คําแนะนาํ
การใชกัญชาทางการแพทย
Guidance on Cannabis for Medical Use
กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสขุ
3/2563ฉบบั ปรับปรงุ ครงั้ ท่ี
Download เอกสารในรูปแบบ PDF file
คาํ แนะนาํ
การใชก ัญชาทางการแพทย
Guidance on Cannabis for Medical Use
กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข ก
ฉบับปรบั ปรงุ ครัง้ ท่ี 3 (มกราคม 2563)
คาํ แนะนาํ การใชกญั ชาทางการแพทย
คํานาํ
ปจ จบุ นั การใชก ญั ชาทางการแพทยม คี วามกา วหนาและเปน พลวตั อยา งยงิ่ ซงึ่ อาจกอ ใหเ กดิ ความสบั สน
ในหมูบคุ ลากรสาธารณสุขพอสมควร กรมการแพทย ในฐานะกรมวิชาการท่มี ุง สงเสรมิ มาตรฐานการรกั ษาโดยใช
หลักการแพทยเชิงประจกั ษ (evidence-based medicine) จงึ ทําการทบทวนองคความรูตางๆ ท่ีเกี่ยวของและ
ดําเนนิ การจัดการอบรมหลักสูตรการใชกญั ชาทางการแพทย โดยมีคําแนะนาํ เลมนี้เปน เอกสารประกอบการอบรม
อน่งึ จากการทีก่ ารใชกัญชาทางการแพทยมคี วามเปน พลวตั อยางยงิ่ ดังนนั้ กรมการแพทย ยนิ ดีนอมรับคาํ แนะนาํ
ขอ เสนอจากทกุ ภาคสวนในการพฒั นาปรบั ปรงุ หลักสตู รและเอกสารคําแนะนําใน version ถัดไป
คาํ แนะนํานีเ้ ปน ฉบับปรบั ปรงุ ครง้ั ท่ี 3 ซึง่ ไดป รบั ปรุงและเพ่มิ เนอ้ื หาในสวนขอ บง ช้ีในการใชผลิตภัณฑ
กัญชาชนดิ THC เดน ขนาดยา และวิธบี รหิ ารยา รวมทงั้ เพ่มิ ขอ มูลคําแนะนําเพอ่ื ลดความเส่ียงจากการใชกัญชา
ดวยตนเอง (lower-risk cannabis use guidance) อยางกต็ าม กรมการแพทยย งั คงยดึ หลกั การในการทํางาน 3
ประการ คอื 1) ตองปลอดภัยตอ ผูป วย (do no harm) 2) ตองเปนประโยชนตอผูปวย (patient benefit) และ
3) ตอ งไมมผี ลประโยชนแอบแฝง (no hidden agenda)
ขอขอบคณุ ผูนพิ นธท กุ ทานท่กี รุณาสละเวลาในการคนควา รวบรวมประสบการณตางๆ จนสามารถ
เรยี บเรียงเอกสารคาํ แนะนําน้ไี ดสาํ เร็จลลุ วงดว ยดี
(นายสมศักด์ิ อรรฆศลิ ป)
อธิบดีกรมการแพทย
คาํ แนะนาํ การใชก ัญชาทางการแพทย ก
หลักการของคาํ แนะนาํ การใชก ัญชาทางการแพทย
คําแนะนําฉบับนเี้ ปน เคร่อื งมือในการใหการดแู ล รักษา ควบคมุ อาการของผูปวย
ที่ไดร ับการรักษาดวยวธิ ีมาตรฐานแลวไมไดผ ล โดยคํานึงถึงความปลอดภัย ประสิทธิผล
การเขา ถึงการรักษา เปน สาํ คัญ โดยหวังผลใหผูปวยมีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น คําแนะนําน้ี
มิใชขอบังคับของการปฏิบัติ ผูใชสามารถปฏิบัติตามดุลพินิจภายใตความสามารถ
ขอ จํากดั ตามภาวะวสิ ัย และพฤตกิ ารณทม่ี ีอยู
คาํ แนะนาํ การใชก ญั ชาทางการแพทย ข
สารบัญ หนา
คาํ นํา ก
หลักการของคําแนะนําการใชก ญั ชาทางการแพทย ข
สารบญั ค
บทนาํ 1
ขอบเขต 1
วตั ถปุ ระสงค 1
กลุมเปา หมาย 1
ขอ ตกลงเบอ้ื งตน 2
คาํ จาํ กัดความ 2
โรคและภาวะที่ใชผ ลิตภณั ฑกัญชาทางการแพทย 3
ผลิตภณั ฑก ญั ชาทางการแพทยไ ดประโยชน 3
ผลติ ภัณฑกญั ชาทางการแพทยนา จะไดประโยชน (ในการควบคมุ อาการ) 4
ผลติ ภัณฑก ัญชาทางการแพทยอาจไดประโยชน (ในอนาคต) 5
ขอ แนะนาํ กอ นตดั สนิ ใจใชผ ลติ ภณั ฑกญั ชาทางการแพทย 5
การวางแผนการรกั ษาดว ยผลติ ภัณฑกญั ชา 6
การเร่มิ ใชผลิตภัณฑกัญชาในทางการแพทย 7
7
การซักประวัติ 8
ขนาดยา และการบรหิ ารยา 10
ขอ หา มใชผลติ ภัณฑท่มี ี THC เปน สว นประกอบ 10
ขอ ควรระวงั อืน่ ๆ 10
ปฏกิ ริ ยิ าระหวา งยาของสารสาํ คญั ในกญั ชา 11
การรักษาพษิ จากการใชส ารสกดั กัญชา (Cannabis Intoxication Management) 16
เอกสารอางองิ 19
ภาคผนวก 1 แนวทางการใชยาสกดั จากกญั ชา (CBD-Enriched) ในผปู ว ยโรคลมชกั ทร่ี ักษายาก
24
และด้อื ยากนั ชักในเดก็
ภาคผนวก 2 คาํ แนะนาํ เพอื่ ลดความเสีย่ งจากการใชผลิตภณั ฑกัญชา: กรณผี ปู ว ยใชดว ยตนเอง 26
(Lower-risk cannabis use guidance)
ที่ปรกึ ษาคณะผูจ ัดทาํ คณะผจู ดั ทาํ ผูเช่ยี วชาญทบทวน ค
คาํ แนะนําการใชกญั ชาทางการแพทย
บทนํา
หลายประเทศทว่ั โลกไดมีการนาํ สารสกัดจากกญั ชามาใชเ พ่ือเปนยารักษาโรคเน่ืองจากมีการศกึ ษาวิจัย
สนับสนุนถงึ ประโยชน และโทษของกญั ชามากชน้ึ พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโทษ (ฉบับท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ จัด
กญั ชาเปน ยาเสพตดิ ใหโทษประเภทที่ ๕ แตอ นญุ าตใหใ ชกญั ชาเฉพาะในทางการแพทยเพื่อการดูแลรักษาผูปวย
และการศึกษาวจิ ัยได เน่อื งจากสารประกอบ cannabinoids ที่อยูในกัญชาสามารถใชในการรักษาโรคได โดยสาร
ท่ีออกฤทธ์ิหลักท่ีนํามาใชในทางการแพทย คือ delta-9-Tetrahydrocannabinol (THC) ท่ีออกฤทธิ์ตอจิต
ประสาท และ cannabidiol (CBD) ทไ่ี มมฤี ทธ์ิเสพตดิ สารประกอบ cannabinoids ออกฤทธิ์ผาน cannabinoid
receptor หลัก 2 ชนิด คือ CB1 receptor ซ่ึงพบมากในสมองและรางกาย มีความสัมพันธกับการตัดสินใจ
ความจํา ความเขาใจ อารมณ การรับรคู วามปวดและการเคลื่อนไหว สวน CB2 receptor พบท่ีระบบภูมิคุมกัน
และระบบประสาทสวนปลาย มา ม ทอนซิล ตอมไทมัส กระดกู ผิวหนัง และเลือด monocyte, macrophages,
B-cells และ T-cells(1) ในรางกายสามารถสรา ง endocannabinoid ซึ่งเปน cannabinoids โดยธรรมชาติ (ท่ีมี
การศึกษาสว นใหญ คือ anandamide และ arachidonoyl-glycerol (2-AG)) endocannabinoid ถูกสรางข้ึน
เพื่อกํากับการทํางานตางๆ ของรางกายโดยจะไปจับกับ CB1 และ CB2 receptor นอกจากนี้ การศึกษาตางๆ
พบวา endocannabinoids สงผลเกี่ยวของกบั การทํางานของรา งกาย อาทิ ความจาํ อารมณ ความอยากอาหาร
การนอนหลับ ความปวด การติดยา และการอกั เสบ รวมถงึ อาจมบี ทบาทในการปองกันทเี่ กีย่ วขอ งกบั การทํางาน
ของสมอง ระบบ metabolism ของรางกาย อาทิ lipolysis, glucose metabolism และ energy balance(1, 2)
การจดั ทาํ คาํ แนะนําการใชสารสกัดจากกัญชาทางการแพทย ผานกระบวนการสืบคนโดยใชคําสําคัญ
โดยรวมเพ่ือใหสืบคนไดกวางและไดขอมูลมากที่สุด เฉพาะขอมูลท่ีเปนภาษาไทยและอังกฤษเทานั้น กําหนด
ระยะเวลายอนหลัง 10 ป โดยสืบคนจากฐานขอ มูล Medline ผาน PubMed รวมถึงฐานขอมูล Cochrane
Library และขอ มลู จากผเู ช่ียวชาญ
ขอบเขต
คาํ แนะนาํ การใชผ ลิตภัณฑกญั ชาทางการแพทยฉ บบั น้ี จัดทาํ ขึ้นเพื่อใชกบั ผปู ว ยทไี่ ดรบั การรกั ษาดว ยวธิ ี
มาตรฐานแลว ไมส ามารถรักษา/ ควบคุมอาการของโรคได
วตั ถุประสงค
แพทย และทันตแพทยส ามารถสั่งใช และเภสัชกรสามารถจายผลิตภัณฑกัญชาทางการแพทยไดอยาง
เหมาะสม ทําใหผูปว ยไดรับการรักษา/ ควบคุมอาการของโรค และภาวะของโรคไดสงผลใหผูปวยมีคุณภาพชีวิต
ท่ีดีข้นึ
กลุมเปา หมาย
แพทย ทันตแพทย เภสชั กร พยาบาล และบคุ ลากรสาธารณสุขที่ปฏบิ ตั งิ านในสถานบรกิ ารสขุ ภาพทง้ั
ภาครัฐและเอกชน
คําแนะนําการใชกญั ชาทางการแพทย 1
ขอ ตกลงเบื้องตน
คําแนะนําน้ไี มไ ดแนะนาํ ใหใ ชผลิตภัณฑก ัญชาในการรักษา และ/ หรือควบคุมอาการของผูปวยเปน
การรักษาลําดบั แรก (first-line therapy) ในทกุ กรณี โดยเฉพาะผลิตภัณฑก ญั ชาทางการแพทยที่ยัง
ไมผานการรับรองตํารับ (unapproved products)(1) ยกเวนในกรณีท่ีไดรับขอ มูลทางการแพทย
และเปน ความประสงคของผปู ว ยและครอบครวั ตามสทิ ธิขนั้ พื้นฐาน
Unapproved products ตอ งปลอดภัยจากสารปนเปอ นตางๆ อาทิ สารโลหะหนกั ยาฆาแมลง ยา
ฆา เชอื้ รา และสารอนั ตรายอ่นื ๆ ในกรณีท่ีไมทราบอัตราสวนของ THC และ CBD ในแตละผลติ ภณั ฑ
การใชอ าจกระทาํ ไดโ ดยใชปรมิ าณท่นี อ ยทสี่ ุด และเพ่ิมขนาดทลี ะนอยโดยสงั เกตการตอบสนองและ
ผลขา งเคยี งที่ไมพงึ ประสงคท ี่อาจเกดิ ขนึ้
การใช unapproved products ตองคาํ นงึ ถึงความปลอดภัยและประสิทธิผลกอ นนํามาใช(3) รวมถงึ
ใหก ารดแู ล ติดตามผูป ว ยอยา งใกลช ิด
การใชผ ลติ ภัณฑกัญชาทางการแพทยควรจํากัดเฉพาะกรณีท่ีการรักษาดวยวิธีมาตรฐานตางๆ ไม
ไดผ ล/ หรืออาจเกิดผลขา งเคยี งท่ผี ูป วยไมสามารถทนได( 1)
การใชผ ลติ ภัณฑกญั ชาควรใชเพอ่ื เปนสว นเสรมิ หรอื ควบรวมกบั การรกั ษาตามมาตรฐาน
ผูส ่ังใชผ ลิตภณั กัญชาทางการแพทยต องเปนแพทย หรือทนั ตแพทยทผี่ า นการอบรมหลักสูตรการใช
กัญชาทางการแพทยท่ีกระทรวงสาธารณสุขใหการรับรอง และไดรับอนุญาตจากสํานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยาใหเ ปน ผสู ั่งใชผ ลติ ภัณฑกัญชาได
คําจํากัดความ
กญั ชาทางการแพทย หมายถึง สิง่ ที่ไดจากการสกัดพชื กญั ชา เพอื่ นาํ สารสกดั ทีไ่ ดมาใชทางการแพทย
และการวจิ ัย ไมไดหมายรวมถึงกัญชาที่ยังคงมีสภาพเปนพืช หรือสวนประกอบใดๆ ของพืชกัญชา
อาทิ ยอดดอก ใบ ลาํ ตน ราก เปนตน
ผลติ ภัณฑก ญั ชา หมายถึง รูปแบบ หรอื ลกั ษณะของสารสกัดจากกญั ชาท่ีผานการเตรียมเพือ่ นํามาใช
ทางการแพทยกบั ผูป วย อาทิ เม็ด สเปรสพนในชองปาก นาํ้ มนั หยดใตล ้ิน แทงเหน็บทวารหนัก และ
อื่นๆ
Unapproved products หมายถงึ ผลิตภัณฑกญั ชาทางการแพทยท ่ยี งั ไมผา นการข้ึนทะเบียนตํารับ
จากสาํ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา
คาํ แนะนาํ การใชก ัญชาทางการแพทย 2
โรคและภาวะท่ใี ชผ ลิตภณั ฑกัญชาทางการแพทย
ผลติ ภัณฑกัญชาทางการแพทยไ ดป ระโยชน
เนอื่ งจากมีหลกั ฐานทางวชิ าการที่มีคณุ ภาพสนับสนนุ ชดั เจน(4) ไดแ ก
1. ภาวะคลน่ื ไสอ าเจียนจากเคมบี าํ บดั (chemotherapy induced nausea and vomiting)(5, 6)
แพทยส ามารถใชผ ลติ ภณั ฑกญั ชาเพื่อรักษาภาวะคลน่ื ไสอ าเจียนจากเคมบี าํ บัดภายใตข อพจิ ารณา
ตอไปนี้
ไมแ นะนาํ ใชผ ลติ ภัณฑกัญชาเปนการรักษาเริ่มตน
แนะนาํ ใหป รกึ ษากบั ผปู ว ยถงึ ประโยชนแ ละความเสย่ี งของผลติ ภัณฑก ญั ชากอนใช
ใชผ ลิตภัณฑก ญั ชาเพ่อื รกั ษาอาการคลืน่ ไสจากเคมบี าํ บัดทร่ี กั ษาดว ยวธิ ีตา งๆ แลวไมไ ดผ ล
ไมแนะนาํ ใหใชในกรณีของภาวะคลนื่ ไสอ าเจียนท่ัวไป(7)
ไมแ นะนาํ ใหใชในกรณีของภาวะคลน่ื ไสอาเจียนในหญงิ ตั้งครรภ หรอื มีอาการแพท อ งรุนแรง(7)
แนะนาํ ใหใ ชผ ลิตภัณฑกญั ชาเปนการรกั ษาเสรมิ หรอื ควบรวมกบั การรกั ษาตามมาตรฐาน(8)
แนะนาํ ใหใ ชส ารสกัดกญั ชาชนิดอัตราสว น THC:CBD เปน 1:1 หรอื ใชส ารสกัดกญั ชาชนดิ
THC เดน(9) (ดูหวั ขอ ขนาดยาและวธิ บี ริหารยา)
2. โรคลมชกั ทร่ี กั ษายาก และโรคลมชกั ทีด่ ้ือตอ ยารักษา (intractable epilepsy)(10,11)
ผสู งั่ ใชค วรเปนแพทยผ เู ชีย่ วชาญดา นระบบประสาท และไดร บั การอบรมการใชสารสกัดจากกญั ชา
เพื่อการรักษาผูป ว ย(3)
ใชในโรคลมชกั ทร่ี ักษายากในเดก็ ไดแ ก Dravet และ Lennox-Gastaut Syndrome(10)
โรคลมชักที่ดอื้ ตอยารกั ษาตง้ั แต 2 ชนดิ ขนึ้ ไป(3,11) หากคาดวา จะเกิด drugs interaction อาจ
พิจารณาใชผ ลิตภณั ฑก ัญชาที่มี cannabidiol (CBD) สูง (ดูหัวขอขนาดยาและวธิ ีบรหิ ารยา)
แพทยผ ดู แู ลผปู ว ยโรคลมชักทเ่ี ขาเกณฑโ รคลมชกั ทรี่ ักษายาก ควรสงตอผปู ว ยไปยงั สถานบรกิ าร
สขุ ภาพระดับตตยิ ภูมเิ พอ่ื พบแพทยผเู ชี่ยวชาญเฉพาะทางระบบประสาท เพอ่ื ประเมนิ และใหก าร
รกั ษาตอไป ในกรณ(ี 3)
- ลมชกั ท่ียงั ควบคมุ ดว ยยาไมไ ด
- ผูปว ยเด็กท่มี อี ายุตาํ่ กวา 2 ป
- ผูปว ยลมชกั ทม่ี คี วามเสยี่ งหรอื ไมส ามารถทนตอ ผลขา งเคียงของการรกั ษาลมชกั ได
- มีความผิดปรกติทางจติ หรอื มีโรคจิตรวมดว ย
- มีขอสงสยั ในการวินจิ ฉยั ลกั ษณะลมชกั หรอื กลมุ อาการลมชกั
3. ภาวะกลา มเนอื้ หดเกร็ง (spasticity) ในผปู วยโรคปลอกประสาทเสอ่ื มแขง็ (multiple sclerosis)(12)
แพทยสามารถใชผลิตภัณฑกัญชาในกรณีท่ีรักษาภาวะกลามเนื้อหดเกร็งท่ีด้ือตอรักษาภายใต
ขอพิจารณาตอ ไปน(้ี 7)
ไมแนะนาํ ใหใ ชเ ปน ผลิตภณั ฑก ญั ชาเปน การรกั ษาเรมิ่ ตน
แนะนาํ ใหป รกึ ษากบั ผูปว ยถึงประโยชนแ ละความเสย่ี งของผลิตภัณฑก ัญชากอนใช
คาํ แนะนําการใชกญั ชาทางการแพทย 3
แนะนาํ ใหใชในกรณีทรี่ กั ษาดว ยวิธมี าตรฐานอยา งเหมาะสม (รวมถึงวิธที ีไ่ มใ ชย า) แลว ไมไ ดผ ล
แนะนาํ ใหใชส ารสกัดกญั ชาชนดิ อัตราสว น THC:CBD เปน 1:1 (ดูหวั ขอ ขนาดยาและวธิ บี ริหารยา)
4. ภาวะปวดประสาท (neuropathic pain)(8, 13)
แพทยส ามารถใชผ ลิตภัณฑกญั ชาในกรณีทร่ี กั ษาภาวะปวดประสาทที่ดอ้ื ตอการรกั ษาภายใต
ขอพจิ ารณาตอ ไปน(้ี 7)
ไมแนะนาํ ใหใชเปนผลติ ภัณฑกญั ชาเปนการรกั ษาเรม่ิ ตน
แนะนาํ ใหป รกึ ษากับผปู ว ยถึงประโยชนแ ละความเสย่ี งของผลิตภัณฑก ัญชาท่ีใช
แนะนาํ ใหใ ชใ นกรณีทท่ี ดลองใชย าบรรเทาอาการปวดอยา งสมเหตุผลแลว แตผปู ว ยยงั คงมี
อาการปวด
แนะนาํ ใหใชผ ลติ ภัณฑก ญั ชาเปนการรกั ษาเสริมหรอื ควบรวมกบั วิธมี าตรฐาน
แนะนาํ ใหใ ชส ารสกดั กญั ชาชนดิ อัตราสว น THC:CBD เปน 1:1 (ดหู วั ขอ ขนาดยาและวธิ บี ริหารยา)
5. ภาวะเบอื่ อาหารในผูปว ย AIDS ท่ีมีนาํ้ หนกั ตวั นอ ย(14,15)
อาจใชส ารสกัดกญั ชาชนิด THC เดนเพือ่ เพ่ิมความอยากรบั ประทานอาหารและทาํ ใหผ ปู ว ย
AIDS มนี ้ําหนักตวั เพิม่ ข้นึ ได
แนะนาํ ใหใ ชส ารสกดั กญั ชาชนดิ THC เดน โดยเรม่ิ ปริมาณนอยวันละ 2 ครง้ั กอ นอาหาร แลว
ปรบั เพิ่มขึน้ ทลี ะนอ ยตามดุลพินิจของแพทย (ดูหัวขอ ขนาดยาและวธิ ีบรหิ ารยา)
6. การเพิ่มคณุ ภาพชีวติ ในผูปว ยท่ีไดร บั การดแู ลแบบประคับประคอง หรอื ผูปว ยระยะสดุ ทา ยของชวี ติ
(end of life) ซึง่ เปน การตัดสินใจของผูรักษา มีขอ แนะนําดงั นี้(8)
ไมแ นะนาํ ใหใชเ ปนผลิตภณั ฑก ญั ชาเปนการรกั ษาเรม่ิ ตน
แนะนาํ ใหใชผ ลติ ภัณฑกญั ชาเปน การรกั ษาเสริมหรอื ควบรวมกับวิธกี ารรกั ษาตามมาตรฐาน
ผลติ ภัณฑก ัญชาทางการแพทยนาจะไดป ระโยชน (ในการควบคมุ อาการ)
ผลติ ภณั ฑก ญั ชาประเภทนี้มหี ลักฐานทางวิชาการที่มีคุณภาพสนับสนนุ มีจํานวนจาํ กดั (4) ซงึ่ ตอ งการขอ มลู
การศึกษาวจิ ยั เพอื่ สนับสนุนตอ ไป
อยา งไรกต็ าม ในกรณีท่ีผปู วยไดร บั การรักษาดว ยวิธีมาตรฐานแลวไมสามารถควบคุมอาการของโรคได
หากจะนําผลิตภัณฑก ัญชามาใชกบั ผูปวยเฉพาะราย(7) ปฏิญญาเฮลซิงกิของแพทยสมาคมโลก (ค.ศ.2013) ขอ
37(16) ระบุวามคี วามเปน ไปไดห ากไมมีวิธีการรักษาอน่ื ๆ หรอื มวี ิธกี ารรักษาแตไ มเกดิ ประสทิ ธิผล ภายหลังจากได
ปรึกษาหารือผเู ชย่ี วชาญและไดรับความยนิ ยอมจากผปู ว ยหรือญาติโดยชอบธรรมแลว แพทยอาจเลอื กวธิ กี ารทย่ี งั
ไมไดพิสจู น หากมีดุลยพินจิ วา วิธกี ารนน้ั ๆ อาจชวยชีวติ ผปู ว ย ฟน ฟูสุขภาพ หรือลดความทุกขทรมานของผปู ว ยได
วธิ ีการดังกลาวควรนําไปเปน วัตถุประสงคของการวิจัยโดยออกแบบใหประเมินความปลอดภัยและประสิทธิผล
ควบคูก ันไป รวมถึงตองบันทึกขอ มลู ผปู วยทกุ ราย และหากเหมาะสมควรเผยแพรใ หสาธารณะไดท ราบ
การใชผ ลิตภัณฑกัญชาเพื่อรักษาผูปวยเฉพาะรายและดําเนินการเก็บขอมูลวิจัยควบคูกันไป ซ่ึงอาจมี
รูปแบบการวิจยั ในลักษณะการวิจัยเชงิ สังเกตุ (observational study) และ/ หรือ การวจิ ัยจากสถานการณท่ีใช
รักษาผูปวยจรงิ (actual used research)
คาํ แนะนําการใชก ญั ชาทางการแพทย 4
โรคและภาวะของโรคในกลมุ น้ี อาทิ
1. โรคพารก นิ สนั
2. โรคอัลไซเมอร
3. โรควิตกกงั วลไปทั่ว (generalized anxiety disorders)
4. โรคปลอกประสาทอักเสบ (demyelinating diseases) อ่ืนๆ อาทิ neuromyelitis optica และ
autoimmune encephalitis
ผลติ ภัณฑกัญชาทางการแพทยอ าจไดป ระโยชน (ในอนาคต)
การใชกัญชารักษาโรคมะเร็ง มีความจําเปนตองศึกษาวิจัยถึงประสิทธิผลของกัญชาในหลอดทดลอง
ความปลอดภยั และประสทิ ธผิ ลในสัตวท ดลอง กอ นการศกึ ษาวิจยั ในคนเปนลาํ ดับตอ ไป เน่ืองจากในปจ จบุ นั ขอ มลู
หลักฐานทางวิชาการทสี่ นับสนนุ วากัญชามปี ระโยชนใ นการรกั ษาโรคมะเรง็ ชนดิ ตา งๆ ยงั มีไมเ พียงพอ แตสมควร
ไดรับการศึกษาวิเคราะหอยางละเอียด ดังน้ัน ผูปวยโรคมะเร็งจึงควรไดรับการรักษาตามวิธีมาตรฐานทาง
การแพทยในปจ จบุ ัน หากเลอื กใชเฉพาะผลิตภณั ฑกญั ชาในการรกั ษาโรคมะเรง็ แลว อาจทาํ ใหผปู ว ยเสยี โอกาสใน
การรักษามะเร็งท่ีมปี ระสิทธิผลดวยวธิ มี าตรฐานได
คําแนะนาํ การใชกัญชาทางการแพทย 5
ขอ แนะนํากอ นตัดสนิ ใจใชผลิตภณั ฑกญั ชาทางการแพทย(17)
1. ความสัมพนั ธร ะหวา งแพทยกบั ผูปวย (physician-patient relationship) เปน พนื้ ฐานในการใหก าร
ยอมรับการรักษาพยาบาล แพทยควรมั่นใจวามีความสัมพันธกับผูปวยดีเพียงพอกอนการใชผลิตภัณฑกัญชา
ผปู วยควรไดรับการตรวจทางการแพทยและบันทึกในเวชระเบียนผปู ว ย รวมถึงการประเมินผูปว ยวามีความเหมะ
สมทจี่ ะใชผ ลติ ภัณฑก ญั ชาหรอื ไม
2. การประเมินผูปวย (patient evaluation) ควรบันทึกขอมูลการตรวจทางการแพทย และรวบรวม
ขอ มูลประวตั ทิ ีเ่ ก่ยี วขอ งกบั อาการทางคลนิ กิ ของผูปว ย
3. การแจงใหทราบและตัดสินใจรวมกัน (informed and shared decision making) โดยใหขอมูล
รายละเอียดของการรักษาทไี่ ดร บั อยูในปจจุบนั ดา นประสิทธิผล ผลขางเคียงและคุณภาพชีวิต การใชผลิตภัณฑ
กัญชากบั ผูปวยควรเปนการตดั สินใจรวมกันระหวา งแพทยผ ูรกั ษาและผูปว ย แพทยควรอธบิ ายใหผ ปู วยเขาใจถงึ
ความเสยี่ งและประโยชนข องผลติ ภณั ฑก ญั ชา ความหลากหลายและมาตรฐานการเตรียมผลิตภัณฑกัญชา อาจทาํ
ใหผลท่เี กิดกบั ผปู ว ยมีความแตกตางกัน กรณที ี่ผูปวยไมสามารถตัดสินใจไดด ว ยตนเอง แพทยค วรแจง ใหญาตหิ รอื
ผูด แู ลทราบถงึ ความเสีย่ งและผลทคี่ าดวาจะไดร ับจากการใชผลิตภัณฑกัญชาซึ่งสงผลตอการวางแผนการรักษา
และการยนิ ยอมรกั ษา
4. ขอตกลงการรักษารวมกัน (treatment agreement) วัตถุประสงคและแผนการรักษาควรแจงให
ผูป ว ยทราบตงั้ แตแ รกและทบทวนอยางสมํา่ เสมอ รวมถงึ ความเหมาะสมในการเลอื กวิธีรักษาของแตล ะบุคคล
5. เงื่อนไขที่เหมาะสม (qualifying condition) ปจจุบันยังไมมีหลักฐานทางวิชาการดานประสิทธิผล
ของการใชผ ลิตภณั ฑก ญั ชาในทางการแพทยเพียงพอ การตัดสนิ ใจส่ังใชขึน้ อยูก ับความเชย่ี วชาญและประสบการณ
ของแพทยใ นประเดน็ ขอบงใช ความเหมาะสม และความปลอดภยั ของผูปว ยแตละคน
6. การติดตามอยา งตอเน่ืองและปรับแผนการรักษา (ongoing monitoring and adapting the
treatment plan) แพทยควรประเมินการตอบสนองของการใชผลิตภัณฑกัญชากับผูปวยอยางสม่ําเสมอ ทั้ง
สขุ ภาพในภาพรวมและผลลพั ธเฉพาะดาน รวมถึงผลขา งเคียงทอ่ี าจเกิดขนึ้
7. การใหคําปรึกษาและการสง ตอ (consultation and referral) ผูปวยที่มีประวัติการใชสารเสพติด
และปญหาโรคทางจิต จําเปนตองไดรับการประเมินและใหการรักษาเปนกรณีพิเศษ แพทยผูรักษาควรขอ
คาํ ปรึกษาหรอื สงตอผูป ว ยไปพบผูเช่ยี วชาญเฉพาะดาน
8. การบันทึกเวชระเบียน (medical records) การบนั ทึกขอมลู ผปู วยอยางเหมาะสมจะชวยสนับสนุน
การตดั สนิ ใจในการแนะนําการใชกัญชาเพอื่ วัตถุประสงคทางการแพทย การบันทึกในเวชระเบียนควรครบถวน
สมบรู ณ ซงึ่ อาจมีผลทางกฎหมาย ควรลงวันทแ่ี ละลายเซ็นกาํ กับไวในการบันทึกแตละครง้ั
ขอ มลู ทคี่ วรปรากฎในเวชระเบียน
ประวตั ิผปู ว ย การทบทวนปจ จัยเส่ยี งตา งๆ
ผลการรักษาทไี่ ดรับมากอน การประเมนิ ผูปว ย การวินจิ ฉยั และการใหการรักษา รวมถงึ ผลตรวจทาง
หอ งปฏิบตั ิการ
การใหค ําแนะนาํ ผปู ว ย รวมถึงการทาํ ความเขา ใจกบั ความเส่ียง ประโยชนที่ไดร บั ผลขางเคียง และ
ผลการรักษาท่ีอาจพบไดห ลากหลาย
คาํ แนะนาํ การใชกญั ชาทางการแพทย 6
ผลการประเมินผูปว ยอยา งตอ เนือ่ ง และการกํากบั ตดิ ตามผลท่เี กิดกับผปู ว ย
สําเนาการลงนามในขอตกลงรกั ษา รวมถึงคําแนะนาํ ในการดแู ลความปลอดภัย และไมน าํ ผลิตภณั ฑ
กัญชาไปใหผูอืน่
9. การมีผลประโยขนทับซอนของแพทย (physician conflicts of interest) แพทยผูส่ังใชผลิตภัณฑ
กญั ชาตอ งไมมีผลประโยชนทบั ซอ นท้ังทางตรง และทางออม
การวางแผนการรกั ษาดว ยผลติ ภัณฑกญั ชา(1)
แนะนาํ ใหใชผ ลติ ภณั ฑกญั ชาในการทดลองรกั ษาระยะสัน้ เพ่อื ประเมินประสทิ ธผิ ลในการรกั ษาผปู วย
แผนการรกั ษาควรมคี วามชดั เจน ในประเด็น ตอ ไปนี้
1. วางเปาหมายการรักษา การเริ่มและการหยุดใช และหารือรวมกับผูปวยใหชัดเจน ในประเด็นท่ี
เก่ยี วขอ งกบั อาการของผปู วยทีร่ บั การรักษาดว ยกัญชา อาทิ หยดุ เมือ่ อาการคลื่นไส/ อาเจียนลดลง อาการปวดดี
ขนึ้ ในกรณที ่ีสาเหตสุ ามารถกาํ จัดได เปนตน
2. บริหารจัดการโดยแพทย หรือทันตแพทยท่ีผานการอบรมหลักสูตรท่ีกระทรวงสาธารณสุขใหการ
รับรอง และไดรับอนญุ าตจากสํานกั งานคณะกรรมการอาหารและยาใหเ ปนผูสัง่ ใชผ ลิตภัณฑกัญชาได
3. มีกระบวนการจัดการความเส่ียง เชน การบริหารยาและความถขี่ องการจา ยยา โดยการจา ยยาเปน ราย
สปั ดาหห ากมขี อ สงสัยวา ผปู ว ยอาจเพิม่ ขนาดยาดว ยตนเอง
4. กํากบั ตดิ ตาม โดยการทบทวนทุกสัปดาห/ 2 สปั ดาห/ ทกุ เดอื น รวมถึงการตรวจทางหองปฏิบัติการ
การทบทวนโดยผเู ช่ยี วชาญ การตรวจอนื่ ๆ ตามความจาํ เปนโดยเฉพาะดา นการรกั ษา
5. ใหผปู ว ยลงนามยินยอม โดยไดรบั ทราบขอ มลู เกย่ี วกบั ผลติ ภณั ฑกญั ชาทใ่ี ชในการรกั ษา ผลขา งเคียงที่
อาจเกิดขน้ึ และเปา หมายของการรักษา รวมถึงการหยดุ เมื่อการรกั ษาไมไ ดป ระโยชน
6. ใหค าํ แนะนาํ ผูป ว ยวา ไมควรขบั ขีย่ านพาหนะ และทาํ งานกบั เครือ่ งจกั รกลเม่ือใชผลติ ภณั ฑก ัญชาทาง
การแพทย
การเร่ิมใชผ ลติ ภัณฑก ญั ชาในทางการแพทย(1)
เมอ่ื พิจารณาแลววาจาํ เปนตอ งใชผลิตภณั ฑก ญั ชากบั ผปู ว ย ผูส ่งั ใชค วรซักประวตั ิอยางละเอียดกอนเริ่ม
การสง่ั ใช ดังน้ี
การซักประวตั ิ
1. อาการสาํ คัญปจ จบุ ันทจ่ี ะใชผ ลติ ภัณฑก ญั ชามาใชในรักษา/ บรรเทาอาการ
2. ประวัติเจบ็ ปวยในปจ จุบนั โดยเฉพาะ
โรคหลอดเลือดหวั ใจ โรคตับ และโรคไต
การรกั ษาทีไ่ ดร ับมากอนแลว ไมไดผ ล (รวมถงึ ระยะเวลาท่รี กั ษา และเหตผุ ลท่ีหยุด)
3. ประวตั ิเจบ็ ปวยในอดีต
คําแนะนําการใชก ัญชาทางการแพทย 7
4. ประวัติเจ็บปว ยทางจิต และโรคทางจิตเวช โดยเฉพาะโรคจติ เภท (schizophrenia) และอาการทาง
จติ จากการไดรบั ยารักษาพารกินสนั ยารกั ษาสมองเสอ่ื ม (cholinesterase inhibitor)
5. พฤตกิ รรมเสยี่ งทสี่ ัมพนั ธก บั การติดสารเสพติด ผทู ่ีเคยใชห รอื ใชกัญชาในปจ จบุ นั อาจไมเ ปนขอ หา ม
แตค วรระมัดระวงั และจดั การความเสยี่ งของการเสพติด
การตดิ นิโคตินในบุหรี่
การตดิ แอลกอฮอร
การใชย าท่ีผิดกฎหมายมากอ น
6. ประวตั ิดา นสขุ ภาพของครอบครวั รวมสขุ ภาพจติ โดยเฉพาะโรคจิตเภท (schizophrenia)
7. ประวตั ทิ างสงั คม (การสนบั สนนุ จากสงั คมและครอบครวั ในการใชก ญั ชาในการรักษาโรคของผปู วย)
8. ตรวจรา งกายตามความเหมาะสม
9. ตรวจเพมิ่ เตมิ อ่ืนๆ ตามความจาํ เปน
10.ทบทวนการใชยา
ยาบางชนดิ ทผี่ ปู ว ยใชอาจมปี ฏิกริ ยิ ากบั ผลติ ภณั ฑก ัญชา
ความเส่ยี งของผลขา งเคียงตา งๆ จากการใชผ ลิตภัณฑก ญั ชา
หมายเหตุ ขอ 4, 5 และ 6 อาจพจิ ารณาใช non-psychoactive cannabis preparation
ขนาดยา และการบริหารยา(1)
1. ไมมีขนาดยาเร่มิ ตน ทแี่ นนอนในผลิตภัณฑกัญชาแตละชนิด ขนาดยาท่ีเหมาะสมข้ึนกับลักษณะของ
ผปู วยแตล ะคนและปรับตามแตละผลติ ภัณฑ โดยเรม่ิ ตนขนาดตํา่ และปรบั เพิ่มขนาดชา ๆ จนไดขนาดยาเหมาะสม
ท่ใี หผ ลการรักษาสงู สดุ และเกิดผลขา งเคยี งตํา่ สดุ ขนาดยาในระดับตํา่ มโี อกาสเกดิ ผลขางเคยี งนอย
2. ผูที่เร่ิมตนรักษา และไดรับผลิตภัณฑกัญชาเปนคร้ังแรกควรเริ่มตนที่ขนาดต่ํามากๆ หากเกิดผล
ขางเคยี ง และควรปฏบิ ัติดงั นี้
2.1 ปรบั ลดขนาดยา เม่อื พบอาการ
มึนเวยี นศรี ษะ (dizziness)
เสียความสมดลุ (loss of co-ordination)
หวั ใจเตนชา (bradycardia)
ความดนั โลหิตผิดปรกติ (abnormal pressure)
2.2 หยุดใชทันที เมื่อพบอาการ
สับสน (disorientation)
กระวนกระวาย (agitation)
วติ กกังวล (anxiety)
ประสาทหลอน (hallucination)
โรคจิต (psychosis)
3. การใหสารสกัดจากกัญชาในคร้ังแรกควรใหเวลากอนนอนและมีผูดูแลใกลชิด เน่ืองจากอาจเกิด
ผลขางเคยี งได
คําแนะนาํ การใชกญั ชาทางการแพทย 8
4. เนอื่ งจากยังไมม ีขอ มลู การใชส ารสกดั กญั ชาในรปู น้ํามัน หากเทียบเคยี งกับการใช
4.1 สารสกดั กญั ชาทม่ี ี cannabidiol (CBD) สงู ขอ มลู ของการวิจยั คลินกิ ของ epidiolex® (CBD ใน
ลักษณะนํา้ มนั ) แนะใหใ ช CBD ขนาด 5-20 mg ตอ kg ซงึ่ เปนขนาดยาสําหรับเด็ก กอนเร่ิมรักษาควรตรวจการ
ทํางานของตับ (liver function test) เปนขอมูลเบื้องตน ภายหลังเร่ิมตนใหการรักษา 2 สัปดาห และทุก 2
สัปดาหภ ายหลงั เพ่มิ ปริมาณที่ใชใ นแตล ะครง้ั (3) เนอ่ื งจาก CBD จะเพิม่ ระดับของยาหลายชนิดรวมถึงยากันชักเม่ือ
ใชร วมกับ CBD ซงึ่ พบอุบัติการณข องตับอักเสบสูงขึน้ ดังนั้น เมื่อเริม่ คมุ อาการชกั ของผูปวยไดแลว ควรลดขนาด
ยาอ่นื ๆ ที่ใชล ง
4.2 สารสกดั กัญชาท่ขี ึน้ ทะเบยี น Sativex® (nabiximol) ในรปู สเปรย ซงึ่ มีสดั สว นโดยประมาณของ
THC:CBD = 1:1 แนะนําใหใช 1 สเปรย (THC 2.7 mg และ CBD 2.5 mg) ตอวัน และเพ่ิมปริมาณการใชได
สูงสดุ 12 สเปรยต อวนั (THC 32.4 mg และ CBD 30 mg)
4.3 ยา dronabinol (marinol®) เปน THC สังเคราะหใ นรูปแคปซลู
4.3.1 การศึกษาวจิ ยั ในผปู ว ย AIDS พบวา ขนาดทเ่ี ริม่ ใชไ ดผ ลในการเพ่ิมความอยากอาหารและ
นํ้าหนักตัว คือ 5 mg ตอวัน โดยแบง ใหก อ นอาหารวันละ 2 ครงั้ ปริมาณยา dronibinol สงู สดุ ตอวนั เปน 10 mg
(5 mg วนั ละ 2 ครงั้ กอ นอาหาร)(18) เมื่อเขาสูรางกายจะเกิด first-pass metabolism เหลือปริมาณ THC รอย
ละ 10-20(19) ท่ีอยใู นระบบไหลเวยี น (ประมาณ 2 mg ของ THC ตอวัน)
4.3.2 ผูปวยที่มีอาการคลื่นไสอาเจียนจากเคมีบําบัดในระดับปานกลางถึงรุนแรง ยา
dronabinol ลดอาการคลื่นไสอาเจียนลงไดไมตางจาก odansetron(9) โดยใช dronabinol ขนาด 5 mg/m2
ในชว ง 1-3 ช่ัวโมงกอ นไดรบั ยาเคมีบาํ บัด และใหท ุก 2-4 ช่ัวโมงภายหลังใหเคมีบําบัด โดยภาพรวมจะเปน 4-6
dose ตอวนั (18)
สารสกัดกญั ชาขององคการเภสชั กรรมชนิด THC เดน ทใ่ี ชหยดใตล ิ้น (ไมเกดิ first-pass metabolism)
จะมปี รมิ าณ THC 0.5 mg ตอ หยด โดยแนะนําดงั นี้
ใชป ริมาณ 0.5-1 mg/ วัน หรือ 1-2 หยดตอวัน ปริมาณสูงสุด 4 หยดตอวัน หรือตามดุลยพินิจ
ของแพทย กรณีเพม่ิ ความอยากอาหารและนํ้าหนักตัวในผปู วย AIDS อยา งไรก็ตาม สารสกดั กญั ชา
ชนิด THC เดน อาจเกิด อันตรกิริยาระหวางยา (drug interaction) กับยาตานไวรัสได ดังนั้น
แพทยจ งึ ควรทราบขอ มลู หรอื ปรึกษาแพทยผูจา ยยาตา นไวรัสกอนสั่งใช
ใชป ริมาณ 0.5-1 mg/m2 หรอื 1-2 หยด/m2 ตอ ครั้ง (พ้ืนทผ่ี วิ ของรางกาย 1 ตารางเมตร) หรือ
ตามดุลยพินิจของแพทย เม่อื ใชลดอาการคล่นื ไสอาเจียนจากเคมีบาํ บัดชนดิ ปานกลางถงึ รนุ แรง
ทั้งน้ี ใหปรับลดขนาดยาลงเม่ือผูปวยมีภาวะหัวใจเตนชา (bradycardia) หรือ หัวใจเตนเร็ว
(tachycardia) รวมถงึ เหตกุ ารณไ มพ ึงประสงคอ นื่ ๆ
5. ผสู ง่ั ใชต องเฝา ระวังและตดิ ตามความปลอดภยั ของการใชสารสกดั กญั ชา และเก็บรวบรวมขอมูลของ
ขนาดยาทใ่ี ชโดยเฉพาะเมอ่ื ใชใ นผสู ูงอายุ และผทู มี่ อี ายนุ อย
คําแนะนําการใชก ญั ชาทางการแพทย 9
ขอหามใชผ ลิตภัณฑท มี่ ี THC เปน สวนประกอบ(1)
1. ผทู ี่มีประวตั แิ พผ ลิตภณั ฑท ไ่ี ดจากการสกดั กัญชา ซ่ึงอาจเกิดจากสวนประกอบอนื่ ๆ และ/ หรือสารที่
เปน ตวั ทําละลาย (solvent) ท่ใี ชในการสกัด
2. ผูที่มีอาการรุนแรงของ unstable cardio-pulmonary disease (angina, peripheral vascular
disease, cerebrovascular disease และ arrhythmia) หรือ มปี จ จยั เส่ียงของโรคหลอดเลอื ดหวั ใจ
3. ผูท่ีเปนโรคจิตมากอน หรือ มีอาการของโรคอารมณแปรปรวน (concurrent active mood
disorder) หรอื โรควติ กกังวล (anxiety disorder)
4. หลกี เลย่ี งการใชในสตรีมีครรภ สตรีทีใ่ หน มบตุ ร รวมถงึ สตรวี ัยเจรญิ พันธทุ ี่ไมไดค ุมกําเนิด หรือสตรีท่ี
วางแผนจะตงั้ ครรภเ น่ืองจากมีรายงานการศกึ ษาพบวามที ารกคลอดกอ นกําหนด ทารกนาํ้ หนักตัวนอ ย รวมถงึ พบ
cannabinoids ในนํ้านมแมได
ขอควรระวงั อ่ืนๆ(1)
1. การสั่งใชผลิตภัณฑกัญชาท่ีมี THC เปนสวนประกอบในผูปวยท่ีมีอายุต่ํากวา 25 ป เน่ืองจาก
ผลขา งเคียงทเ่ี กิดข้นึ สงผลตอ สมองที่กาํ ลงั พฒั นาได ดงั น้นั ผสู ่งั ใชควรวิเคราะหค วามเสยี่ งท่อี าจเกดิ ขนึ้ กอ นการสง่ั
ใชผลติ ภณั ฑจากกัญชา
2. ผูทเ่ี ปน โรคตบั
3. ผูป ว ยที่ติดสารเสพติด รวมถงึ นิโคติน หรอื เปนผดู ่มื สุราอยางหนัก
4. ผูใชย าอ่นื ๆ โดยเฉพาะยากลุม opioids และยากลอมประสาท อาทิ benzodiazepines
5. ผปู ว ยเด็กและผปู วยสูงอายุ เนอ่ื งจากยังไมมีขอมลู ทางวิชาการมากเพียงพอในสองกลุมนี้ กระบวนการ
metabolism ของผูสงู อายจุ ะชา กวา จงึ ดเู หมือนวา มีการตอบสนองตอ กัญชาไดส ูงกวา ดังนน้ั การใชจ งึ ควรเริม่ ตน
ในปรมิ าณทน่ี อ ยและปรับเพ่ิมขึ้นชาๆ
หมายเหตุ ขอ 3 และ 4 อาจพจิ ารณาใช non-psychoactive cannabis preparation
ปฏกิ ริ ยิ าระหวา งยาของสารสาํ คัญในกญั ชา(20,21)
1. ยาอ่ืนทส่ี งผลใหร ะดบั ยาในเลอื ดของ THC และ CBD เปลยี่ นแปลง
เนื่องจากสาร THC และ CBD ถกู metabolized โดย cytochrome P450 (cyp) หลายชนดิ ดังน้ี
- THC ถูก metabolized โดย CYP2C9, CYP2C19 และ CYP3A4
- CBD ถูก metabolized โดย CYP2C19 และ CYP3A4 เปนสวนใหญ และถกู metabolized
สวนนอ ยโดย CYP1A1, CYP1A2, CYP2C9 และ CYP2D6
ดังนน้ั การใช THC และ CBD รวมกับยาอ่ืนท่ีมผี ลยบั ยัง้ CYPP450 โดยเฉพาะ CYP2C19 และ CYP3A4
เชน fluoxitine อาจมีผลทาํ ใหระดบั THC และ CBD ในเลือดสงู ขึ้นจนเกดิ อาการขา งเคียงได
ในทางตรงกนั ขาม ถา ใช THC และ CBD รวมกบั ยาที่มฤี ทธิเ์ ปน enzyme induces เชน rifampicin,
carbamazepine จะทาํ ใหร ะดบั THC และ CBD ในเลือดลดลง
2. THC และ CBD มีฤทธเิ์ ปลย่ี นแปลงระดบั ยาอื่น
คาํ แนะนาํ การใชก ญั ชาทางการแพทย 10
เน่อื งจาก THC และ CBD มีผลเปน ทั้ง enzyme inducer และ enzyme inhibitor ดังน้ี
- THC มีผลเหน่ยี วนาํ CYP1A2
- THC มผี ลยบั ย้ัง CYP2C9, CYP2D6 และ CYP3A4 ซึง่ อาจสงผลใหย าอื่นทถี่ ูก metabolized
ดว ย CYP เหลา นี้ จะมรี ะดบั ยาสงู ข้นึ เชน warfarin (ถูก metabolized ดวย CYP2C9) มีผลให
INR สงู ขึ้นได
- CBD มี ผ ล ยั บ ย้ั ง CYP1A1, CYP1A2, CYP1B1, CYP2B6, CYP2C19, CYP3A4 แ ล ะ
CYP2C9 อยางแรง ดังนั้น การใช CBD รวมกับยาอ่ืนท่ีถูก metabolized ดวย CYP เหลาน้ี
ตวั อยางเชน warfarin, clobazam (ถูก metabolized ดวย CYP3A4 และ CYP2C19), ยา
กลุม fluoroquinolones (ถูก metabolized ดวย CYP1A2), ยากลุม dihydropyridines (ถูก
metabolized ดวย CYP3A4) จะมีระดับยาสูงข้นึ ซ่ึงอาจเกิดอาการขา งเคียงได
ดงั นนั้ การใชก ัญชาทางการแพทย ตองระวงั ปฏิกิรยิ าระหวา งยากบั ยาอ่นื ที่ผปู ว ยใชอยกู อ นดว ย เพอ่ื
ความปลอดภยั ของผปู ว ย
การรกั ษาพษิ จากการใชสารสกัดกัญชา (Cannabis Intoxication Management)
การใชสารสกดั กัญชาท่ีมีขนาดสงู ทาํ ใหเ กดิ ผลเสียตอ รา งกาย โดยเฉพาะ THC มฤี ทธต์ิ านอาการปวดและ
ลดอาการคลื่นไสอาเจียนผูท่ีใชสารสกัดกัญชาที่มี THC ในขนาดสูงตอเน่ืองกันเปนเวลานานอาจทําใหเกิด
tolerance และตองเพิม่ ปริมาณการใชมากขึน้ ซึง่ เปน สาเหตุของการเสพติดไดใ นที่สดุ
CBD ไมม ีฤทธ์เิ สพติดและตา นฤทธ์เิ มาเคลม้ิ ของ THC อยา งไรก็ตาม CBD สามารถกระตุนใหเกิดอาการ
คล่ืนไสอาเจียนได ดังน้ัน ผูปว ยท่ีใชสาร THC เพื่อลดอาการคลื่นไสอาเจียน หากไดรับสารสกัดกัญชาชนิดที่มี
CBD สูงจะทําใหม ีอาการคลนื่ ไสอาเจยี นเพ่มิ ขึ้นได พษิ ที่เกิดจากการใชก ัญชามดี ังนี้
1) พษิ เฉียบพลนั จากการใชกญั ชา (Acute Toxicity)
อาการไมพึงประสงคจากการใชส ารสกัดกัญชา ขึน้ อยกู บั ปจ จัยตางๆ อาทิ ปริมาณที่ไดรับตอคร้ัง (unit
dose) ความทน (tolerance) ของผูใ ช วิธีการนาํ เขาสูรางกาย (การใชก ัญชาที่ไมถ กู วิธอี าจทําใหเ กิด overdose)
วิธกี ารใชก ัญชาเขา สูร างกาย(22) เชน
ชนดิ สดู (inhalation) ระยะเวลาออกฤทธเ์ิ ร็ว ถึงระดับสงู สดุ ภายในเวลา 15-30 นาที มรี ะยะเวลาคง
อยูป ระมาณ 3-4 ชั่วโมง
ชนดิ รับประทาน เร่มิ ออกฤทธ์ิประมาณ 30 นาที เน่อื งจากมี first pass metabolismที่ตับ
ชนิดหยดใตล ิ้น (sublingual drop) สารสกดั กัญชาออกฤทธเ์ิ ร็วประมาณ 15 นาที (ไมผา น first pass
metabolism)
เม่ือรางกายไดรับ THC ในปริมาณมาก THC จะไปจับกับ CB1 receptor ท่ี basal ganglion ทําให
dopamine ที่ synapse ลดลงและ GABA เพ่ิมขึ้น สง ผลตอตอ การเปลยี่ นแปลงทา ทาง และเสียการควบคุมการ
ทํางานของกลามเน้ือ (impair movement) ในขณะเดียวกัน brain reward system ที่ mesolimbic จะมี
ปริมาณของ dopamine เพิ่มข้ึนและ GABA ลดลง สงผลทําใหเกิดอาการเคล้ิม (euphoria). ประสาทหลอน
(hallucination) และติดยา (addiction)(23-25)
คําแนะนาํ การใชก ัญชาทางการแพทย 11
THC มี dose response และความเส่ียงในการเกิดอาการทางสมอง ไดแก การเปล่ียนแปลงของสติ
(alteration of conscious), ความสนใจ (attention), สมาธิ (concentration), ความจําระยะสั้น (short-term
memory), การทํางานของสมอง (executive functioning)
2) พิษของกัญชาตอ ระบบประสาทสว นกลาง (Central Nervous System)
ผูปว ยจะมีอาการตา งๆ(26,27) ไดแ ก
เคลมิ้ (euphoria)
ตระหนก (panic)
กระสบั กระสา ย (agitation)
อารมณแ ปรปรวน (mood alterations)
การรบั รผู ดิ ปรกติ (alterations of perception)
ขาดการยงั ย้งั ทางสงั คม (loss of social inhibition)
ความสามารถของสมองและการตัดสนิ ใจเสยี ไป (impairment of cognition and judgment)
กดระบบประสาทสวนกลาง (CNS depression)ทําใหเกดิ โคมา ในเด็ก
กดการหายใจ (respiratory depression) ในเดก็
กลา มเนอ้ื ทาํ งานไมป ระสานกัน (muscle incoordination)
การเคลอื่ นไหวแบบกระตกุ (myoclonic jerking)
เดนิ เซ (ataxia)
พูดไมชัด (slurred speech)
มีความเสยี่ งในการเกิดบาดเจบ็ ทาํ รา ยตนเอง และอบุ ัติเหต(ุ28-30)
- อุบัติเหตจุ ราจร (traffic accident)
- กระโดดตึก (jump from height)
- ฆา ตวั ตายดว ยการแขวนคอ (suicidal hanging)
ผูเสพหรือใชสารสกัดกัญชาบางคนอาจมีภาวะทางจิตซอนอยู THC ทําใหเกิดภาวะขาดการยับย้ัง
(disinhibition) สง ผลใหเ กิด psychotic break และเปน โรคจิต (psychosis) หรือ โรคจิตเภท (schizophrenia)
ได ซ่งึ ในคนทว่ั ไปอาจเกิดเพยี งภาวะเคลม้ิ (euphoria) เทา นัน้
การจดั การกบั พษิ ของกัญชาตอระบบประสาท
1. สังเกตอาการผปู ว ยในทท่ี ส่ี งบและปลอดภยั
2. ระวงั พลัดตกหกลม เนอ่ื งจากผปู ว ยมี impair movement ได
3. ปอ งกันผูปว ยทาํ อันตรายตอตนเอง อาทิ ผกู คอตาย กระโดดตึก เปน ตน
4. ตรวจระดบั นาํ้ ตาลในเลือด เนื่องจากผปู ว ยทม่ี ีอาการคลืน่ ไสอ าเจียน และใชส ารสกัดกญั ชาเพื่อลด
อาการคล่ืนไส หากหกลม และไมส ามารถลกุ ขนึ้ ไดเ ปน เวลานานๆ อาจทาํ ใหร ะดับนาํ้ ตาลในเลอื ดตา่ํ ได
5. วดั ความดนั โลหิต
6. ตรวจคลื่นไฟฟา หวั ใจ
7. ใหก ารรักษาตามอาการ
คําแนะนาํ การใชก ัญชาทางการแพทย 12
7.1 ผูปวยท่ีมีลักษณะหลับลึกหายใจไมได อาจตองใสทอชวยหายใจกรณีผูปวยโคมาหรือหยุด
หายใจ โดยเฉพาะผูปวยเด็กที่ไดสารสกัดกัญชาเกินขนาด (overdose) จะมีโอกาสเกิด
respiratory failure จากการกดการหายใจ หรอื กลามเนอื้ หายใจทํางานไมป ระสานกนั ได
7.2 อาการหวั ใจเตน เร็วผิดปรกติ (tachycardia) แนะนาํ ใหว ดั ความดนั โลหติ ใหส ารนา้ํ ทางหลอด
เลือดดาํ (IV fluid) และตรวจคลืน่ ไฟฟา หวั ใจ (EKG) แลว แกไ ขตามผล EKG ทีไ่ ด
8. ให benzodiazepine ในผูปว ยทม่ี ีอาการกระสบั กระสา ย วนุ วาย หรือมภี าวะวิตกกงั วล
9. คัดกรองภาวะแทรกซอ น
3) พษิ ของกญั ชาตอ ระบบหวั ใจและหลอดเลอื ด
3.1 ผลเฉียบพลนั ตอ หวั ใจและหลอดเลอื ด (Acute Cardiovascular Effect)(31,32) ไดแก
Vasodilation
THC และ CBD จะไปกระตุนท่ี TRPA-1 (transient receptor potential ankyrin type-1) และ
TRPV-1 (transient receptor potential vanilloid type-1) ซึ่งปน calciumchannel receptors ทําใหเกิด
vasodilation
Tachycardia
กญั ชาชนิดสูบ (smoke cannabis) ทําใหอ ัตราการเตน ของหวั ใจเพิ่มขึน้ ไดร อ ยละ 20-100 เปนเวลา
2-3 ชั่วโมง มี sympathetic outflow เพ่ิมขน้ึ เน่อื งจาก sympathetictone เพ่มิ และ parasympathetictone
ลดลง เกิดภาวะ reflex tachycardia หากมี tachycardia มากอาจทาํ ใหเ กิดเสน เลอื ดหวั ใจตีบได
อาการหนา มืด / หมดสติเมือ่ ลกุ ยืน (orthostatic syncope)
3.2 ผลเรอื้ รงั ตอ หวั ใจและหลอดเลอื ด (Chronic Cardiovascular Effect)(31,33,34)
Vasospasm
การใชก ญั ชาเปน เวลานานจะทาํ ใหเ กดิ tolerance ของ vasodilation เปน เวลานาน vessel tone
จะเปลี่ยนเปนvasospasm ตามมาเนื่องจากblood vessel มีการลดลงของ receptor (downregulation)
TRPA-1 และ TRPV-1 ทาํ ใหเส่ยี งทีจ่ ะเกิด vascular insufficiency สงผลใหเ สน เลือดปลายมอื -เทาไมดี เสน เลือด
หัวใจตบี ได
หัวใจเตน ชาลง (slower heart rate)
มรี ายงานการเกดิ heart blockในกรณที ใ่ี ชก ญั ชาขนาดสูงและเกดิ tolerance เปน เวลานานๆทําให
หัวใจเตน ชาลงได รวมถึงการทาํ งานของ sympathetic จะลดลง และ parasympathetic ทํางานเพม่ิ ขึ้น
3.3 กลา มเนอื้ หวั ใจขาดเลอื ด (Myocardial Ischemia)(31,35,36) ซง่ึ รายงานพบความเสี่ยงในการ
เกดิ กลา มเนอ้ื หวั ใจตาย (MI) 4.8 เทาภายใน 60 นาทภี ายหลงั การเสพกญั ชา(37)
การไดร ับพษิ จากกญั ชาเฉยี บพลนั (acute exposure) อตั ราการเตนของหัวใจ และการทํางาน
ของ sympathetic เพมิ่ ขึ้นสงผลตอการเพม่ิ cardiac workload และ O2 demand
การไดรับพิษจากกัญชาเร้อื รัง (chronic exposure) สงผลใหเ กดิ vasospasm ของ coronary artery
เนอ่ื งจาก downregulation ของ TRPA-1 และ TRPV-1
กระตุนการทํางานของเกร็ดเลือด (activate platelet) ทําใหเ กิด clot ได
คําแนะนําการใชกญั ชาทางการแพทย 13
3.4 ผลอืน่ ๆ ตอหวั ใจและหลอดเลอื ด
หัวใจเตนผิดจังหวะ (cardiac arrhythmia)พบatrial fibrillation (AF), ventricular
tachycardia (VF) ได
ภาวะหัวใจลมเหลว (congestive heart failure) เนื่องจาก cardiac workload เพิ่มข้ึนทําให
เกดิ high output heart failure
โรคหลอดเลือดแดงสว นปลาย (peripheral artery disease)
4) กลุม อาการหลอดเลอื ดสมองหดชวั่ คราว (Reversible Cerebral Vasoconstrictive
Syndrome; RCVS)(38,39)
RCVS เกิดขึ้นโดยไมทราบสาเหตุ (idiopathic) รอยละ 40 จากกัญชาเปนตัวกระตุนใหเกิดรอยละ 32
จากสารท่ีทาํ ใหหลอดเลอื ดตีบอืน่ ๆ (cocaine, ergots, nicotine) การวนิ จิ ฉยั ยนื ยนั ดว ยการตรวจ CTA หรือ MRI
การใชก ญั ชาทม่ี ี THC เปนเวลานานๆ มีโอกาสเกิด transient cerebral vasospasm ของเสนเลือด
สมองสงผลใหเ กดิ cerebral ischemia ผปู ว ยจะมาดว ยอาการปวดศีรษะรุนแรงมาก (thunderclap headache)
ในลกั ษณะเปนๆ หายๆ มรี ายงานพบ seizure, TIA, stroke, neurodeficit, คลน่ื ไสอ าเจยี นได
ภาวะแทรกซอนอ่ืนๆ ไดแก subarachnoid hemorrhage (SAH), intracranial hemorrhage และ
เสยี ชีวิต
ผูป ว ยจะมีอาการจะดขี น้ึ ภายใน 1-3 เดอื น
การรกั ษา Reversible Cerebral Vasoconstrictive Syndrome (RCVS)
หยุดใช THC และตวั กระตุนใหเกดิ อาการ ไดแ ก เลกิ บุหรี่ หยุดใชยา ergots เปนตน
ใหยาแกป วดทเ่ี หมาะสม หากมีอาการปวดศีรษะเปนๆ หายๆ
ใหยา calcium channel blocker ชนิดกิน (nimodipine, nifedipine, verapamil) เพ่ือให
vessel tone มี dilate ซ่ึงจะชว ยบรรเทาอาการปวดศีรษะได
กรณผี ปู วยท่ีมีอาการรุนแรง อาจตองพจิ ารณาทาํ intra-arterial vasodilators และ balloon
angioplasty ซงึ่ ผลสาํ เรจ็ ของการรักษาไมแ นน อน
ใหคาํ แนะนาํ หากมีอาการของ TIA (transient ischemic attack) , subarachnoid hemorrhage,
หรอื stroke ใหน ําสง เขา โรงพยาบาลทันที
อาการอาเจียนรนุ แรงจากกญั ชา
(Cannabinoid Hyperemesis Syndrome; CHS)(40,41)
CHS เปนอาการคลื่นไสอ าเจยี นท่ีรนุ แรง ในผใู ช THC มาเปนเวลานาน (รอยละ 68 ของรายงานผูป ว ยใช
มากกวา 2 ป) และใชถ ่มี ากกวา 20 ครงั้ ตอ เดอื น อาการนไ้ี มค อ ยตอบสนองตอยาแกคล่ืนไสอาเจียน จะทุเลาลง
เม่ือไดอาบนาํ้ อนุ เมื่อเปน แลว หายชา ใชเวลา 2-3 สปั ดาห
กลไกการเกิดยังไมทราบแนชัด คาดวานาจะเกิดจาก downregulation ของ CB1 receptor ทําใหเกิด
คลืน่ ไสอ าเจียน (ปรกติ THC จะกระตุน CB1 receptor ทําใหหายคล่ืนไส) หรอื เกิดจากการเปล่ียนแปลง CB1
คาํ แนะนาํ การใชก ัญชาทางการแพทย 14
receptor downstream effect หาก THC ไดรับมากเกินไปจะไปกระตุน CB1 receptorที่ GI tract ทําใหเกิด
bowel movement และ dilate splanchnic vasculature สงผลใหเกิด epigastric pain, colicky pain หรือ
อาจเกิดจาก upregulation ของ TRPV-1 หรอื สารอ่นื ๆ สง ผลทาํ ใหเกิดอาการคลน่ื ไสอ าเจียน
THC ที่รับเขาไปในรางกายจํานวนมากจะไปจับกับ CB1 receptor ที่ระบบทางเดินอาหาร (GI tract)
ดงั นน้ั เมื่อผูปวยอาบนาํ้ อุนจะทาํ ใหเ สนเลอื ดบรเิ วณผิวหนังขยายตัว THC จะเคล่ือนไปอยูบริเวณผิวหนัง ทําให
อาการปวดทอ ง คล่ืนไสอ าเจยี นลดลง
ภาวะแทรกซอ นจาก Cannabinoid Hyperemesis Syndrome
Dehydration
Electrolyte imbalance
Esophageal rupture
Cardiac arrhythmia
Precipitate diabetic ketoacidosis
การรักษา Cannabinoid Hyperemesis Syndrome (CHS)
1. หยุดใช THC ผูปว ยจะมอี าการดขี ึ้นในอีก 2-3 สปั ดาห
2. แกภ าวะขาดนา้ํ (dehydration)และเกลอื แรท ี่ไมส มดลุ (electrolyte imbalance)
3. ใหอ าบนา้ํ อนุ ตามความรอ นทผี่ ูป ว ยสามารถทนได แตต อ งใหส ารนา้ํ ทางเลือดดาํ (IV fluid)กอนเพ่อื
ปองกัน syncope หรอื ภาวะ dehydrate
4. ให benzodiazepine ทางหลอดเลอื ดดาํ เพื่อทาํ ใหผ ปู วยหลับและลดคลน่ื ไส
5. ใหย าตา นอาการทางจิตทางหลอดเลอื ดดาํ เชน haloperidol เพม่ิ เตมิ จากการให benzodiazepine
ในกรณีที่ผปู ว ยมี EKG ปรกติ
6. ใช capsaicin cream (0.025-0.1%) ทาํ ใหเ สนเลอื ดทบี่ รเิ วณผวิ หนงั ขยายตัว (vasodilate) ทําให
THC มาอยทู ่บี ริเวณผวิ หนงั (ใชในประเทศทม่ี ีภมู ิอากาศหนาว)
………………………………………………
คําแนะนาํ การใชกัญชาทางการแพทย 15
เอกสารอา งอิง
1. Queensland Health. Clinical guidance: for the use of medicinal cannabis products in Queensland 2018
[cited 12 March 2019]. Available from:
https://www.health.qld.gov.au/__data/assets/pdf_file/0023/634163/med-cannabis-clinical-guide.pdf.
2. Deapartment of Health. Clinical guidance on cannabis for medical use [cited 19 March 2019]. Available
from: https://health.gov.ie/wp-content/uploads/2018/07/Clinical-guidance-on-cannabis-for-medical-use.pdf.
3. British Paediatric Neurology Association. Guidance on the use of cannabis‐based products for medicinal
use in children and young people with epilepsy 2018 [cited 31 March 2019]. Available from:
https://www.bpna.org.uk/userfiles/BPNA_CBPM_Guidance_Oct2018.pdf.
4. MacCallum CA, Rosso EB. Practical considrations in medical cannabis administration and dosing. Eur J
Intern Med 2018;49:12-9.
5. Whiting PF, Wolff RF, Deshpande S, Di Nisio M, Duffy S, Hernandez AV, et al. Cannabinoids for Medical
Use: A Systematic Review and Meta-analysis. JAMA 2015;313(24):2456-73.
6. Smith LA, Azariah F, Lavender VT, Stoner NS, Bettiol S. Cannabinoids for nausea and vomiting in adults
with cancer receiving chemotherapy. The Cochrane database of systematic reviews
2015;12(11):CD009464.
7. Allan GM, Ramji J, Perry D, Ton J, Beahm NP, Crisp N, et al. Simplified guideline for prescribing medical
cannabinoids in primary care. Can Fam Physician 2018;64(2):111-20.
8. Toward Optimized Practice. PEER simplified guideline: medical cannabis clinical practice guideline 2018
[cited 15 March 2019]. Available from:
http://www.topalbertadoctors.org/download/2238/Medical%20Cannabinoid%20CPG.pdf?_20180320184543.
9. Meiri E, Jhangiani H, Vredenburgh JJ, Barbato LM, Carter FJ, Yang HM, et al. Efficacy of dronabinol alone
and in combination with ondansetron versus ondansetron alone for delayed chemotherapy-induced
nausea and vomiting. Curr Med Res Opin 2007;23(3):533-43.
10. Devinsky O, Cross JH, Laux L, Marsh E, Miller I, Nabbout R, et al. Trial of cannabidiol for drug-resistant
seizures in the Dravet Syndrome. New Engl J Med 2017;376(21):2011-20.
11. Devinsky O, Marsh E, Friedman D, Thiele E, Laux L, Sullivan J, et al. Cannabidiol in patients with
treatment-resistant epilepsy: an open-label interventional trial. Lancet Neurol 2016;15(3):270-8.
12. Zajicek J, Fox P, Sanders H, Wright D, Vickery J, Nunn A, et al. Cannabinoids for treatment of spasticity
and other symptoms related to multiple sclerosis (CAMS study): multicentre randomised placebo-
controlled trial. Lancet 2003;362(9395):1517-26.
13. Nugent SM, Morasco BJ, O'Neil ME, Freeman M, Low A, Kondo K, et al. The effects of cannabis among
adults with chronic pain and an overview of general harms: a systematic review. Ann Intern Med
2017;167(5):319-31.
14. Mücke M, Weier M, Carter C, Copeland J, Degenhardt L, Cuhls H, et al. Systematic review and meta-
analysis of cannabinoids in palliative medicine. J Cachexia Sarcopenia Muscle 2018;9(2):220-34.
15. Abrams DI, Hilton JF, Leiser RJ, Shade SB, Elbeik TA, Aweeka FT, et al. Short-term effects of
cannabinoids in patients with HIV-1 infection: a randomized, placebo-controlled clinical trial. Ann Intern
Med 2003;139(4):258-66.
16. World Medical Association. World Medical Association Declaration of Helsinki: ethical principles for
medical research involving human subjects. JAMA 2013;310(20):2191-4.
คําแนะนาํ การใชกญั ชาทางการแพทย 16
17. Department of Consumer Affair. Guideline for the recommendation of cannabis for medical purposes
2018 [cited 13 April 2019]. Available from:
https://www.mbc.ca.gov/Publications/guidelines_cannabis_recommendation.pdf.
18. MARINOL® safely and effectively. [Cited 31 December 2019]. Available from:
https://www.accessdata.fda.gov/drugsatfda_docs/label/2017/018651s029lbl.pdf.
19. dronabinol (Rx). [Cited 31 December 2019]. Available from:
https://reference.medscape.com/drug/marinol-syndros-dronabinol-342047.
20. Lucas CJ, GaleHis P, Schneider J. The pharmacokinetics and the pharmacodynamics of cannabinoids. Br.
J Clin Pharmacol 2018;84:2477-82.
21. Alsherbiny MA, Li CG. Medicinal Cannabis-Potential drug interactions. Medicines 2019;6:3;doi:
10.3390/medicines6010003.
22. Grotenhermen F. Pharmacokinetics and pharmacodynamics of cannabinoids. Clin Pharmacokinet.
2003;42(4):327-60.
23. Sidló Z, Reggio PH, Rice ME. Inhibition of striatal dopamine release by CB1 receptor activation requires
nonsynaptic communication involving GABA, H2O2, and KATP channels. Neurochem Int. 2008 Jan; 52(1-
2): 80–88.
24. Sperlágh B, Windisch K, Andó RD, Sylvester Vizi E. Neurochemical evidence that stimulation of CB1
cannabinoid receptors on GABAergic nerve terminals activates the dopaminergic reward system by
increasing dopamine release in the rat nucleus accumbens. Neurochem Int. 2009 Jun;54(7):452-7.
25. García C, Palomo-Garo C, Gómez-Gálvez Y, Fernández-Ruiz J. Cannabinoid-dopamine interactions in the
physiology and physiopathology of the basal ganglia. Br J Pharmacol. 2016 Jul;173(13):2069-79.
26. Cao D, Srisuma S, Bronstein AC, Hoyte CO. Characterization of edible marijuana product exposures
reported to United States poison centers. Clin Toxicol (Phila). 2016 Nov;54(9):840-6.
27. Ashton CH. Pharmacology and effects of cannabis: a brief review. Br J Psychiatry. 2001 Feb;178:101-6.
28. Ramaekers JG, Berghaus G, van Laar M, Drummer OH. Dose related risk of motor vehicle crashes after
cannabis use. Drug Alcohol Depend. 2004 Feb 7;73(2):109-19.
29. Hancock-Allen JB, Barker L, VanDyke M, Holmes DB. Notes from the Field: Death Following Ingestion of
an Edible Marijuana Product--Colorado, March 2014. MMWR Morb Mortal Wkly Rep. 2015 Jul
24;64(28):771-2.
30. San Nicolas AC, Lemos NP. Toxicology findings in cases of hanging in the City and County of San
Francisco over the 3-year period from 2011 to 2013. Forensic Sci Int. 2015 Oct;255:146-55.
31. Goyal H, Awad HH, Ghali JK. Role of cannabis in cardiovascular disorders. J Thorac Dis. 2017 Jul;9(7):2079-
92.
32. Benowitz NL, Rosenberg J, Rogers W, Bachman J, Jones RT. Cardiovascular effects of intravenous delta-9-
tetrahydrocannabinol: autonomic nervous mechanisms. Clin PharmacolTher. 1979 Apr;25(4):440-6.
33. Jones RT. Cardiovascular system effects of marijuana. J Clin Pharmacol. 2002 Nov;42(S1):58S-63S.
34. Mithawala P, Shah P, Koomson E. Complete Heart Block From Chronic Marijuana Use. Am J Med Sci.
2019 Mar;357(3):255-7.
35. Deusch E, Kress HG, Kraft B, Kozek-Langenecker SA. The procoagulatory effects of delta-9-
tetrahydrocannabinol in human platelets. AnesthAnalg. 2004 Oct;99(4):1127-30.
คําแนะนาํ การใชกัญชาทางการแพทย 17
36. Singh A, Saluja S, Kumar A, Agrawal S, Thind M, Nanda S, Shirani J. Cardiovascular Complications of
Marijuana and Related Substances: A Review. CardiolTher. 2018 Jun;7(1):45-59.
37. Mittleman MA, Lewis RA, Maclure M, Sherwood JB, Muller JE. Triggering myocardial infarction by
marijuana. Circulation. 2001 Jun 12;103(23):2805-9.
38. Ducros A, Boukobza M, Porcher R, Sarov M, Valade D, Bousser MG. The clinical and radiological spectrum
of reversible cerebral vasoconstriction syndrome. A prospective series of 67 patients. Brain. 2007
Dec;130(Pt 12):3091-101.
39. Uhegwu N, Bashir A, Hussain M, Dababneh H, Misthal S, Cohen-Gadol A. Marijuana induced Reversible
Cerebral Vasoconstriction Syndrome. J VascInterv Neurol. 2015 Feb;8(1):36-8.
40. Sorensen CJ, DeSanto K, Borgelt L, Phillips KT, Monte AA. Cannabinoid Hyperemesis Syndrome:
Diagnosis, Pathophysiology, and Treatment-a Systematic Review. J Med Toxicol. 2017 Mar;13(1):71-87.
41. Richards JR. Cannabinoid Hyperemesis Syndrome: Pathophysiology and Treatment in the Emergency
Department. J Emerg Med. 2018 Mar;54(3):354-63.
คําแนะนาํ การใชกญั ชาทางการแพทย 18
ภาคผนวก 1
แนวทางการใชย าสกดั จากกัญชา (CBD-Enriched)
ในผปู ว ยโรคลมชักทีร่ กั ษายากและดือ้ ยากันชกั ในเด็ก
สมาคมกุมารประสาทวทิ ยา (ประเทศไทย) รวมกบั
กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสขุ
หลักการและเหตผุ ล
โรคลมชักรักษายากและดอื้ ตอ ยากันชัก พบประมาณรอ ยละ 30 ของผูปว ยโรคลมชกั ซ่ึงมักจะใชย ากนั ชกั
หลายชนิดแลวไมไดผล และจะมีอาการชักท่ีรุนแรงและบอยทําใหมีผลกระทบตอคุณภาพชีวิตของผูปวยและ
ครอบครวั ปจ จบุ ันมกี ารผลติ ยากันชกั ชนดิ ใหมซ ่ึงมีราคาแพง ตองนาํ เขาจากตา งประเทศ เพ่ือควบคมุ อาการชักท่ี
รักษายากเหลานี้ แตกย็ ังไมไ ดผลดีนกั การใชยาสกัดกญั ชาในการรกั ษาโรคลมชักมมี านานแลวหลายพนั ป ในบาง
ประเทศอนญุ าตใหใชเ ปนยาได และในหลายประเทศยังจัดเปน สิ่งผดิ กฎหมาย อยา งไรก็ตาม การศึกษาที่ผานมา
มกั เปน แบบเปด ไมม ีการควบคุมขนาดของยาทชี่ ดั เจน แตพ บวา ไดผลบางในผูปวยโรคลมชัก ยานีม้ ีผลขา งเคยี งที่
สําคญั คือ ภาวะจติ ประสาท ถายาสกัดน้ันประกอบดวยสัดสวน Tetrahydrocannabinol (THC): cannabidiol
(CBD) ปริมาณมาก1 จากรายงานการศึกษาชนดิ Randomized controlled trial ของยาสกดั กัญชา ซึ่งเปนสาร
สกัดชนิด CBD ในปค.ศ. 2017 ในกลุมเด็กโรคลมชักรักษายาก (Dravet syndrome และ Lennox Gastaut
syndrome2,3,4) พบวาสามารถรกั ษาอาการชักทรี่ นุ แรงไดอ ยางมนี ยั สําคัญทางสถิติ และไดรับการยอมรบั มากข้ึน
ในตางประเทศ นอกจากน้ี ไดมีการขยายขอบง ชเ้ี พอื่ การศกึ ษาผลการรกั ษาโรคลมชกั รกั ษายากชนดิ อนื่ ๆ เพ่ิมขึ้น
แตเ นื่องจากกัญชายงั ถือเปน ยาเสพตดิ ผดิ กฎหมายในประเทศไทย ยาดังกลาวจึงยังไมไ ดนํามาใชในการรักษาโรค
ลมชักในประเทศไทย
ในปพ.ศ. 2562 สํานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสขุ ไดกําหนดใหก ารพจิ ารณา
สัง่ จายยาเสพตดิ ใหโทษในประเภท 5 เฉพาะกญั ชาทย่ี ังไมไดการรบั รองตาํ รบั จากสานกั งานคณะกรรมการอาหาร
และยาในการรกั ษาโรคกรณีจาํ เปน สาํ หรับผปู วยเฉพาะราย ตอ งจัดใหม ีกระบวนการคัดกรอง วนิ จิ ฉยั ประเมนิ ทาง
คลินกิ ของผปู วย และสงั่ จา ยโดยผเู ช่ยี วชาญ เฉพาะทางในโรคหรอื ภาวะตามขอ บงใชท ปี่ ระสงคจะใชกับผปู ว ย5
เน่อื งจากมหี ลกั ฐานทางการแพทยท ชี่ ดั เจนในการรกั ษาโรคลมชักรักษายาก ดวยยาสกัดกัญชาที่มี CBD
เปนหลัก สมาคมกมุ ารประสาทวทิ ยา (ประเทศไทย) จึงเหน็ ควรกาํ หนดใหย าสกดั กัญชาท่ีนํามาใชรกั ษาโรคลมชกั
รักษายากที่ผลิตในประเทศไทย ควรมีขนาดของ CBD สูง อยางนอย CBD:THC 20:1 ขึ้นไป ตามหลักฐานทาง
วิชาการท่ีมีอยู6-9 และใหมีแนวทางการใชในผูปวยที่มีขอบงชี้ของการรักษาโรคลมชักรักษายากในเด็ก รวมทั้ง
ตดิ ตามผลการรกั ษาและผลไมพ งึ ประสงคจ ากยาในผปู วยท่ไี ดรับยาอยางใกลชิด อยางนอย 12 เดือน โดยกุมาร
แพทยประสาทวิทยา
คําแนะนาํ การใชกญั ชาทางการแพทย 19
ขอ บง ชี้
1. ผปู ว ยโรคลมชกั รักษายากและดือ้ ตอ ยากนั ชกั (ไดรับยากนั ชกั รักษาแลว อยา งนอย 2 ชนดิ ไมไดผ ลและ
ไมสามารถหยุดชกั ได)
2. อายุ 1-30 ป
3. มีอาการชักอยา งนอย 1 ครงั้ ตอสปั ดาห หรือ 4 ครงั้ ตอเดอื น
4. สามารถติดตามประเมินผลการรักษาไดส มา่ํ เสมอทกุ เดือน
5. กมุ ารแพทยประสาทวทิ ยาเปนผูพจิ ารณาส่งั ยา และ ติดตามประเมนิ ผล
ขอ ควรระวงั
1. หา มใชยาในหญงิ ตั้งครรภ
2. ไดรบั กัญชามากอ นภายใน 2 เดอื น
3. ไดรบั ยา SSRI, TCA, Atypical neuroleptic drug มากอนภายใน 1 เดอื น
4. มีประวตั ิโรคจิตเภท psychosis, schizophrenia
5. มีประวตั ิใชยาเสพตดิ อ่ืนๆ (นอกจากกญั ชา) มากอ น
6. เคยมปี ระวัตแิ พก ญั ชามากอ น
7. มีโรคตบั (ควรงดใชย า เม่ือระดบั liver enzyme สงู กวา 3 เทาของคา ปกติ) โรคไต โรคหัวใจ ประเมิน
โดยแพทย
ขอ กาํ หนด
1. ผูปว ยหรือผูป กครองของผปู วยตอ งไดรบั ขอมลู และแสดงความยินยอมกอนการรกั ษาดว ยยาสกัด
กญั ชา
2. แพทยท ่สี งั่ การรกั ษาตอ งผา นการรบั รองการใชยาสกัดกญั ชาตามกฎหมาย
3. ยาท่มี ฤี ทธข์ิ อง cannabidiol (CBD) สงู โดย CBD:THC อยา งนอ ย 20:1 ขึน้ ไป
วธิ ีการ
1. ขออนมุ ตั กิ ารใชย าสกดั กญั ชาเพื่อรกั ษาโรคลมชกั รกั ษายากตามกฎหมายโดยแพทยผ รู ักษา
2. แพทยพ จิ ารณาใหย าสกดั กญั ชาชนดิ CBD สงู คอยๆ เพิม่ ขนาดยาตามแนวทาง (ดงั ภาพที่ 1) และ
ปรับตามอาการของผปู ว ย โดยขนาดยาสุดทา ย ตอ งมี THC ไมม ากกวา 0.5 mg/k/d
3. แพทยตดิ ตามประเมนิ ผลการรกั ษาและผลขา งเคยี งของผูป ว ย ในคลินิกอยา งนอ ย 12 เดอื น และ
รายงานผลใหก บั ศูนยตดิ ตามการใชยาสกดั กญั ชาตามกฎหมาย
4. เมอื่ แพทยพ จิ ารณาหยดุ ยาสกัดกญั ชา ควรจะคอ ยๆลดยาลง ดงั แนวทางการหยุดยา (ตารางที่ 1)
การประเมนิ ผล ในผปู ว ยท่ีไดร บั ยาทุกเดือน ใน 1 ปแรก
1. ความถ่ขี องอาการชกั ตอ เดือน แบง ตามชนดิ ของอาการชกั
2. ความรสู กึ ของผูด แู ลหรือผปู ว ยตออาการชกั (ตารางที่ 2)
3. ผลขา งเคียงของยา ไดแก อาการทอ งเสยี เบอื่ อาหาร อาเจยี น งวงซมึ อาการทางจิตประสาท liver
enzyme และอืน่ ๆ ผลขา งเคยี งทท่ี าํ ใหหยุดการใชยา ผลขา งเคยี งทร่ี นุ แรง
4. พัฒนาการเด็ก ระดบั สตปิ ญ ญา และ คณุ ภาพชวี ติ ทกุ 6 เดือน และ เมื่อหยุดยา
คําแนะนาํ การใชกญั ชาทางการแพทย 20
ตารางท่ี 1 แนวทางการหยดุ ยาสกดั กัญชา (Withdrawal Criteria)
แพทยพ จิ ารณาหยุดการใหย าสกดั กัญชาในผปู ว ยเมอื่
• ผูปว ยมผี ลขา งเคยี งทร่ี ุนแรง ไมส ามารถทนได
• ผปู ว ยเกดิ ภาวะชกั ตอ เนือ่ งหลงั จากไดยาสกดั กัญชา หรือ มอี าการชักทม่ี ากขน้ึ
• ผูดูแลไมส ามารถใหย าผปู ว ยไดต รงตามทแ่ี พทยส ง่ั
• ผดู แู ลไมส ามารถพาผูปว ยมารับการติดตามผลการรักษาตามกําหนด
• ญาตขิ อหยดุ ยา
วธิ กี ารหยุดยา
• การหยดุ ยาสกัดกญั ชาในผปู ว ย ควรคอ ยๆลดยาลงใชเ วลาอยา งนอ ย 1 เดอื น แตถ า แพทย
พจิ ารณาแลว วา จาํ เปนตองหยดุ ยาเรว็ สามารถลดยาไดเร็วขน้ึ
ตารางที่ 2 ความรสู ึกของผดู แู ลหรอื ผปู วยตอ อาการชัก (คะแนน 1-7)
1 23 4 5 6 7
แยล งมาก แยลง แยล งเลก็ นอย ไมเ ปลยี่ นแปลง ดขี น้ึ เล็กนอย ดีขนึ้ ดีขนึ้ มาก
คาํ แนะนาํ การใชก ญั ชาทางการแพทย 21
Flow Chart การดูแลผูปว ยโรคลมชักทร่ี บั ยาสกัดกญั ชาในคลินกิ
Recruitment (การคัดกรอง) คดั กรองผปู วยทเ่ี ขา เกณฑและการใหขอ มลู ญาติ
Registration & Consent (เตรียมผปู ว ย)
• เซนตใบ consent ประเมินคณุ ภาพชีวติ พัฒนาการ ตรวจ lab : CBC, BUN/Cr, LFT, Electrolyte, Ca, Mg, P, etc สอนญาติถงึ วธิ เี กบ็ ขอมลู
การชกั ระหวางรอยาสกดั กญั ชา * เตรยี มการลงทะเบยี นผปู ว ยสง อย. (โดยไมม กี ารปรบั ยากันชกั ใดๆระหวา งรอยาสกัดกัญชา 1เดอื น)
Treatment : initiation (นัดรับยาครัง้ แรก)
• เรมิ่ ใหย าสกดั กัญชา CBD dose 1-3 mg/k/day Q12 hr x 1 เดอื น
• อธบิ ายวธิ กี ารใชยากัญชา * วธิ ีการติดตามผลการรกั ษา และผลขา งเคียง*
Treatment : follow-up & evaluation ทุก 1 เดอื น x 12 เดือน
ปรบั ยาสกดั กัญชา CBD ครงั้ ละ 1-5 mg/k/day ทกุ 1-2 สปั ดาห จนสามารถคมุ ขกั ได และไมม ผี ลขา งเคยี ง maximum 20-25 mg/k/day
maximum adult dose 600 mg/day โดยตอ งมสี าร THC <0.5mg/k/d และไมค วรปรบั ยากนั ชกั ตวั อนื่ ๆ ในชวง 3 เดือนแรก นอกจากมี drug
interacti on
• ถา ผปู วยมอี าการขางเคยี ง ลดยาลงขนาดเทา กบั คากลางของ dose สุดทายและกอ นสดุ ทา ย
• ตดิ ตามผูป วยทุก 1 เดอื น ตรวจ lab CBC, LFT, BUN/Cr, Electrolyte, AED level (ที่ตรวจได) ทกุ 1 เดือน ประเมินผลการรักษา ผลขางเคียง
และ ความรสู ึกของญาตติ อ อาการชกั *
• ประเมนิ พฒั นาการ* คณุ ภาพชวี ิต*ทกุ 6 เดอื น
Treatment : weaning
• ในกรณอี าการไมดขี ึ้น มผี ลขางเคียงมาก ผปู ว ยหรอื ญาตไิ มอ ยากรกั ษาตอหรอื แพทยตองการหยดุ ยา
• ควรปรบั ยาCBD ลดลงครงั้ ละ 1-3 mg/k/day ตอ สัปดาห จนหมดใชเ วลาอยางนอ ย 1 เดือน
• แตถ า มีความจําเปน สามารถลดยาลงอยา งรวดเร็วได ขึ้นกบั การพิจารณาของแพทยผ รู กั ษา
• ประเมนิ ผลการรกั ษา ผลขางเคียง ความรูสึกของญาติตอ อาการชัก และ คณุ ภาพชีวติ เมื่อหยดุ ยา
ภาพที่ 1 แนวทางการใชยาสกัดกัญชาในโรคลมชักรักษายากในเด็กทางคลนิ ิก
คาํ แนะนําการใชก ญั ชาทางการแพทย 22
เอกสารอา งองิ
1. Perrucca E. Cannabinoids in the Treatment of Epilepsy: Hard Evidence at Last? J Epilepsy Res
2017;7:61-76.
2. Devinsky O, Cross JH, Laux L, et al. Trial of cannabidiol for drug-resistant seizures in the Dravet
syndrome. N Engl J Med 2017;376:2011-20.
3. Mazurkiewicz-Beldzinska M, Thiele EA, Benbadis S, et al. Treatment with cannabidiol (CBD)
significantly reduces drop seizure frequency in Lennox-Gastaut syndrome (LGS): results of a
multi-centre, randomised, double-blind, placebo-controlled trial (GWPCARE4). 32nd International
Epilepsy Congress, 2017 Sep 2-Sep 6; Barcelona, Spain. Epilepsia; In press.
4. Zuberi S, Devinsky O, Patel A et al. Cannabidiol (CBD) significantly decreases drop and total
seizure frequency in Lennox-Gastaut syndrome (LGS): Rresults of a dose-ranging, multi-centre,
randomised, double-blind, placebo-controlled trial (GWPCARE3). 32nd International Epilepsy
Congress, 2017 Sep 2 - Sep 6; Barcelona, Spain. Epilepsia; In press.
5. สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสขุ . แนวทางการขออนญุ าตจาํ หนายยาเสพติดใหโทษใน
ประเภท 5 เฉพาะกญั ชาเพ่อื การรักษาผปู ว ย 2562.
6. Tzadok M, Uliel-Siboni S, Linder I, et al. CBD-enriched medical cannabis for intractable pediatric
epilepsy The current Israeli experience Seizure 2016;35: 41–44.
7. Hausman-Kedem M, Kramer U. Efficacy of medical cannabis for treatment of refractory epilepsy in
children and adolescents with emphasis on the Israeli experience. Isr Med Assoc J 2017;19:76-8.
8. Devinsky O, Marsh E, Friedman D, et al. Cannabidiol in patients with treatment-resistant epilepsy:
an open-label interventional trial. Lancet Neurol. 2016;15(3):270-8.
9. Reithmeier D.,Tang-Wai R., Seifert B. et al. The protocol for the Cannabidiol in children with
refractory epileptic encephalopathy (CARE-E) study: a phase 1 dosage escalation study. BMC
Pediatrics 2018 18: 221:4-9.
คําแนะนําการใชกญั ชาทางการแพทย 23
ภาคผนวก 2
คาํ แนะนาํ เพอื่ ลดความเส่ียงจากการใชผลิตภณั ฑก ญั ชา: กรณผี ปู ว ยใชด ว ยตนเอง
(Lower-risk cannabis use guidance)
……………………………………………………………………………..
คําแนะนําน้ีเปนแนวทางสําหรับแพทยและบุคลากรทางการแพทยใหคําแนะนําผูปวยที่ตองการใช
ผลิตภณั ฑกัญชาในการรกั ษาโรค หรอื ภาวะของโรคดว ยตนเอง ทง้ั นี้ เพอ่ื ใหผ ปู ว ยเกดิ ความเสีย่ งอันตรายนอ ยทส่ี ดุ
จากผลขา งเคียงของการใชผลิตภณั ฑก ญั ชาโดยคาํ นงึ ถึงความปลอดภัยของผูปว ยเปน สาํ คญั และมงุ หวงั ใหผ ปู ว ยไม
ละท้ิงการรักษาตามมาตรฐานทางการแพทยท ีม่ ีอยู และคําแนะนาํ นม้ี ิใชขอบงั คบั ของการปฏบิ ตั แิ ตอ ยา งใด
คําแนะนาํ 1
กอนการใชผ ลิตภณั ฑกัญชาดวยตนเอง ผปู ว ยควรไดรับคําแนะนาํ ใหทราบถงึ ความเส่ยี งทอี่ าจเกดิ จากการ
ใชผลิตภัณฑก ญั ชาดวยตนเองท้ังระยะส้ันและระยะยาว รวมถึงผลกระทบตอสุขภาพและสังคมซ่ึงมีโอกาสเกิด
ความเส่ียงและความรุนแรงแตกตางกันในแตละบุคคล ข้ึนอยูกับลักษณะผูปวยและรูปแบบการใช ชนิดของ
ผลิตภัณฑกัญชา หรือการใชในแตละครั้ง ดังนั้น ควรแนะนําใหผูปวยรักษาโรค หรืออาการของโรคตาม
มาตรฐานทางการแพทยปจ จบุ ันกอ นการตดั สินใจใชผ ลิตภณั ฑกัญชา
(ระดบั หลกั ฐาน: ไมจําเปนตอ งมี)
คาํ แนะนํา 2
การใชผลิตภัณฑกัญชาเม่ืออายุยิ่งนอยจะทําใหเกิดความเสี่ยงที่มผี ลกระทบตอสุขภาพและสังคมมาก
ย่ิงข้ึน โดยเฉพาะอยางย่ิงผลิตภัณฑท่ีมี tetrahydrocannabinol (THC) สูง ดังน้ัน เพ่ือเปนการลดความเส่ียง
อนั ตรายจากการใชผลิตภัณฑกญั ชาจงึ ไมควรเรม่ิ ใชใ นผปู วยทมี่ ีอายนุ อย (แนะนําใหใ ชกับผูป ว ยทมี่ อี ายุ 25 ป
ขึ้นไป หรอื ตามดุลยพนิ จิ ของแพทย ท้งั นี้ ไมค วรใชในผทู ่มี ีอายตุ าํ่ กวา 18 ป)
(ระดบั หลกั ฐาน: ขอมลู สนบั สนุนเพียงพอ)
คาํ แนะนํา 3
การใชผลิตภัณฑกัญชาท่ีมี tetrahydrocannabinol (THC) สูง จะมีความเสี่ยงตอปญหาทางดาน
สขุ ภาพจติ และพฤตกิ รรมไดท้ังในระยะสัน้ และระยะยาว แพทยแ ละบุคลากรทางการแพทยค วรทราบถึงลักษณะ
ธรรมชาตแิ ละสารประกอบในผลติ ภณั ฑกัญชาทผ่ี ปู วยใช โดยแนะนําใหใชผลติ ภัณฑก ัญชาที่มี THC ตาํ่ และมสี ว น
ของ cannabidiol (CBD) ปริมาณสงู เพราะมีหลักฐานทางวิชาการสนับสนุนวา CBD ชวยลดผลขางเคียงที่เกิด
จาก THC ได ดงั นนั้ จึงควรแนะนาํ ใหผ ูปว ยใชผ ลิตภัณฑกัญชาที่มีอัตราสวน CBD:THC สูง (โดยที่ขนาด THC
ทั้งหมดท่ีไดรบั ไมควรเกิน 30 mg ตอ วัน)
(ระดับหลักฐาน: ขอ มลู สนบั สนนุ เพยี งพอ)
คําแนะนาํ 4
ไมแนะนําใหผูปวยใชผลิตภัณฑกัญชาที่ไดจากการสังเคราะห (synthetics cannabis products)
เนือ่ งจากผลิตภัณฑเ หลานอ้ี าจมีอันตรายตอ สุขภาพท่รี ุนแรงและอาจเสยี ชวี ิตได ดังนั้น แนะนาํ ใหห ลกี เลย่ี งการใช
ผลิตภัณฑก ญั ชาทไ่ี ดจากการสงั เคราะห
(ระดบั หลักฐาน: ขอ มลู สนบั สนนุ จาํ กัด)
คําแนะนาํ การใชกญั ชาทางการแพทย 24
คาํ แนะนํา 5
การสูบกัญชาแบบเผาไหมเปน ประจําสง ผลเสียตอระบบทางเดนิ หายใจ ในขณะทีก่ ารใชกญั ชาวิธอี ่ืนๆ จะ
มีความเส่ยี งตามแตละวิธี ควรเลือกใชวธิ ีที่ไมใชก ารสบู กัญชาแบบเผาไหม(อาทิ การใชเครือ่ งระเหยไอนํ้าหรือ
รบั ประทาน) การใชว ิธีรับประทานชวยลดความเสยี่ งตอทางเดนิ หายใจ แตอ าจเกดิ ผลทางจิตไดภายหลงั หากใชใ น
ปรมิ าณท่มี ากและเพ่มิ จาํ นวนขน้ึ
(ระดับหลกั ฐาน: ขอ มลู สนับสนนุ เพยี งพอ)
คําแนะนาํ 6
กรณีที่ผปู ว ยยนื ยันทจ่ี ะใชกญั ชาในรปู แบบการสูบ (smoking) ดวยตนเอง แมไ ดรบั คําแนะนาํ อยางเต็มท่ี
แลว ตองแนะนําไมใหส ูบโดยการอดั เขา ไปในปอดหรอื สูดเขาไปลกึ ๆ แลวกล้ันไว เพราะจะทําใหไดรับสารพิษ
เพิ่มขน้ึ ซ่งึ เปน อันตรายตอปอดได
(ระดบั หลกั ฐาน: ขอมูลสนบั สนุนจาํ กัด)
คําแนะนํา 7
การใชผ ลิตภัณฑก ญั ชาในความถี่สูงหรือมีความเขมขนสูงจะมีโอกาสพบความเส่ียงท่ีจะเกิดผลกระทบ
ทางดานสุขภาพและสังคมไดเพมิ่ ขน้ึ ดงั นนั้ ตองแนะนําใหผ ูปว ยใชผ ลติ ภณั ฑก ัญชาดวยความระมดั ระวัง
(ระดบั หลกั ฐาน: ขอ มูลสนบั สนุนเพียงพอ)
คาํ แนะนํา 8
การขบั ขี่ยานพาหนะขณะท่ีมีอาการขางเคียงจากการใชผลิตภัณฑกัญชาจะเพ่ิมความเสี่ยงตอการเกิด
อบุ ัตเิ หตุได ดังน้ันตองแนะนําใหงดการขับข่ียานพาหนะหรือการทํางานกับเคร่ืองจักรไมนอยกวา6 ช่ัวโมง
หลังจากการใชผ ลติ ภัณฑกัญชาและการใชผลิตภัณฑก ัญชารว มกบั การดมื่ สุราจะทําใหความสามารถในการขับ
ยานพาหนะลดลงมาก ดงั นนั้ ตอ งแนะนาํ ใหผ ปู วยหลกี เลย่ี งอยา งเด็ดขาด
(ระดบั หลกั ฐาน: ขอมูลสนบั สนนุ เพียงพอ)
คาํ แนะนาํ 9
แนะนําวา ไมค วรใชผลติ ภัณฑกญั ชา ในกรณีตอไปนี้ ผูปวยมปี ระวัติครอบครวั เปนโรคทางจติ เวช ผตู ดิ
ยาและสารเสพตดิ อนื่ ๆ หรอื หญงิ ตง้ั ครรภ เนอื่ งจากมีโอกาสเกิดผลขางเคยี งท่ีรุนแรงสูงกวาคนท่ัวไป
(ระดบั หลกั ฐาน: ขอ มลู สนบั สนุนเพียงพอ)
คําแนะนาํ 10
จากขอมลู ทม่ี ใี นปจจบุ นั พบวาความเส่ยี งในการเกิดผลขา งเคียงจากการใชผลิตภัณฑก ญั ชาสงู เพม่ิ ขน้ึ ตาม
ปจจัยความเส่ยี งทเี่ ก่ยี วขอ ง อาทิ การใชก ัญชาในผูม ีอายุนอยและมีความเขมขน สูงจะเพม่ิ โอกาสเกิดผลขางเคียง
ทัง้ ระยะสนั้ และระยะยาวไดสูงขึ้น ดังน้ันจึงควรหลีกเลี่ยงการใชผลิตภัณฑกัญชาเม่ือมีพฤติกรรมเสี่ยงหลาย
ประการรวมกัน
(ระดับหลักฐาน: ขอ มลู สนับสนุนจาํ กดั )
(ดดั แปลงจาก Lower-risk cannabis use guidelines (LRCUG) ของ Fischer B. และคณะ)
Fischer B, Russell C, Sabioni P, van den Brink W, Le Foll B,Hall W, et al. Lower-risk cannabis use guidelines
(LRCUG): an evidence-based update. Am J Public Health 2017;107(8):e1-12.
คาํ แนะนําการใชกัญชาทางการแพทย 25
ท่ปี รึกษาคณะผจู ดั ทาํ ทปี่ รกึ ษากระทรวงสาธารณสขุ
อธิบดกี รมการแพทย
1. นายแพทยโสภณ เมฆธน
2. นายแพทยส มศกั ดิ์ อรรฆศลิ ป
คณะผจู ัดทาํ
1. ดร. นายแพทยอ รรถสทิ ธิ์ ศรสี บุ ตั ิ ทปี่ รกึ ษากรมการแพทย
2. รศ.ดร. จฑุ ามณี สทุ ธสิ สี ังข
3. ผศ.นายแพทยส หภูมิ ศรีสมุ ะ คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลยั มหิดล
4. นายแพทยว รี วตั อคุ รานันท คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวทิ ยาลัยมหิดล
5. แพทยห ญงิ อาภาศรี ลุสวสั ด์ิ ผูอาํ นวยการโรงพยาบาลธญั ญารกั ษแ มฮอ งสอน
6. นายแพทยอ งั กูร ภัทรากร
นายแพทยท รงคุณวฒุ ิ สถาบันประสาทวทิ ยา กรมการแพทย
7. นายแพทยล าํ่ ซาํ ลกั ขณาภชิ นชชั นายแพทยท รงคุณวุฒิ
สถาบันบาํ บดั รกั ษาและฟนฟผู ตู ดิ ยาเสพติดแหง ชาตบิ รมราชชนนี
8. นายแพทยเ มธา อภวิ ัฒนากลุ
9. นายแพทยส มชาย ธนะสทิ ธชิ ัย กรมการแพทย
นายแพทยเ ชยี่ วชาญ
10. ผศ.(พิเศษ) นพ.เมธี วงศศิริสวุ รรณ สถาบนั บาํ บัดรักษาและฟนฟผู ตู ิดยาเสพติดแหง ชาตบิ รมราชชนนี
11. แพทยห ญงิ ฉันทนา หมอกเจริญพงศ
12. นายแพทยอ ภศิ ักดิ์ วทิ ยานุกลู ลกั ษณ กรมการแพทย
นายแพทยเ ชี่ยวชาญ สถาบนั ประสาทวทิ ยา กรมการแพทย
ผูอาํ นวยการสถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย
กรมการแพทย
นายแพทยเชีย่ วชาญ โรงพยาบาลราชวถิ ี กรมการแพทย
นายแพทยช าํ นาญการพเิ ศษ สถาบนั มะเรง็ แหง ชาติ กรมการแพทย
รองผอู าํ นวยการดา นการแพทย โรงพยาบาลธญั ญารกั ษเชยี งใหม
ผูเชย่ี วชาญทบทวน
ศาสตราจารยนายแพทยธ ีระวฒั น เหมะจุฑา คณะแพทยศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลยั
คําแนะนาํ การใชกญั ชาทางการแพทย 26
คําแนะนําฉบับน้ีเปนเคร่ืองมือในการใหการดูแล รักษา ควบคุม
อาการของผูปวยที่ไดรับการรักษาดวยวิธีมาตรฐานแลวไมไดผล
โดยคํานึงถึงความปลอดภัย ประสิทธิผล การเขาถึงการรักษา
เปนสําคัญ โดยหวังผลใหผูปวยมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน คําแนะนําน้ี
มิใชขอบังคับของการปฏิบัติ ผูใชสามารถปฏิบัติตามดุลพินิจ
ภายใตค วามสามารถ ขอจํากัดตามภาวะวสิ ัย และพฤติการณท มี่ ีอยู