดั ทาขอ้ ตกลงโดย

นายคมกฤษดา ชยั มงคล

ตาแหน่ง ครู

โรงเรยี นบา้ นแพงพิทยาคม อาเภอบ้านแพง จังหวดั นครพนม
สังกดั สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษานครพนม

หPนA้า11/ส

แบบขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน (PA)
สำหรับขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ตำแหนง่ ครู (ยงั ไมม่ วี ทิ ยฐานะ)
โรงเรียนบา้ นแพงพทิ ยาคม สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษานครพนม เขต 22

ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
ระหวา่ งวนั ท่ี 1 เดอื น ตลุ าคม พ.ศ. 2564 ถึงวนั ท่ี 30 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2565

ผจู้ ดั ทำขอ้ ตกลง
ชอื่ นายคมกฤษดา นามสกลุ ชยั มงคล ตำแหน่ง ครู
สถานศึกษา โรงเรียนบา้ นแพงพิทยาคม สังกดั สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษานครพนม เขต 22
รบั เงนิ เดือนในอันดบั คศ. 1 อตั ราเงินเดือน 18,590 บาท

ประเภทหอ้ งเรยี นทจ่ี ดั การเรยี นรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทหอ้ งเรียนตามสภาพการจัดการเรยี นรู้จรงิ )
 หอ้ งเรยี นวชิ าสามญั หรอื วิชาพืน้ ฐาน
 ห้องเรยี นปฐมวัย
 หอ้ งเรียนการศึกษาพิเศษ
 ห้องเรียนสายวิชาชพี
 หอ้ งเรยี นการศึกษานอกระบบ / ตามอธั ยาศยั

ข้าพเจา้ ขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหน่งครู (ยังไม่มวี ิทยฐานะ) ซ่ึงเป็นตำแหนง่

ที่ดำรงอยู่ในปัจจบุ นั กบั ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา ไวด้ งั ต่อไปน้ี

สว่ นที่ 1 ขอ้ ตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐานตำแหนง่

1. ภาระงาน จะมภี าระงานเป็นไปตามท่ี ก.ค.ศ. กำหนด

1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 20 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ดงั นี้

1) กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา

- รายวชิ าสุขศึกษาและพลศกึ ษา ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3/1 – 3/8 จำนวน 16 ช่ัวโมง/สัปดาห์

- รายวชิ าเทควันโด ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3/4 จำนวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

2) กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน

- แนะแนว ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3/3 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

- ชมุ นุม ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น - ตอนปลาย จำนวน 1 ช่ัวโมง/สปั ดาห์

- กิจกรรมยวุ กาชาด ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3/3 จำนวน 1 ช่ัวโมง/สัปดาห์

1.2 งานส่งเสริมและสนบั สนุนการจัดการเรยี นรู้ จำนวน 2 ช่ัวโมง/สัปดาห์

1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

- งานฝา่ ยบรหิ ารทั่วไป จำนวน 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเนน้ จำนวน 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์

หน้า 2

2. งานทจี่ ะปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานตำแหนง่ ครู (ใหร้ ะบรุ ายละเอยี ดของงานทจี่ ะปฏบิ ตั ใิ นแตล่ ะดา้ นวา่ จะ
ดำเนนิ การอยา่ งไร โดยอาจระบรุ ะยะเวลาท่ใี ชใ้ นการดำเนนิ การดว้ ยก็ได)้

ตวั ช้วี ดั (Indicators)

ลกั ษณะงานทป่ี ฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ทจ่ี ะเกดิ ขึ้นกับผเู้ รียน
ตามมาตรฐานตำแหนง่ ที่จะดำเนนิ การพฒั นา ของงานตามขอ้ ตกลงท่ี ทแี่ สดงให้เห็นถงึ การ
ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบการประเมนิ คาดหวังให้เกดิ ข้นึ กบั ผเู้ รยี น เปล่ียนแปลงไปในทางทด่ี ี
ขึ้นหรอื มกี ารพัฒนา มาก
(โปรดระบ)ุ (โปรดระบ)ุ ขนึ้ หรือผลสัมฤทธสิ์ งู ข้นึ

(โปรดระบุ)

1. ด้านการจัดการเรียนรู้ 1.1 การสรา้ งและหรอื การพฒั นาหลกั สตู ร 1. ผู้เรียนได้รับการจัดการ 1. ร้อยละ 85 ของผู้เรียน

ลักษณะงานที่เสนอให้ - จัดทำหลักสูตรและหน่วยการเรียนรู้ที่ เรียนรู้ตามหลักสูตรและมี มีความรู้ผ่านเกณฑ์การ

ครอบคลุมถึงการสร้างและ สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และ ความรู้ตามมาตรฐานและ ประเมนิ ตามท่สี ถานศึกษา

หรือการพัฒนาหลักสูตร ตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตร ตัวชี้วดั กำหนด

การออกแบบการจัดการ เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาสมรรถนะ และการ 2. ผู้เรียนได้รับการพัฒนา 2. ร้อยละ 85 ของผู้เรียน

เรียนรู้ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้เต็มตามศักยภาพ โดยมีการประยุกต์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้นเป็นไป

เรียนรู้ การสร้างและหรือ ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา การอ่าน การเขียน คิด ต า ม ค ่ า เ ป ้ า ห ม า ย ท่ี

พ ั ฒ น า ส ื ่ อ น ว ั ต ก ร ร ม ผูเ้ รียน และชุมชน วิเคราะห์ สมรรถนะสำคัญ สถานศึกษากำหนด

เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ ของผู้เรยี น

การวัดและประเมินผลการ 1.2 การออกแบบการจดั การเรยี นรู้ 1. ผู้เรียนมีความรู้ตาม 1. ร้อยละ 85 ของผู้เรียน

จัดการเรียนรู้ การศึกษา - เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อให้ผู้เรียนมี มาตรฐานและตัวชี้วัดตาม มีความรู้ผ่านเกณฑ์การ

วิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อ ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจำวิชา ธรรมชาติวชิ า ประเมนิ ตามท่ีสถานศึกษา

แก้ปัญหาหรือพัฒนาการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์และสมรรถนะท่ี 2. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาใน กำหนด

เรียนรู้ การจัดบรรยากาศที่ สำคัญตามหลักสูตร โดยมีการปรับประยุกต์ ด ้ า นค ุ ณ ล ั กษณ ะอั นพึง 2. ร้อยละ 85 ของผู้เรียน

ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ประสงค์และสมรรถนะ มีผลการประเมินในด้าน

และการอบรมและพัฒนา ผ้เู รียนและชุมชน โดย สำคัญตามหลกั สตู ร ค ุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ อ ั น พึ ง

คณุ ลกั ษณะท่ดี ีของผู้เรียน - จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน ประสงค์และสมรรถนะ

เป็นสำคัญ สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพล สำคัญตามหลักสูตรสูงขึ้น

ศึกษา (สุขศึกษาและพลศึกษาพื้นฐาน) ช้ัน เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่

มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ตามเป้าหมายที่สถาน สถานศกึ ษากำหนด

ศึกษากำหนด

หนา้ 3

ตวั ช้วี ดั (Indicators)

ลกั ษณะงานทป่ี ฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ทจ่ี ะเกิดขน้ึ กบั ผเู้ รยี น
ตามมาตรฐานตำแหนง่ ทจ่ี ะดำเนนิ การพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลงท่ี ทีแ่ สดงให้เหน็ ถึงการ
ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบการประเมนิ คาดหวังใหเ้ กดิ ข้ึน กบั ผเู้ รียน เปลีย่ นแปลงไปในทางที่ดี
ขน้ึ หรือมีการพัฒนา มาก
(โปรดระบ)ุ (โปรดระบุ) ข้ึนหรือผลสัมฤทธส์ิ งู ข้นึ

(โปรดระบุ)

1. ด้านการจัดการเรียนรู้ 1.3 การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ผู้เรียนได้รับการพัฒนา 1. ร้อยละ 85 ของผู้เรียน

ลักษณะงานที่เสนอให้ - มีการอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ ตามศักยภาพความแตกต่าง มีความพึงพอใจต่อการ

ครอบคลุมถึงการสร้างและ และส่งเสริมผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตาม ของแตล่ ะบคุ คล เรียนวิชาสุขศึกษาและพล

หรือการพัฒนาหลักสูตร ศักยภาพ เรียนรู้และทำงานร่วมกัน โดยมี 2. ผู้เรียนมีนิสัยใฝ่เรียนรู้ ศึกษามากและมีส่วนร่วม

การออกแบบการจัดการ การปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับความ มุ่งมั่นในการทำงานและ ในการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้ การจัดกิจกรรมการ แตกต่างของผู้เรียนตามบริบทของ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น เรียนการสอนรูปแบบ

เรียนรู้ การสร้างและหรือ สถานศึกษา ไดเ้ ป็นอย่างดี Active Learning

พัฒนาสื่อ นวัตกรรม 3. ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจ 2. ร้อยละ 85 ของผู้เรียน

เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ ต่อการเรียนวิชาสุขศึกษา ร่วมในกิจกรรมการเรียน

การวัดและประเมินผลการ และพลศกึ ษา มากยงิ่ ขนึ้ และ การสอนแบบ

จัดการเรียนรู้ การศึกษา มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม On Line On Hand On

วิเคราะห์ สังเคราะห์เพ่ือ การเรียนการสอนรูปแบบ Demand ผา่ นแอฟพลิ

แก้ปัญหาหรือพัฒนาการ Active Learning เคชนั่ ต่างๆเป็นอย่างดี

เรียนรู้ การจัดบรรยากาศท่ี

ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน 1. ผู้เรียนได้รับความรู้จาก 1. รอ้ ยละ 85 ของผูเ้ รยี น
และการอบรมและพัฒนา 1.4 การสรา้ งและพฒั นาสอ่ื นวตั กรรม การใช้สื่อที่หลากหลาย มคี วามรผู้ ่านเกณฑก์ าร
คุณลกั ษณะทีด่ ีของผู้เรียน - มกี ารสรา้ งและหรอื พัฒนาส่อื นวัตกรรม สอดคล้องกับกิจกรรมการ ประเมนิ ตามทสี่ ถานศึกษา

เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ โดยมกี ารปรบั

ประยุกต์ใหส้ อดคล้องกับกิจกรรมการเรยี นรู้ เรยี นรู้และทนั สมยั กำหนด

- จดั ทำสอื่ ท่ีส่งเสรมิ พัฒนานกั เรยี นโดยใช้ 2. ผู้เรียนได้รับความรู้จาก 2. รอ้ ยละ 85 ของผเู้ รยี น

เทคโนโลยี เช่น บทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ย ก า ร ใ ช ้ แ ห ล ่ ง เ ร ี ย น ร ู ้ ท่ี มีผลสัมฤทธิส์ ูงขนึ้ เปน็ ไป

สอน (CAI) , E-Book หลากหลายและสอดคล้อง ตามคา่ เป้าหมายที่

- พฒั นาแหลง่ เรียนรู้นอกหอ้ งเรียน โดยใช้ กบั การเรยี นรู้ สถานศึกษากำหนด

เทคโนโลยเี ป็นฐาน

หนา้ 4

ลกั ษณะงานทป่ี ฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตวั ชีว้ ดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่ ทีจ่ ะดำเนนิ การพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลงท่ี ทจ่ี ะเกิดขึน้ กับผเู้ รียน
ตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน คาดหวังใหเ้ กดิ ข้ึน กับผเู้ รียน ท่ีแสดงใหเ้ หน็ ถึงการ
เปลีย่ นแปลงไปในทางทดี่ ี
(โปรดระบ)ุ (โปรดระบ)ุ ข้ึนหรอื มกี ารพฒั นา มาก
ขนึ้ หรือผลสัมฤทธส์ิ งู ขึน้

(โปรดระบ)ุ

1. ด้านการจัดการเรียนรู้ 1.5 การวดั และการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 1. ผู้เรียนได้รับการประเมิน 1. ร้อยละ 85 ของผู้เรียน

ลักษณะงานที่เสนอให้ - มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้วย ผลการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มีความรู้ผ่านเกณฑ์การ

ครอบคลุมถึงการสร้างและ วิธีการที่หลากหลาย เหมาะสม และ หลากหลาย ประเมินเป็นไปตาม

หรือการพัฒนาหลักสูตร สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรู้ ใหผ้ ู้เรียน 2. นำผลการประเมินมาใช้ใน ระเบียบการวัดผลการ

การออกแบบการจัดการ พัฒนาการเรียนรู้อยา่ งต่อเน่อื ง การส่งเสริมหรือปรับปรุง ประเมินของสถานศกึ ษา

เรียนรู้ การจัดกิจกรรมการ - สร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลเพื่อการ แกไ้ ขการเรยี นรู้ของผูเ้ รียน 2. ร้อยละ 85 ของผู้

เรียนรู้ การสร้างและหรือ พัฒนาผู้เรียนตามสภาพจริงและวัดการ เรียน มีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น

พ ั ฒ น า ส ื ่ อ น ว ั ต ก ร ร ม วิเคราะห์ เป็นไปตามค่าเป้าหมายท่ี

เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ สถานศึกษากำหนด

การวัดและประเมินผลการ

จัดการเรียนรู้ การศึกษา 1.6 การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพ่ือ 1 . น ั ก เ ร ี ย น ไ ด ้ ร ั บ ก า ร 1. ร้อยละ 85 ของผู้เรียน

วิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อ แก้ปัญหาหรอื พัฒนาการเรยี นรู้ แก้ปัญหาหรือพัฒนาในด้าน มีความรู้ผ่านเกณฑ์การ

แก้ปัญหาหรือพัฒนาการ - มกี ารศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพ่ือ การเรียนรู้ ประเมนิ ของสถานศึกษา

เรียนรู้ การจัดบรรยากาศท่ี แก้ปัญหา หรือพัฒนาการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อ 2 . น ั ก เ ร ี ย น ไ ด ้ ร ั บ ก า ร 2. ร้อยละ 85 ของผู้เรียน

ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน คุณภาพผ้เู รยี น แก้ปัญหาหรือพัฒนาด้าน มีผลการประเมินในด้าน

และการอบรมและพัฒนา - วเิ คราะห์ผู้เรยี นเป็นรายบุคคล คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ค ุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ อ ั น พึ ง

คณุ ลักษณะที่ดีของผู้เรียน - จดั กล่มุ นักเรยี น 3. นักเรียนได้รับการ ประสงค์และสมรรถนะ

- วางแผนพัฒนานักเรียนตามศักยภาพและ แก้ปัญหาหรือพัฒนาด้าน สำคัญตามหลักสูตรที่

ความแตกต่างระหว่างบุคคล สมารรถนะสำคญั ผ้เู รยี น สูงขึ้น เป็นไปตามค่า

เป้าหมายที่สถานศึกษา

กำหนด

1.7 การจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนา 1. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาใน 1. ร้อยละ 85 ของผู้เรียน

ผู้เรียน ด้านสมรรถนะสำคัญของ มีผลการประเมินในด้าน

- มีการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนา ผเู้ รยี น สมรรถนะสำคัญตาม

ผู้เรียน ให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต หลักสูตรสูงขึ้นเป็นไปตาม

ทักษะการทำงาน ทักษะการเรียนรู้และ ค่าเป้าหมายที่สถานศึกษา

นวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และ กำหนด

เทคโนโลยี

- จัดบรรยากาศห้องเรียนให้ได้มาตรฐาน

ห้องเรยี นคุณภาพ (Onsite)

- จัดกระบวนการเรยี นรู้ (Online-Onhand)

หนา้ 5

ลกั ษณะงานทป่ี ฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตวั ชว้ี ดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่ ท่ีจะดำเนนิ การพฒั นา ของงานตามข้อตกลงท่ี ที่จะเกดิ ข้ึนกับผเู้ รียน
ตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน คาดหวงั ให้เกดิ ขน้ึ กับผเู้ รียน ทีแ่ สดงให้เห็นถงึ การ
1. ดา้ นการจดั การเรยี นรู้ เปล่ียนแปลงไปในทางท่ีดี
ลักษณะงานทีเ่ สนอให้ (โปรดระบุ) (โปรดระบ)ุ ขน้ึ หรือมีการพัฒนา มาก
ครอบคลมุ ถึงการสรา้ งและ ขน้ึ หรือผลสัมฤทธสิ์ ูงข้ึน
หรอื การพฒั นาหลักสตู ร 1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของ 1. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาใน
การออกแบบการจดั การ ผเู้ รยี น ด้านคุณลักษณะนิสัยอันพึง (โปรดระบ)ุ
เรยี นรู้ การจัดกิจกรรมการ - มีการอบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมีคุณธรรม ประสงค์ 1. ร้อยละ 85 ของผู้เรียน
เรยี นรู้ การสร้างและหรอื จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ มีผลการประเมินในด้าน
พัฒนาส่ือ นวัตกรรม ค่านิยมความเป็นไทยท่ีดงี าม คุณลักษณะนิสัยอันพึง
เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ - จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ประสงค์ ตามหลักสูตร
การวัดและประเมนิ ผลการ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ สูงขึ้น เป็นไปตามค่า
จดั การเรยี นรู้ การศึกษา เป้าหมายที่สถานศึกษา
วเิ คราะห์ สังเคราะหเ์ พ่ือ 1. โรงเรยี นวิถพี ทุ ธ กำหนด
แก้ปญั หาหรอื พัฒนาการ 2. โรงเรียนคณุ ธรรม
เรียนรู้ การจัดบรรยากาศที่ 3. โรงเรียนสุจริต
สง่ เสรมิ และพฒั นาผเู้ รยี น
และการอบรมและพฒั นา
คณุ ลักษณะท่ดี ีของผเู้ รยี น

2. ดา้ นการสง่ เสรมิ และ 2.1 จดั ทำขอ้ มลู สารสนเทศของผเู้ รยี นและ 1. ผูเ้ รยี นใช้ขอ้ มูลสารสนเทศ 1. ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้
สนบั สนนุ การจดั การเรยี นรู้ รายวชิ า ตรวจสอบและรายงานผล ใช้ประโยชน์จาก
ลักษณะงานท่เี สนอให้ - มีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียน ระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน สารสนเทศในระบบดูแล
ครอบคลมุ ถงึ การจัดทำ และรายวิชา เพื่อใช้ในการสง่ เสริมสนบั สนนุ ผ่านระบบ School Health ช่วยเหลือผู้เรียนด้วย
ขอ้ มลู สารสนเทศของผ้เู รยี น การเรยี นรู้ และพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน hero ข อ ง ต น เ อ ง ห รื อ ร ะ บ บ School Health
และรายวชิ าการดำเนนิ การ - จัดทำรายงานข้อมูลสารสนเทศผู้เรียน โปรแกรมแบบ ปพ.5 hero หรือโปรแกรมแบบ
ตามระบบดูแลช่วยเหลือ รายบุคคลและข้อมูลรายวิชาที่สอนผ่าน ปพ.5
ผู้เรยี น การปฏบิ ตั งิ าน ระบบออนไลน์ Line Meetting หรอื Zoom
วิชาการและงานอื่นๆ ของ หรือใช้โปรแกรมแบบ ปพ.5
สถานศึกษา และการ
ประสานความรว่ มมอื กบั
ผปู้ กครอง ภาคเี ครอื ขา่ ย
และหรือสถานประกอบการ

หน้า 6

ลกั ษณะงานทปี่ ฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตวั ช้วี ดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่ ท่จี ะดำเนนิ การพฒั นา ของงานตามขอ้ ตกลงที่ ทจี่ ะเกิดขึน้ กบั ผเู้ รยี น
ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบการประเมนิ คาดหวังใหเ้ กิดข้ึน กับผเู้ รียน ท่แี สดงให้เหน็ ถึงการ
2. ดา้ นการสง่ เสรมิ และ เปลีย่ นแปลงไปในทางท่ดี ี
สนบั สนนุ การจดั การเรยี นรู้ (โปรดระบุ) (โปรดระบ)ุ ข้ึนหรือมีการพัฒนา มาก
ลกั ษณะงานทีเ่ สนอให้ ขึน้ หรอื ผลสัมฤทธสิ์ งู ขน้ึ
ครอบคลมุ ถงึ การจัดทำ 2.2 ดำเนนิ การตามระบบดแู ลชว่ ยเหลอื 1. นักเรียนและผู้ปกครองมี
ขอ้ มลู สารสนเทศของผู้เรยี น ผเู้ รยี น ส่วนร่วมกับครูผู้สอนในการ (โปรดระบุ)
และรายวิชาการดำเนนิ การ - การออกเยี่ยมบ้าน คัดกรองนักเรียน รวม แก้ไขปัญหานักเรียนในด้าน 1. นักเรียนได้รับการ
ตามระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ไปถึงผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการให้ การเรียนรู้และระบบดูแล สนับสนุนช่วยเหลือดูแล
ผู้เรยี น การปฏิบตั ิงาน ความช่วยเหลือตามระบบดูแลช่วยเหลือ ช่วยเหลือนกั เรยี นรายบุคคล ทั้งด้านวิชาการ ลักษณะ
วชิ าการและงานอืน่ ๆ ของ นักเรียน 2. นักเรียนได้รับการแก้ไข นิสัยอันพึงประสงค์ ร่วม
สถานศกึ ษา และการ - มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียน หรือพัฒนาทั้งด้านวิชาการ ทั้งสมรรถนะสำคัญผ้เู รียน
ประสานความร่วมมือกบั รายบุคคล และประสานความร่วมมือกับผู้มี ลักษณะนิสัยอันพึงประสงค์ 2. ครูผู้ปกครองและผู้ที่
ผปู้ กครอง ภาคเี ครอื ข่าย ส่วนเกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหา ร ว ม ท ั ้ ง ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ คั ญ เกี่ยวข้องร้อยละ 100
และหรือสถานประกอบการ ผเู้ รียน ผู้เรียน ส า ม า ร ถ ร ั บ รู้ ค ว า ม
- จัดทำช่องทางการเผยแพร่ผลการประเมนิ ก้าวหน้าพัฒนาการของ
ผู้เรียนต่อผู้ปกครองรายบุคคล เพื่อการ 1. ผู้เรียนมีความรู้ ตาม ผู้เรียนและสามารถ
วางแผนพฒั นาผูเ้ รยี นรว่ มกัน มาตรฐานและตวั ชว้ี ดั ช่วยเหลือนักเรียนได้อย่าง
2.3 ปฏบิ ตั งิ านวชิ าการ และงานอน่ื ๆ ของ 2. ผ้เู รียนไดร้ บั การพัฒนาท่ีดี ทวั่ ถงึ
สถานศกึ ษา ขนึ้
- ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่นๆ 1. ร้อยละ 85 ของผู้เรียน
ของสถานศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพของ 1. นักเรียนได้รับการ มีความรู้ผ่านเกณฑ์การ
การจดั การศึกษาของสถานศึกษา สนับสนุนช่วยเหลือดูแลท้ัง ประเมิน เป็นไปตาม
- ร่วมจัดกิจกรรมการพัฒนาหลักสูตร ด้านวิชาการ ลักษณะนิสัย ระเบยี บการวดั ผลประเมนิ
สถานศกึ ษา อันพึงประสงค์ รวมทั้ง ผลของสถานศึกษา
- ร่วมกิจกรรมการจัดทำแผนการประเมิน สมรรถสำคญั ผู้เรียน 2. ร้อยละ 85 ของผู้เรียน
ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) 2. นักเรียนได้รับการแก้ไข มีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้นเป็นไป
หรือพัฒนาทั้งด้านวิชาการ ตามค่าเป้าหมายของ
2.4 ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ลักษณะนิสัยอันพึงประสงค์ สถานศกึ ษากำหนด
ภาคีเครอื ขา่ ย และหรอื สถานประกบการ รวมทงั้ สมรรถสำคญั ผเู้ รยี น
- ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคี 1. ร้อยละ 85 ของผู้เรียน
เครือข่าย และหรือสถานประกอบการ เพ่ือ มีความรู้ผ่านเกณฑ์การ
ร่วมกันพัฒนาผเู้ รยี น ประเมนิ ของสถานศกึ ษา
- รว่ มกิจกรรมประชมุ ผปู้ กครอง 1 ครงั้ /ภาค 2. ร้อยละ 85 ของผู้เรียน
เรยี น มีผลการประเมินในด้าน
- จัดให้มีช่องทางในการติดต่อสื่อสารกับ ค ุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ อ ั น พึ ง
ผูป้ กครองและภาคีเครอื ขา่ ย ประสงค์ตามหลักสูตร
สูงขึ้น เป็นไปตามค่า
เป้าหมายที่สถานศึกษา
กำหนด

หน้า 7

ตวั ชี้วดั (Indicators)

ลกั ษณะงานทปี่ ฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ทจี่ ะเกิดขึ้นกบั ผเู้ รียน
ตามมาตรฐานตำแหนง่ ที่จะดำเนินการพฒั นา ของงานตามขอ้ ตกลงที่ ที่แสดงให้เห็นถงึ การ
ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบการประเมิน คาดหวงั ใหเ้ กิดขึ้น กบั ผเู้ รยี น เปล่ยี นแปลงไปในทางทด่ี ี
ขึ้นหรอื มกี ารพัฒนา มาก
(โปรดระบ)ุ (โปรดระบ)ุ ข้ึนหรอื ผลสัมฤทธส์ิ ูงข้ึน

(โปรดระบ)ุ

3. ด้านการพัฒนาตนเอง 3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและ 1 . น ั ก เ ร ี ย น ไ ด ้ ร ั บ ก า ร 1. ร้อยละ 85 ของผู้เรียน

และวิชาชีพ ลักษณะงานที่ ต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ความสามารถ แก้ปัญหาหรือพัฒนาในด้าน มีความรู้ผ่านเกณฑ์การ

เสนอให้ครอบคลุมถึงการ ทักษะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สุขศึกษา การเรียนรู้ ประเมินของสถานศึกษา

พัฒนาตนเองอย่างเป็น และพลศึกษาและภาษาอังกฤษเพื่อการ 2 . น ั ก เ ร ี ย น ไ ด ้ ร ั บ ก า ร 2. ร้อยละ 85 ของผู้เรียน

ระบบและต่อเนื่อง การมี สอ่ื สาร และการใช้เทคโนโลยี เพ่อื การศกึ ษา แก้ปัญหาหรือพัฒนาด้าน มีผลการประเมินในด้าน

ส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยน สมรรถนะวิชาชีพครูและความรอบรู้ใน คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ค ุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ อ ั น พึ ง

เรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อ เน้อื หาวิชาและวิธกี ารสอน 3. นักเรียนได้รับการ ประสงค์และสมรรถนะ

พฒั นาการจัดการเรยี นร้แู ละ - พัฒนาทักษะการใช้สุขศึกษาและพล แก้ปัญหาหรือพัฒนาด้าน ส ำ ค ั ญ ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร

การนำความรู้ความสามารถ ศึกษา สมรรถนะสำคญั ผู้เรยี น เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่

ทักษะที่ได้จากการพัฒนา - พัฒนาทกั ษะการใช้ภาษาอังกฤษ (CEFR) สถานศกึ ษากำหนด

ตนเองและวิชาชีพมาใช้ใน - พัฒนาการใชเ้ ทคโนโลยี

การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 3.2 การมีส่วนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทาง 1 . น ั ก เ ร ี ย น ไ ด ้ ร ั บ ก า ร 1. ร้อยละ 85 ของผู้เรียน

การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน วชิ าชีพ เพือ่ แก้ปญั หาและพฒั นาการจดั การ สนับสนุนช่วยเหลือดูแลท้ัง มีความรู้ผ่านเกณฑ์การ

และการพัฒนานวัตกรรม เรยี นรู้ ด้านวิชาการลักษณะนิสัยอัน ประเมนิ ของสถานศกึ ษา

และการจดั การเรียนรู้ - เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ท้ัง พึงประสงค์ รวมทั้งสมรรถ 2. ร้อยละ 85 ของผู้เรียน

ภายในและระหว่างสถานศึกษา สำคัญผูเ้ รียน มีผลการประเมินในด้าน

2. นักเรียนได้รับการแก้ไข ค ุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ อ ั น พึ ง

หรือพัฒนาทั้งด้านวิชาการ ประสงค์และสมรรถนะ

ลักษณะนิสัยอันพึงประสงค์ ส ำ ค ั ญ ต า ม ห ล ั ก สู ต ร

รวมทั้งสมรรถนะสำคัญ เป็นไปตามค่าเป้าหมายท่ี

ผูเ้ รียน สถานศึกษากำหนด

3.3 นำความรู้ ความสามารถ ทกั ษะทไ่ี ดจ้ าก 1. นำทักษะและองค์ความรู้ 1. ร้อยละ 85 ของผู้เรียน

การพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการ มาบูรณาการสอดแทรกใน มีผลสัมฤทธิ์รายวิชาสุข

พัฒนาการจัดการเรียนรู้ เนื้อหาสาระวิชาในการ ศึกษาและพลศึกษาใน

1. การเข้าร่วมการอบรม/การประชุม จัดการเรียนรู้หรือปรับ ระดบั คณุ ภาพ 3 ขน้ึ ไป

รูปแบบต่าง ๆ ทั้งแบบ On Line และแบบ ป ร ะ ย ุ ก ต ์ แ ล ะ พ ั ฒ น า

เข้าร่วมอบรม ที่สามารถนำความรู้มา นวัตกรรมการเรียนรู้ให้

พัฒนาการจัดการศึกษาให้ทันกับการ สอดคล้องกับความแตกต่าง

เปล่ยี นแปลงในสถานการณ์ปจั จุบนั ระหว่างบคุ คล

หน้า 8

ลกั ษณะงานทป่ี ฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตวั ชี้วดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่ ท่จี ะดำเนนิ การพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลงที่ ทีจ่ ะเกิดข้ึนกับผเู้ รียน
ตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมนิ คาดหวังให้เกดิ ข้ึน กับผเู้ รยี น ที่แสดงให้เหน็ ถึงการ
เปล่ียนแปลงไปในทางทดี่ ี
(โปรดระบุ) (โปรดระบ)ุ ขึน้ หรือมกี ารพฒั นา มาก
ข้ึนหรือผลสมั ฤทธสิ์ งู ข้นึ
3. ดา้ นการพฒั นาตนเอง 2. การทำกจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรูท้ าง 2. รว่ มกิจกรรมชุมชนการ
และวชิ าชพี ลักษณะงานท่ี วชิ าชพี กบั กลมุ่ สาระอ่ืน ๆ เพอ่ื แลกเปล่ียน เรียนรทู้ างวชิ าชีพ (โปรดระบุ)
เสนอให้ครอบคลมุ ถงึ การ เรียนรูป้ ญั หาการเรียนรขู้ องผเู้ รยี นในแต่ละ แลกเปลยี่ นปญั หาในการ 2. ร้อยละ 85 ของผเู้ รยี น
พฒั นาตนเองอย่างเปน็ ช้นั ทีร่ ับผดิ ชอบ จดั การเรยี นการสอนของ ไดร้ ับการพัฒนาทกั ษะ
ระบบและต่อเนือ่ ง การมี ผู้เรยี นที่หลากหลาย การคดิ วเิ คราะหจ์ าก
สว่ นรว่ มในการแลกเปลีย่ น นวัตกรรมทค่ี รูผสู้ อน
เรียนรูท้ างวิชาชพี เพอ่ื ประยุกต์ใช้ เช่น บทเรียน
พัฒนาการจดั การเรยี นร้แู ละ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การนำความรู้ความสามารถ (CAI) , E-Book เปน็ ต้น
ทกั ษะท่ไี ด้จากการพัฒนา
ตนเองและวิชาชีพมาใชใ้ น
การพัฒนาการจดั การเรียนรู้
การพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น
และการพฒั นานวตั กรรม
และการจัดการเรยี นรู้

หมายเหตุ
1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางานตามแบบ PA1 ให้เป็นไปตามบริบทและสภาพการจัดการเรียนรู้

ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเหน็ ชอบรว่ มกันระหว่างผูอ้ ำนวยการสถานศึกษาและข้าราชการครูผจู้ ดั ทำข้อตกลง
2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็นงานในหนา้ ทีค่ วามรับผิดชอบหลักทีส่ ง่ ผลโดยตรง

ต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผ้เู รยี น และใหน้ ำเสนอรายวิชาหลักทีท่ ำการสอน โดยเสนอในภาพรวมของรายวิชาหลักท่ีทำการ
สอนทุกระดับชน้ั ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลอื กรายวชิ าใดวิชาหน่ึงได้โดยจะต้องแสดงใหเ้ ห็นถึงการปฏิบัติงาน
ตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลงสามารถประเมินได้ตามแบบการ
ประเมนิ PA 2

3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน (Outcomes)
และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง ให้
คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริง สภาพการจัดการเรียนรู้ในบริบทของแต่ละ
สถานศึกษา และผลลัพธก์ ารเรียนรขู้ องผู้เรียนที่เกิดจากการพฒั นางานตามข้อตกลงเปน็ สำคญั โดยไม่เน้นการประเมินจาก
เอกสาร

หน้า 9

สว่ นท่ี 2 ขอ้ ตกลงในการพฒั นางานทเี่ ปน็ ประเดน็ ท้าทายในการพฒั นาผลลพั ธก์ ารเรยี นรูข้ องผเู้ รยี น
ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรูข้ องผู้เรียน ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่งครู

(ยังไม่มีวิทยฐานะ) ต้องแสดงให้เหน็ ถึงระดับการปฏบิ ัติท่ีคาดหวัง คือ การปรบั ประยุกต์ การจัดการเรียนรู้และการพฒั นา
คุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้ ประเด็นท้าทาย
อาจจะแสดงใหเ้ หน็ ถึงระดบั การปฏิบตั ทิ ่ีคาดหวงั ทีส่ ูงกว่าได)้

ประเดน็ ทา้ ทาย เรอ่ื ง การพฒั นาทกั ษะการดูแลสขุ ภาพทางเพศและอนามัยเจริญพนั ธ์ุโดยใช้บทเรียน
คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน (CAI) กบั เทคนิคการสอนแบบ Active Learning

1. สภาพปญั หาของผเู้ รยี นและการจดั การเรยี นรู้
สภาพปัญหาของผู้เรียนด้านสุขศึกษาและพลศึกษา ยังพบปัญหาอย่างมากในการคิด วิเคราะห์ และการ
แก้ปัญหาในการดูแลสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธ์ุ เนื่องจากนักเรียนไม่เข้าใจถึงการดูแลสุขภาพทางเพศและ
อนามัยเจริญพันธ์ุ ซึ่งแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเดิมยังไม่ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรยี นรู้เท่าที่ควร เนื่องมาจาก
บริบทของส่งิ แวดล้อม การเข้าถึงส่ือ/เทคโนโลยีของผู้เรียนค่อนขา้ งไม่ครอบคลุม จึงส่งผลใหก้ ารจดั การเรียนรู้ต่อผู้เรียนยัง
ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ดังนั้น เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะกระบวนการแนวคิดเชิงคำนวณที่ดีขึ้น ครูผู้สอนจึงใช้วิธีการ
ประยุกต์จากเทคโนโลยีด้วยแบบการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใน
รูปแบบ Active Learning ซึ่งนวัตกรรมที่นำมาปรับประยุกต์ใช้ในการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาการดูแล
สุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ ควรมีลักษณะเร้าความสนใจของผู้เรียนท้าทายความสามารถ เข้าใจง่าย มีภาพ
เสยี ง วิดีโอประกอบ วางรูปแบบสวยงามและสามารถฝกึ ได้ดว้ ยตนเอง อนั จะสง่ ผลใหน้ ักเรียนได้พฒั นาทกั ษะการแก้ปัญหา
การดูแลสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธ์ุ และประยุกต์ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย
สอน (CAI) มีความสำคญั และมีประโยชนต์ ่อการเรยี นการสอนวิชาทีเ่ ปน็ ทักษะมาก เพราะเป็นสื่อการสอนที่ช่วยลดภาระ
ของครู ช่วยให้นักเรียนได้ฝึกทักษะให้ดีขึ้น ส่งเสริมในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล ทำให้นักเรียนประสบผลสำเร็จ
ในทางจติ ใจมากขนึ้ ช่วยเสริมทกั ษะแนวคดิ เชิงคำนวณให้คงทน รวมท้งั เปน็ เคร่อื งมอื วัดผลการเรียนหลงั จากเรียนบทเรียน
แล้ว ตลอดจนนักเรียนสามารถทบทวนได้ด้วยตนเอง ทำให้ครูมองเห็นปัญหาต่าง ๆ ของนักเรียนได้ชัดเจน นักเรียน
สามารถฝกึ ฝนไดเ้ ต็มที่นอกเหนือจากที่เรียนในเวลาเรียนซ่ึงทำให้ผเู้ รยี นเห็นความก้าวหน้าของตนเอง เพอ่ื ให้กิจกรรมมีความ
หลากหลาย ส่งผลใหผ้ ้เู รียนเกดิ การเรียนรสู้ ามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ อกี ทงั้ ยังเปน็ การกระตุ้นให้ผ้เู รียนฝึกฝนทักษะได้ทุก
เวลาจากเทคโนโลยีซงึ่ ทำให้กิจกรรมนา่ สนใจมากยิ่งขึ้น

2. วธิ กี ารดำเนินการใหบ้ รรลผุ ล
พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) การดแู ลสขุ ภาพทางเพศและอนามัยเจรญิ พันธุ์ กบั รปู แบบ

การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ด้วยการให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ด้วยการ
ฝกึ ทักษะการดูแลสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธ์ุ ในรายวชิ า สุขศกึ ษาและพลศึกษา ครูผสู้ อนตดิ ตามความกา้ วหน้า
จากการแบบฝึกหัด และกระบวนการคิด วิเคราะห์ และนำไปสู่การแก้ปัญหา โดยใช้การดูแลสุขภาพทางเพศและอนามัย
เจริญพันธุ์ ซึ่งพิจารณาจากทักษะการแก้ปัญหาการดูแลสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ให้ถูกต้อง และในระหว่าง

หนา้ 10

การพัฒนา ครูผู้สอนนำปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้บริหาร ครูผู้สอนต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้
เพือ่ ทีจ่ ะหาแนวทางในการพัฒนาผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ ไปตามท่กี ำหนดไว้

ลักษณะของการจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning เปน็ ดังน้ี
1. เป็นการเรยี นการสอนท่ีพัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคดิ การแกป้ ัญหา และการนำความรู้

ไปประยุกต์ใช้
2. เป็นการเรียนการสอนท่เี ปิดโอกาสให้ผ้เู รียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้สูงสุด
3. ผเู้ รยี นสร้างองค์ความรู้และจดั กระบวนการเรยี นรู้ด้วยตนเอง
4. ผู้เรียนมีส่วนรว่ มในการเรยี นการสอนทง้ั ในด้านการสรา้ งองค์ความรู้ การสรา้ งปฏสิ ัมพันธ์รว่ มกนั

ร่วมมอื กันมากกว่าการแข่งขัน
5. ผู้เรียนเรียนรู้ความรบั ผิดชอบรว่ มกัน การมวี ินัยในการทำงาน และการแบง่ หนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบ
6. เป็นกระบวนการสร้างสถานการณใ์ หผ้ ูเ้ รียนอ่าน พูด ฟัง คิดอย่างลุ่มลึก ผูเ้ รียนจะเปน็ ผ้จู ัดระบบ

การเรียนรดู้ ้วยตนเอง
7. เป็นกิจกรรมการเรยี นการสอนทเ่ี น้นทักษะการคิดข้ันสงู
8. เป็นกจิ กรรมที่เปิดโอกาสให้ผเู้ รียนบรู ณาการข้อมูลข่าวสาร หรือสารสนเทศ และหลักการความคิด

รวบยอด
9. ผสู้ อนจะเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรยี นรู้ เพ่อื ให้ผ้เู รยี นเปน็ ผูป้ ฏิบตั ิดว้ ยตนเอง
10. ความรเู้ กิดจากประสบการณ์ การสรา้ งองคค์ วามรู้ และการสรปุ ทบทวนของผู้เรียน

3. ผลลพั ธก์ ารพฒั นาที่คาดหวงั
3.1 เชิงปรมิ าณ
ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านแพงพิทยาคม จำนวน 259 คน ร้อยละ 85 ที่เรียนใน
รายวชิ าสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา มีผลการพัฒนาทกั ษะการเขยี นทีถ่ ูกต้องและผลสมั ฤทธเิ์ พม่ิ สูงข้ึน
3.2 เชิงคุณภาพ
การปรับประยกุ ต์/เทคนิค/ส่ือการเรียนการสอนเพื่อพฒั นาทักษะการดูแลสุขภาพทางเพศและอนามัย
เจริญพันธุ์ กับเทคนิคการสอนแบบ Active Learning รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา โดยใช้แบบบทเรียนคอมพิวเตอร์
ช่วยสอน (CAI) ในการพฒั นาผู้เรียนใหเ้ กิดการเรียนรู้

ลงช่ือ
(นายคมกฤษดา ชัยมงคล)
ตำแหนง่ ครู คศ.1

ผ้จู ัดทำข้อตกลงในการพฒั นางาน
2 / พฤศจิกายน / 2564

หนา้ 11

ความเหน็ ของผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา
( ) เห็นชอบใหเ้ ปน็ ขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน
( ) ไมเ่ ห็นชอบใหเ้ ปน็ ข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมขี อ้ เสนอแนะเพ่ือนำไปแก้ไข และเสนอเพ่ือพิจารณาอีกคร้ัง ดงั นี้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ
(นายเอกชัย คะษาวงค์)

ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบ้านแพงพทิ ยาคม
........../............../...........


Click to View FlipBook Version