ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ บา้ นสายร่องข่า (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช 2563)
ผู้รายงาน
นางศุภสิตา ภมู บิ าลล์
ตาแหนง่ ครู
ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ บา้ นสายรอ่ งข่า
สังกดั องคก์ ารบริหารส่วนตาบลเชงิ ชุม
ตาบลเชงิ ชุม อาเภอพรรณานิคม จงั หวดั สกลนคร
รายงานการใช้หลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ บา้ นสายร่องขา่
ตามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560
ประจำปีการศกึ ษา 2563
1. ขอ้ มูลพนื้ ฐานของครู
1.1 ข้อมูลส่วนตัว
ชอื่ – สกลุ นางศภุ สติ า ภูมบิ าลล์ อายุ 38 ปี อายุราชการ 6 ปี
ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ -
บรรจเุ ขา้ รับราชการ วนั ที่ 25 ธนั วาคม 2557 ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย
วันที่ 25 ธันวาคม 2559 ตำแหน่ง ครู
1.2 ระดบั ชั้นทีส่ อน
จัดประสบการณ์การเรยี นรูใ้ นระดบั ชน้ั การศึกษาปฐมวัย
ชนั้ เตรียมอนุบาล 2 (อายุ 3-5 ปี) จำนวน 15 ชว่ั โมง/สัปดาห์
จดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ จำนวน 6 กิจกรรม
ณ ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ บา้ นสายร่องขา่ สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลเชิงชุม
จัดประสบการณ์การเรยี นรู้ท้ัง 4 สาระการเรยี นรู้ คือ
สาระการเรยี นรู้ที่ 1 เร่ืองราวเก่ียวกบั ตวั เด็ก
สาระการเรียนรทู้ ี่ 2 บุคคลและสถานท่ีแวดลอ้ มเดก็
สาระการเรยี นรทู้ ี่ 3 ธรรมชาตริ อบตวั
สาระการเรียนร้ทู ี่ 4 สง่ิ ต่าง ๆ รอบตัว
2. การตรวจสอบภาพรวมองค์ประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖3
ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ บ้านสายรอ่ งขา่ สังกดั องคก์ ารบริหารส่วนตำบลเชงิ ชมุ
2.1 การนเิ ทศการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้
ไดร้ ับการนเิ ทศจากนักวิชาการหรอื ศึกษานเิ ทศก์
ไม่ได้รับการนิเทศจากนักวชิ าการหรอื ศึกษานเิ ทศก์
ไดร้ ับการนเิ ทศจากเพื่อนครูหรอื หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ไม่ไดร้ บั การนิเทศจากเพื่อนครูหรือหัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้
ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในระดับชั้นเตรียมอนุบาล 2 การศึกษาปฐมวัย
ซึ่งเป็นรายวิชาที่ตรงกับวิชาเอกและความถนัดของข้าพเจ้า ได้รับการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องใน
ด้านการเรียนการสอนในรูปแบบของการอบรมสัมมนา ศึกษาดูงาน การศึกษาต่อในระดับที่สูงข้ึน
และจากการค้นคว้าเอกสาร ตำรา อนิ เตอรเ์ น็ต และแหล่งความรอู้ นื่ ๆ อย่างตอ่ เนื่อง
ตอนท่ี 1 ตารางแสดงผลการตรวจสอบภาพรวมองคป์ ระกอบหลักสูตรสถานศึกษา
ผลการตรวจสอบองค์ประกอบ
ท่ี รายการตรวจสอบการจัดทำหลกั สูตร หลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั
สถานศกึ ษาปฐมวัย ระดบั คุณภาพ
พทุ ธศกั ราช 2563 32 1
1 ปรชั ญาการศึกษาปฐมวัยของสถานศกึ ษา ✓
2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ✓
3 จุดหมาย ✓
4 มาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ ✓
5 การจดั เวลาเรียน ✓
6 สาระการเรยี นร้รู ายปี ✓
7 การจัดประสบการณ์ ✓
8 การจัดสภาพแวดลอ้ ม ส่ือ และแหล่งเรยี นรู้ ✓
9 การประเมนิ พฒั นาการ ✓
10 การบริหารจดั การหลกั สูตร ✓
11 การเชอ่ื มต่อของการศึกษา ✓
ตอนที่ 2 สรุปผลการตรวจสอบองคป์ ระกอบหลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2563
จุดเด่น จดุ ที่ต้องเพ่ิมเตมิ และพัฒนา
จุดเด่นของหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช 2563
1. ปรัชญาการศกึ ษาปฐมวัยของสถานศกึ ษา : มแี นวคิดและความเชอื่ ของปรัชญาการศึกษา
ปฐมวัยชัดเจน ครบถ้วนส่งเสริมพัฒนาเด็กตามเป้าหมายหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช
2560
2. วสิ ัยทัศน์ พันธกจิ เป้าหมาย : มวี สิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ เปา้ หมายสอดคลอ้ งจดุ เนน้ อัตลักษณ์
เอกลักษณ์ ที่ตอ้ งการของสถานศึกษาบรรลุผลตามเป้าหมายท่ตี อ้ งการในเชิงคณุ ภาพ
3. จดุ หมาย : จุดหมายมคี วามสอดคล้องและครอบคลุมจุดหมายของหลกั สูตรสถานศึกษา
ปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 นำไปส่กู ารปฏิบตั ิตามจุดหมายทกี่ ำหนดในหลักสูตรได้
4. มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ : นำมาตรฐานคุณลักษณะที่พงึ ประสงคแ์ ละสภาพท่ี
พึงประสงค์ ไปใช้ไดค้ รบถว้ นนำมาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์และสภาพท่ีพงึ ประสงค์ไปใช้กับเดก็ ทุก
กลุ่มอายุและระดับชั้นเรยี นได้ครบถ้วน
5. การจดั เวลาเรยี น : กำหนดเวลาเรยี นต่อ 1 ปกี ารศกึ ษาได้เหมาะสมมกี ำหนดช่วงเวลา
การจดั กจิ กรรมประจำวนั มีความเหมาะสม
6. สาระการเรียนรรู้ ายปี : มีความสอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวบง่ ชี้ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ในแต่
ละช่วงวัยมีความครอบคลุมประสบการณ์สำคัญและสาระที่ควรเรียนรู้ตามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย
พทุ ธศักราช 2560 มกี ารจดั แบ่งสาระการเรียนร้ไู ด้เหมาะสมกบั หน่วยการจดั ประสบการณ์
7. การจดั ประสบการณ์ : ใช้กลยทุ ธแ์ ละวิธกี ารรปู แบบการสอนทห่ี ลากหลาย ได้แก่ Active
Learning, Whole Language, Project Approach, วิถีพุธและแบบมอนเตสซอร่ี ใชห้ ลักการบูรณา
การผ่านการเล่นที่สอดคล้องกับพัฒนาการตามวยั ของเด็กมีความเหมาะสมกับวัยและความสนใจของ
เด็กเน้นให้เด็กลงมือปฏิบัติ ริเริ่มและมีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้เด็ก
ได้มปี ฏสิ ัมพนั ธ์กบั บุคคล สอื่ และใชแ้ หล่งการเรยี นรทู้ ่ีหลากหลายส่งเสริมให้เด็กมีทักษะชีวิตและการ
ปฏิบัติตนตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงส่งเสริมการพัฒนาให้เด็กเป็นคนดี มีวินัย
และมีความเป็นไทย เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะตามมาตรฐานการเรียนรู้
ตัวชี้วัด สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์โดยจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้
เรียนรู้ด้วยวิธีการปฏิบตั ิ ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ โดย
คำนงึ ถึงความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล
8. การจัดสภาพแวดล้อม สื่อ และแหล่งเรียนรู้ : มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและ
สภาพแวดล้อมทางจิตภาพที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กมีสื่อหลากหลายเหมาะสม เพียงพอมีแหล่ง
เรยี นรใู้ นและนอกสถานศึกษาเหมาะสม เพยี งพอตอ่ การจัดกิจกรรม
9. การประเมินพัฒนาการ : มีการประเมินพฒั นาการเด็กครอบคลุมมาตรฐานคุณลกั ษณะที่
พึงประสงค์ มีการประเมินพัฒนาการตามสภาพจริงมีร่องรอยการประเมินพัฒนาการเด็กมีการ
รายงานผลกาประเมนิ พัฒนาการแกผ่ ูบ้ ริหาร ผปู้ กครอง หน่วยงานท่เี กีย่ วขอ้ ง
10. การบริหารจัดการหลักสูตร : มีความพร้อมด้านครู บุคลากร และข้อมูลสารสนเทศมี
การนเิ ทศ ติดตามการนำหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัยสู่การปฏิบัติ
11. การเชอื่ มตอ่ ของการศึกษา : ครูผู้จัดประสบการณ์การเรยี นรู้ในระดับชนั้ ปฐมวัยมกี าร
แลกเปลย่ี นและทำงานร่วมกันมี
จุดทตี่ ้องเพ่ิมเติม/พัฒนา
การเชื่อมต่อของการศึกษา
ผบู้ ริหารสร้างความเข้าใจในการสร้างรอยเช่ือมต่อของหลักสูตรท้ังสองระดบั ควรเปิดเวทีให้มี
การจัดกิจกรรมให้เด็กปฐมวัยมีความพร้อมในการเรียนต่อระดับชั้นที่สูงขึ้น ของครูผู้สอนร่วมกันด้วย
วิธีการหลากหลายและควรมีการจัดกิจกรรมให้ความรู้และหรือกิจกรรมสัมพันธ์ให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง
เข้าใจการศึกษาทง้ั สองระดับ
3. วธิ กี ารจัดทำและการใช้หนว่ ยการเรยี นรู้
3.1 ในปีการศกึ ษา 2563 ผสู้ อนได้ทำการแบง่ หน่วยการเรยี นรู้ จำนวน 40 หน่วย โดยแบ่ง
ออกเป็น 2 ภาคเรียน ดังเอกสารแนบ (ภาคผนวก) และในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 19 (COVID-19) ได้มีการปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ
on Hand โดยใบงาน/แบบฝึกหัด ให้เด็กไดฝ้ ึกทักษะทบ่ี ้านของตนเอง
ขน้ั ตอนและวธิ ีการจัดทำแผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้
ในการออกหน่วยการเรียนรู้ ได้ศึกษาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2560 และหลักสูตร
สถานศกึ ษาปฐมวยั ของโรงเรียน ในการบูรณาการให้สอดคลอ้ งกับท้องถิ่น โดยจดั ทำหนว่ ยการเรียนรู้
เป็นลำดบั ขั้นตอน ดังน้ี
1. ข้าพเจ้ามีการวิเคราะห์ความต้องการของนักเรียนและชุมชนในการออกแบบกิจกรรมการ
เรยี นร้เู พอ่ื ใหเ้ หมาะสมกบั วยั และสอดคล้องความตอ้ งการของเด็ก ผู้ปกครองและชุมชน
2. ขา้ พเจา้ ศึกษาหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560 และเอกสารอ่นื ๆ ท่เี ก่ียวข้อง
3. วิเคราะหห์ ลักสูตรสถานศึกษา ความสัมพันธข์ องมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์(จุดหมาย)
ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ของเด็ก 3–5 ปี ผู้สอนต้องวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐาน
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ของเด็ก 3-5 ปี เพื่อนำไปพิจารณาสาระการ
เรียนรู้
4. ข้าพเจ้า วเิ คราะห์สาระการเรียนรู้ โดยศกึ ษาหลกั สูตรสถานศกึ ษาในสว่ นท่เี ป็นสาระการเรียนรู้
ซ่งึ กำหนดไว้ 2 สว่ น คือ ส่วนทเี่ ปน็ ประสบการณ์สำคัญและสว่ นทเ่ี ป็นสาระที่ควรเรียนรู้ โดยวิเคราะห์
และเลอื กนำมากำหนดหนว่ ยการจัดประสบการณ์
5 ข้าพเจ้าออกแบบเรียนรู้อย่างหลากหลาย ใช้วิธีสอน เทคนิคการสอน และรูปแบบการสอนที่
หลากหลาย เช่น การทดลอง การลงมือปฏิบัติ กิจกรรมกลุ่ม กิจกรรมโครงงาน การใช้แหล่งเรียนรู้
ในชุมชน การแสดงบทบาทสมมติ แบบสถานการณ์จำลอง และแบบใช้เกม จัดทำกำหนดการจัด
ประสบการณ์ โดยเน้นใหเ้ ด็กได้รบั การพัฒนาครบทัง้ 4 ดา้ น
6. ขา้ พเจา้ จัดทำแผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้โดยยดึ เดก็ และบรบิ ทของชุมชนเป็นสำคัญ
7. ข้าพเจ้านำแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเดก็ ในช้ัน
เรียนทดี่ ูแลใหร้ ่วมกันออกแบบกจิ กรรมรว่ มกัน
8. บันทึกหลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้และนำผลมาพัฒนาแผนการจัดประสบการณ์การ
เรียนร้จู ัดเก็บหลกั ฐาน ผลงานไวอ้ ย่างเป็นระบบ
3.2 ความสำเรจ็ และหรอื ปัญหาของการนำไปใช้
ความสำเรจ็
มกี ารนำหลกั สตู รสถานศึกษาของศนู ย์พัฒนาเด็กเล็ก ทม่ี กี ารบูรณาการให้สอดคล้องกบั ความ
ต้องการของชุมชนและท้องถ่ินโดยใช้แนวคิดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและการอนุรักษ์ศิลปะ
วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น มาบูรณาการเข้าสู่การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีการจัดทำ
กำหนดการหน่วยการเรียนรู้ และมีแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ชัดเจน โดยมีการกำหนด
สาระสำคัญ สาระที่ควรเรยี นรู้ วิเคราะห์มาตรฐานสู่จุดประสงค์ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ อย่าง
ครบถ้วน
ปญั หา
1. การจัดกิจกรรมการเรยี นร้บู างกิจกรรมใช้เวลานานทำให้เด็กขาดสมาธิในการทำกิจกรรม
2. กิจกรรมทเ่ี ด็กไม่ได้ลงมือปฏบิ ัติ เด็กเบอ่ื และไมส่ นใจทำกจิ กรรม
วธิ กี ารแกป้ ญั หา
ดา้ นการเรียนการสอน
1. ควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับความสนใจของเด็ก และเมื่อเด็กขาดสมาธิใน
การทำกจิ กรรมครูควรใช้เพลง หรอื คำถามคอยกระตุ้นความสนใจของเดก็ ใหเ้ ขา้ สู่กิจกรรมทปี่ ฏบิ ตั ิ
ดา้ นการวิเคราะห์หลกั สูตร
1. ศึกษาหลักสตู รให้ละเอียด โดยดูประสบการณ์สำคญั และสาระท่ีเด็กควรโดยคำนึงถึงเวลา
ความสนใจของเดก็ เป็นหลกั และคิดออกแบบกจิ กรรมใหห้ ลากหลายทำให้เดก็ สนใจทำกิจกรรม
3.3 วิธีการเรยี นรู้ของนกั เรยี น
จากการสงั เกตของครผู ู้สอนในการนำหน่วยการเรียนรู้แตล่ ะสปั ดาห์มาจดั ประสบการณ์
การเรียนรู้ ใช้จดั ประสบการณ์การเรยี นร้แู ก่เด็กผลปรากฏ พบว่า เดก็ ได้เกดิ การเรยี นรู้อยา่ งมคี วามสุข
สนุกในการปฏิบัติกิจกรรม รู้จักทำงานร่วมกันกับผู้อื่น กล้าพูด กล้าแสดงออกมาขึ้นสนใจเรียนดี มี
ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา แต่ละหน่วย สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ที่เด็กควรได้รับผ่าน
ประสบการณ์การเรียนรู้ ได้แก่กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรม
ศิลปะสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมเล่นกลางแจ้ง และกิจกรรมเกมการศึกษา ส่งผลให้เด็กมี
พฒั นาการ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์-จติ ใจ ดา้ นสงั คม ด้านสตปิ ัญญา ท่ดี ีข้ึนดขี นึ้ ท้งั 4 ดา้ น
3.4 ผลการเรียนรู้/ผลสัมฤทธิ์ของเด็ก
จากการประเมินผลการเรยี นของเด็ก ประจำปกี ารศึกษา 2563 ช้ันเตรยี มอนบุ าล 2
(ภาคผนวก)
ตารางที่ 2 แสดงคะแนนพัฒนาการทง้ั 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นร่างกาย ด้านอารมณ์ - จิตใจ
ดา้ นสงั คม และด้านสตปิ ญั ญา ของเด็กช้นั เตรียมอนุบาล 2 ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กบา้ นสายร่องขา่
ปีการศกึ ษา 2563
จำนวน/ของเด็กตามระดับคณุ ภาพ
พฒั นาการ ปฏบิ ัติได้ ปฏบิ ัตไิ ด้บางครัง้ ควรเสริม
(3) (2) (1)
ดา้ นร่างกาย 300
ดา้ นอารมณ์ - จติ ใจ 300
ด้านสงั คม 300
ด้านสติปัญญา 300
4. ผลการประเมินตนเอง ท่เี ชื่อมโยงหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560
ประเดน็ ทำได้ดมี าก ทำไดบ้ า้ งแต่ ไม่ไดท้ ำหรือ
ตอ้ งพัฒนาเพมิ่ ตอ้ งการพัฒนามาก
1. การศึกษาหลักสูตร
2. กำหนดการจดั ประสบการณ์
3. หน่วยการเรียนรู้
4. แผนการจัดประสบการณการเรียนรู้
5. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
6. ส่อื /แหลง่ เรยี นรู้
7. การใชค้ ำถาม
8. การวัด ประเมนิ ผล
9. การพฒั นาทกั ษะการคิด
10. การดแู ลนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล
11. การมสี ่วนร่วมของผปู้ กครอง
12. วจิ ัยปฏิบตั ิการ
13. การสอดแทรกคุณลักษณะอันพงึ
ประสงค์ 10 3 0
รวม(ประเด็น)
จากตาราง พบว่า ประเดน็ ท่ีทำได้ในระดบั ดีมาก มีอยู่ 11 ประเด็น ดังนี้
- การศึกษาหลักสูตร - กำหนดการจัดประสบการณ์ - หน่วยการเรียนรู้ - แผนการจัด
ประสบการณการเรียนรู้ - การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - สื่อ/แหลง่ เรียนรู้ - การใช้คำถาม - การวดั
ประเมนิ ผล – การดูแลนักเรยี นเป็นรายบุคคล - การสอดแทรกคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
ส่วนประเด็นท่ที ำไดบ้ ้างแตต่ ้องพฒั นาเพิ่มเติม มี 3 ประเดน็ ดังนี้
- การพัฒนาทกั ษะการคิด - การมีสว่ นรว่ มของผปู้ กครอง - วิจัยปฏบิ ัตกิ าร
5. การร่วมมือพัฒนางาน
มีการประชุมปรึกษาหารือกับคณะกรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครองเด็ก การประชุม
ร่วมกันระหว่างผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อหาข้อตกลงร่วมกันในด้าน การจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้ การดูแลช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหา เพื่อระดมพลังสมองในการร่วมกันพัฒนา
หลักสูตรและพัฒนาผู้เรยี นใหม้ ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพัฒนาการที่สูงข้ึน และอยู่ร่วมกับผู้อืน่ ใน
สงั คมได้อย่างมีความสขุ
6. การสนบั สนนุ ชว่ ยเหลือจากผ้ทู ่ีเกย่ี วขอ้ ง
จดั ใหม้ ีการอบรมเสริมความรู้ท่ีจำเป็นในการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อมา
ใช้ในการพฒั นาทีส่ ง่ เสริมทักษะพื้นฐานทางทางวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ทักษะชวี ติ ของเด็กปฐมวัย
ทักษะ EF และ STEM สำหรับเด็กปฐมวยั จากหนว่ ยงานตน้ สงั กัด และหนว่ ยงานภายนอก
7. ตอ้ งการได้รับความช่วยเหลือ
ตอ้ งการสื่อประกอบการจดั ประสบการณฯ์ ทอ่ี ำนวยความสะดวกในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
ลงชอ่ื ...................................................ผูร้ ายงาน
(นางศภุ สติ า ภมู บิ าลล์)
ตำแหน่ง ครู
ลงช่อื ...........................................................
(นางสาววชริ าภรณ์ พาระแพง)
ตำแหน่ง หวั หนา้ สถานศกึ ษา
ภาคผนวก
- หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ บ้านสายร่องขา่
พุทธศักราช 2563
- ตารางกำหนดการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ ประจำปีการศึกษา 2563
- ตารางการจัดกจิ กรรมประจำวัน
หลกั สูตรสถานศกึ ษาศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ บ้านสายรอ่ งขา่
เนอ้ื หาหลักสตู รฯ
ในรปู แบบ E-book
Scan QR CODE
กำหนดการสอนตามแผนการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ภาคเรยี นท1ี่ /2563
สาระการเรยี นรู้ สัปดาหท์ ี่ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง
1
แรกรบั ประทับใจ
1 29 มิถนุ ายน 2563 ชื่อเลน่ ของตนเอง
2 30 มิถุนายน 2563 ชื่อเล่นของเพื่อน
3 1 กรกฎาคม 2563 ชอื่ เลน่ ของครปู ระจำชน้ั
4 2 กรกฎาคม 2563 ช่ือของศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กฯ
5 3 กรกฎาคม 2563 สถานที่ตั้งศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ ฯ
วนั สำคญั ทางศาสนา : วันอาสาฬหบชู า วันเขา้ พรรษา
1 6 กรกฎาคม 2563 วนั สำคัญทางศาสนา
2 2 7 กรกฎาคม 2563 ความหมายของวันอาสาฬหบูชา
3 8 กรกฎาคม 2563 ความหมายของวันเข้าพรรษา
4 9 กรกฎาคม 2563 กจิ กรรมทค่ี วรปฏิบัตใิ นวนั อาสาฬหบูชา
5 10 กรกฎาคม 2563 การถวายเทยี นพรรษา
เดก็ ดีมวี นิ ัย
เรื่องราวเก่ียวกบั 1 13 กรกฎาคม 2563 ของใชส้ ว่ นตัวเดก็
ตวั เดก็
3 2 14 กรกฎาคม 2563 สัญลกั ษณป์ ระจำตวั
3 15 กรกฎาคม 2563 การเกบ็ ของเขา้ ที่
4 16 กรกฎาคม 2563 การปฏิบตั ิตนในการใขห้ ้องนำ้
5 17 กรกฎาคม 2563 การปฏิบัตติ นตามขอ้ ตกลงของหอ้ งเรยี น
อวัยวะและการดูแลรักษา
1 20 กรกฎาคม 2563 หน้าทแ่ี ละการดูแลรกั ษาตา
4 2 21 กรกฎาคม 2563 หนา้ ท่ีและการดูแลรักษาหู
3 22 กรกฎาคม 2563 หน้าทแี่ ละการดแู ลรักษาจมูก
4 23 กรกฎาคม 2563 หนา้ ท่แี ละการดแู ลรักษาปาก
5 24 กรกฎาคม 2563 หน้าท่ีและการดูแลรักษามือ เทา้
กนิ ดีอย่ดู ีมีสุข
1 27 กรกฎาคม 2563 อาหารดีมปี ระโยชน์
5 2 28 กรกฎาคม 2563 ความสำคัญของการรบั ประทานอาหาร
3 29 กรกฎาคม 2563 การลา้ งมือ
4 30 กรกฎาคม 2563 การแปรงฟนั
5 31 กรกฎาคม 2563 สขุ นิสัยในการขบั ถา่ ย
กำหนดการสอนตามแผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ ภาคเรยี นท่ี1/2563 (ต่อ)
สาระการเรยี นรู้ สัปดาหท์ ่ี หน่วยการเรยี นรู้ เร่ือง
6 ขยับการสบายชีวี
เรอ่ื งราวเก่ยี วกับ 7 1 3 สิงหาคม 2563 ประโยชน์ของการพักผ่อน
ตัวเด็ก 8 2 4 สิงหาคม 2563 ประโยชน์ของการออกกำลงั กาย
9 3 5 สิงหาคม 2563
10 4 6 สิงหาคม 2563 การปฏิบตั ติ นในการออกกำลังกายและพกั ผอ่ น
5 7 สิงหาคม 2563
ปลอดภยั ไวก้ ่อน ประเภทของการออกกำลังกาย
1 10 สิงหาคม 2563 การเลน่ เคร่อื งเลน่ สนาม
2 11 สิงหาคม 2563
3 12 สงิ หาคม 2563 ความปลอดภัยในการเล่น
4 13 สิงหาคม 2563 ความปลอดภยั ในการใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้า
5 14 สิงหาคม 2563 ความปลอดภัยในการใช้ยา
หนูน้อยนักสัมผัส ความปลอดภัยบนท้องถนน
1 17 สงิ หาคม 2563 ความปลอดภยั ของตนเองจากผู้อื่น
2 18 สงิ หาคม 2563
3 19 สงิ หาคม 2563 การมองเห็น
4 20 สิงหาคม 2563 การดมกลน่ิ
5 21 สิงหาคม 2563 การได้ยิน
หนนู ้อยน่ารกั การชิมรส
1 24 สิงหาคม 2563 การสมั ผัส
2 25 สิงหาคม 2563
3 26 สิงหาคม 2563 มารยาทในการรบั ประทานอาหาร
4 27 สิงหาคม 2563 มารยาทในการฟัง พูด
5 28 สงิ หาคม 2563 มารยาทในการเดนิ ผา่ นผูใ้ หญ่
หนูทำได้ การนงั่ อยา่ งถูกวิธี
1 31 สิงหาคม 2563 การนอนอยา่ งถูกวธิ ี
2 1 กนั ยายน 2563
3 2 กันยายน 2563 มารยาทในการไหว้ผู้ใหญ่
4 3 กันยายน 2563 มารยาทในการกราบผใู้ หญ่
5 4 กนั ยายน 2563 มารยาทในการราบพระ
มารยาทในการรับ-ส่งของ
มารยาทในการเดนิ
กำหนดการสอนตามแผนการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ ภาคเรียนท่1ี /2563 (ต่อ)
สาระการเรยี นรู้ สปั ดาหท์ ี่ หน่วยการเรยี นรู้ เร่อื ง
11 บ้านแสนสขุ
1 7 กันยายน 2563 ความหมายและประโยชน์ของบา้ น
12 2 8 กนั ยายน 2563 พน้ื ท่แี ละบรเิ วณรอบบ้าน
3 9 กันยายน 2563 ประเภทและสว่ นประกอบของบา้ น
เร่ืองราวเกยี่ วกบั 13 4 10 กนั ยายน 2563 หอ้ งตา่ ง ๆ ภายในบ้าน
บุคคลและ 5 11 กันยายน 2563 การรักษาความสะอาดของบ้าน
ครอบครวั สขุ สนั ต์
สถานทีแ่ วดล้อม 1 14 กนั ยายน 2563 ความสมั พนั ธข์ องบุคคลในครอบครวั
เด็ก 2 15 กันยายน 2563 หน้าทีข่ องบคุ คลในครอบครวั
3 16 กนั ยายน 2563 การปฏิบัตติ นทีด่ ีต่อบคุ คลในครอบครัว
14 4 17 กนั ยายน 2563 การมีส่วนร่วมของบุคคลในครอบครวั
5 18 กนั ยายน 2563 สง่ิ ท่จี ำเปน็ สำหรบั ครอบครัว
15 บ้านเรือนเคยี งกนั
1 21 กนั ยายน 2563 ชื่อเพื่อนบ้าน
2 22 กนั ยายน 2563 การปฏิบตั ติ นต่อเพ่ือนบ้าน
3 23 กันยายน 2563 การช่วยเหลอื ซ่ึงกนั และกัน
4 24 กันยายน 2563 การร่วมกิจกรรมกบั เพอ่ื นบ้าน
5 25 กันยายน 2563 การอยรู่ ่วมกันอยา่ งมคี วามสขุ
โรงเรยี นของฉัน
1 28 กันยายน 2563 ชื่อศนู ยฯ์ ตรา สัญลักษณข์ องศูนยฯ์
2 29 กันยายน 2563 อาคารสถานท่ภี ายในศูนย์ฯ
3 30 กันยายน 2563 บุคลากรในศูนย์ฯ
4 1 ตุลาคม 2563 การปฏบิ ัตติ นภายในศูนยฯ์
5 2 ตุลาคม 2563 การดแู ลรกั ษาสถานท่ีตา่ ง ๆ
ชุมชนน่าอยู่
1 5 ตุลาคม 2563 ชือ่ ชมุ ชน
2 6 ตุลาคม 2563 ความสำคญั ของสถานทีใ่ นชุมชน
3 7 ตลุ าคม 2563 การรว่ มกิจกรรมในชุมชน
4 8 ตุลาคม 2563 การมีส่วนร่วมในชุมชน
5 9 ตุลาคม 2563 การดูแลสมบัตใิ นชุมชน
กำหนดการสอนตามแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ภาคเรียนท่ี 2/2563
สาระการเรียนรู้ สปั ดาหท์ ี่ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง
21 ส่งิ มีชวี ติ และไม่มีชีวิต
1 16 พฤศจกิ ายน 2563 ชอ่ื สงิ่ มชี ีวติ
22 2 17 พฤศจิกายน 2563 ชื่อส่ิงไม่มชี วี ิต
3 18 พฤศจกิ ายน 2563 ลกั ษณะสิ่งมชี ีวติ
ธรรมชาติรอบตัว 4 19 พฤศจกิ ายน 2563 ลกั ษณะส่ิงไมม่ ีชวี ิต
5 20 พฤศจกิ ายน 2563 ประโยชนแ์ ละโทษ
23 ฤดหู รรษา
1 23 พฤศจิกายน 2563 ชอ่ื ฤดูกาล
24 2 24 พฤศจิกายน 2563 ฤดูรอ้ น (ประโยชน์/โทษ)
3 25 พฤศจิกายน 2563 ฤดูฝน (ประโยชน์/โทษ)
25 4 26 พฤศจกิ ายน 2563 การปฏิบตั ติ ามฤดูกาล
5 27 พฤศจิกายน 2563 การปฏิบตั ติ นให้เหมาะสม
วนั สำคัญ : วันพอ่ แห่งชาติ
1 30 พฤศจิกายน 2563 ความสำคัญของวันพอ่ แห่งชาติ
2 1 ธันวาคม 2563 ความหมายของวนั พ่อแห่งชาติ
3 2 ธันวาคม 2563 การแต่งกายในวนั พ่อแหง่ ชาติ
4 3 ธนั วาคม 2563 การปฏิบตั ิตวั ในวันพอ่ แห่งชาติ
5 4 ธนั วาคม 2563 กิจกรรมในวนั พอ่ แหง่ ชาติ
กลางวันกลางคนื
1 7 ธนั วาคม 2563 ความหมายของกลางวันกลางคืน
2 8 ธันวาคม 2563 กิจวัตรชว่ งกลางวนั
3 9 ธนั วาคม 2563 กิจวตั รช่วงกลางคนื
4 10 ธนั วาคม 2563 การปฏบิ ัติตนในกลางวนั
5 11 ธันวาคม 2563 การปฏิบตั ิตนในกลางคนื
สตั วโ์ ลกนา่ รัก
1 14 ธันวาคม 2563 ประเภทของสตั ว์
2 15 ธันวาคม 2563 รปู รา่ งลักษณะของสัตวเ์ ลี้ยง
3 16 ธันวาคม 2563 อาหารของสัตวเ์ ล้ียง
4 17 ธนั วาคม 2563 ท่อี ยู่อาศยั ของสตั ว์เล้ียง
5 18 ธันวาคม 2563 ประโยชน์โทษและการดูแลสตั วเ์ ล้ยี ง
กำหนดการสอนตามแผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ภาคเรยี นที่ 2/2563 (ตอ่ )
สาระการเรยี นรู้ สัปดาห์ท่ี หน่วยการเรียนรู้ เรอื่ ง
26
ต้นไมแ้ สนรัก
1 21 ธันวาคม 2563 รปู ร่างลักษณะของตน้ ไม้
2 22 ธนั วาคม 2563 สว่ นประกอบของต้นไม้
3 23 ธันวาคม 2563 การปลกู ต้นไม้
4 24 ธันวาคม 2563 การดูแลรกั ษาต้นไม้
5 25 ธนั วาคม 2563 ประโยชน์และโทษของต้นไม้
วันสำคญั : เทศกาลวันขึ้นปีใหม่
1 28 ธันวาคม 2563 ความหมายของเทศกาลปใี หม่
27 2 29 ธันวาคม 2563 กิจกรรมในเทศกาลปีใหม่
3 30 ธันวาคม 2563 การปฏ่ิบตั ติ ัวในเทศกาลปีใหม่
4 31 ธนั วาคม 2563
5 1 มกราคม 2564
ธรรมชาติรอบตัว โลกของแมลง
1 4 มกราคม 2564 ช่อื ของแมลง
28 2 5 มกราคม 2564 ประเภทของแมลง
3 6 มกราคม 2564 สว่ นประกอบของแมลง
4 7 มกราคม 2564 ที่อยู่อาศัยของแมลง
5 8 มกราคม 2564 การป้องกันตนเองจากแมลงมพี ษิ
ผกั ผลไม้
1 11 มกราคม 2564 ชนิดของผัก
29 2 12 มกราคม 2564 ลักษณะและสีของผัก
3 13 มกราคม 2564 ชอ่ื ของผลไม้
4 14 มกราคม 2564 รูปร่างลกั ษณะและสขี องผลไม้
5 15 มกราคม 2564 วิธกี ารรับประทานผัก ผลไม้
เรารักประเทศไทย
ส่งิ ต่าง ๆ 1 18 มกราคม 2564 ธงชาติไทย
รอบตัวเด็ก
30 2 19 มกราคม 2564 การแต่งกาย (ชุดประจำชาติไทย)
3 20 มกราคม 2564 การร้องเพลงชาติไทย
4 21 มกราคม 2564 คำทักทาย
5 22 มกราคม 2564 ชนดิ ของอาหารไทย
กำหนดการสอนตามแผนการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ภาคเรยี นท่ี 2/2563 (ตอ่ )
สาระการเรยี นรู้ สปั ดาห์ที่ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง
31 ปลอดภัยในยานพาหนะ
สงิ่ ตา่ ง ๆ 32 1 25 มกราคม 2564 ความหมายของยานพาหนะ
รอบตวั เด็ก 33 2 26 มกราคม 2564 ประเภทของยานพาหนะ
34 3 27 มกราคม 2564 ชือ่ ของยานพาหนะ
35 4 28 มกราคม 2564 วิธเี ลือกใชย้ านพาหนะทีเ่ หมาะสม
5 29 มกราคม 2564 อนั ตรายจากยานพาหนะ
สาระแห่งสสี ัน
1 1 กุมภาพนั ธ์ 2564 ชอ่ื สี
2 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 ประเภทของสี
3 3 กมุ ภาพันธ์ 2564 สีท่ไี ดจ้ ากธรรมชาติ
4 4 กุมภาพนั ธ์ 2564 แม่สี
5 5 กุมภาพนั ธ์ 2564 การเลือกใช้สีอยา่ งปลอดภยั
สร้างฝันนกั คิด
1 8 กุมภาพนั ธ์ 2564 เรยี นรเู้ ร่อื งจำนวน 1 – 5
2 9 กุมภาพนั ธ์ 2564 การวดั เปรียบเทียบสิ่งของ 2 ส่ิง
3 10 กมุ ภาพันธ์ 2564 เรขาคณิต (บอกทิศทาง)
4 11 กุมภาพนั ธ์ 2564 เวลา
5 12 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 ทกั ษะทางคณติ ศาสตร์
วิทยาศาสตรส์ รา้ งสรรค์
1 15 กุมภาพนั ธ์ 2564 เครือ่ งมือ ชัง่ ตวง วัด
2 16 กมุ ภาพันธ์ 2564 แรงดงึ ดดู ของแมเ่ หล็ก
3 17 กุมภาพันธ์ 2564 พลังงานในชวี ิตประจำวนั
4 18 กุมภาพันธ์ 2564 ดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ ดวงดาว
5 19 กุมภาพนั ธ์ 2564 ของเล่นท่ีอยู่รอบตัว
การส่อื สารไร้พรมแดน
1 22 กุมภาพนั ธ์ 2564 ความหมายของการส่ือสาร
2 23 กมุ ภาพันธ์ 2564 อปุ กรณส์ ำหรับการสื่อสาร
3 24 กุมภาพันธ์ 2564 การตดิ ต่อสือ่ สารด้วยอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ
4 25 กมุ ภาพันธ์ 2564 ประโยชนข์ องการสอ่ื สาร
5 26 กุมภาพันธ์ 2564 ภาษาทีใ่ ช้ในการส่ือสาร
กำหนดการสอนตามแผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ ภาคเรียนที่ 2/2563 (ต่อ)
สาระการเรยี นรู้ สัปดาห์ที่ หน่วยการเรยี นรู้ เรอื่ ง
36 ท่องแดนอาเซียน
ส่งิ ต่าง ๆ 37 1 1 มนี าคม 2564 ธงอาเซียน
รอบตัวเดก็ 38 2 2 มนี าคม 2564 ตราสญั ลกั ษณ์อาเซียน
39 3 3 มนี าคม 2564 คำขวญั อาเซยี น
40 4 4 มนี าคม 2564 เพลงอาเซียน
5 5 มนี าคม 2564 ภาษาอาเซยี น
เรยี นรู้วัฒนธรรม
1 8 มนี าคม 2564 ศาสนาและวันสำคัญ
2 9 มีนาคม 2564 การละเล่น/การแสดง
3 10 มีนาคม 2564 ภาษา/ประเพณี
4 11 มนี าคม 2564 อาหารประจำชาติ
5 12 มีนาคม 2564 ชุดแตง่ กายประจำชาติ
ผู้นำพอเพยี ง
1 15 มนี าคม 2564 ความพอประมาณ
2 16 มนี าคม 2564 ความมีเหตุผล
3 17 มนี าคม 2564 ความรอบรู้
4 18 มนี าคม 2564 ความีภูมิคุ้มกนั ทด่ี ี
5 19 มีนาคม 2564 คุณธรรมความดี
หนนู ้อยตาวเิ ศษ
1 22 มนี าคม 2564 ปรเภทของขยะ
2 23 มนี าคม 2564 การคัดแยกขยะ
3 24 มนี าคม 2564 การกำจดั ขยะทถ่ี ูกวิธี
4 25 มีนาคม 2564 ประโยชน์และโทษของขยะ
5 26 มีนาคม 2564 การปอ้ งกันและลดการท้ิงขยะ
วันสำคัญ
1 29 มีนาคม 264 ความหมาย
2 30 มนี าคม 2564 ความสำคญั
3 31 มีนาคม 2564 การปฏบิ ตั ติ น
4 1 เมษายน 2564 กิจกรรมที่พึงปฏิบัติ
5 2 เมษายน 2564 ส่ิงท่ไี ม่ควรปฏบิ ัติ
ตารางกจิ กรรมประจำวนั
ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ บา้ นสายรอ่ งขา่
สังกดั องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลเชงิ ชมุ
กรมส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถิน่ กระทรวงมหาดไทย