ทฤษฎีแรงจูงใจใน การป้องกันโรค เสนอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนันต์อิฟติคาร 04401231 สุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พฤติกรรมศาสตร์ พฤติกรรม หมายถึงการกระทำหรือการแสดงออกของสิ่งมีชีวิตทั้งที่ ปรากฏออกมาให้เห็นหรือสัมผัสได้และไม่สามารถเห็นหรือสัมผัสได้ เป็นสิ่งที่สิ่งมีชีวิตกระทำหรือปฏิกิริยาต่างๆ ซึ่งแสดงออกทั้งภายในและ ภายนอก
องค์ประกอบของพฤติกรรม 1.ด้านความรู้หรือพุทธิปัญญา เป็นพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับความรู้ความเข้าใจ ความคิด 2.พฤติกรรมที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของบุคคล มีรายส่วนประกอบย่อยอีก 3 ประการคือ ทัศนคติ/เจตคดิค่านิยม และความเชื่อ 3.ค้านการปฏิบัติหรือทักษะพิสัยคือ พฤติกรรมที่แสดงออกทางร่างกาย 4.ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของมนุษย์ 5.พัฒน์สุจำนงค์แบ่งองค์ประกอบที่มีผลต่อพฤติกรรมของคนเป็น 10 ประการ คือ กลุ่ม สังคม บุคคลที่เป็นแบบอย่าง สถานภาพ ความเจริญด้านเทคนิด กฎหมาย ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณีสภาพแวคล้อม ทัศนคติการเรียนรู้ในทางจิตวิทยาสมัยใหม่ 6.ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการและพฤติกรรมของมนุษย์
ทฤษฎีเเรงจูงใจเพื่อป้องกันโรค
จำแนกเป็น3 ระดับ คือ 1.ทฤษฎีหรือโมเดลระดับบุคคล 2.ทฤษฎีระดับระหว่างบุคคล 3.ทฤษฎีระดับชุมชน สังคม แนวคิดและทฤษฎีพฤติกรรมศาสตร์ แนวคิดการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมศาสตร์ ทฤษฎีพฤติกรรมศาสตร์ เป็นกระบวนการหนึ่งที่จะทำให้ เกิดการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพทั้งใน ลักษณะของการปลูกฝังการสร้างเสริม และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ของกลุ่มเป้าหมายให้มีพฤติกรรม สุขภาพที่เหมาะสมให้มากพอที่จะลด ปัญหาสาธารณสุขได้
แนวคิดเเละทฤษฎีเกี่ยวกับเเรงจูงใจเพื่อป้องกันโรค เริ่มต้นจากการนำ การกระตุ้นด้วยความกลัวมาใช้จะเน้นความสำคัญร่วมกันระหว่างแบบแผน ความเชื่อด้านสุขภาพ ซึ่งจะเป็นการเชื่อมโยงการเปลี่ยนแปลงทัศนคติและพฤติกรรม ทฤษฎี แรงจูงใจเพื่อป้องกันโรคนี้จะเน้นเกี่ยวกับการประเมินการรับรู้ที่มาจากการสื่อสารกลางการรับรู้ Roger ได้กำหนดตัวแปรที่ทำให้บุคคลเกิดความกลัว 3 ตัวแปร คือ ความรุนแรงของโรค การรับรู้ โอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรค ความคาดหวังในประสิทธิผลของการตอบสนอง
ความคาดหวังในประสิทธิภาพของ การตอบสนองตนเอง (Response efficacy) การประเมินควรวามรุนแรง ความคาดหวังที่มีโอกาสสัผัสกับ โรคหรือเผชิญปัญหา แรงงจูงใจเพื่อการ ป้องกันโรค ส่วนประกอบทีทำ ให้เกิดความกลัว สื่อกลางของกระบวนการรับรู้ การเปลี่ยนแปลง เจตคติ ความรุนแรงของโรค หรือสิ่งที่ กำลังคุกคาม (noxiousness) การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการ เป็นโรค (perceived probability) ความเชื่อในความสามารถของ การตอบสนองต่อการเผชิญ ปัญหา ความตั้งใจจะ ตอบสนอง ปัจจัยที่อาจส่งผลเพิ่มหรือลดของการตอบสนองอาจเป็นได้ทั้ง ปัจจัยภายในหรือภายนอกร่างกายบุคคล
ความรุนแรงของโรค ความรุนแรงของโรค(Noxiousness) การกระทำบางอย่างพฤติกรรมบางอย่างจะทำให้ บุคคลได้รับผลร้ายแรง โดยใช้สื่อเป็นสิ่งสำคัญในการเผยแพร่ข่าวสารที่คุกคามต่อ สุขภาพลักษณะข้อความที่ปรากฏ เช่น มีอันตรายถึงชีวิต หรือ บรรยายว่าไม่ทำให้เกิด อันตรายรุนแรง เช่น ระคายเคืองปอดเล็กน้อย
ความคาดหวังในประสิทธิผลการตอบสนอง การกระทำโดยการนำเสนอข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตน เพื่อลดโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคซึ่งเป็นการสื่อสารที่ทำให้บุคคลเกิดความกลัวเกี่ยวกับสุขภาพ การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบของการปรับหรือลดพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง จากผลการวิจัยพบว่าการที่บุคคล ทราบถึงผลที่เกิดจากการปฏิบัติตามคำแนะนำจะช่วยลดความรุนแรงของการเกิดโรคได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ตัวแปรนี้มีการทดสอบว่า จะมีผลต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือไม่ องค์ประกอบที่ทำให้เกิดความกลัวทั้ง 3 ตัวแปรดังกล่าวจะเห็นได้ว่าเป็นมติเดียวกับแบบแผนความ เชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model) ซึ่งประกอบด้วย • การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อจากการได้รับอันตรายต่อสุขภาพ (Perceived Susceptibility) • การรับรู้ในความรุนแรงของอันตรายที่เกิดขึ้นกับสุขภาพ(Perceived severity) • การรับรู้ต่อผลที่คาดว่าจะได้รับจากการปฏิบัติเพื่อป้องกันหรือลดอันตรายต่อสุขภาพ (Perceved Barriers)
ป้องกันโรคมีฐานมาจากแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ และทฤษฎีความคาดหวังใน ความสามารถของตนเอง โดยสรุปบุคคลจะปฏิบัติตามคำแนะนำนั้นเนื้อหาของข่าวสารควรจะมี ผลช่วยให้บุคคลปฏิบัติตามได้ความสำคัญของความคาดหวังของความสามารถของตนเองที่ นำมาใช้ในการป้องกันโรคจากกลุ่มที่มีความเชื่ออำนาจในตนและกลุ่มที่มีความเชื่ออำนาจนอก ตน จะเชื่อว่าสุขภาพของเขาจะขึ้นอยู่กับโอกาสเคราะห์กรรม โชคชะตาหรืออำนาจอื่นๆ และไม่ ตั้งใจจะแสวงหาข้อมูลข่าวสารหรือการปฏิบัติตนที่จะป้องกัน คาดหวังในความสามารถในตนเอง เป็นการทำนายที่มีผลสูงสุตต่อความตั้งใจที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทาง ประสิทธิภาพของการตอบสนองและความคาดหวังในความสามารถตนเองมาสรุปเป็น กระบวนการรับรู้2 แบบ คือ 1. การประเมินอันตรายต่อสุขภาพ (Threat appraisal) 2. การประเมินการเผชิญปัญหา (Coping appraisal) ความคาดหวังในความสามารถของตน
ประกอบด้วย 2 ลักษณะ 1.การรับรู้ความรุนแรงของโรค (Perceived severity) 2.การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค (Perceived susceptibility) การรับรู้นี้จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทัศนคติและพฤติกรรมมีโอกาสทำให้บุคคลเกิดการปรับตัว ตอบสนองหรือเกิดพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 2 แบบ ได้แก่มีความตั้งใจที่ปฏิบัติสม ่าเสมอและ มีการ แก้ไขปัญหาอย่างมีเหตุผล เช่น การรัดเข็มขัดนิรภัยทุกครั้ง การเลิกสูบบุหรี่เป็นต้น อาจเกิดการปรับตัวตอบสนองหรือพฤติกรรมแบบที่ไม่พึงประสงค์5 แบบ ได้แก่ ความสิ้นหวัง ความเชื่อ ในโชคชะตาการหลีกเลี่ยง ความเชื่อในศาสนา ปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่พึ่งประสงค์ก็คือความพอใจในตัวเอง (Intrinsic rewards)และความพึงพอใจจากภายนอก (Extrinsic rewards) เช่น การเป็นที่ยอมรับของสังคม (Steven and Roger, 1986) การประเมินอันตรายต่อสุขภาพ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความคาดหวังในผลลัพธ์ต่อการตอบสนอง และการรับรู้ความคาดหวังในความ สมารถของตนเองเป็นสิ่งสำคัญมากต่อความตั้งใจ ซึ่งความตั้งใจที่จะแก้ปัญหาถือว่าเป็นที่สำคัญที่สุด ที่จะต้อง พยายามสร้างให้เกิดขึ้นและรักษาความตั้งใจนั้นไว้ให้มั่นคงอย่างไรก็ดีความตั้งใจจะสูงที่สุดเมื่อบุคคลมีทั้ง การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคสูง การประเมินการเผชิญปัญหา
การรับรู้ความคาดหวังในความสามารถของตนสูง และการรับรู้ความคาดหวังในผลลัพธ์ของการ ตอบสนองสูงทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อป้องกันโรคนี้กระตุ้นให้ประชาชนสามารถส่งเสริมสุขภาพให้กับตนเอง ทราบถึงความรุนแรงการรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคที่จะเกิดขึ้นกับประชาชนนั้นเองและมีความ เชื่อว่าแรงจูงใจที่ป้องกันโรคนั้นจะทำให้ได้ดีเมื่อ 1.บุคคลเห็นว่าอันตรายต่อสุขภาพนั้นรุนแรง 2.บุคคลมีความรู้สึกไม่มั่นคงหรือเสี่ยงต่ออันตรายนั้นที่เกิดต่อบุคคล 3.เชื่อว่าการตอบสนองโดยการปรับตัวเป็นวิธีการที่สุดที่จะกำจัดอันตรายนั้น 4.บุคคลมีความเชื่อมั่นในตนเองว่าจะสามารถปรับตัวตอบสนอง หรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนั้นได้อย่าง สมบูรณ์และสามารถส่งเสริมสุขภาพได้ด้วยตนเอง 5.ผลดีจากการตอบสนองด้วยการปรับตัวแบบไม่พึงประสงค์นั้นมีน้อยอุปสรรคต่อการปรับตัวหรือ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนั้นต ่า -สรุป-
บทความวิจัย ผลการสร้างเสริมแรงจูงใจเพื่อการป้องกันโรคร่วมกับการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชากรวัยทำงานที่มีภาวะน ้าหนักเกิน อำเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร
บทวิจัยที่เกี่ยวข้อง สมบูรณ์วงศ์เครือศร , วรินท์มาศ เกษมทองมา , วุธิพงศ์ภักดีกุล ผลการสร้างเสริมแรงจูงใจเพื่อการป้องกันโรคร่วมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ประชากรวัยทำงานที่มีภาวะน ้าหนักเกิน อำเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร
การวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลการสร้างเสริมแรงจูงใจในการป้องกันโรคร่วมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชากร วัยทำงานที่มีภาวะน ้าหนักเกิน อำเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ระหว่างเดือน พฤษภาคม ถึงเดือน สิงหาคม 2561 กลุ่ม ตัวอย่างมีจำนวน 78 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับกิจกรรมสร้างเสริมแรงจูงใจในการป้องกันโรค ได้แก่ การชั่งน ้าหนักและส่วนสูง ประเมินค่าดัชนีมวลกาย คำนวณพลังงานในอาหารอย่างง่าย การฝึกสมาธิ ฝึกการออกกำลังกาย ฝึกการบันทึกกิจกรรมการควบคุม น ้าหนัก ฝึกบันทึกกราฟการเฝ้าระวังดัชนีมวลกาย บทคัดย่อ
ภาวะน ้าหนักเกิน (Overweight) และโรคอ้วน (Obesity)เป็นปัญหาระดับโลกที่หลายประเทศกำลัง เผชิญอยู่เนื่องจากส่งผลกระทบต่อสุขภาพสำหรับประเทศไทยเริ่มเห็นแนวโน้มชัดเจนในกลุ่มผู้หญิงไทยมากกว่า ผู้ชายเกือบเท่าตัว นอกจากนี้ยังเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด, โรคความดันโลหิต สูง, โรคเบาหวาน สาเหตุและปัจจัยการเกิดภาวะน ้าหนักเกินและโรคอ้วนมีหลายปัจจัย เช่นกรรมพันธุ์, การ รับประทานยาเพื่อรักษาโรคจิตใจและอารมณ์ ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าประชากรกลุ่มวัยทำงานเป็นกำลังสำคัญของ ครอบครัว โดยเฉพาะกลุ่มอายุ20-40ปีถ้าวัยนี้ประสบปัญหาสุขภาพ เจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆอาจส่งผลต่อคุณภาพชีวิต ของตนเองและครอบครัว สาเหตุหรือปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะน ้าหนักเกิน มี2ประเด็นหลัก (1) ปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้เช่นพันธุกรรม การทำงานของต่อมไร้ท่อผิดปกติเพศ,อายุ (2) ปัจจัยที่ควบคุมได้ เช่น ขาดการออกกำลังกายและการรับประทานอาหารที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ รู้จักป้องกันภัยทางสุขภาพที่มีพัฒนาการตามวิถีชีวิตและการสร้างเสริมให้ประชากรวัยทำงานรู้จักวิธีดูแลสุขภาพ ตนเองอย่างสม ่าเสมอ บทนำ
วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความรู้แรงจูงใจเพื่อการป้องกันโรค และพฤติกรรม ภายในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ก่อนและหลังการทดลอง เพื่อเปรียบเทียบค่าดัชนี มวลกายระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมก่อนและหลังการทดลอง
1.อุปกรณ์ในการที่ใช้ประเมินภาวะน ้าหนักเกิน ประกอบด้วย เครื่องชั่งน ้าหนักแบบสปริงและที่วัดส่วนสูง เครื่องคิดเลข 2.โปรแกรมมี่ใช้ดำเนินการทดลองกิจกรรมสร้างเสริมแรงจูงใจในการป้องกันโรคและเครื่องมือเก็บรวบรวม ข้อมูลแบบสอบถาม 3. แบบสอบถาม ข้อมูลทั่วไป แรงจูงใจในการป้องกันโรคและพฤติกรรมการควบคุมน ้าหนัก ที่มีการ ตรวจสอบความตรงของเนื้อหา ค่าดัชนีความเหมาะสม(IOC; Index of item object congruence) เท่ากับ 0.85 และตรวจสอบความ เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย
ขั้นตอนการดำเนินการวิจัย ขั้นตอนที่ 1 สัปดาห์ที่ 1 ประชุมชี้แจงการทำวิจัยในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมพร้อมเก็บข้อมูลตามแบบสอบถามก่อนการทดลอง ขั้นตอนที่ 2 สัปดาห์ที่ 2 การสร้างสัมพันธภาพ การชั่งน ้าหนักและวัดส่วนสูงก่อนและหลังทดลอง บันทึกการรับประทานอาหาร และ ออกกำลังกาย สัปดาห์ที่ 3 การแลกเปลี่ยนประสบกาาณ์ที่เกิดจากสถาวะน ้าหนักเกิน ดูสื่อวีดีทัศน์อันตรายของการบริโภคอาหาร สัปดาห์ที่ 4 บรรยายการบริโภคจากอาหารแบบจำลองอาหารแลกเปลี่ยน
สัปดาห์ที่ 5 ตัวเเบบลดน ้าหนักได้เล่าประสบการณ์ สัปดาห์ที่ 6 และ 7 ให้อาสาสมัครในหมู่บ้านติดตามพฤติกรรมอย่างสม ่าเสมอ สัปดาที่ 8 แลกเปลี่ยนประสบการณ์จากต้นแบบที่ลดน ้าหนักได้ตามเกณฑ์ปกติ สัปดาห์ที่ 9,10 และ 11 ให้อาสาสมัครในหมู่บ้านติดตามพฤติดกรรมอย่างสม ่าเสมอ ขั้นตอนที่ 3 สัปดาห์ที่ 12 ประชุมชี้แจงสิ้นสุดการทำวิจัยในกลุ่มทดลอง พร้อมเก็บข้อมูลตามแบบสอบถามหลังการทดลอง ขั้นตอนการดำเนินการวิจัย
การดำเนินงานวิจัยได้รับความเห็นชอบและการรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์(ส ว พ.มก.) เลขที่ COA61/006 จริยธรรมการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและเชิง อนุมานโดยใช้สถิติPaired t-test วิเคราะห์เปรียบเทียบและคะแนนเฉลี่ยภายในกลุ่มและใช้สถิติ Independent t-test เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม
วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและเชิงอนุมาน โดยใช้สถิติPaired t-test วิเคราะห์เปรียบเทียบและคะแนนเฉลี่ยภายในกลุ่มและใช้สถิติIndependent t-test เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูล
ลักษณะประชากรกลุ่มตัวอย่างกลุ่มทดลองพบว่าเป็นเพศหญิงทั้งหมดการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายร้อยละ 41.00 อาชีพเกษตรกรรมร้อยละ 59.0 โดย ร้อยละ 59.0 ไม่เคยลดน ้าหนักหลังทดลองดัชนีมวลกาย 18.5-24.9 (น ้าหนักปกติ) ร้อยละ 23.1 ในกลุ่มควบคุมพบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 66.7 ไม่เคยลดน ้าหนักร้อยละ 76.9 ดัชนีมวลกายหลังทดลอง 18.5-24.9กก./ตรม. (น ้าหนักปกติ)ร้อยละ 5.1 ผลการวิจัย
การศึกษาผลการสร้างเสริมแรงจูงใจเพื่อการป้องกันโรคร่วมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชากรวัยทำงานที่มีภาวะ น ้าหนักเกิดอำเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สรุปได้ดังนี้ สิ่งที่ค้นพบจากงานวิจัยนี้ 1.คุณลักษณะของประชากร เพศชาย เพศหญิงให้ความสนใจต่อสุขภาพมากกว่า 2.แรงจูงใจในการป้องกันโรค จะเห็นได้ว่า หลังการทดลอง มีคะแนนเฉลี่ย ความรู้การรับรู้ความรุนแรงของการเกิดโรค การ รับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค ความคาดหวังในความสามารถของตนเองมากกว่าก่อนการทดลอง 3.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหลังการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการรับประทานอาหาร การออกกำลัง กาย และการจัดการอารมณ์มีคะแนนเฉลี่ยมากกว่าก่อนการทดลอง เนื่องจากกลุ่มทดลองได้รับกิจกรรม ได้แก่ การชั่งน ้าหนัก และวัดส่วนสูง ฝึกคำนวณค่าดัชนีมวลกาย ประกอบกับ สถานการณ์สาเหตุอันตรายของภาวะน ้าหนักเกิน สื่อวีดีทัศน์อันตราย ของการบริโภค การฝึกสมาธิและการฝึกการออกกำลังกาย แลกเปลี่ยนประสบการณ์การควบคุมน ้าหนักของตนเองการบันทึก กิจกรรมการควบคุมน ้าหนักด้วยตนเอง 4.ดัชนีมวลกายหลังการทดลองพบว่า กลุ่มทดลองมีค่าดัชนีมวลกายต ่าลงกว่าก่อนการทดลอง -สรุปและอภิปรายผล-
ผลจากผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่ากิจกรรมการสร้างเสริมแรงจูงใจใน การป้องกันโรคและพฤติกรรมการควบคุมน ้าหนักดีขึ้น ส่งผลให้ดัชนีมวล กายลดลงและมีความเหมาะสม ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐาน นอกจากนี้ยังช่วย ลดผล กระทบต่อทางร่างกาย จิตใจ เศรษฐกิจ และรายได้ของครอบครัว
บทวิจัย ฉบับเต็ม
สมบูรณ์วงศ์เครือศร, วรินท์มาศ เกษมทองมา และวุธิพงศ์ภักดีกุล. 2563, ผลการสร้างเสริมแรงจูงใจเพื่อการป้องกันโรคร่วมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ประชากรวัยทำงานที่มีภาวะน ้าหนักเกิน อำเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร. Google Scholarhttps://scholar.google.com ค้นเมื่อ 04 มกราคม, 2567 อนันต์อิฟติคาร. (2565). เอกสารคำสอน สุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์: 1432/8 ถ.กำจัดภัย ต.ธาตุเชิงชุม อ.เมือง จ.สกลนคร: โรงพิมพ์อุดมทรัพย์การ พิมพ์. อ้างอิง
สมาชิก แนวคิดกับทฤษฎี 1.นางสาวณัฐชา 2.นางสาววนิศรา 3.นายสดุดี 4.นางสาวจิรารัตน์ 5.นางสาวจุฬาลักณ์ 6.นางสาวณัฏฐณิชา 7.นางสาวชนัดดา 8.นางสาววารุณี 9.นางสาวอาภาศิริ 10.นางสาวพลอยอนงค์ 6540400733 6540402077 6540402374 6540403224 6540403232 6540403299 6540403703 6540404883 6540404974 6540405609 แสงทอง พละ สุขหมั่น แสนวิเศษ โสภาพล พันธุบรรยงก์ สุคันธจันทร์ แสวงรัมย์ เสียงล ้า สมาวงษ์
สมาชิก 6540400352 6540400402 6540400428 6540400493 6540400774 6540401137 6540401285 6540401962 6540402481 6540405435 วรรณา ไทรสุวรรณ์ วรธงไชย ชิณสาร รักษา โพระกัน ไชยบุปผา ภักดี พันภักดี สีเสน บทความวิจัย 11. นางสาวจิราพร 12 นางสาวจุฬารัตน์ 13 นางสาวเจตสุภา 14 นางสาวชนิสรา 15. นางสาวณัฐธิดา 16. นายนันทกร 17. นางสาวปนัดดา 18. นางสาวรัศมี 19. นางสาวสุทธาศินีย์ 20. นางสาวธัญชนก
THANK YOU