The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หลักสูตรสถานศึกษา ศพด.บ้านบัวใหญ่

หลักสูตรสถานศึกษา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564

๔๖

สาระการเรียนรู้รายปี
สาระการเรียนรู้ใช้เป็นส่ือกลางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็กเพ่ือส่งเสริมพัฒนาการ

ทุกด้าน ให้เปน็ ไปตามจุดหมายของหลกั สูตรที่กำหนด ประกอบดว้ ย ประสบการณ์สำคัญและสาระท่ีควรเรียนรู้
ดงั นี้

๑. ประสบการณส์ ำคัญ
ประสบการณ์สำคญั เป็นแนวทางสำหรับครผู ู้สอนไปใชใ้ นการออกแบบการจัดประสบการณ์ ใหเ้ ดก็

ปฐมวยั เรียนรู้ ลงมือปฏิบัติ และได้รบั การส่งเสรมิ พัฒนาการครอบคลมุ ทุกด้าน ดังนี้
๑.๑ ประสบการณ์สำคัญท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มีโอกาส

พัฒนาการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเน้ือเล็ก และการประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเน้ือและระบบประสาท ใน
การทำกิจวัตรประจำวันหรือทำกิจกรรมต่างๆและสนับสนุนใหเ้ ดก็ มโี อกาสดแู ลสุขภาพและสุขอนามัย และการ
รกั ษาความปลอดภัย ดงั นี้

๑.๑.๑ การใชก้ ลา้ มเนอ้ื ใหญ่
- การเคล่ือนไหวอยู่กับที่
- การเคล่ือนไหวเคลือ่ นท่ี
- การเคลอ่ื นไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์
- การเคลอื่ นไหวทใี่ ชก้ ารประสานสมั พันธข์ องการใช้กล้ามเนอ้ื มัดใหญ่ในการ
ขวา้ ง การจบั การโยน การเตะ
- การเลน่ เคร่อื งเล่นสนามอยา่ งอิสระ

๑.๑.๒ การใชก้ ลา้ มเนือ้ เลก็
- การเล่นเครื่องเล่นสมั ผัสและการสร้างจากแท่งไม้ บล็อก
- การเขียนภาพและการเล่นกับสี
- การปั้น
- การประดษิ ฐ์ส่งิ ต่างๆด้วย เศษวัสดุ
- การหยบิ จับ การใช้กรรไกร การฉีก การตัด การปะ และการร้อยวสั ดุ

๑.๑.๓ การรกั ษาสขุ ภาพอนามยั ส่วนตวั
- การปฏบิ ตั ติ นตามสุขอนามัย สขุ นสิ ยั ที่ดใี นกจิ วัตรประจำวัน

๑.๑.๔ การรักษาความปลอดภัย
- การปฏบิ ตั ิตนให้ปลอดภยั ในกจิ วัตรประจำวนั
- การฟังนทิ าน เรื่องราว เหตุการณ์ เกยี่ วกับการป้องกนั และรกั ษาความปลอดภยั
- การเล่นเคร่ืองเลน่ อยา่ งปลอดภัย
- การเลน่ บทบาทสมมตเิ หตุการณ์ต่างๆ

๑.๑.๕ การตระหนกั รเู้ กีย่ วกับรา่ งกายตนเอง
- การเคลอื่ นไหวเพื่อควบคมุ ตนเองไปในทศิ ทาง ระดบั และพ้นื ที่
- การเคลอ่ื นไหวข้ามสง่ิ กดี ขวาง

หลกั สตู รสถานศึกษา ศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ บา้ นบัวใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560

๔๗

๑.๒ ประสบการณ์สำคัญท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้
แสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของตนเองที่เหมาะสมกับวัย ตระหนักถึงลักษณะพิเศษเฉพาะท่ีเป็น อัต
ลักษณ์ ความเป็นตัวของตัวเอง มีความสุข ร่าเริงแจ่มใส การเห็นอกเห็นใจผู้อ่ืน ได้พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม
สุนทรียภาพ ความรู้สึกทด่ี ตี อ่ ตนเอง และความเช่ือมน่ั ในตนเองขณะปฏบิ ตั ิกจิ กรรมต่างๆ ดังนี้

๑.๒.๑ สนุ ทรยี ภาพดนตรี
- การฟังเพลง การร้องเพลง และการแสดงปฏิกริ ิยาโต้ตอบเสยี งดนตรี
- การเคลือ่ นไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี
- การเล่นบทบาทสมมติ
- การทำกจิ กรรมศิลปะต่างๆ
- การสร้างสรรค์สิ่งสวยงาม

๑.๒.๒ การเลน่
- การเล่นอิสระ
- การเล่นรายบคุ คล กลุม่ ย่อย กลุ่มใหญ่
- การเล่นตามมุมประสบการณ์
- การเล่นนอกหอ้ งเรียน

๑.๒.๓ คุณธรรม จริยธรรม
- การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่นับถือ
- การฟงั นทิ านเกย่ี วกับคุณธรรม จรยิ ธรรม
- การรว่ มสนทนาแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ เชิงจริยธรรม

๑.๒.๔ การแสดงออกทางอารมณ์
- การสะทอ้ นความรสู้ ึกของตนเองและผอู้ ืน่
- การเล่นบทบาทสมมติ
- การเคล่ือนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี
- การรอ้ งเพลง
- การทำงานศลิ ปะ

๑.๒.๕ การมอี ตั ลกั ษณ์เฉพาะตนและเช่ือวา่ ตนเองมคี วามสามารถ
- การปฏิบัติกจิ กรรมตา่ งๆตามความสามารถของตนเอง

๑.๒.๖ การเห็นอกเห็นใจผู้อนื่
- การแสดงความยินดเี ม่อื ผู้อื่นมคี วามสขุ เหน็ อกเหน็ ใจเมื่อผู้อ่นื เศร้าหรือเสียใจ
และการช่วยเหลือปลอบโยนเมื่อผอู้ ่นื ได้รบั บาดเจ็บ

หลักสูตรสถานศึกษา ศูนย์พฒั นาเดก็ เล็กบา้ นบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560

๔๘

๑.๓ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มีโอกาส
ปฏสิ ัมพันธ์กับบคุ ลและสิ่งแวดล้อมต่างๆรอบตวั จากการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตา่ งๆผ่านการเรียนรู้ทางสงั คม เช่น การ
เล่น การทำงานกับผอู้ นื่ การปฏิบตั ิกิจวตั รประจำวัน การแก้ปญั หาข้อขดั แยง้ ตา่ งๆ

๑.๓.๑ การปฏบิ ตั ิกิจวตั รประจำวัน
- การชว่ ยเหลือตนเองในกิจวตั รประจำวนั
- การปฏิบตั ิตนตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเด็กปฐมวยั

๑.๓.๒ การดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- การมีส่วนรว่ มรบั ผดิ ชอบดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมท้งั ภายในและภายนอกห้องเรยี น
- การทำงานศิลปะทีใ่ ช้วัสดหุ รอื ส่งิ ของท่ใี ช้แลว้ มาใช้ซ้ำหรอื แปรรปู แล้วนำ
กลับมาใช้ใหม่
- การเพาะปลกู และดูแลต้นไม้
- การเลีย้ งสัตว์
- การสนทนาข่าวและเหตุการณท์ ี่เก่ยี วกบั ธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมใน
ชวี ติ ประจำวัน

๑.๓.๓ การปฏบิ ตั ิตามวฒั นธรรมทอ้ งถิ่นทีอ่ าศัยและความเปน็ ไทย
- การเลน่ บทบาทสมมุตกิ ารปฏบิ ตั ิตนในความเป็นคนไทย
- การปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ ที่อาศัยและประเพณีไทย
- การประกอบอาหารไทย
- การศกึ ษานอกสถานที่
- การละเล่นพื้นบ้านของไทย

๑.๓.๔ การมปี ฏสิ มั พันธ์ มีวินัย มีสวนร่วม และบทบาทสมาชกิ ของสังคม
- การรว่ มกำหนดข้อตกลงของห้องเรียน
- การปฏบิ ัตติ นเป็นสมาชิทด่ี ีของห้องเรียน
- การใหค้ วามรว่ มมือในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมต่าง ๆ
- การดูแลห้องเรยี นรว่ มกนั
- การร่วมกจิ กรรมวันสำคัญ

๑.๓.๕ การเลน่ แบบรว่ มมือรว่ มใจ
- การร่วมสนทนาและแลกเปลย่ี นความคิดเห็น
- การเลน่ และทำงานร่วมกบั ผู้อน่ื
- การทำศลิ ปะแบบร่วมมือ

๑.๓.๖ การแก้ปญั หาความขดั แยง้
- การมีสว่ นรว่ มในการเลอื กวธิ ีการแกป้ ญั หา
- การมสี ่วนร่วมในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง

หลักสูตรสถานศกึ ษา ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ บ้านบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560

๔๙

๑.๓.๗ การยอมรับในความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคล
- การเล่นหรอื ทำกิจกรรมรว่ มกับกลุ่มเพื่อน

๑.๔ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้รับรู้
เรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัวผ่านการมีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อม บุคคลและสื่อต่างๆ ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่
หลากหลาย เพื่อเปิดโอกาสให้เดก็ พัฒนาการใช้ภาษา จินตนาการความคิดสร้างสรรค์การแก้ปัญหา การคิดเชิง
เหตผุ ล และการคิดรวบยอดเก่ียวกับสิ่งต่างๆ รอบตัวและมีความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตรท์ ่ีเป็นพื้นฐานของ
การเรยี นรูใ้ นระดับที่สงู ขึ้นตอ่ ไป

๑.๔.๑ การใช้ภาษา
- การฟังเสียงตา่ งๆ ในสิง่ แวดล้อม
- การฟงั และปฏบิ ตั ิตามคำแนะนำ
- การฟังเพลง นทิ าน คำคล้องจอง บทร้อยกรองหรอื เรื่องราวตา่ งๆ
- การแสดงความคดิ ความรู้สึก และความตอ้ งการ
- การพดู กับผู้อ่ืนเกย่ี วกับประสบการณ์ของตนเอง หรือพดู เล่าเร่อื งราวเกยี่ วกบั
ตนเอง
- การพูดอธบิ ายเกีย่ วกบั สง่ิ ของ เหตกุ ารณ์ และความสัมพันธ์ของสิ่งตา่ งๆ
- การพูดอย่างสรา้ งสรรคใ์ นการเลน่ และการกระทำต่างๆ
- การรอจงั หวะทเี่ หมาะสมในการพดู
- การพูดเรียงลำดบั เพื่อใชใ้ นการส่อื สาร
- การอ่านหนงั สอื ภาพ นทิ าน หลากหลายประเภท/รูปแบบ
- การอา่ นอสิ ระตามลำพงั การอา่ นรว่ มกัน การอ่านโดยมีผู้ชีแ้ นะ
- การเหน็ แบบอยา่ งของการอ่านทถี่ กู ต้อง
- การสังเกตทิศทางการอ่านตัวอักษร คำ และข้อความ
- การอ่านและช้ีข้อความ โดยกวาดสายตาตามบรรทดั จากซ้ายไปขวา จากบน
ลงลา่ ง
- การสงั เกตตัวอักษรในชื่อของตน หรือคำคนุ้ เคย
- การสังเกตตัวอักษรท่ปี ระกอบเป็นคำผ่านการอ่านหรอื เขียนของผูใ้ หญ่
- การคาดเดาคำ วลี หรือประโยค ท่ีมโี ครงสรา้ งซ้ำๆกนั จากนทิ าน เพลง
คำคล้องจอง
- การเลน่ เกมทางภาษา
- การเหน็ แบบอยา่ งของการเขยี นท่ีถูกต้อง
- การเขยี นร่วมกันตามโอกาส และการเขียนอสิ ระ
- การเขยี นคำที่มคี วามหมายกับตวั เด็ก/คำคุ้นเคย
- การคดิ สะกดคำและเขียนเพ่ือสื่อความหมายดว้ ยตนเองอย่างอสิ ระ

หลักสตู รสถานศกึ ษา ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กบ้านบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560

๕๐

๑.๔.๒ การคดิ รวบยอด การคิดเชงิ เหตุผล การตัดสนิ ใจและแก้ปัญหา
- การสงั เกตลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลีย่ นแปลง และความสมั พันธ์ของสงิ่
ต่างๆ โดยใช้ประสาทสมั ผสั อยา่ งเหมาะสม
- การสังเกตส่งิ ตา่ งๆ และสถานที่จากมุมมองท่ตี า่ งกนั
- การบอกและแสดงตำแหน่ง ทศิ ทาง และระยะทางของสงิ่ ตา่ งๆดว้ ยการกระทำ
ภาพวาด ภาพถา่ ย และรปู ภาพ
- การเลน่ กับส่ือตา่ งๆทเ่ี ป็นทรงกลม ทรงสเี่ หลยี่ มมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย
- การคดั แยก การจดั กลุ่ม และการจำแนกส่ิงต่างๆตามลักษณะและรูปร่าง
รูปทรง
- การต่อของชน้ิ เล็กเติมในช้นิ ใหญ่ใหส้ มบูรณ์ และการแยกชิ้นสว่ น
- การทำซ้ำ การต่อเติม และการสร้างแบบรปู
- การนับและแสดงจำนวนของส่งิ ต่างๆในชีวติ ประจำวนั
- การเปรียบเทียบและเรียงลำดบั จำนวนของส่ิงต่างๆ
- การรวมและการแยกสิง่ ต่างๆ
- การบอกและแสดงอันดับทข่ี องสิง่ ต่างๆ
- การชง่ั ตวง วัดสิง่ ตา่ งๆโดยใช้เคร่อื งมือและหน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
- การจับคู่ การเปรียบเทียบ และการเรยี งลำดับ สิ่งต่างๆ ตามลักษณะความยาว/
ความสงู นำ้ หนัก ปรมิ าตร
- การบอกและเรียงลำดบั กจิ กรรมหรือเหตุการณ์ตามช่วงเวลา
- การใชภ้ าษาทางคณิตศาสตรก์ ับเหตกุ ารณใ์ นชวี ิตประจำวัน
- การอธบิ ายเช่อื มโยงสาเหตแุ ละผลทเี่ กิดข้ึนในเหตุการณห์ รอื การกระทำ
- การคาดเดาหรือการคาดคะเนสิง่ ทอ่ี าจเกิดขึ้นอยา่ งมีเหตุผล
- การมสี ว่ นร่วมในการลงความเห็นจากข้อมูลอย่างมเี หตผุ ล
- การตัดสนิ ใจและมีส่วนร่วมในกระบวนการแก้ปญั หา

๑.๔.๓ จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
- การรบั รู้ และแสดงความคิดความรู้สึกผ่านส่อื วัสดุ ของเลน่ และชิน้ งาน
- การแสดงความคิดสร้างสรรคผ์ ่านภาษา ทา่ ทาง การเคล่ือนไหว และศลิ ปะ
- การสร้างสรรคช์ ้ินงานโดยใชร้ ูปรา่ งรูปทรงจากวัสดุท่หี ลากหลาย

๑.๔.๔ เจตคตทิ ่ดี ตี ่อการเรยี นรูแ้ ละการแสวงหาความรู้
- การสำรวจส่งิ ต่างๆ และแหลง่ เรียนรู้รอบตัว
- การต้ังคำถามในเรื่องทีส่ นใจ
- การสืบเสาะหาความรู้เพื่อค้นหาคำตอบของข้อสงสยั ต่างๆ
- การมสี ว่ นรว่ มในการรวบรวมข้อมูลและนำเสนอข้อมลู จากการสืบเสาะหา
ความรู้ในรูปแบบต่างๆและแผนภมู อิ ย่างงา่ ย

หลกั สูตรสถานศึกษา ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กบ้านบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560

๕๑

2. สาระทค่ี วรเรยี นรู้
สาระที่จะให้เด็กอายุ 3 – 5 ปี เรียนรู้ ควรเป็นเรื่องที่เก่ียวกับตัวเด็กเป็นลำดับแรกแล้วจึงขยายไปสู่

เรือ่ งท่ีอยู่ไกลตัวเด็กเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน เด็กควรได้รบั การอบรมเลี้ยงดู ส่งเสริมพัฒนาการ
และการเรียนรู้ให้เหมาะสมตามวยั ดังน้ี

2.1 เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับช่ือและเพศของตนเอง การเรียกช่ือ
อวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกาย การดูแลตนเองเบ้ืองต้น โดยมีผู้ใหญ่ให้การช่วยเหลือ การล้างมือ การขับถ่าย
การรับประทานอาหาร การแปรงฟัน การอาบน้ำ การถอดและสวมเส้ือผ้า การรักษาความปลอดภัย การเก็บ
ของใช้ประจำตัว เช่น รองเท้า กระเป๋า แก้วน้ำ เก็บผลงานของตนเองในสัญลักษณ์ประจำตัว ฯลฯ และการ
นอนหลับพกั ผอ่ น

2.2 เร่ืองราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานท่ีแวดล้อมรอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เก่ียวกับบุคคล
ภายในครอบครัวและบุคคลภายนอกครอบครัว การรู้จักช่ือเรียกหรือสรรพนามแทนตัวของญาติหรือผู้เล้ียงดู
วธิ ีปฏบิ ัติกับผู้อ่ืนอย่างเหมาะสม การทักทาย การไหว้ การเล่นกบั ผู้อ่ืน การไปเท่ียวในสถานท่ีต่างๆ เชน่ ตลาด
รา้ นค้า วัด สถานที่สำคัญทางโบราณสถาน โบราณวัตถุ และการเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน เช่น กิจกรรมทาง
ศาสนา กจิ กรรทางวฒั นธรรม และประเพณีในท้องถิ่น

2.3 เร่ืองราวเก่ียวกับธรรมชาติรอบตัว เด็กควรเรียนรู้เก่ียวกับการสำรวจส่ิงต่างๆ ใน
ธรรมชาติรอบตัว เช่น สัตว์ พืช ดอกไม้ ใบไม้ ผ่านการใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า การเล่นน้ำ เล่นทราย การเลี้ยง
สัตว์ การเดินเลน่ ในสวนสาธารณะ การเพาะปลกู ต้นไม้อย่างง่าย

2.4 เร่ืองราวเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เก่ียวกับช่ือของเล่นของใช้รอบตัว
เด็ก การเชื่อมโยงลักษณะหรือคุณสมบัติอย่างง่ายๆ ของส่ิงต่างๆ ท่ีอยู่ใกล้ตัวเด็ก เช่น แสง สี เสียง รูปร่าง
รูปทรง ขนาด ผิวสัมผัส ความแข็ง นุ่ม การเปรียบเทียบสิ่งท่ีเหมือน ความแตกต่าง การชั่งน้ำหนัก การนับ
จำนวน

การจดั ประสบการณ์
การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย 3 – 5 ปี จะไม่จัดเป็นรายวิชา แต่จัดในรูปของกิจกรรม

บูรณาการผ่านการเล่น เพื่อให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เกิดการเรียนรู้ ได้พัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์
จติ ใจ สังคม และสติปัญญา ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กได้ยดึ การเรยี นรแู้ ละแนวทางการจดั ประสบการณ์ ดังน้ี

หลกั การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้
1. จัดประสบการณก์ ารเลน่ และการเรียนรเู้ พ่อื พฒั นาเดก็ โดยองคร์ วมอย่างตอ่ เนื่อง
2. เนน้ เดก็ เป็นสำคญั สนองความต้องการ ความสนใจ ความแตกต่างระหว่างบคุ คลและบริบท
ของ สังคมทีเ่ ด็กอาศัยอยู่
3. จัดให้เดก็ ไดร้ บั การพัฒนาโดยให้ความสำคัญท้ังกบั กระบวนการและผลผลิต
4. จดั การประเมนิ พฒั นาการใหเ้ ปน็ กระบวนการอย่างตอ่ เนื่องและเป็นสว่ นหน่งึ ของการจดั
ประสบการณ์
5. ให้ผ้ปู กครองและชมุ ชนมสี ่วนร่วมในการพฒั นาเดก็

หลักสูตรสถานศกึ ษา ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ บา้ นบวั ใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560

๕๒

แนวทางการจดั ประสบการณ์
1. จดั ประสบการณ์ให้สอดคลอ้ งกับจิตวิทยาพัฒนาการ คือเหมาะกับอายุ วฒุ ภิ าวะ และระดบั
พฒั นาการ เพอื่ ให้เด็กทุกคนไดพ้ ฒั นาเตม็ ตามศักยภาพ
2. จัดประสบการณ์ใหส้ อดคล้องกับลกั ษณะธรรมชาติการเรียนรขู้ องสมองของเด็กวัยนีค้ ือ เดก็
ได้ ลงมอื กระทำ เรยี นรผู้ ่านประสาทสมั ผัสท้ัง ๕ ไดเ้ คลอ่ื นไหว สำรวจ เลน่ สงั เกต สืบคน้
ทดลอง และคิดแก้ปัญหาดว้ ยตนเอง
3. จัดประสบการณใ์ นรูปแบบบูรณาการ คือ บรู ณาการทัง้ ทกั ษะ และสาระการเรียนรู้
4. จดั ประสบการณ์ให้เด็กไดร้ เิ ริม่ คดิ วางแผน ตัดสนิ ใจ ลงมอื กระทำ และนาเสนอความคิดโดย
ผ้สู อนเป็นผูส้ นับสนุน อำนวยความสะดวก และเรยี นรรู้ ่วมกบั เด็ก
5. จดั ประสบการณ์ใหเ้ ดก็ มีปฏิสมั พนั ธ์กบั เด็กอ่ืน กบั ผใู้ หญ่ ภายใต้สภาพแวดล้อมทเ่ี อ้อื ตอ่ การ
เรยี นรูใ้ นบรรยากาศท่ีอบอุน่ มคี วามสขุ และเรยี นรู้การทำกจิ กรรมแบบรว่ มมือในลักษณะ
ตา่ งๆ กนั
6. จดั ประสบการณ์ใหเ้ ดก็ มปี ฏิสมั พันธ์กับสอ่ื และแหล่งการเรียนรู้ท่ีหลากหลายและอยูใ่ นวิถี
ชีวติ ของเดก็
7. จัดประสบการณท์ ่ีส่งเสรมิ ลกั ษณะนิสัยทดี่ ี และทกั ษะการใช้ชีวิตประจำวันตลอดจน
สอดแทรก คุณธรรม จรยิ ธรรม ใหเ้ ปน็ สว่ นหนึ่งของการจัดประสบการณก์ ารเรียนอยา่ ง
ต่อเนื่อง
8. จดั ประสบการณ์ทั้งในลักษณะทีม่ กี ารวางแผนไวล้ ว่ งหน้าและแผนท่เี กดิ ขน้ึ ในสภาพจริงโดย
ไม่ได้คาดการณไ์ ว้
9. ให้ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดประสบการณ์ ท้ังการวางแผน การสนับสนุนส่ือการ
สอน การเขา้ รว่ มกจิ กรรม และการประเมนิ พัฒนาการ
10. จัดทำสารนิทศั น์ด้วยการรวบรวมข้อมูลเก่ยี วกบั พฒั นาการและการเรียนรู้ของเด็กเป็น
รายบุคคล นำมาไตรต่ รองและใชใ้ หเ้ ปน็ ประโยชน์ต่อการพัฒนาเดก็ และการวจิ ยั ในชนั้ เรยี น

การจัดกจิ กรรมประจำวัน

๑. จดั กจิ กรรมแบบบูรณาการผ่านกิจกรรมหลกั ๖ กิจกรรม ไดแ้ ก่
๑.๑ กิจกรรมการเคลอ่ื นไหวและจงั หวะ
๑.๒ กิจกรรมเสริมประสบการณ์/กิจกรรมในวงกลม
๑.๓ กิจกรรมสรา้ งสรรค์
๑.๔ กิจกรรมเสร/ี การเล่นตามมมุ
๑.๕ กจิ กรรมกลางแจ้ง
๑.๖ กจิ กรรมเกมการศึกษา

2. กำหนดเวลาแต่ละกิจกรรมให้เหมาะสมกับวยั ของเดก็ และลักษณะของกิจกรรม เช่นกจิ กรรมที่ต้อง
ใช้ความคิดทั้งกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ไม่ควรใช้เวลาต่อเน่ือง นานกว่า ๒๐ นาที กิจกรรมที่เด็กมีอิสระเลือกเล่น
เสรี ใชเ้ วลาประมาณ ๔๐ – ๖๐ นาที

3. กิจกรรมควรมีความสมดุลระหว่างกิจกรรมในห้องและนอกห้อง กิจกรรมท่ีใช้กล้ามเนื้อใหญ่และ
กล้ามเน้ือเล็ก กิจกรรมท่ีเป็นรายบุคคล กลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ กิจกรรมที่เด็กเป็นผู้ริเริ่ม และครูเป็นผู้ริเร่ิม
กจิ กรรมท่ีใช้กำลังและกิจกรรมสงบ

หลกั สตู รสถานศกึ ษา ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็กบา้ นบัวใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560

๕๓

๔. จัดกิจกรรมใหเ้ ดก็ ได้พัฒนาท้ังกล้ามเนือ้ ใหญ่ กล้ามเนื้อเลก็ พัฒนาอารมณ์ จิตใจ ปลูกฝงั คุณธรรม
จรยิ ธรรม พฒั นาสังคมนสิ ยั พัฒนาการคิด พัฒนาภาษา ส่งเสรมิ จินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์

ตารางกิจกรรมประจำวัน

ลำดบั ที่ เวลา กจิ กรรม

๑ ๐๘.๐๐ – ๐๘.๓๐ น. รบั เดก็ /ตรวจสขุ ภาพ

๒ ๐๘.๓๐ - ๐๘.๔๕ น. เคารพธงชาติ

๓ ๐๘.๔๕ - ๐๙.๐๐ น. กิจกรรมเคลื่อนไหว

๔ ๐๙.๐๐ - ๐๙.3๐ น. กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์

๕ ๐๙.3๐ – ๑๐.0๐ น. พกั (รับประทานอาหารว่างตอนเชา้ )

๖ ๑๐.๓๐ - ๑1.00 น. กิจกรรมกลางแจ้ง

๗ ๑1.00 - ๑2.00 น. รบั ประทานอาหารกลางวนั /เขา้ หอ้ งนำ้ /แปรงฟนั

๘ ๑2.00 – ๑4.-00 น. นอนพักผ่อน

๙ ๑4.00 – 14.3๐ น. เกบ็ ทนี่ อน, ล้างหน้า ,ทาแปง้ , ดื่มนม

๑๐ 14.3๐ - ๑5.0๐ น. เกมการศกึ ษา /เตรยี มรอผู้ปกครอง
หมายเหตุ : ตารางกจิ กรรมประจำวันน้สี ามารถยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสม

หน่วยการเรยี นรู้สำหรับเดก็ อายุ ๓ - ๕ ปี

สาระการเรียนรู้ตาม สาระการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรูย้ อ่ ย
(รวม 40 หน่วย)
หลกั สูตร ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก - ชอ่ื ครูประจำช้นั ช้ันเรียน
พ.ศ.2560 ครู
- ของใชป้ ระจำตวั เดก็
1. เร่อื งราวเกย่ี วกับ เรื่องราว แรกรบั ประทบั ใจ - การปฏิบัติตนในการใช้ห้องน้ำ
ห้องส้วม
ตวั เด็ก เกี่ยวกบั ตวั เด็ก (สัปดาห์ที่ 1-2) - การเกบ็ ของเข้าท่ี
- การปฏบิ ัติตนในการ
ชอ่ื นัน้ สำคัญไฉน รับประทานอาหาร
- ชอื่ เล่น / สัญลักษณข์ องเพ่ือน
- ชื่อสกุลของตนเอง / สัญลักษณ์
ประจำตัวของตนเอง
- ชอื่ สกุลของเพือ่ น
- คำนำหน้าชื่อ / เพศ / อายุ
- รปู รา่ ง ลักษณะ หนา้ ตา

หลกั สูตรสถานศึกษา ศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ บา้ นบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560

๕๔

เด็กดมี ีวนิ ยั - ปฏิบตั ติ ามกฎของห้องเรยี น
- การเกบ็ อปุ กรณ์และเครื่องใชใ้ น
อวยั วะและการดูแล หอ้ งเรียน
รกั ษา - การใช้ภาษาสภุ าพ (สวัสดี,
ขอบคุณ, ขอบใจ, ขอโทษ, ไม่
เปน็ ไร)
- การชว่ ยเหลอื ตนเองในการ
รับประทานอาหาร
- การปฏบิ ตั ิตนตอ่ บุคคล
ต่าง ๆ ในศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก

- หนา้ ท่ีและการดูแลรกั ษา ตา
- หน้าทแ่ี ละการดูแลรกั ษา หู
- หนา้ ทแ่ี ละการดูแลรักษา จมกู
- หนา้ ทีแ่ ละการดูแลรกั ษา ปาก
- หน้าที่และการดูแลรักษา มือ,
เทา้

สาระการเรยี นรู้ตาม สาระการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ สาระการเรียนรูย้ อ่ ย
หลักสูตร
พ.ศ.2560 ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ (รวม 40 หน่วย) - อาหารดีมีประโยชน์
- การทำความสะอาดมอื
1. เรือ่ งราวเกี่ยวกบั เร่อื งราว กนิ ดอี ยู่ดีมสี ุข - สุขนิสัยในการขับถ่าย
- การทำความสะอาดปาก / ฟัน
ตวั เด็ก (ตอ่ ) เกยี่ วกับตวั เดก็ - การทำความสะอาดร่างกาย
- ชนิดของการออกกำลังกาย
ขยับกายสบายชวี ี - การปฏบิ ัติตนในการออกกำลงั
กายและการพักผอ่ น
ปลอดภัยไวก้ ่อน - การเลน่ เครื่องเลน่ สนาม
- ประโยชน์ของการพกั ผ่อน
- ประโยชนข์ องการออกกำลงั
กาย
- ความปลอดภัยในการเล่น
- ความปลอดภัยบนท้องถนน
- ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใน ก า ร ใช้
เคร่ืองใช้ไฟฟ้า
- ความปลอดภยั ในการใชย้ า
- ความปลอดภัยในการใช้ของ
แหลมคม

หลกั สูตรสถานศกึ ษา ศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ บ้านบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560

๕๕

หนูนอ้ ยนักสัมผัส - การมองเหน็
หนทู ำได้ - การดมกลน่ิ
- การไดย้ ิน
- การรับรู้
- การสัมผัส

- การลา้ งหน้า / แปรงฟนั
- การอาบน้ำ
- การแตง่ ตวั
- การรับประทานอาหาร
- การเก็บรกั ษาสิง่ ของตา่ ง ๆ
ครอบครัว

สาระการเรยี นรูต้ าม สาระการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้ สาระการเรียนร้ยู ่อย
หลักสูตร
พ.ศ.2560 ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ (รวม 40 หน่วย) - มารยาทในการพดู
- การทำความเคารพผใู้ หญ่
1. เรื่องราวเกยี่ วกับ เรื่องราว หนนู ้อยน่ารัก - มารยาทในการรับของ
- มารยาทในสงั คม (การต้อนรับ
ตัวเด็ก (ตอ่ ) เก่ยี วกับตวั เดก็ / การรบั โทรศพั ท์ / การเดนิ
ผ่านผ้ใู หญ่ ฯลฯ)
- มารยาทในการแต่งกาย

2. เรื่องราวเก่ยี วกับ เรื่องราวเกี่ยวกับ บ้านแสนสุข - ความหมายและประโยชน์
บคุ คลและ บุคคลและ ของบ้าน
สงิ่ แวดลอ้ มรอบ ส่ิงแวดล้อมรอบ - พื้นที่และบรเิ วณรอบบ้าน
ตวั เดก็ ตวั เด็ก - ประเภทและส่วนประกอบของ
บา้ น
- หอ้ งต่าง ๆ ภายในบา้ น
- การรักษาความสะอาด

ครอบครวั สขุ สันต์ - ความสัมพันธข์ องครอบครวั
- หน้าท่ีของบุคคลภายใน
ครอบครวั
- การปฏบิ ัตติ นต่อสมาชิกใน
ครอบครัว
- การมีสว่ นร่วมภายในครอบครวั
- ส่งิ ทจ่ี ำเปน็ สำหรับครอบครัว

หลักสูตรสถานศึกษา ศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ บ้านบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560

๕๖

บ้านใกลเ้ รือนเคยี ง - ความหมายของเพื่อนบา้ น
- ไมส่ ร้างความเดือดร้อนใหเ้ พื่อน
บ้าน
- การช่วยเหลอื ซ่งึ กนั และกัน
- การรว่ มกจิ กรรมกับเพื่อนบ้าน
- การอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข

สาระการเรยี นรู้ตาม สาระการเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ยอ่ ย
(รวม 40 หน่วย)
หลกั สูตร ศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็ก
พ.ศ.2560

2. เรอ่ื งราวเก่ยี วกับ เรอื่ งราวเกย่ี วกับ จงั หวดั ของเรา - ชือ่ ลักษณะภูมิประเทศ

บุคคลและ บุคคลและ ภมู ิอากาศจังหวัดของเรา

สิ่งแวดลอ้ มรอบ ส่ิงแวดลอ้ มรอบ - คำขวัญของจังหวดั

ตัวเด็ก (ต่อ) ตวั เดก็ - อาชพี และอาหารพ้ืนเมืองของ

จงั หวดั

- ศาสนาและประเพณีทอ้ งถิ่น

- สถานที่สำคญั ของจังหวดั

ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก - ช่อื ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็

ของเรา ตราสญั ลักษณ์

- สถานที่ตง้ั ของศูนย์พัฒนา

เดก็ เลก็

- ห้องตา่ ง ๆ ภายในศูนย์พฒั นา

เด็กเลก็

- สถานที่ตา่ ง ๆ ภายในศนู ย์

พัฒนาเด็กเล็ก

- การดแู ลรกั ษา

บุคคลที่ควรรจู้ กั - ความสำคญั ของศูนย์พัฒนา

ภายในศูนยพ์ ัฒนาเด็ก เด็กเลก็

เล็ก - บคุ คลตา่ ง ๆ ภายในศนู ย์พัฒนา

เดก็ เลก็

- หนา้ ท่ีบคุ คลภายในศูนย์พฒั นา

เดก็ เลก็

- การร่วมกิจกรรมในศูนย์พัฒนา

เด็กเลก็ อยา่ งมีความสขุ

- การปฏิบตั ิตนตอ่ บคุ คลภายใน

ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็

ชมุ ชนของเรา - สถานที่ใกลเ้ คียงศนู ย์พฒั นา

เดก็ เลก็

หลักสูตรสถานศึกษา ศูนย์พฒั นาเดก็ เล็กบ้านบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560

๕๗

- ความสำคญั ของสถานที่ /
ความหมาย
- การชว่ ยกนั ดูแลรกั ษา
- การปฏิบัตติ อ่ ชมุ ชน
- การมีสว่ นร่วมในชมุ ชน

สาระการเรียนร้ตู าม สาระการเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรูย้ อ่ ย
(รวม 40 หนว่ ย)
หลักสูตร ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เล็ก - ช่ืออาชพี ตา่ ง ๆ เชน่ ครู
พ.ศ.2560 ตำรวจ ทหาร แพทย์
พยาบาล ฯลฯ
2. เรือ่ งราวเก่ียวกับ เร่อื งราวเก่ียวกบั อาชีพในฝนั - หนา้ ทแี่ ละการแต่งกายของ
แตล่ ะอาชีพ
บคุ คลและ บคุ คลและ - สถานที่ของการปฏิบตั ิงาน
- อปุ กรณใ์ นการประกอบอาชีพ
ส่งิ แวดลอ้ มรอบ ส่ิงแวดล้อมรอบ - ความรสู้ กึ ท่ดี ตี ่ออาชีพ
- เรื่องทเี่ ดก็ สนใจ / อยากรู้ /
ตัวเด็ก (ต่อ) ตวั เดก็ อยากลอง
- สรุป / ทบทวน
หนชู ่างสงสยั - การประเมนิ พฒั นาการ
- ความหมายของสง่ิ มีชวี ิต
3. เร่ืองราวเกยี่ วกับ ธรรมชาติรอบตวั สงิ่ มชี ีวติ - คณุ ลกั ษณะของส่งิ มชี วี ิต
ธรรมชาติ (ความเหมือน / ความแตกตา่ ง
ของสงิ่ มีชีวิตของพืช / สตั ว)์
ส่งิ ไม่มชี ีวิต - ประโยชนข์ องส่ิงมีชีวติ
- โทษของสง่ิ มชี ีวติ
เทพ 3 ฤดู - การดแู ลและอนุรกั ษ์
- ความหมายของสงิ่ ไมม่ ชี ีวติ
(ชือ่ รูปร่าง และลกั ษณะ)
- คุณลกั ษณะของส่ิงไม่มชี วี ิต
- ประโยชน์ของสิ่งไมม่ ชี วี ิต
- โทษของสิง่ ไมม่ ีชวี ิต
- การดแู ลและการอนุรักษ์
- ฤดูหนาว (ประโยชน์ / โทษ)
- ฤดูรอ้ น (ประโยชน์ / โทษ)
- ฤดูฝน (ประโยชน์ / โทษ)
- การปฏบิ ตั ิตามฤดูกาล
- ปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ

หลักสตู รสถานศกึ ษา ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ บ้านบัวใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560

๕๘

สาระการเรยี นรตู้ าม สาระการเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ยอ่ ย
หลกั สตู ร
พ.ศ.2560 ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก (รวม 40 หนว่ ย) - ความหมายของกลางวัน /
กลางคืน
3. เรอื่ งราวเก่ยี วกบั ธรรมชาตริ อบตัว กลางวัน กลางคนื - ปรากฏการณ์เวลากลางคนื
- ปรากฏการณเ์ วลากลางวนั
ธรรมชาติ (ตอ่ ) - การปฏิบัติตนในเวลากลางคืน
- การปฏิบตั ิตนในเวลากลางวัน
สตั วโ์ ลกผนู้ ่ารัก - สตั ว์บก
- สัตว์น้ำ
นกนอ้ ยน่ารัก - สตั ว์คร่ึงบกคร่ึงนำ้
- สัตว์เลี้ยง
ต้นไม้แสนรัก - สัตว์ปา่
ดอกไม้สดสวย - ลกั ษณะ, รปู ร่าง
- ท่อี ยอู่ าศยั
ผีเสอื้ แสนสวย - อาหาร
- การดแู ล
- ประโยชนแ์ ละโทษ
- ลักษณะ รปู ร่าง สี
- การขยายพันธุ์
- การบำรุงรกั ษา
- ประโยชนแ์ ละโทษ
- ลกั ษณะ รปู รา่ ง สี
- การขยายพันธ์ุ
- การบำรงุ รกั ษา
- ประโยชนข์ องดอกไม้
- โทษของดอกไม้
- รปู ร่าง ลกั ษณะท่ี
- ที่อยอู่ าศยั
- อาหาร
- วงจรชวี ิต
- ประโยชน์และโทษ

หลกั สูตรสถานศกึ ษา ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ บา้ นบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560

๕๙

สาระการเรียนร้ตู าม สาระการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ย่อย
หลักสูตร
พ.ศ.2560 ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ (รวม 40 หน่วย) - รูปร่าง ลกั ษณะ
- ที่อยู่อาศัย
3. เร่ืองราวเกย่ี วกบั ธรรมชาตริ อบตวั มดตวั นอ้ ย - อาหาร
- วงจรชวี ิต
ธรรมชาติ (ต่อ) - ประโยชน์และโทษ
- ชนิดของผกั ผลไม้
ผักผลไม้ - รปู รา่ งลกั ษณะ
- รสชาติของผักผลไม้
ขา้ วมหัศจรรย์ - วธิ ีการทำผกั ผลไม้ให้สะอาด
- ประโยชน์และโทษ
โลกสวยดว้ ยมอื เรา - ชนิด – ลกั ษณะ
- การปลูกขา้ ว
4.ส่งิ ตา่ งๆรอบตวั เด็ก ส่ิงต่างๆรอบตัวเด็ก สีสันสดใส - การประกอบอาหารจากขา้ ว
เท่ียวท่วั ไทย - การเกบ็ รกั ษา
- ประโยชน์ของขา้ ว
- ความหมาย, ประเภท
ส่งิ แวดลอ้ มตามธรรมชาติ
- สิง่ แวดลอ้ มทมี่ นุษย์สรา้ งขึน้
- การอนรุ ักษส์ งิ่ แวดล้อม
- ประโยชนข์ องส่ิงแวดล้อม
- โทษของสง่ิ แวดล้อม
- สีที่นักเรียนร้จู กั (ชอ่ื ของส)ี
- สจี ากพชื ดอกไม้ ผกั ผลไม้
- ประเภทของสี
- แม่สแี ละการผสมสี
- ประโยชน์และโทษของสี
- ความหมายของการคมนาคม
- ประเภทของยานพาหนะ
- การปฏบิ ัตติ นในการใช้
ยานพาหนะ
- ประโยชนข์ องการคมนาคม
- โทษของการใชย้ านพาหนะ
(อุบัตเิ หตุ, รถติด, มลพษิ )

หลกั สตู รสถานศกึ ษา ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ บา้ นบัวใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560

๖๐

สาระการเรยี นร้ตู าม สาระการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรยี นรยู้ ่อย
(รวม 40 หน่วย)
หลกั สูตร ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็ก - ความหมายของการส่ือสาร
พ.ศ.2560 - ประเภทของการส่อื สาร
(โทรศัพท์, TV ฯลฯ)
4.ส่งิ ต่างๆรอบตัว สงิ่ ต่างๆรอบตวั เด็ก โลกไร้พรมแดน - วธิ ีการสื่อสาร
- มารยาทในการสื่อสาร
เด็ก (ต่อ) - ประโยชนข์ องการส่ือสาร
- เครอื่ งมือ เครื่องใช้ห้องเรียน
เครื่องมือ เคร่ืองใช้ - เครื่องมือ เคร่อื งใชใ้ นบา้ น
- เครือ่ งมือ เครอ่ื งใช้การเกษตร
คณติ คดิ สนุก - เครอ่ื งมือ เคร่ืองใช้ในการ
กอ่ สร้าง
วิทยาศาสตร์น่ารู้ - การเก็บรกั ษา / ประโยชน์ /
ส่ิงทหี่ นูต้องการ โทษ
เรยี นรู้ - ประโยชนแ์ ละโทษ
- รปู ทรงเรขาคณิต
- การช่ัง การตวง การวดั
- เรยี งลำดับ
- จำแนก, เปรยี บเทียบ
- คา่ ของเงิน
- การนับเวลา
- การนบั เพม่ิ นบั ลด
- แสง
- เสียง
- แมเ่ หล็ก
- แว่นขยาย
- การทดลอง
- สรุป / ทบทวน
- การประเมินพฒั นาการ
- ชื่อสกลุ ของเพอ่ื น
- คำนำหน้าช่ือ สกลุ เพศ อายุ
- รูปรา่ ง ลกั ษณะ หนา้ ตา

หลักสูตรสถานศึกษา ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็กบ้านบัวใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560

๖๑

กำหนดเวลาเรยี น
เวลาเรยี นตลอดหลักสตู ร ๑ ปี ปีละ ๔๐ สปั ดาห์ (๒๐๐ วนั โดยประมาณ) สัปดาห์ละ ๕ วัน

และการจัดกจิ กรรมโครงการส่งเสริมพฒั นาการผู้เรียนปีละ 9 สปั ดาห์ (45 วนั โดยประมาณ) รวมเวลาเรียน
ทงั้ ปี ๒๔๕ วัน โดยประมาณ
หมายเหตุ : 1. หนว่ ยการเรยี นรู้สามารถปรบั เปล่ียนและเพิ่มเตมิ ได้ตามความเหมาะสมกับบริบทของ

ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กแตล่ ะแหง่
2. สาระการเรยี นรูย้ อ่ ยสามารถเพมิ่ เตมิ ไดต้ ามความเหมาะสม เช่น โตไปไมโ่ กง เศรษฐกิจ-

พอเพยี ง วนั สำคัญต่าง ๆ ให้สอดคลอ้ งกับสาระการเรยี นรแู้ ละหนว่ ยการเรยี นรู้

บรรยากาศการเรียนรู้

การจัดสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความสำคัญต่อเด็กเน่ืองจากธรรมชาติของเด็กวัยนี้
สนใจที่จะเรียนรู้ ค้นคว้า ทดลอง และต้องการสัมผัสกับส่ิงแวดล้อมรอบๆตัว การจัดเตรียมส่ิงแวดล้อมอย่าง
เหมาะสมตามความต้องการของเด็ก จึงมีความสำคัญที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการเรียนรู้ของเด็ก เด็ก
สามารถเรียนรู้จากการเล่นที่เป็นประสบการณ์ตรงท่ีเกิดจากการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัสท้ังห้า ศูนย์พัฒนาเด็ก
เล็ก จำเป็นต้องจัดสิ่งแวดล้อมให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของหลักสูตร เพื่อส่งผลให้บรรลุ
จดุ หมายในการพัฒนาเด็ก ศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ ไดค้ ำนงึ ถงึ สงิ่ ตอ่ ไปนี้

1. ความสะอาด ความปลอดภัย
2. ความมีอสิ ระอย่างมขี อบเขตในการเลน่
3. ความสะดวกในการทำกิจกรรม
4. ความพรอ้ มของอาคารสถานที่ เชน่ หอ้ งเรียน หอ้ งน้าห้องสว้ ม สนามเดก็ เลน่ ฯลฯ
5. ความเพยี งพอเหมาะสมในเรื่องขนาด น้ำหนกั จำนวน สีของสอ่ื และเคร่ืองเล่น
6. บรรยากาศในการเรยี นรู้ การจัดท่เี ล่นและมุมประสบการณ์ตา่ งๆ

สภาพแวดลอ้ มภายในหอ้ งเรยี น

หลักสำคัญในการจัด ต้องคำนึงถึงความปลอดภัย ความสะอาด ความเป็นระเบียบ ความเป็นตัวของ
เด็กเอง ความรู้สึกอบอุ่นมั่นใจ และมีความสุขของเด็ก เป็นเป้าหมายในการพัฒนาเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้
จดั แบง่ พื้นทใ่ี ห้เหมาะสม ดังน้ี

๑. พน้ื ทอี่ ำนวยความสะดวกเพ่ือเดก็ และครู
๑.๑ ท่ีแสดงผลงานของเดก็ จดั ทำเป็นแผน่ ป้ายหรือที่แขวนผลงาน
๑.๒ ทเี่ กบ็ แฟ้มผลงานเดก็ จดั ใส่แฟ้มรายบุคคล
๑.๓ ที่เก็บเคร่ืองใช้สว่ นตัวของเดก็
๑.๔ ทเี่ กบ็ เครอื่ งใชข้ องครู
๑.๕ ปา้ ยนเิ ทศ

๒. พื้นที่ปฏิบัติกิจกรรมและการเคล่ือนไหว ควรมีพ้ืนที่ที่เด็กสามารถทำงานได้ด้วยตนเอง และทำ
กจิ กรรมด้วยกันในกลุม่ เล็ก หรือกลุ่มใหญ่ เด็กสามารถเคลือ่ นไหวได้อย่างอิสระจากกิจกรรมหนึง่ ไปยังกิจกรรม
หนึง่ โดยไมร่ บกวนผู้อ่ืน

หลักสูตรสถานศกึ ษา ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ บ้านบัวใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560

๖๒

๓. พ้ืนทีจ่ ัดมุมเล่นหรอื มมุ ประสบการณ์ สามารถจัดตามความเหมาะสม ข้ึนอยู่กับสภาพห้องเรยี น
จัดแยกส่วนท่ีใช้เสียงดังและเงียบออกจากกัน เช่นมุมบล็อกอยู่ห่างจากมุมหนังสือ มุมบทบาทสมมติอยู่ติดกับ
มุมบล็อก มุมวทิ ยาศาสตร์อยใู่ กล้มมุ ศิลปะ เปน็ ต้น

สภาพแวดลอ้ มนอกหอ้ งเรียน
การจัดสภาพแวดล้อมภายในอาณาบรเิ วณรอบๆ ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ รวมทั้งจัดสนามเด็กเล่น พร้อม

เคร่ืองเล่นการระวังรักษาความปลอดภัยภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และบริเวณรอบนอกศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ดูแลรักษาความสะอาด ปลูกต้นไม้ให้ความร่มรื่น ส่ิงต่างๆ เหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งท่ีส่งผลต่อการเรียนรู้ และ
พฒั นาการของเดก็

สอ่ื และแหล่งเรียนรู้

การจัดประสบการณเ์ พ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั จำเป็นตอ้ งอาศยั ส่ือ วัสดุ อุปกรณ์ และแหลง่ เรยี นรู้ตา่ งๆ
จงึ จะชว่ ยใหเ้ ดก็ มปี ระสบการณ์และเกดิ การเรยี นรู้อยา่ งมคี ณุ ภาพ ได้ดำเนนิ การดงั น้ี

1. จัดให้มีส่ือหลากหลาย เพยี งพอในการนำมาใช้ประกอบการพฒั นาเดก็ สื่อมีทง้ั ท่ีเป็นวสั ดุ

ธรรมชาติ สอ่ื ทค่ี รผู ลติ /จัดทำ และสอื่ ท่ีซอื้
2. จัดระบบการบรกิ ารและจัดเกบ็ สื่อให้เปน็ ระเบียบ สะดวกตอ่ การนำมาใช้ วางแผนพฒั นา
3. ให้เด็กมีโอกาสเป็นผู้ลงมือการทำต่อวัตถุหรือใช้ส่ือต่างๆด้วยตนเอง เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้

อยา่ งแท้จริง และย่ังยนื เด็ก
4. สง่ เสริมการใช้แหล่งเรียนรู้ต่างๆ ในศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ แหล่งเรียนรนู้ อกศูนยพ์ ัฒนา

เลก็ และภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ให้มีส่วนร่วมในการพฒั นาเด็ก

5. จดั ให้มีระบบการนิเทศ ตดิ ตาม กำกบั การใชส้ ื่อ และแหล่งการเรยี นร้คู วบคไู่ ปกับการ
ดำเนนิ การด้านอ่ืนในการพฒั นาเดก็ ปฐมวัย

แหลง่ เรียนรใู้ นศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก
1. โรงอาหาร
2. ป้ายทำเนียบครู
3. ป้ายนิเทศหนา้ ห้องเรียน
4. สวนหยอ่ มหนา้ อาคารเรยี น
5. สนามเดก็ เล่น
7. ตน้ ไมบ้ ริเวณรอบๆ อาคารเรยี น
8. เสาธง
9. แปลงปลกู ผักสวนครวั
10.สวนสมุนไพร
11.อ่นื ๆ ที่เหมาะสมกบั วัยเดก็

แหล่งเรยี นรใู้ นชมุ ชน(นอกศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ )
แหล่งเรยี นร้ทู างประวตั ิศาสตร์ โบราณสถาน โบราณวตั ถุ แหลง่ เรียนรเู้ ก่ยี วกบั การสง่ เสรมิ อาชพี

แหล่งเรยี นร้ศู าสนา ศิลปะ วัฒนธรรม (วัด) แหล่งธรรมชาตทิ ี่ปลอดภัยสำหรบั เดก็ ปฐมวัย

หลักสูตรสถานศึกษา ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กบา้ นบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560

๖๓

การประเมนิ พัฒนาการ

การประเมินพัฒนาการเด็กช่วยให้ครูทราบและเข้าใจพัฒนาการ การเรียนรู้ของเด็กในความ
รบั ผิดชอบ ข้อมูลจากการประเมินพัฒนาการ ครูจะนำไปใชใ้ นการวางแผนการจัดกิจกรรมการจัดประสบการณ์
ให้กับเด็กและเป็นข้อมูลในการสื่อสารกับผู้ปกครองเพ่ือร่วมมือในการพัฒนาเด็กให้เต็มศักยภาพอย่างต่อเน่ือง
ต่อไป ในระดับปฐมวัยเป็นการประเมินพัฒนาการ ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา เป็น
กระบวนการทต่ี ้องดำเนนิ การตอ่ เนื่อง และควบคไู่ ปกับการจัดประสบการณ์ให้กับเดก็ ตามปกติในแต่ละวัน โดย
มหี ลักการประเมินพัฒนาการดงั นี้

1. ประเมนิ พัฒนาการครบทกุ ด้าน นำผลมาพฒั นาเด็ก และปรับปรงุ วธิ ีสอนของครู
2. ประเมินเปน็ รายบุคคลอยา่ งสมำ่ เสมอ และต่อเนื่องตลอดปี
3. สภาพการประเมินเป็นสถานการณเ์ ดยี วกับการปฏิบัตกิ ิจกรรมประจำวัน
4. ประเมินอย่างเป็นระบบ มกี ารวางแผน เลือกใชเ้ ครอ่ื งมอื และจดบันทกึ ไว้เปน็ หลักฐาน
5. ประเมินตามสภาพจริงดว้ ยวธิ กี ารหลากหลาย เหมาะกบั เด็ก รวมทงั้ ใช้แหล่งขอ้ มลู หลายๆด้าน

ใช้การทดสอบน้อยท่สี ุดตามความจำเปน็
วิธีการประเมนิ

วธิ ีการประเมนิ พัฒนาการเด็กปฐมวัยทีเ่ หมาะสมไดแ้ ก่
1. การสงั เกตพฤติกรรมเด็ก
2. การเขยี นบนั ทึกพฤติกรรม
3. การสนทนา การสมั ภาษณ์
4. และการวเิ คราะห์ข้อมูลจากผลงานของเด็กที่เกบ็ ในแฟ้มสะสมงานอย่างเป็นระบบ

การบริหารจดั การหลกั สูตร

ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ ดำเนินการบริหารจดั การหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย ดงั น้ี
1. เตรยี มความพร้อม โดยประชมุ ครู บคุ ลากร และผู้มีส่วนเกีย่ วขอ้ ง
2. แต่งตง้ั คณะกรรมการ
3. การจัดทำ รวบรวมเอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการพฒั นาหลักสูตรปฐมวัยของศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ โดยมี

การกำหนดปรัชญาวสิ ัยทศั น์ ภารกิจ เป้าหมาย คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ สาระการเรียนรู้รายปี
การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ บรรยากาศการเรียนรู้ ประเมินผล ส่ือและแหลง่ การเรียนรู้
4. นำหลักสตู รการศึกษาปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สู่การปฏบิ ัติ
5. นิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมนิ ผล
6. สรุปผลการดำเนนิ งาน
7. นำผลการประเมินสกู่ ารพัฒนา/ปรบั ปรงุ การดำเนนิ งาน

การเชือ่ มต่อการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย

การเชื่อมต่อด้านการพัฒนา แกไ้ ขและสนบั สนุนเดก็ ปฐมวัยในทกุ ๆ ดา้ น เป็นการพัฒนาการอย่าง

ตอ่ เน่ืองและสอดคล้อง ตรงจุด และมีประสทิ ธิภาพโดยผู้ทเี่ กีย่ วข้องดังนี้

1. บทบาทพ่อแม่และผเู้ ลีย้ งดู

2. บทบาทบคุ ลากรในศนู ย์พัฒนาเด็กเล็ก

3. บทบาทขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ

4. บทบาทของหน่วยงานสาธารณสขุ ที่เกย่ี วข้องกับทางดา้ นเด็ก (รพ.สต)

หลกั สูตรสถานศกึ ษา ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ บ้านบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560

๖๔

1. บทบาทพ่อแมแ่ ละผู้เลี้ยงดู
1.1 มคี วามพร้อมด้านข้อมูลเกย่ี วกบั ตัวเด็ก ดว้ ยการคอยจดบันทึกพฒั นาการของลูกอย่าง
ละเอียด สม่ำเสมอ และตรงตามความเปน็ จรงิ
1.2 เป็นตัวเปน็ แบบอย่างทดี่ ีใหก้ บั ลกู และหลีกเลี่ยงการกระทำพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม
1.3 พจิ ารณาเลือกสถานศกึ ษาใหเ้ ดก็ ตามความเหมาะสม และมคี ุณภาพ
1.4 ให้ความร่วมมือปฏบิ ตั ิตามคำแนะนำของสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั
1.5 พ่อแม่กับสถานพัฒนาเด็กใหค้ วามรว่ มมือพฒั นาเดก็ ในทิศทางเดยี วกนั
1.6 สรา้ งความคนุ้ เคย เชื่อมโยง และยอมรับนบั ถือซึ่งกันและกันระหวา่ งบ้านกบั ศูนยพ์ ัฒนา
เด็กเลก็

2. บทบาทครแู ละบุคลากรในศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก
2.1 รวบรวมขอ้ มูลต่างๆ เกย่ี วกบั ตวั เดก็ ให้ละเอยี ดครบถ้วน
2.2 ตอ้ งสรา้ งความไวว้ างใจใหเ้ กิดข้ึนกับเด็กและผูป้ กครอง
2.3 ปฏบิ ตั ิตนกับเดก็ และผปู้ กครองดว้ ยความออ่ นน้อม เหมาะสมให้เกียรตกิ ัน
2.4 จดั กจิ กรรมใหเ้ ดก็ ครู และผปู้ กครอง เพื่อสรา้ งความคนุ้ เคย ไวว้ างใจ และสามารถอยู่รว่ ม
กบั ผอู้ น่ื ได้อยา่ งมีความสุข
2.5 ผลิตและพฒั นาสือ่ การเรียนการสอน เพื่อใชใ้ นการส่งเสรมิ และแก้ปัญหาทีเ่ กดิ ข้ึนกับเดก็
2.6 เป็นสะพานเช่อื มโยงผปู้ กครองกบั หนว่ ยงานตา่ งๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ งใหเ้ ข้ามามีสว่ นรว่ มกันในการ
สง่ เสรมิ ปรับปรงุ และพฒั นาศักยภาพเด็ก

3. บทบาทขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ
3.1 กำหนดนโยบายการพฒั นาการศึกษาอย่างเปน็ ระบบ
3.2 สนับสนนุ ทรพั ยากรและงบประมาณในการพัฒนาการจัดการศกึ ษาของศูนย์พฒั นาเด็กเลก็
อย่างตอ่ เน่ือง
3.3 สง่ เสรมิ พัฒนาศักยภาพครแู ละบคุ ลากรด้านการศึกษาให้มีประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัตงิ าน
3.4 ประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาศนู ย์พัฒนาเด็กเล็ก
3.5 ส่งเสริมใหท้ กุ ภาคส่วนมสี ่วนรว่ มในการการพฒั นางานดา้ นการศึกษา

4. บทบาทของหน่วยงานสาธารณสุขท่เี กย่ี วข้องกับทางด้านเด็ก (รพ.สต)
4.1 ส่งเสรมิ มาตรฐานด้านการจดั สภาพแวดลอ้ มท่ีมคี วามปลอดภัยทง้ั ภายในและภายนอกอาคาร
สถานท่ี
4.2 ส่งเสริมสนบั สนนุ การเฝา้ ระวังภาวะโภชนาการ โดยการช่งั น้ำหนัก ส่วนสูงทกุ 3 เดอื น
4.3 สง่ เสริมกจิ กรรมดา้ นทันตอนามยั ในช่องปากเดก็ ปฐมวัย
4.4 สง่ เสริมใหค้ วามรูแ้ ก่ครู และผู้ปกครองเกีย่ วกบั โรคระบาดตามฤดูกาลในเด็กปฐมวยั

หลกั สูตรสถานศกึ ษา ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กบ้านบัวใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560

๖๕

การกำกบั ติดตาม ประเมนิ และการรายงาน
การจัดสถานศึกษาปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กควรให้สังคม ชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

และกระจายอำนาจการศึกษาไปยังศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตามท่ีกฎหมาย ระเบียบและหนังสือส่ังการกำหนด
เพ่ือให้ผลผลิตทางการศึกษาปฐมวัยมีคุณภาพตามมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ และสอดคล้องกับความ
ต้องการของผู้ปกครอง ชุมชนและสังคม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินต้องมีระบบการกำกับ ติดตาม ประเมิน
และรายงานที่มีประสิทธิภาพ เพ่ือให้ทุกกลุ่มทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมรับผิดชอบในการจัดการศึกษา เห็น
ความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรค ตลอดจนการให้ความร่วมมือช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน การวางแผน และ
ดำเนนิ งานการจัดการศึกษาปฐมวยั ของศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ ให้มคี ุณภาพอยา่ งแท้จริง

การกำกับ ติดตาม ประเมินและการรายงานผลการจัดการศกึ ษาปฐมวัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ
บริหารการศึกษาและระบบการประกันคุณภาพท่ีต้องดำเนินการอย่างต่อเน่ือง เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สร้างความมั่นใจให้กับผู้ปกครอง ชุมชน ผู้เกี่ยวข้อง
โดยต้องมีการดำเนินการที่เป็นระบบเครือข่ายครอบคลุมท้ังหน่วยงานภายในและภายนอก ต้องมีการรายงาน
ผลให้หน่วยงานต้นสังกัดตามลำดับ และประชาสัมพันธ์หรือแจ้งให้ทุกฝ่าย รวมท้ังผู้ปกครองและประชาชน
ท่ัวไปทราบ เพื่อนำขอ้ มลู จากรายงานผลมาจดั ทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กต่อไป

หลักสูตรสถานศึกษา ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ บา้ นบัวใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560

๖๖

ภาคผนวก

หลักสตู รสถานศกึ ษา ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กบา้ นบัวใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560

๖๗

หลกั สูตรสถานศกึ ษา ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ บ้านบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560

สงั กดั เทศบาลตาบลบวั สวา่ ง
อาเภอพรรณานิคม จังหวดั สกลนคร
องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ กระทรวงมหาดไทย


Click to View FlipBook Version