The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาฯ ศพด.บ้านสายร่องข่า ปรับปรุง2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หลักสูตรสถานศึกษาฯ ศพด.บ้านสายร่องข่า ปรับปรุง2564

หลักสูตรสถานศึกษาฯ ศพด.บ้านสายร่องข่า ปรับปรุง2564

๔๖

สาระการเรียนรูร้ ายปี
สาระการเรียนรู้ใช้เป็นสื่อกลางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็กเพ่ือส่งเสริมพัฒนาการ

ทุกด้าน ให้เปน็ ไปตามจุดหมายของหลกั สูตรท่กี ำหนด ประกอบด้วย ประสบการณ์สำคัญและสาระท่ีควรเรียนรู้
ดังน้ี

๑. ประสบการณ์สำคัญ
ประสบการณส์ ำคัญเปน็ แนวทางสำหรบั ครผู ู้สอนไปใช้ในการออกแบบการจัดประสบการณ์ ให้เด็ก

ปฐมวยั เรยี นรู้ ลงมือปฏิบัติ และไดร้ บั การสง่ เสริมพัฒนาการครอบคลุมทกุ ด้าน ดงั นี้
๑.๑ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มีโอกาส

พัฒนาการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเน้ือเล็ก และการประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อและระบบประสาท ใน
การทำกิจวัตรประจำวันหรอื ทำกิจกรรมต่างๆและสนับสนุนให้เด็กมโี อกาสดูแลสุขภาพและสขุ อนามัย และการ
รักษาความปลอดภัย ดงั นี้

๑.๑.๑ การใช้กลา้ มเนอื้ ใหญ่
- การเคลื่อนไหวอยู่กับท่ี
- การเคลือ่ นไหวเคล่อื นที่
- การเคลอื่ นไหวพรอ้ มวสั ดอุ ุปกรณ์
- การเคล่ือนไหวที่ใช้การประสานสัมพันธ์ของการใช้กลา้ มเน้อื มัดใหญ่ในการ
ขวา้ ง การจับ การโยน การเตะ
- การเล่นเคร่อื งเลน่ สนามอย่างอสิ ระ

๑.๑.๒ การใชก้ ล้ามเน้ือเล็ก
- การเลน่ เครือ่ งเลน่ สัมผสั และการสร้างจากแท่งไม้ บล็อก
- การเขยี นภาพและการเล่นกับสี
- การปั้น
- การประดิษฐ์สง่ิ ตา่ งๆด้วย เศษวสั ดุ
- การหยิบจบั การใชก้ รรไกร การฉีก การตัด การปะ และการร้อยวสั ดุ

๑.๑.๓ การรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตวั
- การปฏิบัตติ นตามสุขอนามัย สุขนสิ ัยทด่ี ีในกิจวตั รประจำวนั

๑.๑.๔ การรักษาความปลอดภัย
- การปฏิบตั ติ นให้ปลอดภยั ในกจิ วัตรประจำวัน
- การฟงั นทิ าน เร่ืองราว เหตุการณ์ เกีย่ วกบั การป้องกันและรักษาความปลอดภัย
- การเล่นเครือ่ งเลน่ อยา่ งปลอดภยั
- การเล่นบทบาทสมมติเหตกุ ารณต์ า่ งๆ

๑.๑.๕ การตระหนักรูเ้ กีย่ วกับรา่ งกายตนเอง
- การเคลอื่ นไหวเพอื่ ควบคมุ ตนเองไปในทิศทาง ระดบั และพน้ื ที่
- การเคล่อื นไหวข้ามส่ิงกีดขวาง

หลกั สูตรสถานศกึ ษาระดับปฐมวัย : ศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ บา้ นสายรอ่ งข่า ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2564
สังกดั องค์การบริหารส่วนตำบลเชงิ ชุม อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร

๔๗

๑.๒ ประสบการณ์สำคัญท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้
แสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของตนเองที่เหมาะสมกับวัย ตระหนักถึงลักษณะพิเศษเฉพาะที่เป็น อัต
ลักษณ์ ความเป็นตัวของตัวเอง มีความสุข ร่าเริงแจ่มใส การเห็นอกเห็นใจผู้อ่ืน ได้พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม
สุนทรยี ภาพ ความรสู้ กึ ทดี่ ีตอ่ ตนเอง และความเช่ือม่ันในตนเองขณะปฏิบัติกิจกรรมตา่ งๆ ดงั น้ี

๑.๒.๑ สุนทรียภาพดนตรี
- การฟงั เพลง การร้องเพลง และการแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบเสียงดนตรี
- การเคลือ่ นไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี
- การเลน่ บทบาทสมมติ
- การทำกิจกรรมศิลปะต่างๆ
- การสรา้ งสรรคส์ ง่ิ สวยงาม

๑.๒.๒ การเลน่
- การเลน่ อิสระ
- การเล่นรายบคุ คล กลมุ่ ย่อย กลมุ่ ใหญ่
- การเล่นตามมมุ ประสบการณ์
- การเลน่ นอกหอ้ งเรยี น

๑.๒.๓ คณุ ธรรม จริยธรรม
- การปฏิบัตติ นตามหลักศาสนาทีน่ ับถือ
- การฟงั นิทานเกยี่ วกบั คุณธรรม จริยธรรม
- การรว่ มสนทนาแลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ เชงิ จริยธรรม

๑.๒.๔ การแสดงออกทางอารมณ์
- การสะท้อนความรู้สกึ ของตนเองและผอู้ ่ืน
- การเล่นบทบาทสมมติ
- การเคล่ือนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี
- การรอ้ งเพลง
- การทำงานศลิ ปะ

๑.๒.๕ การมอี ัตลกั ษณเ์ ฉพาะตนและเช่อื ว่าตนเองมคี วามสามารถ
- การปฏิบัตกิ ิจกรรมตา่ งๆตามความสามารถของตนเอง

๑.๒.๖ การเห็นอกเหน็ ใจผ้อู ืน่
- การแสดงความยินดเี มอื่ ผู้อื่นมคี วามสขุ เห็นอกเหน็ ใจเมื่อผ้อู ่นื เศร้าหรือเสียใจ
และการช่วยเหลือปลอบโยนเมื่อผ้อู ืน่ ไดร้ ับบาดเจบ็

หลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย : ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กบา้ นสายรอ่ งข่า ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2564
สังกัดองค์การบรหิ ารส่วนตำบลเชิงชมุ อำเภอพรรณานิคม จงั หวดั สกลนคร

๔๘

๑.๓ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มีโอกาส
ปฏสิ มั พันธก์ ับบุคลและส่ิงแวดล้อมตา่ งๆรอบตัวจากการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตา่ งๆผ่านการเรียนรู้ทางสังคม เช่น การ
เลน่ การทำงานกับผอู้ ่นื การปฏิบตั ิกจิ วัตรประจำวัน การแก้ปญั หาขอ้ ขัดแยง้ ต่างๆ

๑.๓.๑ การปฏบิ ัติกจิ วตั รประจำวัน
- การชว่ ยเหลือตนเองในกิจวตั รประจำวัน
- การปฏิบัติตนตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสำหรับเด็กปฐมวัย

๑.๓.๒ การดูแลรักษาธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม
- การมสี ว่ นร่วมรับผดิ ชอบดแู ลรักษาสิ่งแวดลอ้ มทัง้ ภายในและภายนอกห้องเรียน
- การทำงานศลิ ปะท่ใี ชว้ สั ดุหรอื สงิ่ ของทใี่ ช้แลว้ มาใช้ซำ้ หรือแปรรปู แล้วนำ
กลับมาใช้ใหม่
- การเพาะปลกู และดูแลต้นไม้
- การเลย้ี งสตั ว์
- การสนทนาข่าวและเหตุการณท์ ่ีเกีย่ วกับธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มใน
ชวี ติ ประจำวัน

๑.๓.๓ การปฏิบัตติ ามวฒั นธรรมทอ้ งถิน่ ท่ีอาศัยและความเปน็ ไทย
- การเลน่ บทบาทสมมุติการปฏบิ ตั ิตนในความเป็นคนไทย
- การปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ ที่อาศัยและประเพณีไทย
- การประกอบอาหารไทย
- การศึกษานอกสถานที่
- การละเลน่ พน้ื บา้ นของไทย

๑.๓.๔ การมีปฏสิ ัมพันธ์ มีวินัย มสี วนรว่ ม และบทบาทสมาชิกของสังคม
- การร่วมกำหนดข้อตกลงของห้องเรยี น
- การปฏิบตั ิตนเป็นสมาชทิ ี่ดีของหอ้ งเรยี น
- การใหค้ วามร่วมมือในการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมต่าง ๆ
- การดูแลหอ้ งเรียนรว่ มกัน
- การร่วมกิจกรรมวนั สำคญั

๑.๓.๕ การเลน่ แบบรว่ มมือร่วมใจ
- การร่วมสนทนาและแลกเปล่ียนความคิดเหน็
- การเล่นและทำงานร่วมกับผู้อน่ื
- การทำศิลปะแบบรว่ มมือ

๑.๓.๖ การแก้ปญั หาความขดั แย้ง
- การมีส่วนร่วมในการเลอื กวธิ กี ารแกป้ ญั หา
- การมสี ่วนร่วมในการแก้ปญั หาความขดั แย้ง

หลักสตู รสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวัย : ศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ บ้านสายรอ่ งขา่ ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2564
สงั กัดองคก์ ารบริหารส่วนตำบลเชงิ ชุม อำเภอพรรณานคิ ม จงั หวัดสกลนคร

๔๙

๑.๓.๗ การยอมรับในความเหมือนและความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล
- การเล่นหรือ ทำกิจกรรมรว่ มกบั กลมุ่ เพื่อน

๑.๔ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้รับรู้
เรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัวผ่านการมีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อม บุคคลและส่ือต่างๆ ด้วยกระบวนการเรียนรู้ท่ี
หลากหลาย เพอ่ื เปิดโอกาสให้เดก็ พัฒนาการใช้ภาษา จนิ ตนาการความคิดสร้างสรรค์การแก้ปัญหา การคิดเชิง
เหตุผล และการคดิ รวบยอดเก่ียวกับสง่ิ ตา่ งๆ รอบตัวและมคี วามคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ท่ีเป็นพื้นฐานของ
การเรยี นรู้ในระดับท่ีสูงขน้ึ ตอ่ ไป

๑.๔.๑ การใชภ้ าษา
- การฟังเสยี งตา่ งๆ ในสงิ่ แวดล้อม
- การฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
- การฟังเพลง นิทาน คำคลอ้ งจอง บทร้อยกรองหรอื เร่ืองราวต่างๆ
- การแสดงความคิด ความรู้สึก และความตอ้ งการ
- การพูดกบั ผู้อน่ื เกยี่ วกับประสบการณข์ องตนเอง หรือพดู เล่าเรื่องราวเก่ียวกบั
ตนเอง
- การพูดอธบิ ายเกย่ี วกบั ส่ิงของ เหตกุ ารณ์ และความสมั พันธข์ องสิ่งต่างๆ
- การพูดอย่างสร้างสรรคใ์ นการเลน่ และการกระทำต่างๆ
- การรอจงั หวะทเี่ หมาะสมในการพูด
- การพูดเรียงลำดบั เพ่ือใช้ในการสอื่ สาร
- การอ่านหนังสอื ภาพ นทิ าน หลากหลายประเภท/รปู แบบ
- การอา่ นอสิ ระตามลำพัง การอา่ นรว่ มกนั การอ่านโดยมีผู้ชแ้ี นะ
- การเหน็ แบบอย่างของการอ่านท่ีถูกต้อง
- การสังเกตทิศทางการอ่านตัวอักษร คำ และข้อความ
- การอา่ นและชีข้ อ้ ความ โดยกวาดสายตาตามบรรทดั จากซ้ายไปขวา จากบน
ลงลา่ ง
- การสงั เกตตวั อักษรในช่ือของตน หรอื คำคนุ้ เคย
- การสังเกตตัวอักษรท่ปี ระกอบเปน็ คำผ่านการอ่านหรือเขียนของผใู้ หญ่
- การคาดเดาคำ วลี หรอื ประโยค ทม่ี ีโครงสร้างซำ้ ๆกัน จากนิทาน เพลง
คำคลอ้ งจอง
- การเลน่ เกมทางภาษา
- การเห็นแบบอย่างของการเขียนท่ถี ูกตอ้ ง
- การเขียนร่วมกนั ตามโอกาส และการเขียนอสิ ระ
- การเขียนคำที่มคี วามหมายกบั ตัวเด็ก/คำคุ้นเคย
- การคิดสะกดคำและเขียนเพื่อสื่อความหมายด้วยตนเองอย่างอสิ ระ

หลักสูตรสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวัย : ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็กบา้ นสายร่องขา่ ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช 2564
สังกดั องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลเชงิ ชมุ อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร

๕๐

๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคดิ เชิงเหตผุ ล การตดั สินใจและแกป้ ัญหา
- การสงั เกตลกั ษณะ สว่ นประกอบ การเปลีย่ นแปลง และความสมั พนั ธ์ของสง่ิ
ต่างๆ โดยใชป้ ระสาทสัมผสั อย่างเหมาะสม
- การสังเกตสง่ิ ตา่ งๆ และสถานท่จี ากมุมมองทีต่ า่ งกนั
- การบอกและแสดงตำแหน่ง ทศิ ทาง และระยะทางของสิ่งต่างๆดว้ ยการกระทำ
ภาพวาด ภาพถ่าย และรูปภาพ
- การเล่นกบั ส่ือต่างๆที่เป็นทรงกลม ทรงสเ่ี หลย่ี มมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย
- การคดั แยก การจดั กลุม่ และการจำแนกสิ่งต่างๆตามลักษณะและรปู ร่าง
รูปทรง
- การตอ่ ของช้นิ เล็กเติมในช้ินใหญใ่ ห้สมบรู ณ์ และการแยกชิน้ ส่วน
- การทำซำ้ การต่อเติม และการสรา้ งแบบรปู
- การนับและแสดงจำนวนของสง่ิ ต่างๆในชีวิตประจำวัน
- การเปรียบเทียบและเรยี งลำดบั จำนวนของสิ่งต่างๆ
- การรวมและการแยกสิ่งตา่ งๆ
- การบอกและแสดงอันดับทขี่ องสิ่งตา่ งๆ
- การช่งั ตวง วดั ส่งิ ตา่ งๆโดยใชเ้ ครือ่ งมือและหน่วยที่ไม่ใชห่ น่วยมาตรฐาน
- การจับคู่ การเปรียบเทยี บ และการเรยี งลำดบั สิ่งตา่ งๆ ตามลักษณะความยาว/
ความสงู น้ำหนัก ปริมาตร
- การบอกและเรยี งลำดบั กจิ กรรมหรอื เหตุการณต์ ามช่วงเวลา
- การใช้ภาษาทางคณิตศาสตร์กบั เหตุการณ์ในชวี ิตประจำวัน
- การอธบิ ายเชือ่ มโยงสาเหตุและผลท่เี กดิ ขึน้ ในเหตุการณห์ รอื การกระทำ
- การคาดเดาหรือการคาดคะเนส่งิ ท่ีอาจเกดิ ขน้ึ อย่างมีเหตุผล
- การมสี ว่ นร่วมในการลงความเห็นจากข้อมูลอยา่ งมีเหตุผล
- การตดั สินใจและมีส่วนรว่ มในกระบวนการแกป้ ัญหา

๑.๔.๓ จนิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์
- การรบั รู้ และแสดงความคิดความรู้สกึ ผ่านส่ือ วัสดุ ของเลน่ และช้นิ งาน
- การแสดงความคิดสรา้ งสรรค์ผา่ นภาษา ท่าทาง การเคล่ือนไหว และศิลปะ
- การสรา้ งสรรค์ช้ินงานโดยใชร้ ปู ร่างรปู ทรงจากวัสดุท่ีหลากหลาย

๑.๔.๔ เจตคติท่ีดตี ่อการเรยี นรแู้ ละการแสวงหาความรู้
- การสำรวจสง่ิ ต่างๆ และแหล่งเรียนรู้รอบตัว
- การต้ังคำถามในเร่ืองทีส่ นใจ
- การสืบเสาะหาความรู้เพ่อื ค้นหาคำตอบของข้อสงสยั ตา่ งๆ
- การมสี ่วนรว่ มในการรวบรวมขอ้ มูลและนำเสนอข้อมูลจากการสบื เสาะหา
ความรู้ในรูปแบบตา่ งๆและแผนภูมอิ ยา่ งง่าย

หลักสตู รสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวยั : ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เล็กบ้านสายร่องข่า ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2564
สงั กัดองค์การบรหิ ารสว่ นตำบลเชิงชุม อำเภอพรรณานคิ ม จังหวัดสกลนคร

๕๑

2. สาระที่ควรเรยี นรู้
สาระท่ีจะให้เด็กอายุ 3 – 5 ปี เรียนรู้ ควรเป็นเร่ืองที่เก่ียวกับตัวเด็กเป็นลำดับแรกแล้วจึงขยายไปสู่

เร่อื งที่อยู่ไกลตวั เด็กเพ่ือนำไปใช้ในการดำเนินชีวติ ประจำวัน เด็กควรได้รับการอบรมเล้ียงดู ส่งเสริมพัฒนาการ
และการเรียนรใู้ ห้เหมาะสมตามวัย ดงั น้ี

2.1 เร่ืองราวเก่ียวกับตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับชื่อและเพศของตนเอง การเรียกช่ือ
อวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกาย การดูแลตนเองเบื้องต้น โดยมีผู้ใหญ่ให้การช่วยเหลือ การล้างมือ การขับถ่าย
การรับประทานอาหาร การแปรงฟัน การอาบน้ำ การถอดและสวมเส้ือผ้า การรักษาความปลอดภัย การเก็บ
ของใช้ประจำตัว เช่น รองเท้า กระเป๋า แก้วน้ำ เก็บผลงานของตนเองในสัญลักษณ์ประจำตัว ฯลฯ และการ
นอนหลบั พักผอ่ น

2.2 เร่ืองราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานท่ีแวดล้อมรอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับบุคคล
ภายในครอบครัวและบุคคลภายนอกครอบครัว การรู้จักช่ือเรียกหรือสรรพนามแทนตัวของญาติหรือผู้เลี้ยงดู
วิธีปฏบิ ัติกับผู้อื่นอย่างเหมาะสม การทักทาย การไหว้ การเล่นกับผู้อ่ืน การไปเท่ียวในสถานที่ต่างๆ เชน่ ตลาด
รา้ นค้า วัด สถานที่สำคัญทางโบราณสถาน โบราณวัตถุ และการเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน เช่น กิจกรรมทาง
ศาสนา กจิ กรรทางวฒั นธรรม และประเพณใี นท้องถิ่น

2.3 เรื่องราวเก่ียวกับธรรมชาติรอบตัว เด็กควรเรียนรู้เก่ียวกับการสำรวจสิ่งต่างๆ ใน
ธรรมชาติรอบตัว เช่น สัตว์ พืช ดอกไม้ ใบไม้ ผ่านการใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า การเล่นน้ำ เล่นทราย การเล้ียง
สตั ว์ การเดินเลน่ ในสวนสาธารณะ การเพาะปลกู ต้นไมอ้ ยา่ งง่าย

2.4 เร่ืองราวเก่ียวกับสิ่งต่างๆ รอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับช่ือของเลน่ ของใช้รอบตัว
เด็ก การเช่ือมโยงลักษณะหรือคุณสมบัติอย่างง่ายๆ ของส่ิงต่างๆ ท่ีอยู่ใกล้ตัวเด็ก เช่น แสง สี เสียง รูปร่าง
รูปทรง ขนาด ผิวสัมผัส ความแข็ง นุ่ม การเปรียบเทียบสิ่งท่ีเหมือน ความแตกต่าง การชั่งน้ำหนัก การนับ
จำนวน

การจดั ประสบการณ์
การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย 3 – 5 ปี จะไม่จัดเป็นรายวิชา แต่จัดในรูปของกิจกรรม

บูรณาการผ่านการเล่น เพ่ือให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เกิดการเรียนรู้ ได้พัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์
จิตใจ สงั คม และสตปิ ญั ญา ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กไดย้ ดึ การเรียนรูแ้ ละแนวทางการจดั ประสบการณ์ ดงั น้ี

หลักการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้
1. จดั ประสบการณ์การเลน่ และการเรียนร้เู พื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวมอยา่ งตอ่ เน่ือง
2. เนน้ เดก็ เป็นสำคัญ สนองความตอ้ งการ ความสนใจ ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลและบริบท
ของ สังคมทเี่ ดก็ อาศัยอยู่
3. จดั ให้เดก็ ได้รับการพัฒนาโดยให้ความสำคญั ท้งั กับกระบวนการและผลผลติ
4. จัดการประเมนิ พฒั นาการใหเ้ ปน็ กระบวนการอย่างตอ่ เนื่องและเปน็ สว่ นหนงึ่ ของการจดั
ประสบการณ์
5. ใหผ้ ้ปู กครองและชุมชนมสี ่วนรว่ มในการพฒั นาเด็ก

หลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวยั : ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็กบ้านสายรอ่ งข่า ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2564
สงั กดั องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลเชงิ ชมุ อำเภอพรรณานิคม จงั หวัดสกลนคร

๕๒

แนวทางการจดั ประสบการณ์
1. จดั ประสบการณใ์ ห้สอดคล้องกบั จิตวิทยาพัฒนาการ คือเหมาะกับอายุ วฒุ ภิ าวะ และระดบั
พฒั นาการ เพ่ือให้เดก็ ทุกคนไดพ้ ัฒนาเตม็ ตามศักยภาพ
2. จัดประสบการณ์ให้สอดคลอ้ งกับลกั ษณะธรรมชาติการเรยี นรขู้ องสมองของเด็กวยั นค้ี อื เดก็
ได้ ลงมอื กระทำ เรียนรผู้ า่ นประสาทสัมผสั ทั้ง ๕ ไดเ้ คลอ่ื นไหว สำรวจ เล่น สงั เกต สบื คน้
ทดลอง และคิดแกป้ ัญหาด้วยตนเอง
3. จัดประสบการณใ์ นรูปแบบบูรณาการ คือ บูรณาการท้งั ทักษะ และสาระการเรยี นรู้
4. จดั ประสบการณ์ใหเ้ ด็กได้รเิ รม่ิ คิด วางแผน ตดั สนิ ใจ ลงมือกระทำ และนาเสนอความคิดโดย
ผู้สอนเปน็ ผูส้ นบั สนุน อำนวยความสะดวก และเรียนรู้รว่ มกับเด็ก
5. จดั ประสบการณ์ให้เดก็ มปี ฏิสัมพนั ธก์ ับเดก็ อื่น กับผใู้ หญ่ ภายใต้สภาพแวดล้อมท่เี อือ้ ตอ่ การ
เรียนรใู้ นบรรยากาศท่อี บอุ่นมีความสุข และเรียนรู้การทำกิจกรรมแบบร่วมมือในลักษณะ
ตา่ งๆ กนั
6. จัดประสบการณใ์ ห้เด็กมปี ฏสิ มั พันธก์ ับส่อื และแหลง่ การเรยี นรูท้ ีห่ ลากหลายและอยใู่ นวถิ ี
ชีวิตของเด็ก
7. จัดประสบการณ์ทสี่ ่งเสรมิ ลักษณะนิสัยทีด่ ี และทักษะการใช้ชีวิตประจำวนั ตลอดจน
สอดแทรก คุณธรรม จรยิ ธรรม ให้เปน็ สว่ นหนงึ่ ของการจัดประสบการณ์การเรียนอย่าง
ต่อเนอ่ื ง
8. จัดประสบการณท์ ้ังในลกั ษณะท่มี กี ารวางแผนไวล้ ว่ งหนา้ และแผนทเ่ี กิดข้นึ ในสภาพจริงโดย
ไม่ไดค้ าดการณไ์ ว้
9. ให้ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดประสบการณ์ ท้ังการวางแผน การสนับสนุนส่ือการ
สอน การเข้าร่วมกจิ กรรม และการประเมินพัฒนาการ
10. จัดทำสารนิทัศน์ด้วยการรวบรวมขอ้ มูลเก่ยี วกับพัฒนาการและการเรยี นรู้ของเดก็ เป็น
รายบุคคล นำมาไตร่ตรองและใชใ้ ห้เปน็ ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาเด็กและการวิจัยในชั้นเรียน

การจัดกิจกรรมประจำวัน

๑. จดั กจิ กรรมแบบบูรณาการผ่านกจิ กรรมหลัก ๖ กิจกรรม ได้แก่
๑.๑ กิจกรรมการเคลอื่ นไหวและจังหวะ
๑.๒ กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ/์ กิจกรรมในวงกลม
๑.๓ กจิ กรรมสร้างสรรค์
๑.๔ กิจกรรมเสรี/การเล่นตามมมุ
๑.๕ กจิ กรรมกลางแจ้ง
๑.๖ กิจกรรมเกมการศึกษา

2. กำหนดเวลาแต่ละกิจกรรมให้เหมาะสมกับวยั ของเดก็ และลักษณะของกจิ กรรม เช่นกิจกรรมท่ีต้อง
ใช้ความคิดท้ังกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ไม่ควรใช้เวลาต่อเนื่อง นานกว่า ๒๐ นาที กิจกรรมท่ีเด็กมีอิสระเลือกเล่น
เสรี ใชเ้ วลาประมาณ ๔๐ – ๖๐ นาที

3. กิจกรรมควรมีความสมดุลระหว่างกิจกรรมในห้องและนอกห้อง กิจกรรมท่ีใช้กล้ามเนื้อใหญ่และ
กล้ามเน้ือเล็ก กิจกรรมท่ีเป็นรายบุคคล กลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ กิจกรรมท่ีเด็กเป็นผู้ริเร่ิม และครูเป็นผู้ริเริ่ม
กจิ กรรมท่ีใช้กำลงั และกิจกรรมสงบ

หลักสตู รสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวยั : ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ บา้ นสายร่องข่า ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2564
สังกัดองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลเชิงชุม อำเภอพรรณานคิ ม จงั หวัดสกลนคร

๕๓

๔. จัดกิจกรรมให้เดก็ ไดพ้ ัฒนาท้ังกล้ามเน้ือใหญ่ กล้ามเน้ือเล็ก พฒั นาอารมณ์ จิตใจ ปลกู ฝงั คุณธรรม
จรยิ ธรรม พัฒนาสงั คมนสิ ัยพฒั นาการคดิ พฒั นาภาษา ส่งเสริมจนิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์

ตารางกิจกรรมประจำวัน

ลำดับที่ เวลา กจิ กรรม

๑ ๐๘.๐๐ – ๐๘.๓๐ น. รับเด็ก /ตรวจสุขภาพ

๒ ๐๘.๓๐ - ๐๘.๔๕ น. เคารพธงชาติ

๓ ๐๘.๔๕ - ๐๙.๐๐ น. กิจกรรมเคลื่อนไหว

๔ ๐๙.๐๐ - ๐๙.3๐ น. กิจกรรมเสริมประสบการณ์

๕ ๐๙.3๐ – ๑๐.0๐ น. พกั (รบั ประทานอาหารว่างตอนเชา้ )

๖ ๑๐.๓๐ - ๑1.00 น. กิจกรรมกลางแจ้ง

๗ ๑1.00 - ๑2.00 น. รบั ประทานอาหารกลางวัน/เขา้ ห้องน้ำ/แปรงฟนั

๘ ๑2.00 – ๑4.-00 น. นอนพักผ่อน

๙ ๑4.00 – 14.3๐ น. เก็บทนี่ อน, ล้างหนา้ ,ทาแป้ง , ด่มื นม

๑๐ 14.3๐ - ๑5.0๐ น. เกมการศึกษา /เตรียมรอผู้ปกครอง
หมายเหตุ : ตารางกจิ กรรมประจำวนั น้ีสามารถยืดหยุน่ ไดต้ ามความเหมาะสม

หนว่ ยการเรียนรูส้ ำหรับเดก็ อายุ ๓ - ๕ ปี

สาระการเรยี นรูต้ าม สาระการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้ สาระการเรียนรูย้ อ่ ย
(รวม 40 หน่วย)
หลกั สูตร ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ - ชอ่ื ครูประจำชั้น ช้นั เรียน
พ.ศ.2560 ครู
- ของใชป้ ระจำตัวเดก็
1. เรื่องราวเกีย่ วกบั เรือ่ งราว แรกรับประทบั ใจ - การปฏิบตั ติ นในการใชห้ ้องน้ำ
ห้องสว้ ม
ตวั เด็ก เก่ียวกับตัวเดก็ (สปั ดาห์ที่ 1-2) - การเก็บของเข้าที่
- การปฏบิ ตั ติ นในการ
ชอ่ื น้ันสำคัญไฉน รบั ประทานอาหาร
- ชือ่ เลน่ / สัญลักษณข์ องเพื่อน
- ชอ่ื สกลุ ของตนเอง / สัญลักษณ์
ประจำตวั ของตนเอง
- ชอ่ื สกลุ ของเพือ่ น
- คำนำหนา้ ช่ือ / เพศ / อายุ
- รปู ร่าง ลักษณะ หน้าตา

หลักสูตรสถานศกึ ษาระดับปฐมวยั : ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ บา้ นสายร่องข่า ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช 2564
สังกัดองค์การบริหารสว่ นตำบลเชิงชมุ อำเภอพรรณานคิ ม จังหวดั สกลนคร

๕๔

เดก็ ดีมีวนิ ยั - ปฏบิ ัติตามกฎของหอ้ งเรยี น
- การเก็บอปุ กรณ์และเครื่องใชใ้ น
อวยั วะและการดูแล หอ้ งเรยี น
รักษา - การใช้ภาษาสุภาพ (สวสั ด,ี
ขอบคุณ, ขอบใจ, ขอโทษ, ไม่
เป็นไร)
- การชว่ ยเหลอื ตนเองในการ
รับประทานอาหาร
- การปฏบิ ตั ิตนตอ่ บุคคล
ต่าง ๆ ในศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก

- หนา้ ท่ีและการดูแลรกั ษา ตา
- หน้าทีแ่ ละการดูแลรักษา หู
- หน้าทแ่ี ละการดูแลรกั ษา จมกู
- หนา้ ทแี่ ละการดูแลรักษา ปาก
- หนา้ ท่แี ละการดูแลรักษา มือ,
เท้า

สาระการเรียนรตู้ าม สาระการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ยอ่ ย
หลกั สตู ร
พ.ศ.2560 ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ (รวม 40 หน่วย) - อาหารดีมีประโยชน์
- การทำความสะอาดมือ
1. เร่ืองราวเกีย่ วกบั เรอื่ งราว กินดีอยู่ดีมีสขุ - สขุ นสิ ัยในการขับถ่าย
- การทำความสะอาดปาก / ฟนั
ตัวเดก็ (ตอ่ ) เกี่ยวกบั ตวั เด็ก - การทำความสะอาดร่างกาย
- ชนดิ ของการออกกำลงั กาย
ขยบั กายสบายชวี ี - การปฏิบัติตนในการออกกำลัง
กายและการพักผอ่ น
ปลอดภัยไว้ก่อน - การเลน่ เคร่ืองเล่นสนาม
- ประโยชน์ของการพกั ผ่อน
- ประโยชน์ของการออกกำลงั
กาย
- ความปลอดภัยในการเล่น
- ความปลอดภยั บนทอ้ งถนน
- ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใน ก า ร ใช้
เครือ่ งใช้ไฟฟ้า
- ความปลอดภยั ในการใช้ยา
- ความปลอดภัยในการใช้ของ
แหลมคม

หลกั สูตรสถานศึกษาระดบั ปฐมวยั : ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ บา้ นสายร่องข่า ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2564
สังกดั องค์การบรหิ ารส่วนตำบลเชงิ ชมุ อำเภอพรรณานิคม จงั หวัดสกลนคร

๕๕

หนนู อ้ ยนักสัมผสั - การมองเห็น
หนทู ำได้ - การดมกลน่ิ
- การไดย้ ิน
- การรบั รู้
- การสัมผสั

- การล้างหน้า / แปรงฟนั
- การอาบน้ำ
- การแตง่ ตวั
- การรับประทานอาหาร
- การเก็บรักษาส่ิงของตา่ ง ๆ
ครอบครวั

สาระการเรยี นรตู้ าม สาระการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ สาระการเรียนรูย้ ่อย
หลกั สูตร
พ.ศ.2560 ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็ก (รวม 40 หน่วย) - มารยาทในการพูด
- การทำความเคารพผใู้ หญ่
1. เร่ืองราวเกยี่ วกบั เรอื่ งราว หนนู ้อยนา่ รกั - มารยาทในการรบั ของ
- มารยาทในสังคม (การต้อนรับ
ตวั เดก็ (ต่อ) เกี่ยวกับตัวเด็ก / การรบั โทรศัพท์ / การเดิน
ผ่านผู้ใหญ่ ฯลฯ)
- มารยาทในการแตง่ กาย

2. เร่ืองราวเกย่ี วกบั เรอ่ื งราวเกี่ยวกบั บา้ นแสนสขุ - ความหมายและประโยชน์
บคุ คลและ บุคคลและ ของบา้ น
ส่งิ แวดลอ้ มรอบ สงิ่ แวดล้อมรอบ - พ้ืนท่แี ละบรเิ วณรอบบ้าน
ตวั เดก็ ตัวเด็ก - ประเภทและส่วนประกอบของ
บ้าน
- หอ้ งตา่ ง ๆ ภายในบา้ น
- การรักษาความสะอาด

ครอบครัวสุขสันต์ - ความสัมพันธ์ของครอบครัว
- หน้าทขี่ องบุคคลภายใน
ครอบครวั
- การปฏิบตั ติ นต่อสมาชกิ ใน
ครอบครัว
- การมีสว่ นรว่ มภายในครอบครวั
- สิ่งทจี่ ำเป็นสำหรบั ครอบครัว

หลักสตู รสถานศกึ ษาระดับปฐมวยั : ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็กบ้านสายร่องข่า ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช 2564
สงั กัดองค์การบริหารส่วนตำบลเชงิ ชมุ อำเภอพรรณานคิ ม จังหวัดสกลนคร

๕๖

บ้านใกลเ้ รอื นเคยี ง - ความหมายของเพื่อนบ้าน
- ไมส่ ร้างความเดือดร้อนให้เพื่อน
บ้าน
- การช่วยเหลือซงึ่ กนั และกัน
- การร่วมกิจกรรมกบั เพื่อนบ้าน
- การอย่รู ่วมกันอย่างมีความสุข

สาระการเรียนรูต้ าม สาระการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ สาระการเรยี นรูย้ ่อย
(รวม 40 หน่วย)
หลักสตู ร ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
พ.ศ.2560

2. เรื่องราวเก่ยี วกับ เร่อื งราวเกี่ยวกบั จังหวัดของเรา - ช่อื ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ

บคุ คลและ บคุ คลและ ภูมิอากาศจงั หวดั ของเรา

สิง่ แวดล้อมรอบ ส่ิงแวดล้อมรอบ - คำขวญั ของจังหวัด

ตัวเด็ก (ตอ่ ) ตวั เดก็ - อาชีพและอาหารพ้ืนเมืองของ

จังหวัด

- ศาสนาและประเพณีท้องถน่ิ

- สถานที่สำคญั ของจงั หวดั

ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ - ช่อื ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็ก

ของเรา ตราสญั ลักษณ์

- สถานท่ีต้งั ของศูนย์พัฒนา

เดก็ เล็ก

- ห้องตา่ ง ๆ ภายในศนู ย์พฒั นา

เด็กเล็ก

- สถานท่ีต่าง ๆ ภายในศนู ย์

พัฒนาเด็กเล็ก

- การดแู ลรักษา

บุคคลท่คี วรรู้จกั - ความสำคญั ของศนู ย์พฒั นา

ภายในศูนยพ์ ัฒนาเด็ก เด็กเลก็

เลก็ - บคุ คลตา่ ง ๆ ภายในศนู ย์พัฒนา

เด็กเล็ก

- หนา้ ท่บี คุ คลภายในศูนย์พฒั นา

เดก็ เลก็

- การรว่ มกิจกรรมในศนู ยพ์ ัฒนา

เด็กเลก็ อยา่ งมีความสุข

- การปฏบิ ัตติ นต่อบคุ คลภายใน

ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก

ชุมชนของเรา - สถานทีใ่ กล้เคียงศนู ย์พัฒนา

เด็กเล็ก

หลกั สูตรสถานศึกษาระดบั ปฐมวัย : ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ บ้านสายร่องข่า ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2564
สงั กดั องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลเชงิ ชุม อำเภอพรรณานิคม จงั หวดั สกลนคร

๕๗

- ความสำคัญของสถานท่ี /
ความหมาย
- การชว่ ยกันดแู ลรกั ษา
- การปฏิบัติตอ่ ชุมชน
- การมีสว่ นร่วมในชุมชน

สาระการเรยี นรู้ตาม สาระการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้ สาระการเรียนรยู้ ่อย
(รวม 40 หนว่ ย)
หลักสูตร ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็ก - ชอ่ื อาชพี ตา่ ง ๆ เช่น ครู
พ.ศ.2560 ตำรวจ ทหาร แพทย์
พยาบาล ฯลฯ
2. เรือ่ งราวเกยี่ วกบั เร่อื งราวเก่ียวกับ อาชพี ในฝัน - หน้าท่แี ละการแต่งกายของ
แต่ละอาชีพ
บคุ คลและ บุคคลและ - สถานท่ีของการปฏบิ ตั งิ าน
- อปุ กรณใ์ นการประกอบอาชีพ
สงิ่ แวดลอ้ มรอบ ส่ิงแวดล้อมรอบ - ความร้สู กึ ทดี่ ตี ่ออาชีพ
- เรื่องทีเ่ ด็กสนใจ / อยากรู้ /
ตวั เด็ก (ตอ่ ) ตวั เดก็ อยากลอง
- สรปุ / ทบทวน
หนูชา่ งสงสัย - การประเมนิ พฒั นาการ
- ความหมายของส่งิ มีชีวิต
3. เรื่องราวเกี่ยวกับ ธรรมชาตริ อบตวั ส่งิ มชี วี ติ - คณุ ลักษณะของส่ิงมีชีวิต
ธรรมชาติ (ความเหมือน / ความแตกต่าง
ของสง่ิ มชี วี ติ ของพชื / สัตว)์
สง่ิ ไม่มชี วี ติ - ประโยชน์ของสิ่งมชี ีวิต
- โทษของสิ่งมชี ีวิต
เทพ 3 ฤดู - การดูแลและอนุรักษ์
- ความหมายของส่ิงไมม่ ีชีวติ
(ชือ่ รปู ร่าง และลกั ษณะ)
- คุณลักษณะของส่ิงไม่มีชวี ิต
- ประโยชนข์ องสงิ่ ไม่มีชีวติ
- โทษของสงิ่ ไมม่ ีชวี ิต
- การดแู ลและการอนรุ ักษ์
- ฤดหู นาว (ประโยชน์ / โทษ)
- ฤดรู ้อน (ประโยชน์ / โทษ)
- ฤดูฝน (ประโยชน์ / โทษ)
- การปฏบิ ัตติ ามฤดูกาล
- ปรากฏการณต์ ามธรรมชาติ

หลกั สตู รสถานศกึ ษาระดับปฐมวยั : ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ บา้ นสายรอ่ งขา่ ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2564
สังกัดองค์การบรหิ ารสว่ นตำบลเชิงชมุ อำเภอพรรณานิคม จงั หวดั สกลนคร

๕๘

สาระการเรียนรตู้ าม สาระการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ย่อย
หลักสตู ร
พ.ศ.2560 ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก (รวม 40 หนว่ ย) - ความหมายของกลางวัน /
กลางคืน
3. เร่อื งราวเกยี่ วกบั ธรรมชาติรอบตัว กลางวัน กลางคนื - ปรากฏการณเ์ วลากลางคืน
- ปรากฏการณเ์ วลากลางวัน
ธรรมชาติ (ตอ่ ) - การปฏิบัติตนในเวลากลางคืน
- การปฏบิ ัตติ นในเวลากลางวนั
สตั วโ์ ลกผ้นู า่ รัก - สัตวบ์ ก
- สตั วน์ ้ำ
นกน้อยนา่ รัก - สัตวค์ รึ่งบกคร่ึงน้ำ
- สัตว์เลี้ยง
ต้นไมแ้ สนรกั - สตั ว์ปา่
ดอกไม้สดสวย - ลกั ษณะ, รปู รา่ ง
- ทอี่ ยอู่ าศยั
ผีเสอ้ื แสนสวย - อาหาร
- การดูแล
- ประโยชน์และโทษ
- ลักษณะ รูปร่าง สี
- การขยายพันธุ์
- การบำรงุ รักษา
- ประโยชน์และโทษ
- ลกั ษณะ รูปร่าง สี
- การขยายพนั ธุ์
- การบำรงุ รักษา
- ประโยชน์ของดอกไม้
- โทษของดอกไม้
- รปู รา่ ง ลักษณะที่
- ทอี่ ยอู่ าศัย
- อาหาร
- วงจรชีวิต
- ประโยชนแ์ ละโทษ

หลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย : ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสายรอ่ งข่า ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2564
สังกดั องค์การบริหารส่วนตำบลเชงิ ชุม อำเภอพรรณานคิ ม จงั หวดั สกลนคร

๕๙

สาระการเรยี นรตู้ าม สาระการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรู้ สาระการเรียนรยู้ อ่ ย
หลกั สตู ร
พ.ศ.2560 ศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก (รวม 40 หน่วย) - รปู รา่ ง ลักษณะ
- ที่อยอู่ าศยั
3. เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ธรรมชาติรอบตัว มดตัวนอ้ ย - อาหาร
- วงจรชวี ติ
ธรรมชาติ (ต่อ) - ประโยชนแ์ ละโทษ
- ชนดิ ของผักผลไม้
ผกั ผลไม้ - รูปร่างลักษณะ
- รสชาตขิ องผกั ผลไม้
ขา้ วมหศั จรรย์ - วธิ ีการทำผกั ผลไม้ให้สะอาด
- ประโยชน์และโทษ
โลกสวยดว้ ยมือเรา - ชนดิ – ลกั ษณะ
- การปลูกขา้ ว
4.สง่ิ ต่างๆรอบตวั เดก็ ส่งิ ตา่ งๆรอบตัวเด็ก สีสันสดใส - การประกอบอาหารจากขา้ ว
เทยี่ วทว่ั ไทย - การเก็บรกั ษา
- ประโยชนข์ องข้าว
- ความหมาย, ประเภท
ส่งิ แวดลอ้ มตามธรรมชาติ
- สง่ิ แวดลอ้ มทม่ี นุษยส์ ร้างข้ึน
- การอนรุ กั ษ์สงิ่ แวดลอ้ ม
- ประโยชน์ของส่ิงแวดล้อม
- โทษของสิ่งแวดล้อม
- สที ่ีนกั เรยี นรูจ้ กั (ชอื่ ของส)ี
- สจี ากพชื ดอกไม้ ผัก ผลไม้
- ประเภทของสี
- แมส่ แี ละการผสมสี
- ประโยชนแ์ ละโทษของสี
- ความหมายของการคมนาคม
- ประเภทของยานพาหนะ
- การปฏิบัตติ นในการใช้
ยานพาหนะ
- ประโยชนข์ องการคมนาคม
- โทษของการใชย้ านพาหนะ
(อุบัตเิ หต,ุ รถติด, มลพิษ)

หลกั สูตรสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวยั : ศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ บ้านสายรอ่ งขา่ ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช 2564
สงั กดั องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลเชงิ ชุม อำเภอพรรณานคิ ม จงั หวัดสกลนคร

๖๐

สาระการเรียนรตู้ าม สาระการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรู้ สาระการเรียนรูย้ อ่ ย
(รวม 40 หน่วย)
หลักสตู ร ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เล็ก - ความหมายของการสื่อสาร
พ.ศ.2560 - ประเภทของการส่อื สาร
(โทรศพั ท์, TV ฯลฯ)
4.สง่ิ ตา่ งๆรอบตัว สิ่งตา่ งๆรอบตัวเด็ก โลกไร้พรมแดน - วิธีการส่อื สาร
- มารยาทในการสื่อสาร
เด็ก (ต่อ) - ประโยชน์ของการสื่อสาร
- เครื่องมือ เครื่องใชห้ ้องเรยี น
เคร่ืองมือ เครื่องใช้ - เครอ่ื งมือ เคร่ืองใชใ้ นบ้าน
- เครอ่ื งมือ เครอ่ื งใช้การเกษตร
คณิตคิดสนุก - เคร่อื งมือ เคร่อื งใชใ้ นการ
กอ่ สร้าง
วทิ ยาศาสตรน์ ่ารู้ - การเก็บรักษา / ประโยชน์ /
สิง่ ทีห่ นตู ้องการ โทษ
เรยี นรู้ - ประโยชน์และโทษ
- รูปทรงเรขาคณิต
- การชง่ั การตวง การวดั
- เรียงลำดับ
- จำแนก, เปรยี บเทยี บ
- คา่ ของเงนิ
- การนบั เวลา
- การนบั เพมิ่ นับลด
- แสง
- เสยี ง
- แม่เหล็ก
- แวน่ ขยาย
- การทดลอง
- สรุป / ทบทวน
- การประเมนิ พฒั นาการ
- ช่ือสกลุ ของเพอ่ื น
- คำนำหนา้ ชอ่ื สกลุ เพศ อายุ
- รูปร่าง ลกั ษณะ หนา้ ตา

หลกั สูตรสถานศึกษาระดบั ปฐมวยั : ศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็กบ้านสายร่องขา่ ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2564
สงั กดั องค์การบริหารส่วนตำบลเชิงชุม อำเภอพรรณานิคม จงั หวัดสกลนคร

๖๑

กำหนดเวลาเรียน
เวลาเรียนตลอดหลักสตู ร ๑ ปี ปลี ะ ๔๐ สัปดาห์ (๒๐๐ วนั โดยประมาณ) สัปดาห์ละ ๕ วนั

และการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมพฒั นาการผูเ้ รียนปีละ 9 สัปดาห์ (45 วนั โดยประมาณ) รวมเวลาเรยี น
ทง้ั ปี ๒๔๕ วนั โดยประมาณ
หมายเหตุ : 1. หนว่ ยการเรียนรู้สามารถปรบั เปลย่ี นและเพิ่มเติมไดต้ ามความเหมาะสมกับบริบทของ

ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ แต่ละแหง่
2. สาระการเรยี นรยู้ อ่ ยสามารถเพิม่ เติมไดต้ ามความเหมาะสม เช่น โตไปไมโ่ กง เศรษฐกิจ-

พอเพยี ง วนั สำคญั ต่าง ๆ ให้สอดคลอ้ งกบั สาระการเรยี นรแู้ ละหน่วยการเรยี นรู้

บรรยากาศการเรยี นรู้

การจัดสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความสำคัญต่อเด็กเนื่องจากธรรมชาติของเด็กวัยน้ี
สนใจที่จะเรียนรู้ ค้นคว้า ทดลอง และต้องการสัมผัสกับส่ิงแวดล้อมรอบๆตัว การจัดเตรียมส่ิงแวดล้อมอย่าง
เหมาะสมตามความต้องการของเด็ก จึงมีความสำคัญท่ีเก่ียวข้องกับพฤติกรรมและการเรียนรู้ของเด็ก เด็ก
สามารถเรียนรู้จากการเล่นท่ีเป็นประสบการณ์ตรงที่เกิดจากการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัสท้ังห้า ศูนย์พัฒนาเด็ก
เล็ก จำเป็นต้องจัดสิ่งแวดล้อมให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของหลักสูตร เพื่อส่งผลให้บรรลุ
จุดหมายในการพัฒนาเด็ก ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ ได้คำนึงถงึ สง่ิ ตอ่ ไปนี้

1. ความสะอาด ความปลอดภยั
2. ความมีอสิ ระอย่างมีขอบเขตในการเลน่
3. ความสะดวกในการทำกจิ กรรม
4. ความพร้อมของอาคารสถานที่ เชน่ หอ้ งเรยี น หอ้ งน้าหอ้ งสว้ ม สนามเด็กเล่น ฯลฯ
5. ความเพยี งพอเหมาะสมในเรื่องขนาด น้ำหนกั จำนวน สีของสือ่ และเครอ่ื งเล่น
6. บรรยากาศในการเรียนรู้ การจดั ท่เี ลน่ และมุมประสบการณต์ ่างๆ

สภาพแวดลอ้ มภายในหอ้ งเรยี น

หลักสำคัญในการจัด ต้องคำนึงถึงความปลอดภัย ความสะอาด ความเป็นระเบียบ ความเป็นตัวของ
เด็กเอง ความรู้สึกอบอุ่นม่ันใจ และมีความสุขของเด็ก เป็นเป้าหมายในการพัฒนาเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้
จดั แบ่งพ้นื ที่ให้เหมาะสม ดงั นี้

๑. พ้ืนทอี่ ำนวยความสะดวกเพ่อื เดก็ และครู
๑.๑ ทีแ่ สดงผลงานของเด็ก จดั ทำเปน็ แผน่ ปา้ ยหรือที่แขวนผลงาน
๑.๒ ทเ่ี กบ็ แฟ้มผลงานเดก็ จัดใสแ่ ฟ้มรายบคุ คล
๑.๓ ทเ่ี กบ็ เครอ่ื งใช้ส่วนตวั ของเด็ก
๑.๔ ทีเ่ ก็บเครือ่ งใชข้ องครู
๑.๕ ป้ายนเิ ทศ

๒. พื้นท่ีปฏิบัติกิจกรรมและการเคล่ือนไหว ควรมีพื้นท่ีท่ีเด็กสามารถทำงานได้ด้วยตนเอง และทำ
กจิ กรรมด้วยกันในกลมุ่ เล็ก หรือกลุ่มใหญ่ เด็กสามารถเคลือ่ นไหวได้อยา่ งอิสระจากกิจกรรมหนึ่งไปยังกิจกรรม
หน่ึงโดยไม่รบกวนผู้อื่น

หลกั สตู รสถานศกึ ษาระดับปฐมวัย : ศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ บา้ นสายรอ่ งขา่ ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2564
สังกดั องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลเชิงชุม อำเภอพรรณานิคม จงั หวัดสกลนคร

๖๒

๓. พ้ืนทจี่ ัดมุมเล่นหรอื มุมประสบการณ์ สามารถจัดตามความเหมาะสม ข้ึนอยกู่ ับสภาพหอ้ งเรยี น
จัดแยกส่วนท่ีใช้เสียงดังและเงียบออกจากกัน เช่นมุมบล็อกอยู่ห่างจากมุมหนังสือ มุมบทบาทสมมติอยู่ติดกับ
มุมบล็อก มมุ วิทยาศาสตรอ์ ยู่ใกล้มุมศิลปะ เป็นตน้

สภาพแวดล้อมนอกหอ้ งเรยี น
การจัดสภาพแวดล้อมภายในอาณาบรเิ วณรอบๆ ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก รวมทั้งจัดสนามเดก็ เล่น พร้อม

เคร่ืองเล่นการระวังรักษาความปลอดภัยภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และบริเวณรอบนอกศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ดูแลรักษาความสะอาด ปลูกต้นไม้ให้ความร่มร่ืน ส่ิงต่างๆ เหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งท่ีส่งผลต่อการเรียนรู้ และ
พฒั นาการของเดก็

ส่ือและแหล่งเรียนรู้

การจัดประสบการณเ์ พ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั จำเป็นต้องอาศัยสื่อ วัสดุ อปุ กรณ์ และแหลง่ เรียนรตู้ า่ งๆ
จึงจะช่วยใหเ้ ดก็ มปี ระสบการณแ์ ละเกดิ การเรยี นรอู้ ยา่ งมีคุณภาพ ไดด้ ำเนินการดงั นี้

1. จัดใหม้ ีสื่อหลากหลาย เพยี งพอในการนำมาใชป้ ระกอบการพัฒนาเด็ก สอ่ื มที งั้ ท่เี ป็นวสั ดุ

ธรรมชาติ สื่อท่ีครผู ลติ /จัดทำ และส่ือทซ่ี ื้อ
2. จัดระบบการบรกิ ารและจัดเกบ็ สอ่ื ให้เป็นระเบียบ สะดวกตอ่ การนำมาใช้ วางแผนพัฒนา
3. ให้เด็กมีโอกาสเป็นผู้ลงมือการทำต่อวัตถุหรือใช้สื่อต่างๆด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดการเรียนรู้

อย่างแท้จรงิ และย่ังยนื เด็ก
4. สง่ เสรมิ การใชแ้ หล่งเรียนรู้ต่างๆ ในศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ แหลง่ เรยี นรู้นอกศูนยพ์ ัฒนา

เลก็ และภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินให้มสี ่วนร่วมในการพัฒนาเด็ก

5. จดั ให้มีระบบการนเิ ทศ ติดตาม กำกบั การใช้สือ่ และแหล่งการเรียนรู้ควบคไู่ ปกับการ
ดำเนนิ การดา้ นอ่นื ในการพัฒนาเด็กปฐมวยั

แหล่งเรยี นรใู้ นศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็
1. โรงอาหาร
2. ป้ายทำเนียบครู
3. ป้ายนิเทศหน้าหอ้ งเรยี น
4. สวนหยอ่ มหน้าอาคารเรยี น
5. สนามเดก็ เล่น
7. ต้นไมบ้ ริเวณรอบๆ อาคารเรยี น
8. เสาธง
9. แปลงปลกู ผักสวนครัว
10.สวนสมุนไพร
11.อืน่ ๆ ท่ีเหมาะสมกับวัยเด็ก

แหล่งเรียนรูใ้ นชุมชน(นอกศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ )
แหลง่ เรียนรู้ทางประวตั ศิ าสตร์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ แหล่งเรยี นรเู้ กย่ี วกับการสง่ เสริมอาชีพ

แหล่งเรยี นร้ศู าสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรม (วดั ) แหลง่ ธรรมชาติที่ปลอดภัยสำหรบั เด็กปฐมวยั

หลกั สตู รสถานศกึ ษาระดับปฐมวยั : ศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็กบา้ นสายร่องข่า ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช 2564
สังกดั องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลเชงิ ชุม อำเภอพรรณานิคม จงั หวัดสกลนคร

๖๓

การประเมนิ พฒั นาการ

การประเมินพัฒนาการเด็กช่วยให้ครูทราบและเข้าใจพัฒนาการ การเรียนรู้ของเด็กในความ
รบั ผิดชอบ ข้อมูลจากการประเมินพัฒนาการ ครูจะนำไปใช้ในการวางแผนการจัดกิจกรรมการจัดประสบการณ์
ให้กับเด็กและเป็นข้อมูลในการสื่อสารกับผู้ปกครองเพื่อร่วมมือในการพัฒนาเด็กให้เต็มศักยภาพอย่างต่อเน่ือง
ต่อไป ในระดับปฐมวัยเป็นการประเมินพัฒนาการ ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา เป็น
กระบวนการทตี่ ้องดำเนนิ การตอ่ เนื่อง และควบค่ไู ปกับการจัดประสบการณ์ให้กบั เด็กตามปกติในแต่ละวัน โดย
มหี ลักการประเมินพฒั นาการดังนี้

1. ประเมนิ พัฒนาการครบทกุ ดา้ น นำผลมาพฒั นาเดก็ และปรบั ปรงุ วิธสี อนของครู
2. ประเมนิ เป็นรายบุคคลอยา่ งสม่ำเสมอ และต่อเนอ่ื งตลอดปี
3. สภาพการประเมนิ เปน็ สถานการณ์เดียวกบั การปฏบิ ัติกจิ กรรมประจำวัน
4. ประเมินอย่างเปน็ ระบบ มีการวางแผน เลือกใช้เคร่ืองมอื และจดบันทึกไว้เปน็ หลกั ฐาน
5. ประเมินตามสภาพจริงด้วยวิธกี ารหลากหลาย เหมาะกับเด็ก รวมท้ังใชแ้ หล่งข้อมลู หลายๆด้าน

ใชก้ ารทดสอบนอ้ ยที่สุดตามความจำเป็น
วิธีการประเมิน

วิธกี ารประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยทเ่ี หมาะสมไดแ้ ก่
1. การสงั เกตพฤตกิ รรมเดก็
2. การเขยี นบนั ทกึ พฤติกรรม
3. การสนทนา การสัมภาษณ์
4. และการวิเคราะห์ขอ้ มลู จากผลงานของเดก็ ทเี่ กบ็ ในแฟ้มสะสมงานอย่างเป็นระบบ

การบรหิ ารจดั การหลกั สตู ร

ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็กดำเนินการบรหิ ารจดั การหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั ดังน้ี
1. เตรียมความพรอ้ ม โดยประชมุ ครู บุคลากร และผู้มสี ่วนเกยี่ วขอ้ ง
2. แต่งตง้ั คณะกรรมการ
3. การจัดทำ รวบรวมเอกสารที่เกยี่ วขอ้ งกับการพัฒนาหลักสตู รปฐมวยั ของศูนย์พัฒนาเดก็ เลก็ โดยมี

การกำหนดปรชั ญาวสิ ัยทศั น์ ภารกจิ เปา้ หมาย คุณลักษณะที่พึงประสงค์ สาระการเรียนร้รู ายปี
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ บรรยากาศการเรยี นรู้ ประเมินผล สื่อและแหล่งการเรยี นรู้
4. นำหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั ของศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก สู่การปฏบิ ตั ิ
5. นิเทศ กำกับ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล
6. สรปุ ผลการดำเนินงาน
7. นำผลการประเมนิ สกู่ ารพัฒนา/ปรบั ปรงุ การดำเนินงาน

การเชอื่ มต่อการพัฒนาเด็กปฐมวยั

การเชอื่ มต่อด้านการพัฒนา แกไ้ ขและสนบั สนนุ เด็กปฐมวยั ในทุกๆ ด้าน เปน็ การพฒั นาการอย่าง

ตอ่ เนือ่ งและสอดคล้อง ตรงจุด และมปี ระสทิ ธิภาพโดยผูท้ ี่เกี่ยวข้องดังนี้

1. บทบาทพอ่ แม่และผู้เล้ยี งดู

2. บทบาทบคุ ลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเลก็

3. บทบาทขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่

4. บทบาทของหนว่ ยงานสาธารณสุขที่เกี่ยวขอ้ งกับทางดา้ นเด็ก (รพ.สต)

หลักสตู รสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวัย : ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ บ้านสายร่องข่า ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2564
สังกดั องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลเชิงชุม อำเภอพรรณานิคม จังหวดั สกลนคร

๖๔

1. บทบาทพ่อแม่และผเู้ ลย้ี งดู
1.1 มีความพรอ้ มดา้ นข้อมลู เกยี่ วกบั ตัวเดก็ ด้วยการคอยจดบันทกึ พฒั นาการของลูกอย่าง
ละเอียด สม่ำเสมอ และตรงตามความเป็นจริง
1.2 เปน็ ตัวเป็นแบบอยา่ งทีด่ ีใหก้ บั ลูก และหลีกเล่ยี งการกระทำพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
1.3 พจิ ารณาเลือกสถานศึกษาให้เดก็ ตามความเหมาะสม และมคี ุณภาพ
1.4 ให้ความร่วมมอื ปฏิบัตติ ามคำแนะนำของสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย
1.5 พ่อแมก่ ับสถานพฒั นาเด็กให้ความร่วมมือพัฒนาเด็กในทิศทางเดียวกัน
1.6 สรา้ งความคนุ้ เคย เชื่อมโยง และยอมรับนับถือซึ่งกันและกันระหวา่ งบ้านกับศูนยพ์ ัฒนา
เดก็ เลก็

2. บทบาทครูและบคุ ลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเลก็
2.1 รวบรวมขอ้ มูลตา่ งๆ เก่ียวกับตัวเดก็ ใหล้ ะเอียดครบถ้วน
2.2 ต้องสร้างความไวว้ างใจใหเ้ กิดขึ้นกับเดก็ และผปู้ กครอง
2.3 ปฏบิ ัตติ นกับเดก็ และผู้ปกครองด้วยความอ่อนน้อม เหมาะสมให้เกียรติกัน
2.4 จัดกิจกรรมใหเ้ ดก็ ครู และผปู้ กครอง เพ่ือสรา้ งความคนุ้ เคย ไวว้ างใจ และสามารถอยู่รว่ ม
กบั ผูอ้ น่ื ได้อยา่ งมคี วามสขุ
2.5 ผลิตและพฒั นาสอื่ การเรียนการสอน เพ่ือใช้ในการส่งเสรมิ และแก้ปัญหาทีเ่ กิดขน้ึ กับเดก็
2.6 เป็นสะพานเช่อื มโยงผปู้ กครองกบั หน่วยงานตา่ งๆ ทีเ่ กี่ยวข้องให้เข้ามามสี ว่ นรว่ มกันในการ
ส่งเสรมิ ปรบั ปรงุ และพฒั นาศักยภาพเด็ก

3. บทบาทขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่
3.1 กำหนดนโยบายการพฒั นาการศึกษาอย่างเป็นระบบ
3.2 สนับสนนุ ทรัพยากรและงบประมาณในการพฒั นาการจัดการศึกษาของศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก
อย่างต่อเน่ือง
3.3 ส่งเสรมิ พัฒนาศักยภาพครูและบคุ ลากรด้านการศึกษาให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ าน
3.4 ประเมินคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็ก
3.5 ส่งเสริมใหท้ กุ ภาคส่วนมสี ่วนรว่ มในการการพัฒนางานดา้ นการศึกษา

4. บทบาทของหนว่ ยงานสาธารณสุขท่ีเกย่ี วข้องกับทางด้านเดก็ (รพ.สต)
4.1 ส่งเสรมิ มาตรฐานดา้ นการจดั สภาพแวดล้อมที่มคี วามปลอดภัยทัง้ ภายในและภายนอกอาคาร
สถานท่ี
4.2 สง่ เสริมสนบั สนนุ การเฝา้ ระวังภาวะโภชนาการ โดยการชั่งนำ้ หนัก ส่วนสงู ทกุ 3 เดอื น
4.3 สง่ เสรมิ กจิ กรรมด้านทนั ตอนามัยในช่องปากเดก็ ปฐมวัย
4.4 สง่ เสริมให้ความรู้แก่ครู และผู้ปกครองเก่ยี วกบั โรคระบาดตามฤดูกาลในเด็กปฐมวัย

หลักสูตรสถานศกึ ษาระดับปฐมวัย : ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ บา้ นสายรอ่ งขา่ ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช 2564
สงั กดั องค์การบรหิ ารส่วนตำบลเชงิ ชุม อำเภอพรรณานคิ ม จังหวดั สกลนคร

๖๕

การกำกับ ตดิ ตาม ประเมนิ และการรายงาน
การจัดสถานศึกษาปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กควรให้สังคม ชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

และกระจายอำนาจการศึกษาไปยังศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตามที่กฎหมาย ระเบียบและหนังสือสั่งการกำหนด
เพ่ือให้ผลผลิตทางการศึกษาปฐมวัยมีคุณภาพตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และสอดคล้องกับความ
ต้องการของผู้ปกครอง ชุมชนและสังคม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องมีระบบการกำกับ ติดตาม ประเมิน
และรายงานท่ีมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ทุกกลุ่มทุกฝ่ายท่ีมีส่วนร่วมรับผิดชอบในการจัดการศึกษา เห็น
ความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรค ตลอดจนการให้ความร่วมมือช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน การวางแผน และ
ดำเนนิ งานการจัดการศึกษาปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้มคี ุณภาพอย่างแทจ้ ริง

การกำกบั ติดตาม ประเมินและการรายงานผลการจัดการศกึ ษาปฐมวยั เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการ
บริหารการศึกษาและระบบการประกันคุณภาพท่ีต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพ่ือนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สร้างความม่ันใจให้กับผู้ปกครอง ชุมชน ผู้เกี่ยวข้อง
โดยต้องมีการดำเนินการที่เป็นระบบเครือข่ายครอบคลุมท้ังหน่วยงานภายในและภายนอก ต้องมีการรายงาน
ผลให้หน่วยงานต้นสังกัดตามลำดับ และประชาสัมพันธ์หรือแจ้งให้ทุกฝ่าย รวมท้ังผู้ปกครองและประชาชน
ทว่ั ไปทราบ เพ่ือนำขอ้ มูลจากรายงานผลมาจัดทำแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กต่อไป

หลกั สตู รสถานศึกษาระดับปฐมวยั : ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ บ้านสายรอ่ งขา่ ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2564
สงั กัดองคก์ ารบริหารส่วนตำบลเชงิ ชุม อำเภอพรรณานคิ ม จงั หวัดสกลนคร

๖๖

ภาคผนวก

หลกั สตู รสถานศกึ ษาระดับปฐมวยั : ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เล็กบา้ นสายรอ่ งขา่ ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช 2564
สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลเชิงชมุ อำเภอพรรณานคิ ม จังหวัดสกลนคร

๖๗

หลกั สูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย : ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กบ้านสายรอ่ งข่า ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช 2564
สงั กดั องค์การบริหารสว่ นตำบลเชงิ ชมุ อำเภอพรรณานคิ ม จงั หวัดสกลนคร

๖๘

คณะกรรมการท่ีปรึกษา และคณะทำงานจัดทำ

หลักสูตรสถานศกึ ษาระดับปฐมวยั ศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ บ้านสายร่องข่า ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช 2564
(สอดคล้องกับหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560)
สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลเชิงชุม

คณะกรรมการทีป่ รกึ ษา

๑. นายชยั พิชิต นาโควงศ์ นายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลเชิงชุม ประธานกรรมการ

๒. นางสาวนติ ตยิ า สวุ รรณ หัวหนา้ สำนกั ปลดั กรรมการ

๓. นางสาววชริ าภรณ์ พาระแพง นกั วิชาการศกึ ษา กรรมการ/เลขานุการ

คณะทำงานหลกั สูตรสถานศึกษา ระดับปฐมวัย

๑. นางสาววชริ าภรณ์ พาระแพง นักวชิ าการศกึ ษา ประธานกรรมการ
กรรมการ
๒. นางศภุ สิตา ภูมิบาลล์ ครู กรรมการ/เลขานกุ าร

๓. นางดาลง่ิ ยาตาแสง ผู้ชว่ ยครผู ดู้ แู ลเด็ก

หลกั สตู รสถานศึกษาระดับปฐมวยั : ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ บา้ นสายรอ่ งขา่ ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2564
สังกัดองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลเชงิ ชมุ อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร

ศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ บ้านสายร่องข่า
สังกัดองค์การบรหิ ารส่วนตาบลเชงิ ชมุ
กรมการปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ กระทรวงมหาดไทย


Click to View FlipBook Version