The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หลักสูตรสถานศึกษา ศพด.บ้านบัวใหญ่

หลักสูตรสถานศึกษา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564

ตามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย
พุทธศกั ราช 2560

สงั กัดเทศบาลตาบลบัวสวา่ ง
อาเภอพรรณานิคม จงั หวัดสกลนคร
องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน กระทรวงมหาดไทย

ประกาศศูนย์พฒั นาเด็กเล็กบ้านบัวใหญ่
เร่ือง ให้ใช้หลักสูตรสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวยั ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กบา้ นบวั ใหญ่ พทุ ธศกั ราช 2564

ตามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560
-----------------------------------------------------------

การจัดการศึกษา ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ได้
กำหนดใหส้ ถานศึกษาดำเนนิ การจัดทำหลักสูตรระดบั สถานศึกษา โดยมีความสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง
และสภาพตามบริบทบางวฒั นธรรม วิถึชวิตของสงั คม ชุมชน และทอ้ งถนิ่ ของผ้เู รียนซ่ึงมลี ักษณะแตกต่างกันไป
ทั้งนี้ เพื่อให้สถานศึกษาได้ใช้หลักสูตรสถานศึกษาเป็นแนวทางในการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและมี
มาตรฐานทัดเทียมกัน ประกอบกับกระทรวงศึกษาธิการ ได้มีคำสั่งที่ สพฐ.1223/2560 ลงวันที่ 3 สิงหาคม
2560 เร่ือง ให้ใชห้ ลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560 แทนหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช
2546 ตง้ั แตป่ กี ารศึกษา 2561 เปน็ ต้นไป

ศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ บา้ นบวั ใหญ่ สังกัดเทศบาลตำบบัวสวา่ ง อำเภอพรรณานิคม จงั หวัดสกลนคร จึงได้
ตระหนักถึงความสำคัญของภารกิจดังกล่าว จึงได้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
บ้านบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564 โดยกำหนดถึงความสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช
2560 เพ่อื ให้ผบู้ รหิ ารศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ ครู ผู้ดูแลเด็ก ผปู้ กครอง ชมุ ชนและผมู้ ีส่วนเก่ียวข้องกับการพัฒนา
เด็กปฐมวัย มีความรู้ ความเข้าใจที่ชัดเจนและสามารถนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมประสบการณ์อย่างมี
ประสิทธภิ าพ สมตามเจตนารมณ์ของหลกั สูตรสถานศึกษาท่ีกำหนดไว้ ในฉบบั นี้

ทั้งนี้หลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564 ฉบับน้ี
ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบัวใหญ่ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว
จึงประกาศให้ใช้หลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัยฯ ฉบับนี้ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบัวใหญ่ สังกัดเทศบาล
ตำบลบัวสว่าง ตงั้ แต่ปกี ารศึกษา 2564 เปน็ ตน้ ไป

ประกาศ ณ วันท่ี 1 เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๖4

ลงช่ือ........................................................
(.................................................)
หวั หนา้ สถานศกึ ษา



คำนำ

การจัดการศึกษา ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542
ได้กำหนดให้สถานศึกษาดำเนินการจัดทำหลักสูตรระดับสถานศึกษา โดยมีความสอดคล้องกับหลักสูตร
แกนกลาง และสภาพตามบริบททางวัฒนธรรม วิถีชีวิตของสังคม ชุมชน และท้องถิ่นของผู้เรียน ซึ่งมีลักษณะ
แตกต่างกันไป ทั้งนี้เพื่อให้สถานศึกษาได้ใช้หลักสูตรสถานศึกษาเป็นแนวทางในการจัดการศึกษาให้มี
ประสิทธภิ าพ และมมี าตรฐานทดั เทียมกัน ประกอบกบั กระทรวงศึกษาธิการ ได้มคี ำสงั่ ท่ี สพฐ. 1223/2560
ลงวนั ท่ี 3 สิงหาคม 2560 เร่ือง ใหใ้ ช้หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 แทนหลกั สตู รการศึกษา
ปฐมวยั พุทธศักราช 2546 ต้ังแต่ปกี ารศกึ ษา 2561 เป็นต้นไป

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบัวใหญ่ สังกัดเทศบาลตำบลบัวสว่าง ตำบลสว่าง อำเภอพรรณานิคม จังหวัด
สกลนคร ได้ตระหนักถึงความสำคัญของภารกิจดังกล่าว จังได้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย ศูนย์
พัฒนาเด็กเล็กบ้านบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564 โดยกำหนดถึงความสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช 2560 ของกระทรวงศึกษาธิการที่ได้มีคำสั่งให้ใช้ในการจัดการเรียนการสอนตั้งแต่ปีการศึกษา
2561 เป็นตน้ ไป เพือ่ ให้ผู้บริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครู ผดู้ ูแลเด็ก ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
การพัฒนาเด็กปฐมวัย มีความรู้ ความเข้าใจที่ชัดเจน และสามารถนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมประสบการณ์การ
เรยี นรู้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ตามเจตนารมณข์ องหลกั สตู รสถานศกึ ษาท่ีกำหนดไว้ ในฉบบั นี้

ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบัวใหญ่
สังกัดเทศบาลตำบลบวั สว่าง

หลักสตู รสถานศึกษา ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ บา้ นบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560



สารบัญ

หน้า

ประกาศใช้หลกั สูตรสถานศึกษา ก
คำนำ ข
สารบญั 1
ปรัชญาการศึกษาปฐมวยั 1
วสิ ัยทศั น์การศึกษาปฐมวยั 1
หลักการจดั การศึกษาปฐมวัย 2
จดุ หมายการศึกษาปฐมวัย 2
ภารกจิ การจัดการศกึ ษาปฐมวัย 3
เปา้ หมายการจดั การศึกษาปฐมวยั 3
แนวคดิ การจดั การศึกษาปฐมวัย 5
พฒั นาการเด็กปฐมวัย 6
มาตรฐานและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สำหรับเด็กอายุ 2 – 5 ปี 8
ขน้ั ตอนการจดั ทำหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก สำหรบั เดก็ อายุ 2 – 5 ปี 9
หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สำหรบั เด็กอายุ 2-3 ปี 9
9
จุดหมาย 15
คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ 15
แนวทางการอบรมเล้ียงดู การส่งเสรมิ พฒั นาการและการเรียนรู้ สำหรับเด็กอายุ 2-3 ปี 18
สาระการเรยี นรู้ 18
การอบรมเลี้ยงดแู ละการจดั ประสบการณ์ 19
แนวทางการอบรมเล้ยี งดูและการจดั ประสบการณ์ สำหรบั เด็กอายุ 2 – 3 ปี 29
ตวั อย่างกจิ กรรมการอบรมเลี้ยงดแู ละสง่ เสรมิ พัฒนาการการเรียนรู้ฯ 30
กำหนดเวลาเรยี น 30
ตารางกจิ กรรมประจำวนั 31
บรรยากาศการเรียนรู้ 31
สภาพแวดลอ้ มภายในหอ้ งเรียน 31
สภาพแวดล้อมนอกห้องเรยี น 32
สอ่ื และแหล่งเรียนรู้ 32
แหลง่ เรยี นร้ใู นศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ 32
แหลง่ เรยี นร้ใู นชมุ ชน (นอกศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ ) 33
การประเมินพฒั นาการ 33
การบริหารจัดการหลกั สูตร 34
การเชอ่ื มต่อการพัฒนาเด็กปฐมวยั
การกำกบั ตดิ ตาม ประเมนิ และการรายงาน

หลักสตู รสถานศึกษา ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เล็กบ้านบวั ใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560

สารบญั (ตอ่ ) ค

หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ สำหรบั เด็กอายุ 3-5 ปี หนา้
จุดหมาย
มาตรฐานคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ 35
สภาพทพ่ี ึงประสงค์ 35
สาระการเรยี นรู้รายปี 35
การจดั ประสบการณ์ 36
หลักการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ 46
แนวทางการจัดประสบการณ์ 51
การจดั กิจกรรมประจำวนั 51
ตารางกจิ กรรมประจำวัน 52
หน่วยการเรียนรสู้ ำหรับเด็กอายุ 3-5 ปี 52
กำหนดเวลาเรียน 53
บรรยากาศการเรียนรู้ 53
สภาพแวดลอ้ มภายในห้องเรียน 61
สภาพแวดลอ้ มนอกหอ้ งเรยี น 61
สอ่ื และแหลง่ เรียนรู้ 61
แหล่งเรียนรู้ในศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็ก 62
แหลง่ เรยี นรู้ในชุมชน (นอกศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ ) 62
การประเมินพัฒนาการ 62
การบรหิ ารจดั การหลกั สูตร 62
การเช่ือมต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย 63
การกำกับ ตดิ ตาม ประเมนิ และการรายงาน 63
63
ภาคผนวก 65
66

หลักสตู รสถานศกึ ษา ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ บ้านบวั ใหญ่ พุทธศกั ราช 2564
ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560



ปรัชญาการศกึ ษาปฐมวยั
ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กบา้ นบัวใหญ่ สงั กดั เทศบาลตำบลบัวสว่าง
การศึกษาปฐมวัย เป็นการพัฒนาเด็กต้ังแต่แรกเกิดถึง 6 ปีบริบูรณ์ อย่างเป็นองค์รวมบนพ้ืนฐานการ
อบรมเล้ยี งดูและการส่งเสรมิ กระบวนการเรียนรู้ทีส่ นองต่อธรรมชาติและพฒั นาการตามวัยของเด็กแตล่ ะคน ให้
เต็มศักยภาพ ภายใต้บริบทสังคมและวัฒนธรรมท่ีเด็กอาศัยอยู่ ด้วยความรับ ความเอื้ออาทร และความเข้าใจ
ของทุกคนเพื่อสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตที่เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เกิดคุณค่าต่อตนเอง
ครอบครวั ชุมชน สังคม และประเทศชาติ

วิสัยทศั น์การศกึ ษาปฐมวัย
ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กบ้านบวั ใหญ่ สงั กัดเทศบาลตำบลบวั สว่าง
มุ่งพัฒนาเด็กทุกคนให้ได้รับการพัฒนาความพร้อมท้ัง 4 ด้าน (ร่ายกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และ
สติปัญญา) อย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรอู้ ย่างมีความสุขและเหมาะสมตามวัย
มีทักษะชีวิต และปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นคนดี มีวินัย และสำนึกความเป็นไทย โดย
ความร่วมมือระหวา่ งสถานศกึ ษา พ่อแม่ ครอบครัว ชมุ ชนและทุกฝา่ ยที่เก่ยี วขอ้ งกับการพัฒนาเด็ก

หลักการจัดการศึกษาปฐมวัย
ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เล็กบ้านบวั ใหญ่ สงั กดั เทศบาลตำบลบัวสว่าง
เด็กทุกคนมีสิทธทิ ่ีจะได้รับการอบรมเล้ียงดูและการส่งเสริมพัฒนาการ ตามอนุสญั ญาว่า ด้วยสิทธิเด็ก
ตลอดจนได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างเหมาะสม ด้วยปฏิสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างเด็กกับพ่อแม่ เด็กกับ
ผู้สอน เดก็ กับผู้เล้ียงดู หรือผู้ทเ่ี กี่ยวข้องกบั การอบรมเลี้ยงดกู ารพัฒนา และใหก้ ารศึกษาแก่เด็ก ปฐมวัย เพือ่ ให้
เด็กมีโอกาสพัฒนาตนเองตามลำดับขั้นของพัฒนาการทุกด้าน อย่างเป็นองค์รวม มีคุณภาพ และเต็มตาม
ศกั ยภาพ โดยกำหนดหลักการ ดังต่อไปน้ี
๑. ส่งเสริมกระบวนการเรยี นรแู้ ละพฒั นาการท่คี รอบคลมุ เดก็ ปฐมวยั ทุกคน
๒. ยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาท่ีเน้นเด็กเป็นสำคัญโดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่าง
บคุ คล และวถิ ชิี ีวิตของเด็กตามบริบทของชุมชน สังคม และวัฒนธรรมไทย
๓. ยึดพัฒนาการและการพัฒนาเด็กโดยองค์รวม ผ่านการเล่นอย่างมีความหมาย ได้ลงมือกระทำ ใน
สภาพแวดล้อมที่เออ้ื ต่อการเรียนรู้เหมาะสมกับวยั และมีการพักผ่อนเพยี งพอ

หลักสูตรสถานศกึ ษา ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ บ้านบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560



๔. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้สามารถดำรงชีวติ และสามารถปฏิบัติตนตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจ
พอเพียง เปน็ คนดมี ีวินัย และมีความสขุ

๕. สร้างความรู้ ความเข้าใจและประสานความรว่ มมอื ในการพัฒนาเด็กระหว่างสถานศึกษากับพ่อ แม่
ครอบครวั ชมุ ชน และทกุ ฝา่ ยทเ่ี กีย่ วข้องการการพฒั เดก็ ปฐมวัย

จุดหมายการศกึ ษาปฐมวัย
ศูนย์พัฒนาเดก็ เล็กบ้านบวั ใหญ่ สงั กดั เทศบาลตำบลบัวสว่าง
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สำหรับเด็กอายุ 2 – 5 ปี เป็นการจัดการศึกษาในลักษณะของการอบรม
เลี้ยงดูและให้การศึกษา เด็กจะไดรับการพัฒนา ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา ตามวัย
และความสามารถของแต่ละบุคคล จุดหมาย หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มุ่งใหเ้ด็กมีพัฒนาการตามวัยเต็มตาม
ศักยภาพ และเมื่อมีความพร้อมในการเรียนรู้ต่อไป จึงกำหนดจุดหมายเพ่ือให้เกิดกับเด็กเม่ือเด็กจบการศึกษา
ระดับปฐมวัยตาม หลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสายร่องข่า พุทธศักราช 2562
ดงั ตอ่ ไปน้ี
๑. มีรา่ งกายเจรญิ เตบิ โตตามวัย แขง็ แรงและมสี ุขนสิ ัยทดี่ ี
๒. มีสขุ ภาพจิตดี มสี ุนทรยี ภาพ มีคุณธรรม จริยธรรมและจิตใจที่ดีงาม
๓. มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีวินัย และอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้
อย่างมีความสุข
๔. มที กั ษะการคิด การใช้ภาษาสือ่ สารและการแสวงหาความรูไ้ ด้เหมาะสมกบั วยั

ภารกิจการจัดการศกึ ษาปฐมวยั
ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กบ้านบวั ใหญ่ สงั กัดเทศบาลตำบลบวั สว่าง
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดการศึกษาระดับปฐมวัยเพื่อพัฒนาเด็กท่ีมีอายุ
ตง้ั แต่ 2 - 5 ปี โดยการจัดประสบการณ์ส่งเสริมการเรียนรใู้ ห้สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็กในลักษณะบูรณา
การผ่านการเล่น ด้วยการเตรียมความพร้อมด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีวินัย
มีคุณธรรม จริยธรรม มีความสุขในการเรียนรู้ตามสภาพแวดล้อม วัฒนธรรมของท้องถิ่นและธรรมชาติของ
ผ้เู รยี นแต่ละคนให้เตม็ ตามศักยภาพ มีค่านิยมในการดำรงชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดงั นี้
1. พัฒนาผู้เรียนให้มีพัฒนาการแบบองคร์ วม ทงั้ ร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม สติปญั ญา
2. ปลูกฝงั วนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม
3. ส่งเสรมิ พัฒนาการและจดั การเรียนรู้ ดว้ ยความรกั ความเออ้ื อาทร
4. ส่งเสริมใหเ้ ปน็ คนดี มสี ติปัญญา มคี วามสุขตามวัย
5. สง่ เสรมิ การเรยี นร้ตู ามสภาพแวดลอ้ ม วฒั นธรรมของท้องถ่ิน และธรรมชาติของผเู้ รียนแตล่ ะคนให้
เต็มศักยภาพ
6. ส่งเสรมิ การเรยี นรู้และจดั ประสบการณ์แบบสากล ปลูกฝังความรกั ในความเป็นไทย

หลกั สตู รสถานศึกษา ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กบา้ นบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560



เป้าหมายการจัดการศกึ ษาปฐมวัย
ศูนย์พฒั นาเดก็ เล็กบ้านบวั ใหญ่ สงั กดั เทศบาลตำบลบัวสว่าง
1. ผู้เรยี นมีพัฒนาการแบบองค์รวมอยา่ งสมดลุ ท้ังร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม สตปิ ญั ญา
2. ผเู้ รียนมวี นิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรม อยา่ งเหมาะสมตามวยั
3. ผูเ้ รยี นมีคณุ ลักษณะตามสภาพอันพงึ ประสงค์ ไดแ้ ก่เปน็ คนดี มีสติปัญญา มคี วามสุขตามวยั
กลา้ คิด กล้าแสดงออกในทางทด่ี งี าม
4. ผู้เรียนมีความรกั ในธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรมของท้องถิน่ สามารถปรับตนให้เข้ากับสภาพแวดล้อม
และวัฒนธรรมของท้องถนิ่
5. ผู้เรียนมคี วามรักในการเรียนรู้วถิ ีชวี ติ ไทย และดำรงชวี ิตอย่บู นพนื้ ฐานปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

แนวคดิ การจดั การศกึ ษาปฐมวัย
ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ บ้านบวั ใหญ่ สงั กัดเทศบาลตำบลบวั สว่าง
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
จังหวัดกาญจนบุรี พัฒนาขึ้นบนแนวคิดและหลักการสำคัญเก่ียวกับพัฒนาการเด็กปฐมวัย โดยถือว่าการเล่น
ของเด็กเป็นหัวใจสำคัญของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ภายใต้การจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการทำงาน
ของสมอง ผ่านสื่อท่ีต้องเอื้อให้เด็กได้เรียนรู้แบบบูรณาการ โดยครูจำเป็นต้องเข้าใจและยอมรับว่าสังคมและ
วัฒนธรรมแวดล้อมตัวเด็กมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพ และพัฒนาการของเด็กแต่ละคน
ทัง้ น้ี หลกั สูตรฉบับนม้ี แี นวคิดการจัดการศึกษาปฐมวัย ดงั น้ี

1. แนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการเดก็
พัฒนาการของมนุษย์เป็นกระบวนการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นต่อเน่ืองในตัวมนุษย์เร่ิมต้ังแต่ปฏิสนธิ

ไปจนตลอดชวี ิต พัฒนาการของเด็กแตล่ ะคนจะมีลำดบั ข้นั ตอนลักษณะเดียวกัน แต่อัตราและระยะเวลาในการ
ผา่ นข้ันตอนต่างๆ อาจแตกต่างกันได้ ข้ันตอนแรกๆ จะเปน็ พ้ืนฐานสำหรับพัฒนาการขั้นต่อไป พัฒนาการด้าน
ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปญั ญาแต่ละส่วนส่งผลกระทบซ่ึงกันและกัน เมื่อด้านหน่งึ ก้าวหน้าอีกด้าน
หน่ึงจะก้าวหน้าตามด้วย ในทำนองเดียวกันถ้าด้านหนึ่งด้านใดผิดปกติจะทำให้ด้านอื่นๆผิดปกติตามด้วย
แนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีพัฒนาการด้านร่างกายอธิบายว่าการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กมีลักษณะ
ต่อเนื่องเป็นลำดับข้ัน เด็กจะพัฒนาถึงข้ันใดจะต้องเกิดวุฒิภาวะของความสามารถด้านนั้นก่อน สำหรับทฤษฎี
ด้านอารมณ์ จิตใจ และสังคมอธิบายว่า การอบรมเล้ียงดูในวัยเด็กส่งผลต่อบุคลิกภาพของเด็ก เม่ือเติบโตเป็น
ผู้ใหญ่ ความรักและความอบอุ่นเป็นพ้ืนฐานของความเชือ่ มั่นในตนเอง เด็กท่ไี ดร้ ับความรักและความอบอุน่ จะมี
ความไว้วางใจในผู้อ่ืน เห็นคุณค่าของตนเอง จะมีความเชื่อมั่นในความสามารถของตน ทำงานร่วมกับผู้อ่ืนได้ดี
ซ่งึ เป็นพนื้ ฐานสำคัญของความเป็นประชาธปิ ไตย
และความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ และทฤษฎีพัฒนาการด้านสติปัญญาอธิบายว่า เด็กเกิดมาพร้อมวุฒิภาวะซึ่งจะ
พัฒนาขน้ึ ตามอายุ ประสบการณ์ รวมท้งั ค่านิยมทางสงั คมและสง่ิ แวดลอ้ มท่เี ด็กไดร้ บั

หลกั สตู รสถานศึกษา ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็กบา้ นบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560



2. แนวคดิ เกี่ยวกบั การเล่นของเดก็
การเล่นเป็นหัวใจสำคัญของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การเล่นอย่างมีจุดมุ่งหมายเป็น

เคร่อื งมือการเรยี นรขู้ ั้นพ้ืนฐานทถี่ ือเป็นองค์ประกอบสำคัญในกระบวนการเรียนรูข้ องเด็ก ขณะท่เี ดก็ เล่นจะเกิด
การเรียนรูไ้ ปพร้อมๆกันด้วย จากการเล่นเด็กจะมีโอกาสเคล่ือนไหวส่วนต่างๆของร่างกาย ได้ใช้ประสาทสัมผัส
และการรับรู้ ผ่อนคลายอารมณ์ และการแสดงออกของตนเอง เรียนรู้ความรูส้ ึกของผู้อื่น เด็กจะรู้สึกสนกุ สนาน
เพลิดเพลิน ได้สังเกต มีโอกาสทำการทดลอง คดิ สร้างสรรค์ คดิ แก้ปญั หาและค้นพบด้วยตนเอง การเล่นช่วยให้
เด็กเรียนรู้ส่ิงแวดล้อม และช่วยให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา ดังน้ัน
ควรให้เดก็ มโี อกาสเลน่ ปฏิสัมพนั ธ์กับบุคคล ส่ิงแวดล้อมรอบตวั และเลอื กกจิ กรรมการเล่นดว้ ยตนเอง

3. แนวคิดเกย่ี วกบั การทำงานของสมอง
สมองเป็นอวัยวะที่มีความสำคัญที่สุดในร่างกายของคนเรา เพราะการที่มนุษย์สามารถเรียนรู้ส่ิง

ต่างๆไดน้ ้ันต้องอาศัยสมองและระบบประสาทเป็นพ้ืนฐานการรับรู้ รับความรู้สึกจากประสาทสัมผสั ท้ังหา้ การ
เชอ่ื มโยงต่อกันของเซลลส์ มองสว่ นมากเกิดข้นึ กอ่ นอายุ ๕ ปี และปฏสิ มั พนั ธแ์ รกเรม่ิ ระหว่างเด็กกับผ้ใู หญ่ มีผล
โดยตรงต่อการสร้างเซลล์สมองและจุดเชื่อมต่อ โดยในช่วง ๓ ปีแรกของชีวิต สมองเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว
มาก มีการสร้างเซลล์สมองและจุดเช่ือมต่อข้ึนมามากมาย มีการสร้างไขมันหรือมันสมองหุ้มล้อมรอบเส้นใย
สมองด้วย พอเด็กอายุ ๓ ปี สมองจะมีขนาดประมาณ ๘๐ % ของสมองผู้ใหญ่ มีเซลล์สมองนับหมื่นล้านเซลล์
เซลล์สมองและจุดเช่ือมต่อเหล่าน้ียิ่งไดร้ บั การกระตนุ้ มากเทา่ ใด การเชอ่ื มตอ่ กนั ระหว่างเซลล์สมองยง่ิ มมี ากข้ึน
และความสามารถทางการคิดยิ่งมีมากขึ้นเท่าน้ัน ถ้าหากเด็กขาดการกระตุ้นหรือส่งเสริมจากสิ่งแวดล้อมที่
เหมาะสม เซลล์สมองและจุดเช่ือมต่อท่ีสร้างขึ้นมาก็จะหายไป เด็กที่ได้รับความเครียดอยู่ตลอดเวลาจะทำให้
ขาดความสามารถที่จะเรียนรู้ อย่างไรก็ตาม ส่วนต่างๆ ของสมองเจริญเตบิ โตและเรม่ิ มคี วามสามารถในการทำ
หน้าที่ในช่วงเวลาต่างกัน จึงอธิบายได้ว่าการเรียนรู้ทักษะบางอย่างจะเกิดข้ึนได้ดีท่ีสุดเฉพาะในช่วงเวลาหนึ่งท่ี
เรียกว่า “หน้าต่างของโอกาสการเรียนรู้” ซึ่งเป็นช่วงที่พ่อแม่ ผู้เล้ียงดูและครูสามารถช่วยให้เด็กเรียนรู้และ
พัฒนาส่ิงน้ันๆได้ดีท่ีสุด เม่ือพ้นช่วงน้ีไปแล้วโอกาสน้ันจะฝึกยากหรือเด็กอาจทำไม่ได้เลย เช่น การเช่ือมโยง
วงจรประสาทของการมองเห็นและรับรู้ภาพจะต้องได้รับการกระตุ้นทำงานตั้งแต่ ๓ หรือ ๔ เดือนแรกของชีวิต
จงึ จะมีพัฒนาการตามปกติ ช่วงเวลาของการเรียนภาษาคือ อายุ ๓ – ๕ ปีแรกของชีวิต เด็กจะพูดได้ชัด คล่อง
และถกู ต้อง โดยการพฒั นาจากการพูดเป็นคำๆมาเป็นประโยคและเลา่ เร่อื งได้ เปน็ ต้น

4. แนวคิดเก่ียวกับส่อื การเรยี นรู้
สื่อการเรียนรู้ทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ที่วางไว้ ทำให้ส่ิงที่เป็นนามธรรมเข้าใจยาก

กลายเป็นรูปธรรมท่ีเด็กเข้าใจและเรียนรู้ได้ง่าย รวดเร็ว เพลิดเพลิน เกิดการเรียนรู้และค้นพบด้วยตนเอง การ
ใช้สื่อการเรยี นรตู้ ้องปลอดภัยต่อตวั เด็กและเหมาะสมกับวยั วุฒภิ าวะ ความแตกต่างระหว่างบคุ คล ความสนใจ
และความต้องการของเด็กที่หลากหลาย ส่ือประกอบการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยควรมีสื่อทั้งท่ีเป็น
ประเภท ๒ มติ แิ ละ/หรอื ๓ มติ ิ ท่เี ปน็ สื่อของจริง สื่อธรรมชาติ ส่ือที่อย่ใู กล้ตวั เดก็ ส่ือสะท้อนวัฒนธรรม สอ่ื ภูมิ
ปัญญาท้องถ่ิน สื่อเพ่ือพัฒนาเด็กในด้านต่างๆให้ครบทุกด้าน ท้ังนี้ สื่อต้องเอ้ือให้เด็กเรียนรูผ้ ่านประสาทสัมผัส
ท้ังห้าโดยการจัดการใช้สือ่ สำหรับเด็กปฐมวัยต้องเริ่มต้นจากสอ่ื ของจริง ของจำลอง ภาพถ่าย ภาพโครงร่างและ
สัญลกั ษณ์ตามลำดับ

หลักสูตรสถานศกึ ษา ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ บ้านบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560



5. แนวคดิ เก่ยี วกบั สังคมและวฒั นธรรม
เด็กเมื่อเกิดมาจะเป็นส่วนหน่ึงของสังคมและวัฒนธรรม ซ่ึงไม่เพียงแต่จะได้รับอิทธิพลจากการ

ปฏิบัตแิ บบดั้งเดิมตามประเพณี มรดก และความรู้ของบรรพบรุ ษุ แต่ยังได้รบั อิทธิพลจากประสบการณ์ ค่านยิ ม
และความเชื่อของบุคคลในครอบครัว และชุมชนของแต่ละที่ด้วย บริบทของสังคมและวัฒนธรรมที่เด็กอาศัย
อยู่หรือแวดล้อมตัวเด็กทำให้เด็กแต่ละคนแตกต่างกันไป ครูจำเป็นต้องเข้าใจและยอมรับว่าสังคมและ
วัฒนธรรมท่ีแวดล้อมตัวเด็ก มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ การพัฒนาศักยภาพและพัฒนาการของเด็กแต่ละคน ครู
ควรต้องเรยี นร้บู ริบททางสงั คมและวัฒนธรรมของเด็กที่ตนรับผิดชอบ เพ่ือช่วยให้เด็กได้รับ การพัฒนา เกิดการ
เรียนรู้และอยู่ในกลุ่มคนท่ีมาจากพ้ืนฐานเหมือนหรือต่างจากตนได้อย่างราบร่ืน มีความสุข เป็นการเตรียมเด็ก
ไปสู้สงั คมในอนาคตกับการอยู่ร่วมกับผู้อื่น การทำงานร่วมกับผู้อ่นื ที่มีความหลากหลายทางความคิด ความเชื่อ
และวัฒนธรรมเช่น ความคล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่างวฒั นธรรมไทยกับประเทศเพ่ือนบ้านเรื่องศาสนา
ประเทศพม่า ลาว กัมพูชา ก็จะคล้ายคลึงกับคนไทยในการทำบุญตักบาตร การสวดมนต์ไหว้พระ การให้ความ
เคารพพระสงฆ์ การทำบุญเลี้ยงพระ การเวียนเทียนเน่ืองในวันสำคัญทางศาสนา ประเพณีเข้าพรรษา สำหรับ
ประเทศมาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลามจึงมีวัฒนธรรมแบบอิสลาม
ประเทศฟลิ ิปปนิ ส์ได้รับอทิ ธิพลจากคริสต์ศาสนา ประเทศสิงคโปร์และเวียดนามนับถือหลายศาสนา โดยนบั ถือ
ลัทธธิ รรมเนียมแบบจีนเปน็ หลกั เป็นต้น

พัฒนาการเดก็ ปฐมวัย
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาแสดงให้เห็นถึงการ
เปลย่ี นแปลงท่ีเกิดขึ้นตามวุฒิภาวะและสภาพแวดลอ้ มที่เด็กได้รับ พัฒนาการเดก็ ในแต่ละช่วงวยั อาจเรว็ หรอื ช้า
แตกต่างกันไปในเดก็ แต่ละคน ดังน้ี
๑. พัฒนาการด้านร่างกาย เปน็ พัฒนาการท่ีเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงในทางทดี่ ีข้นึ ของร่างกาย
ในดา้ นโครงสร้างของรา่ งกาย ดา้ นความสามารถในการเคลอื่ นไหว และดา้ นการมสี ุขภาพอนามยั ที่ดี รวมถึงการ
ใช้สมั ผัสรบั รู้ การใช้ตาและมือประสานกนั ในการทำกิจกรรมตา่ งๆ เดก็ อายุ 2 - ๕ ปี มีการเจริญเตบิ โตรวดเร็ว
โดยเฉพาะในเร่ืองน้ำหนักและส่วนสูง กล้ามเน้ือใหญ่จะมีความก้าวหน้ามากกว่ากล้ามเนื้อเล็ก สามารถบังคับ
การเคล่ือนไหวของร่างกายได้ดีมคี วามคล่องแคล่ววอ่ งไวในการเดิน สามารถว่ิง กระโดด ควบคุมและบงั คับการ
ทรงตัวได้ดีจึงชอบเคล่ือนไหว ไม่หยุดน่ิง พร้อมที่จะออกกำลังและเคล่ือนไหวในลักษณะต่างๆ ส่วนกล้ามเนื้อ
เล็กและความสัมพันธร์ ะหวา่ งตาและมือยังไม่สมบูรณ์ การสมั ผัสหรือการใชม้ อื มีความละเอียดข้นึ ใชม้ ือหยิบจับ
สิ่งของตา่ ง ๆ ได้มากขน้ึ ถา้ เดก็ ไมเ่ ครียดหรือกังวลจะสามารถทำกจิ กรรมทพี่ ัฒนากลา้ มเนื้อเลก็ ไดด้ ีและนานขึ้น

๒. พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ เป็นความสามารถในการรู้สึกและแสดงความรู้สึกของเด็ก เช่น
พอใจ ไม่พอใจ รัก ชอบ สนใจ เกลียด โดยท่ีเด็กรู้จักควบคุมการแสดงออกอย่างเหมาะสมกับวัยและ
สถานการณ์ เผชญิ กับเหตุการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการสร้างความรู้สึกท่ีดี และการนับถือตนเอง เด็กอายุ 2-๕ ปี
จะแสดงความรู้สึกอย่างเต็มที่ไม่ปิดบัง ช่อนเร้น เช่น ดีใจ เสียใจ โกรธ แต่จะเกิดเพียงช่ัวครู่แล้วหายไปการท่ี

หลักสตู รสถานศกึ ษา ศูนย์พฒั นาเดก็ เล็กบ้านบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560



เด็กเปล่ียนแปลงอารมณ์งา่ ยเพราะมีช่วงความสนใจระยะส้ัน เมอ่ื มีส่ิงใดน่าสนใจก็จะเปล่ียนความสนใจไปตาม
สิ่งน้ัน เด็กวันนี้มักหวาดกลัวส่ิงต่างๆ เช่น ความมืด หรือสัตว์ต่างๆ ความกลัวของเด็กเกิดจากจินตนาการ ซึ่ง
เด็กวา่ เปน็ เร่อื งจริงสำหรับตน เพราะยังสบั สนระหวา่ งเรื่องปรงุ แต่งและเร่ืองจริง ความสามารถแสดงอารมณ์ได้
สอดคล้องกับสถานการณ์อย่างเหมาะสมกับวัย รวมถึงชื่นชมความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อ่ืน
เพราะยดึ ตวั เองเป็นศูนยก์ ลางน้อยลงและตอ้ งการความสนใจจากผู้อ่นื มากข้นึ

๓. พัฒนาการด้านสังคม เป็นความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมครั้งแรกในครอบครัว
โดยมีปฏิสัมพันธ์กับพ่อแม่และพ่ีน้อง เมื่อโตขึ้นต้องไปสถานศึกษา เด็กเร่ิมเรียนรู้การติดต่อและการมีสัมพันธ์
กับบุคคลนอกครอบครัว โดยเฉพาะอย่างย่ิงเด็กในวัยเดียวกัน เด็กได้เรียนรู้การปรับตัวให้เข้าสังคมกับเด็กอ่ืน
พร้อมๆ กับรู้จักร่วมมือในการเล่นกับกลุ่มเพ่ือน เจตคติและพฤติกรรมทางสังคมของเด็กจะก่อขึ้นในวัยนี้และ
จะแฝงแน่นยากที่จะเปลี่ยนแปลงในวัยต่อมา ดังน้ัน จึงอาจกล่าวได้ว่าพฤติกรรมทางสังคมของเด็กวัยนี้ มี ๒
ลักษณะ คือลักษณะแรกนั้น เป็นความสัมพันธ์กับผู้ใหญ่และลักษณะท่ีสองเป็นความสัมพันธ์กับเด็กในวัย
ใกล้เคยี งกัน

๔. ด้านสติปัญญา ความคิดของเด็กวัยนี้มีลักษณะยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง ยังไม่สามารถเข้าใจ
ความรู้สึกของคนอ่ืน เด็กมีความคิดเพียงแต่ว่าทุกคนมองส่ิงต่างๆรอบตัว และรู้สึกต่อส่ิงต่างๆ เหมือนตนเอง
ความคิดของตนเองเป็นใหญ่ท่ีสุด เมื่ออายุ ๔ - ๕ ปี เด็กสามารถโต้ตอบหรือมีปฏิสัมพันธ์กับวัตถุสิ่งของท่ีอยู่
รอบตัวได้ สามารถจำส่ิงต่างๆ ที่ได้กระทำซ้ำกันบ่อยๆ ได้ดี เรียนรู้ส่ิงต่างๆ ได้ดีข้ึน แต่ยังอาศัยการรับรู้เป็น
ส่วนใหญ่ แก้ปัญหาการลองผิดลองถูกจากการรับรู้มากกว่าการใช้เหตุผลความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่
อยู่รอบตัวพัฒนาอย่างรวดเร็วตามอายุที่เพ่ิมขึ้น ในส่วนของพัฒนาการทางภาษา เด็กวัยน้ีเป็นระยะเวลาของ
การพัฒนาภาษาอย่างรวดเร็ว โดยมีการฝึกฝนการใช้ภาษาจากการทำกิจกรรมต่างๆ ในรปู ของการพูดคุย การ
ตอบคำถาม การเล่าเรื่อง การเล่านิทานและการทำกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาในสถานศึกษา
เด็กปฐมวัยสามารถ ใช้ภาษาแทนความคิดของตนและใช้ภาษาในการติดต่อสัมพันธ์กับคนอื่นได้คำพูดของเด็ก
วัยน้ี อาจจะทำให้ผู้ใหญ่บางคนเข้าใจว่าเด็กรู้มากแล้วแต่ท่ีจริงเด็กยังไม่เข้าใจความหมายของคำและเรื่องราว
ลกึ ซ้ึงนกั

มาตรฐานและคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ สำหรบั เดก็ อายุ 2 – 5 ปี
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

จังหวัดกาญจนบุรี จัดทำข้ึนเพ่ือให้เป็นแนวทางในการอบรมเลี้ยงดู ส่งเสริมพัฒนาการ การเรียนรู้อย่าง
เหมาะสมตามวัย และความสามารถของเด็กแต่ละคนให้มีความพร้อมในการเรียนรู้ต่อไป โดยกำหนด
คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ สำหรบั เด็กอายุ 2 – 3 ปี และกำหนดมาตรฐานคณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ สำหรบั เด็ก
อายุ 3 – 5 ปี ดังนี้

คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ สำหรบั เดก็ ทม่ี ีอายุ 2 – 3 ปี จำนวน 4 ด้าน รวม 7 ข้อ ดงั นี้
1. พัฒนาการดา้ นร่างกาย

1.1 ร่างกายเจริญเติบโตตามวยั และมีสุขภาพดี

หลักสตู รสถานศึกษา ศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ บ้านบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560



1.2 ใช้อวัยวะของร่างกายไดป้ ระสานสมั พันธ์กัน
2. พฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ

2.1. มีความสขุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้เหมาะสมกับวัย
3. พฒั นาการดา้ นสังคม

3.1 รับรแู้ ละสร้างปฏิสมั พนั ธก์ ับบุคคลและสง่ิ แวดลอ้ มรอบตัว
3.2 ชว่ ยเหลือตนเองได้เหมาะสมกับวัย
4. พฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา
4.1 สื่อความหมายและใชภ้ าษาได้เหมาะสมกับวยั
4.2 สนใจเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว

มาตรฐานคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคส์ ำหรบั เด็กอายุ 3 – 5 ปี จำนวน 4 ดา้ น รวม 12 มาตรฐาน ดังนี้
1. พฒั นาการดา้ นร่างกาย ประกอบด้วย ๒ มาตรฐานคอื

มาตรฐานท่ี ๑ ร่างกายเจรญิ เติบโตตามวยั และมสี ุขนิสัยทด่ี ี
มาตรฐานท่ี ๒ กล้ามเนอ้ื ใหญแ่ ละกล้ามเนอ้ื เล็กแข็งแรงใช้ไดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่ และ

ประสานสมั พนั ธ์กัน
2. พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ประกอบด้วย ๓ มาตรฐานคือ

มาตรฐานท่ี ๓ มีสขุ ภาพจติ ดีและมคี วามสขุ
มาตรฐานที่ ๔ ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลือ่ นไหว
มาตรฐานที่ ๕ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และมจี ิตใจทด่ี ีงาม
3. พฒั นาการดา้ นสังคม ประกอบด้วย ๓ มาตรฐานคือ
มาตรฐานท่ี ๖ มีทกั ษะชีวิตและปฏิบัตติ นตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
มาตรฐานท่ี ๗ รักธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม วฒั นธรรม และความเป็นไทย
มาตรฐานท่ี ๘ อยู่รว่ มกบั ผู้อื่นได้อย่างมคี วามสุขและปฏบิ ัติตนเปน็ สมาชิกท่ีดีของสงั คม

ในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข
4. พัฒนาการด้านสติปญั ญา ประกอบดว้ ย ๔ มาตรฐานคือ

มาตรฐานท่ี ๙ ใชภ้ าษาสอื่ สารได้เหมาะสมกับวัย
มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคิดทเ่ี ป็นพ้ืนฐานในการเรยี นรู้
มาตรฐานที่ ๑๑ มีจินตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์
มาตรฐานท่ี ๑๒ มเี จตคติท่ีดีต่อการเรยี นรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้

เหมาะสมกับวยั

หลักสูตรสถานศกึ ษา ศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็กบ้านบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560



ขั้นตอนการจัดทำหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั ศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ สำหรับเดก็ อายุ 2 – 5 ปี
1. ศึกษาและทำความเขา้ ใจเกยี่ วกับหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พ.ศ. 2560 สำหรบั เดก็
อายุ 2 - 5 ปี
2. ประชมุ ผทู้ ่มี สี ว่ นเก่ียวข้องในการจัดทำหลักสตู ร ตัวแทนผู้ปกครอง คณะกรรมการศนู ย์พัฒนา
เดก็ เลก็ ครูผสู้ อน นกั วิชาการศกึ ษา เพ่ือแสดงความคิดเหน็ และรว่ มกนั จัดทำหลกั สูตร
3. จัดทำหลักสตู ร โดยกำหนด ปรัชญา วิสยั ทัศน์ เปา้ หมาย คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์สำหรบั เด็ก
อายุ 2 - 5 ปี กำหนดสาระการเรียนรู้ โดยใหเ้ หมาะสมกับช่วงอายุ
4. ประกาศใชห้ ลกั สูตรศูนย์พัฒนาเดก็ เลก็
5. ประเมนิ หลกั สตู ร โดยแตง่ ต้งั คณะกรรมการ เพ่ือประเมินหลักสตู ร หากมขี ้อแก้ไข ให้ปรบั ปรงุ
ก่อนนำไปใช้

ผงั ๕ ขนั้ ตอน การจดั ทำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย

หลกั สูตรสถานศึกษา ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็กบา้ นบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560



หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก
สำหรับเด็กอายุ 2 – 3 ปี

จุดหมาย
หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ สำหรับเด็กอายุ 2 – 3 ปี มุ่งส่งเสรมิ ให้เดก็ มีพัฒนาการ

ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถ ความสนใจ และความ
แตกต่างระหว่างบคุ คล ดังน้ี

1. รา่ งกายเจริญเตบิ โตตามวัย แขง็ แรง และมสี ขุ ภาพดี
2. สุขภาพจิตดีและมคี วามสุข
3. มที ักษะชีวิตและสร้างปฏสิ มั พันธ์กบั บคุ คลรอบตวั และอยูร่ ่วมกบั ผอู้ นื่ ได้อย่างมคี วามสุข
4. มีทักษะการใชภ้ าษาส่อื สาร และสนใจเรียนรูส้ ง่ิ ตา่ งๆ

คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์
หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็ก สำหรบั เดก็ อายุ 2 – 3 ปี กำหนดคุณลักษณะท่ีพงึ

ประสงคจ์ ำนวน 4 ดา้ น รวม 7 ข้อ ดงั น้ี
1. พฒั นาการด้านร่างกาย
1.1 ร่างกายเจรญิ เติบโตตามวัยและมสี ุขภาพดี
1.2 ใชอ้ วยั วะของรา่ งกายไดป้ ระสานสัมพนั ธ์กนั
2. พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ
2.1 มคี วามสขุ และแสดงออกทางอารมณ์ไดเ้ หมาะสมกบั วัย
3 พัฒนาการดา้ นสังคม
3.1 รบั รูแ้ ละสร้างปฏสิ ัมพันธ์กับบคุ คลและส่งิ แวดล้อมรอบตวั
3.2 ชว่ ยเหลือตนเองไดเ้ หมาะสมกับวยั
4. พัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา
4.1 ส่ือความหมายและใชภ้ าษาไดเ้ หมาะสมกับวยั
4.2 สนใจเรียนรู้สง่ิ ต่างๆ รอบตัว

หลกั สตู รสถานศึกษา ศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็กบา้ นบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560

๑๐

1. พัฒนาการดา้ นรา่ งกาย
คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ที่ 1 ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสขุ ภาพดี

สภาพท่พี งึ ประสงค์ สภาพที่พึงประสงค์
(แกนกลาง)
คณุ ลกั ษณะ (ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก)

อายุ 2 ปี อายุ 3 ปี

1.1 มนี ้ำหนกั ส่วนสงู - นำ้ หนักส่วนสงู - น้ำหนกั สว่ นสูง - นำ้ หนกั สว่ นสูง

และเสน้ รอบศรี ษะตาม ตามเกณฑ์ ตามเกณฑ์ ตามเกณฑ์

เกณฑ์อายุ - เสน้ รอบศรี ษะ - เสน้ รอบศีรษะ - เส้นรอบศีรษะ
ตามเกณฑ์
ตามเกณฑ์ ตามเกณฑ์

1.2 มีรา่ งกายแข็งแรง - มภี ูมติ ้านทานโรค ไม่ - มภี มู ติ า้ นทานโรค ไม่ - มภี ูมิตา้ นทานโรค ไม่
ปว่ ยบ่อย ขับถา่ ยเปน็ ป่วยบอ่ ย ขับถา่ ยเป็น ป่วยบอ่ ย ขับถ่าย เป็น
เวลา รบั ประทาน เวลา รับประทาน เวลา รบั ประทาน
อาหาร นอนพักผ่อน อาหาร นอนพักผ่อน อาหาร นอน พักผ่อน
เหมาะสมกบั วยั เหมาะสมกบั วยั เหมาะสมกับวัย

1.3 รกั ษาความ - เล่นและทำกิจกรรม - เล่นและทำกจิ กรรม - เล่นและทำกิจกรรม
ปลอดภยั ของตนเอง อยา่ งปลอดภยั เม่อื มี อย่างปลอดภัยดว้ ย และปฏบิ ัตติ นต่อผู้อ่ืน
และผูอ้ ่ืน ผู้ช้แี นะ ตนเอง อย่างปลอดภยั

1. พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย (ตอ่ )
คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ท่ี 2 ใชอ้ วยั วะของรา่ งกายได้ประสานสัมพันธก์ ัน

สภาพท่ีพึงประสงค์ สภาพทพ่ี ึงประสงค์
(แกนกลาง)
คุณลักษณะ (ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก)
- นั่งยองๆ เล่นโดยไม่
2.1 ใช้กลา้ มเน้อื ใหญ่ เสยี การทรงตวั อายุ 2 ปี อายุ 3 ปี
ได้เหมาะสมกบั วยั - เดนิ ถอยหลังได้
- เดินขนึ้ ลงบันไดโดย - สามารถนั่งยองๆ เล่น - สามารถนัง่ ยองๆ เลน่
มอื ข้างหนงึ่ จับราว
และก้าวเทา้ โดยมี โดยไม่เสียการทรงตัว โดยไม่เสยี การทรงตัว
สองเท้าในขน้ั - เดนิ ถอยหลงั ได้
เดยี วกนั - เดนิ ถอยหลงั ได้
- กระโดดอยู่กบั ที่โดย - เดนิ ข้ึนลงบันไดโดยมือ - เดนิ ขึน้ ลงบันไดโดยมือ
เทา้ พน้ พื้นทั้ง 2 ขา้ ง ขา้ งหน่งึ จบั ราวและ ขา้ งหนง่ึ จับราวและ
ก้าวเทา้ โดยมีสองเท้า กา้ วเทา้ โดยมีสองเทา้
ในขนั้ เดยี วกัน
ในขั้นเดียวกัน
- กระโดดอยู่กับทโ่ี ดย - กระโดดอยู่กับที่โดย
เทา้ พ้นพ้นื ทั้ง 2 ขา้ ง เท้าพน้ พน้ื ท้งั 2 ขา้ ง

หลกั สตู รสถานศึกษา ศูนย์พัฒนาเดก็ เลก็ บ้านบัวใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560

๑๑

2.2 ใชก้ ล้ามเนื้อเลก็ - จบั สเี ทียนแท่งใหญ่ - จับสีเทียนแท่งใหญ่ - จบั สเี ทียนแท่งใหญ่
และประสานสมั พันธ์ เพือ่ ขีดเขียนได้ เพอ่ื ขดี เขียนได้ เพอ่ื ขดี เขยี นได้
มือ-ตา ได้เหมาะสมกบั - เลยี นแบบลากเส้นเป็น
วัย - เลียนแบบลากเส้น วง ต่อเนอ่ื งหรือ - เลียนแบบลากเสน้ เป็น
เป็นวง ต่อเนอื่ งหรือ เส้นตรงแนวด่งิ วง ต่อเน่อื งหรือ
เส้นตรงแนวดิง่ เส้นตรงแนวดิง่

2. พฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ
คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ที่ 3 มคี วามสุขและแสดงออกทางอารมณไ์ ด้เหมาะสมกับวยั

สภาพที่พงึ ประสงค์ สภาพทพ่ี ึงประสงค์
(แกนกลาง)
คุณลักษณะ (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก)
3.1 รา่ เริง แจ่มใส
อายุ 2 ปี อายุ 3 ปี
3.2 แสดงออกทาง
อารมณ์ได้ อย่าง - อารมณ์ดี ยม้ิ แยม้ - แสดงความรสู้ กึ ออก - แสดงความรู้สึก โกรธ
เหมาะสมกับวยั
หัวเราะงา่ ยแววตามี ทางสหี นา้ ท่าทาง ดใี จ เสียใจ
3.3 สนใจและมี
ความสุขกบั ธรรมชาติ ความสุข - แสดงความกงั วลเม่ือ - แสดงอารมณ์
ส่งิ สวยงาม ดนตรีและ
จงั หวะการเคล่ือนไหว แยกออกจากคน ความรูส้ กึ ไดเ้ หมาะสม

ใกล้ชิด ตามสถานการณ์

- แสดงความภาคภูมิใจ - แสดงความภาคภมู ใิ จ - แสดงความภาคภมู ิใจ

เม่ือทำส่ิงตา่ งๆ เมอ่ื ทำสิง่ ต่างๆ สำเรจ็ เมอื่ ทำส่ิงต่างๆ สำเรจ็

สำเร็จ - ชอบพูดคำวา่ “ไม่” - ชอบพูดคำวา่ “ไม่”

- ชอบพดู คำวา่ “ไม”่ แมจ้ ะเปน็ สิ่งทตี่ อ้ งการ แมจ้ ะเปน็ ส่ิงท่ีตอ้ งการ

แม้จะเป็นสิ่งที่

ต้องการ

- ตอบสนองต่อ - แสดงท่าทางประกอบ - มสี ว่ นร่วมดแู ลรกั ษา

ธรรมชาติ เสยี งเพลง เพลงพร้อมอปุ กรณ์ ธรรมชาตแิ ละ

จงั หวะดนตรี และส่งิ - การละเลน่ พนื้ บ้านของ สง่ิ แวดล้อม เม่ือมีผู้

สวยงามตา่ งๆ อยา่ ง ชมุ ชน โดยใชส้ ื่อวสั ดุ ชีแ้ นะ

เพลิดเพลิน จากธรรมชาตขิ องแต่ - รูจ้ กั ทงิ้ ขยะถกู ที่

ละทอ้ งถ่ินน้ัน ตาม - การละเลน่ พนื้ บา้ นของ

คำแนะนำ ชมุ ชน โดยใช้สื่อวสั ดุ

จากธรรมชาติของแต่

ละทอ้ งถ่ินนน้ั ๆ

หลกั สตู รสถานศึกษา ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ บ้านบัวใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560

๑๒

3. พฒั นาการดา้ นสังคม
คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ที่ 4 รบั รแู้ ละสรา้ งปฏสิ ัมพนั ธก์ บั บุคคลและสิ่งแวดล้อมรอบตัว

สภาพทพ่ี ึงประสงค์ สภาพที่พงึ ประสงค์
(แกนกลาง)
คณุ ลักษณะ (ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็ก)
- ชอบเกบ็ ของของ
4.1 ปรับตัวเขา้ กับ ตนเองไว้ใกลต้ วั และ อายุ 2 ปี อายุ 3 ปี
ส่ิงแวดลอ้ มใกลต้ ัว ไม่ชอบแบ่งปนั ผอู้ น่ื
- เลยี นแบบพฤติกรรมท่ี - เลียนแบบพฤติกรรมที่

พบเหน็ ตนช่นื ชอบ

- สนใจสง่ิ แปลกใหม่ - เรียนรู้ส่งิ ตา่ งๆ จาก

- ฝึกเรียนรู้ส่งิ ตา่ งๆ จาก กิจวัตรประจำวัน

กิจวัตรประจำวัน - รู้จักแบ่งปนั ชว่ ยเหลอื

- แสดงออกความเปน็ - เกบ็ ของเลน่ เขา้ ที่

เจา้ ของ

4.2 เลน่ และร่วมทำ - รอคอยชว่ งสนั้ ๆ - เลน่ ของเลน่ คนเดียว - รว่ มทำกจิ กรรมกลุ่มได้
กิจกรรมกบั ผู้อ่ืนได้ตาม - เล่นร่วมกบั คนอ่ืน แต่ - ฝกึ ให้รูจ้ กั การรอคอย เช่น เกบ็ ใบไม้ ดูแล
วัย ต่างคนต่างเล่น - ฝึกการแบ่งปันและอยู่ ต้นไม้
- ชว่ ยเหลือผูอ้ ื่น แบง่ ปัน
ร่วมกบั ผู้อ่ืน - มสี มาธิในการฟังระยะ
ส้ันๆ
- สามารถเลน่ กับผอู้ ืน่ ได้
- รจู้ ักรอคอย
- ปฏิบัตติ ามขอ้ ตกลงได้
บ้าง

หลักสูตรสถานศึกษา ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ บ้านบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560

๑๓

3. พัฒนาการดา้ นสังคม (ต่อ)
คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ท่ี 5 ช่วยเหลือตนเองได้เหมาะสมกับวัย

สภาพท่ีพงึ ประสงค์ สภาพท่ีพึงประสงค์
(แกนกลาง)
คณุ ลักษณะ (ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ )
- สวมเส้อื ผา้ โดยมี
ทำกจิ วตั รประจำวัน คนช่วย อายุ 2 ปี อายุ 3 ปี
ดว้ ยตนเองได้ตามวัย - บอกไดว้ ่าตนเอง
ต้องการขับถา่ ย - สวมเสอ้ื ผ้าโดยมีคน - สวมเส้อื ผ้าเองได้

ช่วย - รับประทานอาหารเอง

- บอกได้ว่าตนเอง ได้

ตอ้ งการขบั ถา่ ย - บอกความต้องการ

- รบั ประทานอาหารเอง ขับถ่ายของตนเองได้

ได้บ้าง - ดื่มน้ำเองได้

- ด่มื น้ำเองได้ - แปรงฟันเองได้

- แปรงฟนั โดยมีคน - เกบ็ ของเข้าท่ีของ

แนะนำ ตนเองได้

- เกบ็ ของเข้าท่ีได้ โดยมี - สวมรองเทา้ ได้เอง

คนแนะนำ - รูจ้ ักการรอคอย

- สวมใสร่ องเท้าได้ - เข้าแถวไดต้ ามลำดบั

- รจู้ ักการรอคอย หน้าหลงั

- เข้าแถวได้ตาม

คำแนะนำ

หลกั สูตรสถานศกึ ษา ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็กบ้านบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560

๑๔

4. พัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา
คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ท่ี 6 สอ่ื ความหมายและใช้ภาษาไดเ้ หมาะสมกับวัย

สภาพท่ีพึงประสงค์ สภาพท่ีพึงประสงค์
(แกนกลาง)
คุณลกั ษณะ (ศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ )

6.1 รบั รู้และเข้าใจ อายุ 2 ปี อายุ 3 ปี
ความหมายของ
ภาษาได้ตามวัย - ร้องเพลงได้บางคำ - รอ้ งเพลงไดบ้ างคำ - รอ้ งเพลงได้

6.2 แสดงออกและ และรอ้ งเพลงคลอ - ท่องคำคลอ้ งจองง่ายๆ - เล่าเรื่องจาก
หรือพูดเพื่อสื่อ
ความหมายได้ ตามทำนอง ได้ ประสบการณ์ทพี่ บ

- สนใจดหู นังสือ นทิ าน - เลา่ เรอ่ื งจากภาพได้ มาได้

ภาพ บ้าง - ฟังนิทานแล้วสามารถ

เลา่ ตามได้

- พดู เป็นวลีส้ันๆ - บอกความต้องการของ - มักจะถามคำถาม

- มกั จะถามคำถาม ตนเองและผอู้ นื่ ได้ “อะไร” และ“ทำไม”

“อะไร” และ - พูดเป็นวลีสนั้ ๆ ได้ - แสดงทา่ ทางบอกความ

“ทำไม” - พูดสนทนาโต้ตอบเป็น ตอ้ งการของตนได้

ประโยคสั้นๆ ได้ - บอกสไี ด้

- บอกสไี ดบ้ า้ ง

4. พฒั นาการดา้ นสติปญั ญา (ต่อ)

คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ท่ี 7 สนใจเรียนรูส้ ง่ิ ตา่ งๆ รอบตัว

สภาพท่พี ึงประสงค์ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์
(แกนกลาง)
คณุ ลักษณะ (ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก)
7.1 สนใจและเรียนรู้ - อยากเรยี นรสู้ ิ่งต่างๆ
สิ่งตา่ งๆรอบตัว - ถามบ่อย ถามซ้ำ อายุ 2 ปี อายุ 3 ปี
- จดจ่อตอ่ ส่ิงใดสิง่ หนึ่งได้
7.2 เรยี นรผู้ ่านการ ยาวนานข้ึน - สนใจสงิ่ แปลกใหม่ท่ี - สนใจส่งิ แปลกใหม่ที่
เลียนแบบ
- เลยี นแบบการกระทำผู้ ตนพบเห็นได้บา้ ง ตนพบเห็นได้
ใกล้ชิดหรอื เด็กอื่น
- พยายามเลยี นเสียง - สนใจส่ิงแวดลอ้ ม - สนใจส่งิ แวดลอ้ ม
ต่างๆ
รอบตัวได้บ้าง รอบตัวได้

- จดจำสง่ิ ของเคร่ืองใช้ - จดจำสิ่งของเคร่ืองใช้

ของตนเองไดบ้ ้าง ของตนเองได้

- จดจำสัญลักษณ์ของ

ตนเองได้

- เลยี นแบบท่าทางได้ - เลยี นแบบท่าทางได้

บ้าง - เลียนแบบจาก

- เลยี นแบบจากบทบาท บทบาทสมมุติได้

สมมุติไดบ้ า้ ง - เลยี นแบบจากสือ่

- เลียนแบบจากส่ือต่างๆ ตา่ งๆ เช่น นทิ าน ทวี ี

เชน่ นิทาน การต์ นู ทวี ี การ์ตูน ได้

ไดบ้ ้าง

หลักสูตรสถานศึกษา ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ บา้ นบัวใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560

๑๕

7.3 สำรวจโดยใช้ - คน้ หาของทีถ่ ูกซอ่ นโดย - สามารถบอกกลิ่น - สามารถบอกกลน่ิ
ประสาทสัมผัส
มสี ่ิงปกปิด 2-3 ชั้น เหมน็ -หอมจากการดม ตา่ งๆ ได้

- ชอบละเลงสดี ้วยมือ ได้ - สามารถบอก

- สามารถบอกความรู้สึก ความรูส้ ึกจากการ

จากการสมั ผัสของ สัมผสั สงิ่ ของตา่ งๆ ได้

อย่างงา่ ย เช่น ร้อน- - สามารถบอกเสียง คน

เยน็ , แข็ง-นม่ิ สัตว์ สง่ิ ของได้บา้ ง

- สามารถบอกเสียงจาก - สามารถบอกความ

การฟงั เสียง คน สัตว์ เหมือน-แตกตา่ ง ได้

สิง่ ของ ท่ีคนุ้ เคย - สามารถบอกรสชาติ

- สามารถบอกความ จากการดมได้

เหมือน-แตกต่างได้

บ้าง

- สามารถบอกรสชาติ

จากการดมได้

บางอยา่ ง

แนวทางการอบรมเล้ียงดู การสง่ เสริมพัฒนาการและการเรยี นรู้ สำหรบั เด็กอายุ 2-3 ปี

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สำหรับเด็กอายุ 2 – 3 ปี เป็นแนวทางปฏิบัติในการ
อบรมเล้ียงดู การส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ โดยเน้นการจัดประสบการณ์ผ่านการเล่นตามธรรมชาติที่
เหมาะสมกับวัยอย่างเป็นองค์รวม ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยจัดกิจกรรมให้
สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการ ความสนใจ และความสามารถตามวัยของเดก็ ทงั้ นี้ เด็กในช่วงวัยนี้จะมีพฒั นาการ
เพิ่มข้ึน เด็กมีการพ่ึงพาตนเอง แสดงความเป็นตัวของตัวเอง จึงจำเป็นต้องคำนึงถึงสาระการเรียนรู้ท่ี
ประกอบด้วย ประสบการณ์สำคัญและสาระท่ีควรเรียนรู้ ตลอดจนส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมเพ่ือเป็นพื้นฐาน
การเรยี นรใู้ นระดบั ทีส่ งู ข้นึ ไป

สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้ของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สำหรับเด็กอายุ ๒ - ๓ ปี เป็น

สื่อกลางในการจัดประสบการณ์ เพ่ือส่งเสริมพัฒนาการทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจสังคมและ
สติปัญญา ซ่ึงจำเป็นต่อการพัฒนาเด็ก โดยจัดในรูปแบบหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการหรือเลือกรูปแบบที่
เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย สาระการเรียนรู้ประกอบไปด้วย ๒ ส่วน คือ ประสบการณ์สำคัญและสาระที่ควร
เรยี นรดู้ ังน้ี
1. ประสบการณส์ ำคัญ

ประสบการณ์สำคัญ เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องให้เด็กอายุ 2 - 3 ปี ได้ลงมือทำด้วยตนเอง เพ่ือ
พัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา เน่ืองจากเป็นรากฐานของการพัฒนาการก้าว
ต่อไป ตลอดจนเปน็ ปัจจัยสำคัญท่ีกำหนดความสามารถ แรงจงู ใจใฝ่เรียนรู้ และความกระตือรอื รน้ ในการพฒั นา

หลกั สูตรสถานศกึ ษา ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็กบ้านบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560

๑๖

ตนเองของเด็ก ที่จะส่งผลต่อเน่ืองไปสู่วัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ ประสบการณ์สำคัญจะเก่ียวข้องกับการจัด
สภาพแวดล้อมทุกด้านที่กระตุ้นให้เด็กเกิดการเรียนรู้และมีความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ
รอบตัว ในวิถีชีวิตของเด็กและในสังคมภายนอก อันจะสั่งสมเป็นทักษะพ้ืนฐานท่ีจำเป็นต่อการเรียนรู้และ
สามารถพัฒนาต่อเนอื่ งไปสูร่ ะดบั ที่สูงขึ้น

ประสบการณส์ ำคัญที่ช่วยสง่ เสริมพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสติปัญญาของ
เด็กน้ัน ครูจำเป็นต้องสนับสนุนให้เด็กได้มีประสบการณ์ตรงด้วยการใช้ประสาทสัมผัสท้ังห้าในการเคล่ือนไหว
ร่างกายส่วนต่างๆ การสร้างความรัก ความผูกพันกับคนใกล้ชิด การปฏิสัมพันธ์กับผู้คนสิ่งต่างๆ รอบตัว และ
การรู้จักการใช้ภาษาส่ือความหมาย ดังน้ัน การฝึกทักษะต่างๆ ต้องให้เด็กลองผิดลองถูก สำรวจ ทดลอง และ
ลงมอื กระทำจริง การปฏิสัมพันธ์กับวัตถุสิ่งของ บคุ คล และธรรมชาตริ อบตัวเด็กตามบริบทของสภาพแวดล้อม
จำเป็นต้องมกี ารจดั ประสบการณ์สำคัญแบบองค์รวมที่ยดึ เด็กเป็นสำคญั ดงั ตอ่ ไปนี้

1.1 ประสบการณ์สำคัญท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มีโอกาส
พัฒนาการใช้กล้ามเน้ือใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก การประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเน้ือและระบบประสาทในการทำ
กจิ วัตรประจำวนั หรอื การทำกจิ กรรมตา่ งๆ การนอนหลับพกั ผอ่ น การดูแลสุขภาพอนามัย และความปลอดภยั

ประสบการสำคญั ที่ควรส่งเสริม ประกอบดว้ ย การเคล่ือนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจังหวะ
ดนตรี การเล่นออกกำลังกาลางแจ้งอย่างอิสระ การเคลื่อนไหวและการทรงตัว การกระโดด การว่ิง การ
ประสานสัมพันธ์ของกลา้ มเนื้อและระบบประสาท การเลน่ เครือ่ งเล่นสัมผสั การวาด การเขียน ขดี เขี่ย การป้ัน
การฉีก การตัดปะ การระบายสี การดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย ของใช้ส่วนตัว และการรักษาความ
ปลอดภยั เปน็ ตน้

1.2 ประสบการณ์สำคญั ทีส่ ง่ เสรมิ พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ เป็นการสนับสนนุ ให้เด็กได้แสดงออก
ทางอารมณ์และความรู้สึกท่ีเหมาะสมตามวัย มีความสุข ร่าเริง แจ่มใส ได้พัฒนาความรู้สึกท่ีดีต่อตนเองและ
ผู้อื่น มีความเชื่อม่ันในตนเองจากการทำกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวัน ครูเป็นบุคคลมีส่วนสำคัญอย่างย่ิงใน
การทำให้เดก็ รูส้ ึกเป็นที่รัก อบอุ่น ม่ันคง เกิดความรู้สึกปลอดภยั ไว้วางใจซึ่งจะส่งผลให้เด็กเกิดความรู้สึกทดี่ ีต่อ
เองและเรียนรู้ท่ีจะสร้างความสมั พนั ธ์ทดี่ กี ับผูอ้ น่ื

ประสบการณ์สำคัญท่ีควรส่งเสริม ประกอบด้วย การรับรู้อารมณ์หรือความรู้สึกของตนเอง การ
แสดงอารมณ์ที่เป็นสุข การควบคุมอารมณ์และการแสดงออก การเล่นอิสระ การเล่นบทบาทสมมุติ การช่ืนชม
ธรรมชาติ การเพาะปลูกอย่างง่าย การเลี้ยงสัตว์ การฟังนิทาน การร้องเพลง การท่องคำคล้องจอง การทำ
กิจกรรมศลิ ปะตา่ งๆ ตามความสนใจของเด็ก เป็นต้น

1.3 ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มีโอกาส
ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลและสิ่งแวดล้อมต่างๆ รอบตัวในชีวิตประจำวัน ได้ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ และปรับตัวอยู่ใน
สังคม เด็กควรมีโอกาสได้เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็นผู้ใหญ่ เด็กวัยเดียวกันหรือต่างเพศต่าง
วยั อย่างสมำ่ เสมอ

ประสบการณส์ ำคัญท่คี วรส่งเสริม ประกอบด้วย การช่วยเหลือตนเองในการทำกิจวัตรประจำวัน
ตามวัย การเล่นอิสระ การเล่นร่วมกับผู้อ่ืน การแบ่งปันหรือการให้ การอดทนรอคอยตามวัย การใช้ภาษาบอก
ความต้องการ การออกไปเล่นนอกบ้าน การไปสวนสาธารณะ การร่วมกิจกรรมวันสำคัญต่างๆ กับทางศูนย์

หลักสูตรสถานศกึ ษา ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ บ้านบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560

๑๗

พัฒนาเด็กเล็ก การร่วมกิจกรรมกับทางศาสนา และการร่วมกจิ กรรมกบั หน่วยงานต่างๆ เช่น เทศบาล กจิ กรรม
รณรงค์ต่างๆ ของหนว่ ยงานสาธารณสขุ เป็นตน้

1.4 ประสบการณส์ ำคัญทส่ี ่งเสริมพัฒนาการดา้ นสติปัญญา เปน็ การสนับสนนุ ให้เด็กไดร้ บั รูแ้ ละ
เรยี นรสู้ ิง่ ต่างๆ รอบตัวในชีวิตประจำวนั ผ่านประสาทสัมผสั ท้งั ห้า และการเคล่ือนไหว ได้พัฒนาการใชภ้ าษาสอื่
ความหมายและความคดิ รู้จกั สังเกตคณุ ลักษณะต่างๆ ไมว่ า่ จะเป็นสี ขนาด รูปรา่ ง รปู ทรง ผิวสมั ผสั จดจำชื่อ
เรียกสง่ิ ต่างๆ รอบตวั

ประสบการณ์สำคัญที่ควรส่งเสริม ประกอบด้วย การตอบคำถามจากการคิด การเชื่อมโยงจาก
ประสบการณ์เดิม การเรียงลำดับเหตุการณ์ การยืดหยุ่นความคิดตามวัย การจดจ่อใส่ใจ การสังเกตวัตถุหรือ
สงิ่ ของที่มสี ีสันและรูปทรงท่ีแตกต่างกัน การฟังเสียงตา่ งๆ รอบตวั การฟังนิทานหรอื เร่ืองราวส้ันๆ การพูดบอก
ความต้องการ การเล่าเรื่องราว การสำรวจ การทดลองค้นคว้าหาคำตอบอย่างง่ายๆ การคิดวางแผนท่ีไม่
ซับซ้อน การทำโครงงานตามความสนใจเด็ก การคิดตัดสินใจหรือคิดแก้ปัญหาในเร่ืองที่ง่ายๆ ด้วยตนเอง การ
แสดงความคดิ สรา้ งสรรค์ และจินตนาการ เป็นต้น
2. สาระท่ีควรเรยี นรู้

สาระท่ีจะให้เด็กอายุ 2 - 3 ปี เรียนรู้ ควรเป็นเร่ืองที่เก่ียวกับตัวเด็กเป็นลำดับแรกแล้วจึงขยายไปสู่
เร่ืองที่อยู่ไกลตวั เด็กเพ่ือนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน เด็กควรได้รับการอบรมเลี้ยงดู ส่งเสริมพัฒนาการ
และการเรยี นรู้ใหเ้ หมาะสมตามวัย ดงั น้ี

2.1 เร่อื งราวเก่ียวกบั ตัวเด็ก เด็กควรเรียนรูเ้ กี่ยวกบั ช่ือและเพศของตนเอง การเรียกชอ่ื อวัยวะส่วน
ต่างๆ ของร่างกาย การดูแลตนเองเบ้ืองต้น โดยมีผู้ใหญ่ให้การช่วยเหลือ การล้างมือ การขับถ่าย การ
รับประทานอาหาร การแปรงฟัน การอาบน้ำ การถอดและสวมเส้ือผ้า การรักษาความปลอดภัย การเก็บของใช้
ประจำตัว เชน่ รองเท้า กระเป๋า แกว้ น้ำ เก็บผลงานของตนเองในสัญลักษณ์ประจำตัว ฯลฯ และการนอนหลับ
พักผอ่ น

2.2 เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมรอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เก่ียวกับบุคคลภายใน
ครอบครวั และบุคคลภายนอกครอบครวั การรู้จกั ชื่อเรยี กหรอื สรรพนามแทนตัวของญาติหรือผูเ้ ลี้ยงดู วิธีปฏบิ ัติ
กับผู้อื่นอย่างเหมาะสม การทักทาย การไหว้ การเล่นกับผู้อ่ืน การไปเท่ียวในสถานท่ีต่างๆ เช่น ตลาด ร้านค้า
วัด สถานที่สำคัญทางโบราณสถาน โบราณวัตถุ และการเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน เช่น กิจกรรมทางศาสนา
วฒั นธรรม และประเพณีในท้องถนิ่

2.3 เร่ืองราวเกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัว เด็กควรเรียนรู้เก่ียวกับการสำรวจสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติ
รอบตัว เช่น สัตว์ พืช ดอกไม้ ใบไม้ ผ่านการใช้ประสาทสัมผัสท้ังห้า การเล่นน้ำ เล่นทราย การเลี้ยงสัตว์ การ
เดินเลน่ ในสวนสาธารณะ การเพาะปลูกตน้ ไม้อยา่ งง่าย

หลักสูตรสถานศกึ ษา ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ บ้านบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560

๑๘

2.4 เรื่องราวเกี่ยวกับสงิ่ ต่างๆ รอบตัวเด็ก เด็กควรเรยี นรู้เก่ียวกับช่ือของเล่นของใช้รอบตวั เด็ก การ
เชื่อมโยงลักษณะหรือคุณสมบัติอย่างง่ายๆ ของสิ่งต่างๆ ที่อยู่ใกล้ตัวเด็ก เช่น แสง สี เสียง รูปร่าง รูปทรง
ขนาด ผิวสมั ผัส ความแข็ง นุม่ การเปรียบเทียบส่งิ ที่เหมอื น ความแตกต่าง การชง่ั น้ำหนัก การนับจำนวน

การอบรมเล้ียงดแู ละการจดั ประสบการณ์
การอบรมเล้ียงดูและการจัดประสบการณ์ สำหรับเด็กอายุ 2 – 3 ปี เพ่ือให้เด็กได้เรียนรู้จาก

ประสบการณ์ตรงได้พัฒนาท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา สามารถจัดในรูปของกิจกรรม
บูรณาการผา่ นการเล่น โดยคำนึงถงึ สงิ่ สำคญั ตอ่ ไปน้ี

1. อบรมเลย้ี งดูเด็กและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้โดยเนน้ เดก็ เป็นสำคัญ
2. ตระหนักและสนับสนุนสทิ ธิขนั้ พน้ื ฐานที่เดก็ พึงได้รับ
3. ปฏบิ ตั ติ ่อเด็กด้วยความรกั ความเขา้ ใจ และใช้เหตุผล
4. ส่งเสริมพัฒนาการของเดก็ อย่างสมดุลครบทุกดา้ น
5. ปลูกฝงั ระเบียบวนิ ยั คณุ ธรรม และวัฒนธรรมไทย
6. ใชภ้ าษาทเ่ี หมาะสมกับความสามารถและการเรยี นรู้ของเด็ก
7. สนับสนนุ การเลน่ ตามธรรมชาติของเด็ก
8. จดั สภาพแวดลอ้ มทปี่ ลอดภัยและเออื้ ต่อการเรียนรู้ของเด็ก
9. ประเมนิ การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการเดก็ อย่างตอ่ เนื่อง สม่ำเสมอ
10.ประสานความร่วมมือระหว่างพ่อแม่ ผปู้ กครอง และชุมชน

แนวทางการอบรมเล้ียงดูและการจดั ประสบการณ์ สำหรับเด็กอายุ 2 – 3 ปี มแี นวทางดงั นี้
1. ดูแลสุขภาพอนามัยและตอบสนองความต้องการของเด็กเปน็ รายบุคคล
2. สรา้ งบรรยากาศของความรัก ความอบอ่นุ ความไวว้ างใจ และความม่ันคงทางอารมณใ์ หก้ ับเด็กใน

วถิ ีชวี ิตประจำวัน
3. จดั ประสบการณต์ รงให้เด็กได้เลือก ลงมือกระทำ และเรียนรจู้ ากประสาทสมั ผัสท้ังห้า และการ

เคลอื่ นไหวผ่านการเล่น
4. จัดประสบการณ์ให้เดก็ มีปฏสิ ัมพันธ์กบั บคุ คลท่ีแวดล้อมและสง่ิ ต่างๆ รอบตวั เด็กอย่างหลากหลาย
5. จดั สภาพแวดล้อมทงั้ ภายในและภายนอก วัสดุอุปกรณ์ เคร่อื งใช้ และของเล่นท่ีสะอาด

หลากหลาย ปลอดภยั และเหมาะสมกับเดก็ เพ่ือส่งเสรมิ พัฒนาการเด็กรอบด้าน รวมถึงมพี น้ื ท่ีในการเล่นน้ำ
เลน่ ทราย

6. จดั หาส่ือการเรียนรู้ท่ีเปน็ ส่ือธรรมชาติ เหมาะสมกับวยั และพัฒนาการของเด็ก สื่อทีเ่ อื้อให้เกดิ การ
ปฏิสัมพนั ธ์ หลีกเล่ยี งการให้เด็กเรียนรู้จากสื่อเทคโนโลยตี ามลำพัง

7. จดั รวบรวมข้อมลู และตดิ ตามการเจริญเติบโต พฒั นาการและการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล
อย่างต่อเนื่อง สมำ่ เสมอ

หลักสตู รสถานศึกษา ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กบา้ นบวั ใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560

๑๙

8. จัดกระบวนการเรยี นรโู้ ดยให้พ่อแม่ ครอบครัว และชุมชน มีส่วนรว่ มทั้งการวางแผน การสนบั สนนุ
ส่ือ การเขา้ ร่วมกิจกรรม และการประเมินพฒั นาการเด็ก

ตวั อย่างกจิ กรรมการอบรมเลีย้ งดแู ละส่งเสรมิ พฒั นาการการเรียนรูต้ ามวิถีชวี ติ ประจำวัน สำหรบั เด็กอายุ

2 - 3 ปี โดยบูรณาการกับหน่วยการเรียนทก่ี ำหนดดังนี้

เดก็ อายุ 2 ปี

การสง่ เสริมพัฒนาการ ตัวอย่างกจิ กรรม
การเรยี นรตู้ ามวิถชี วี ิตประจำวนั

1. การฝึกสุขนสิ ยั และลักษณะนสิ ัยทด่ี ี - สร้างเสริมสขุ นสิ ัยทด่ี ีในการรบั ประทานอาหาร , การฝกึ

การนอน , การชีแ้ นะให้ทำความสะอาดรา่ งกาย ฝึกการ
ขับถ่าย
- ปลกู ฝงั ลักษณะนิสัยที่ดีในการดแู ลสขุ ภาพอนามัย ,ความ

2. การเคลื่อนไหวและการทรงตวั ปลอดภยั
- ปลกู ฝังกริ ยิ ามารยาท ความสภุ าพ ความนุ่มนวลแบบไทย,
การมวี ินัยในตนเอง
- ส่งเสริมการใช้กล้ามเน้ือแขนกับขา , มอื กับนิ้วมือ และ
สว่ นต่างๆ ในร่างกายในการเคล่อื นไหว และออกกำลงั
กายทกุ ส่วน

3. การฝกึ ประสานสัมพนั ธ์ระหวา่ ง - เคล่อื นไหวส่วนต่างๆ ของรา่ งกายตามเสียงดนตรี
มอื กับตา - การเล่นเคร่อื งเลน่ สนาม
- ฝึกความแข็งแรงของกล้ามเน้ือมือ นิ้วมือ
- ฝึกการทำงานอยา่ งสมั พันธ์กันระหว่างมือ-ตา
- ฝกึ ใหเ้ ดก็ ร้จู กั การคาดคะเนหรือกะระยะทางของส่ิงตา่ งๆ
รอบตวั เด็ก

4. การส่งเสริมดา้ นอารมณ์ จิตใจ - การเล่นร้อยลกู ปัดขนาดใหญ่ เล่นหยอดบล็อก ตอกหมดุ
โยนรับลูกบอล ใช้สเี ทียนแทง่ ใหญ่วาดเขยี นขดี เขี่ย
- การเป็นแบบอยา่ งท่ดี ี ในดา้ นการแสดงออกทางอารมณ์

5. การส่งเสริมทักษะทางสังคม - ตอบสนองต่อความรู้สึกที่เด็กแสดงออกอยา่ งนมุ่ นวล
ออ่ นโยน
- ปลูกฝงั การชน่ื ชมธรรมชาติรอบตวั
- สรา้ งความสัมพนั ธ์กบั พอ่ แม่ ผเู้ ล้ยี งดแู ละบคุ คลใกล้ชิด
- พาเด็กออกนอกพ้นื ที่ พบปะเดก็ อนื่ หรือผู้ใหญภ่ ายใตก้ าร
ดูแลอย่างใกลช้ ดิ

- สง่ เสรมิ การเลย้ี งดเู ด็กในการตอบสนองความต้องของเด็ก
ดา้ นจิตใจ
- จัดสภาพแวดล้อมทส่ี ง่ เสรมิ ให้เดก็ เกิดความรู้สกึ อบอุน่

และมีความสุข

หลักสตู รสถานศึกษา ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560

๒๐

การส่งเสริมพัฒนาการ ตัวอยา่ งกิจกรรม
การเรียนรู้ตามวิถีชีวติ ประจำวัน
6. การใชป้ ระสาทสัมผัสทง้ั 5 - กระตุ้นการรบั ร้ผู า่ นประสาทสมั ผสั ท้ัง 5
- ฝึกให้เดก็ เรยี นรสู้ ิง่ ๆ รอบตัว ผา่ นเหตกุ ารณ์และสอ่ื ท่ี
7. การส่งเสรมิ การสำรวจสง่ิ ต่างๆ หลากหลาย
รอบตวั - รู้จกั สำรวจและทดลองส่งิ ตา่ งๆ ท่ีไม่คุ้นเคย กจิ กรรม
ทดลองงา่ ยๆ
8. การสง่ เสริมทักษะทางภาษา - กระตนุ้ การรับรู้ผ่านประสาทสมั ผัสท้งั 5
- ฝึกให้เดก็ เรียนรสู้ งิ่ ๆ รอบตวั ผ่านเหตกุ ารณแ์ ละสอ่ื ท่ี
9. การส่งเสริมจินตนาการและ หลากหลาย
ความคิดสรา้ งสรรค์ - รู้จกั สำรวจและทดลองสง่ิ ต่างๆ ทไ่ี ม่คนุ้ เคย กจิ กรรม
ทดลองงา่ ยๆ
- การฝกึ เปล่งเสยี ง เลยี นเสยี งของผ้คู น เสียงสตั วต์ ่างๆ รู้จัก
เรียกช่ือตนเอง
- การฝึกเปล่งเสียง เลยี นเสียงของผคู้ น เสียงสตั ว์ตา่ งๆ รู้จัก
เรยี กชอ่ื ตนเอง
- ฝกึ ใหเ้ ดก็ รู้จกั ส่ือความหมายด้วยคำพดู และท่าทาง
- อ่านหนังสือนิทานภาพ และร้องเพลงงา่ ยๆ
- ฝกึ ให้เด็กได้แสดงออกทางความคิด ตามจินตนาการของ
ตนเอง
- เล่นของเลน่ อย่างสรา้ งสรรค์
- พดู เลา่ เร่ืองตามจินตนาการ เลน่ สมมุติ

หลักสตู รสถานศึกษา ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กบา้ นบวั ใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560

๒๑

ตัวอยา่ งกจิ กรรมการอบรมเล้ียงดูและส่งเสริมพัฒนาการการเรียนรตู้ ามวิถีชวี ติ ประจำวนั

สำหรับเด็กอายุ 2 - 3 ปี โดยบูรณาการกับหน่วยการเรียนท่ีกำหนดดงั น้ี

เด็กอายุ 3 ปี

การส่งเสริมพัฒนาการ ตวั อย่างกิจกรรม
การเรยี นร้ตู ามวถิ ีชวี ิตประจำวัน

1. สง่ เสรมิ การพัฒนาการและการเรยี นรู้ - เตรียมสือ่ แหลง่ เรียนรู้ วฒั นธรรมในท้องถน่ิ (ภาษา

ท้องถน่ิ ,การแต่งกาย)

2. สง่ เสรมิ การจดั ประสบการณผ์ ่านการ - มุมวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมเสรี การทดลอง การ

เล่น ตามธรรมชาตทิ ีเ่ หมาะสมตามวยั เคลอ่ื นไหวและการทรงตวั การเล่นเครอ่ื งเลน่ สัมผสั การ

เขยี นขีดเขยี่ ฉีกปะ การรกั ษาความปลอดภยั

3. ส่งเสรมิ การจัดกิจกรรมให้สอดคลอ้ ง - การเลน่ อิสระ การเล่นบทบาทสมมุติ การทอ่ งคำ

กับความต้องการและความสนใจตาม คลอ้ งจอง การทำกิจกรรมศิลปะ

ความสามารถตามวยั

4. ส่งเสริมการพัฒนาให้เด็กพึ่งตนเอง - การดแู ลรกั ษาของใช้ตนเอง การถอดรองเทา้ และใส่

รองเทา้ การติดกระดุม การเข้าห้องน้ำ

การรับประทานอาหารเอง การมีวนิ ยั

5. แสดงความสามารถตามวัย - การเต้นและร้องเพลง การเล่านทิ าน การออกไป

รว่ มกจิ กรรมนอกสถานที่ (การแสดงเด็ก) การอ่าน

และพดู เลา่ เร่ืองตามจินตนาการ

6. จัดประสบการณ์การเรยี นรใู้ ห้ส่งเสริม - ปลกู ฝังการออม การมวี นิ ัย การรอคอย การ

คณุ ธรรม-จริยธรรม เอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ ร้จู ักช่วยเหลือคนอ่นื การทักทาย

ด้วยการไหว้

7. ส่งเสรมิ ให้เดก็ เขา้ ใจและใช้ภาษาเพ่ือ - การสนทนาโตต้ อบกับเด็ก การฟงั เล่าเร่อื งเกย่ี วกบั ตัวเอง

การสือ่ สาร การเล่นน้ิวมอื และเลน่ จังหวะ เรียนรคู้ ำตา่ งๆ เลา่ เรื่องราว

งา่ ยๆ ได้

8. ส่งเสริมการคดิ และแก้ปญั หาให้ - การสำรวจ การทดลอง การลงมอื กระทำ การสงั เกต

เหมาะสมกบั วยั การแก้ปัญหาใหเ้ หมาะสมตามวัย

9. การส่งเสรมิ จินตนาการและความคดิ - ฝกึ ให้เดก็ ได้แสดงออกทางความคดิ ตามจนิ ตนาการของ

สร้างสรรค์ ตนเอง เลน่ ของเล่นอย่างสร้างสรรค์ พดู เล่าเรือ่ งตาม

จนิ ตนาการ เล่นสมมตุ ิ

หลักสตู รสถานศกึ ษา ศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ บา้ นบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560

๒๒

3. หนว่ ยการเรียนรสู้ ำหรบั เด็กอายุ 2 - 3 ปี

สาระการเรยี นร้ตู าม สาระการเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรูย้ อ่ ย
(รวม 34 หนว่ ย)
หลักสตู ร ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก - ชื่อครูประจำช้ัน ช้นั เรียน
พ.ศ.2560 ครู
- ของใชป้ ระจำตัวเดก็
1. เรอื่ งราวเกี่ยวกับ เรอ่ื งราว แรกรับประทบั ใจ - การปฏบิ ตั ิตนในการใช้ห้องนำ้
ตัวเดก็ เกยี่ วกับตวั เด็ก หอ้ งสว้ ม
- การเกบ็ ของเข้าที่
ช่อื น้ันสำคญั ไฉน - การปฏบิ ตั ิตนในการ
เดก็ ดีมีวินยั รบั ประทานอาหาร
- ช่อื เล่น / สญั ลกั ษณข์ อง
อวัยวะและการดแู ล ตนเอง
รกั ษา - ชือ่ – สกลุ ของตนเอง
- ชอื่ – สกลุ ของเพ่ือน
- คำนำหน้าช่ือ/เพศ/อายุ
- รูปร่าง ลกั ษณะหนา้ ตา
- การปฏบิ ตั ติ ามกฎของ
หอ้ งเรยี น
- การเก็บอปุ กรณ์และเครื่องใช้
ในหอ้ งเรียน
- การใชภ้ าษาสภุ าพ
- ชว่ ยเหลอื ตนเองในการ
รับประทานอาหาร
- การปฏบิ ัตติ นต่อบุคคลต่างๆ
- หน้าท่แี ละการดูแลรักษาตา
- หนา้ ทแ่ี ละการดูแลรกั ษาหู
- หน้าทแี่ ละการดูแลรักษาจมูก
- หนา้ ท่แี ละการดูแลรักษาปาก
- หนา้ ที่และการดูแลรักษามือ
เท้า

หลักสตู รสถานศึกษา ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เล็กบ้านบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560

๒๓

สาระการเรียนรู้ตาม สาระการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ สาระการเรียนรูย้ อ่ ย
หลักสูตร ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ (รวม 34 หนว่ ย)
พ.ศ.2560 - อาหารท่ีมปี ระโยชน์
กนิ ดี อยู่ดี มีสขุ - การทำความสะอาดมือ
- สุขนสิ ัยในการขบั ถ่าย
ขยับกายสบายชีวี - การทำความสะอาดปาก/ฟัน
- การทำความสะอาดร่างกาย
ปลอดภยั ไว้ก่อน - ชนดิ ของการออกกำลงั กาย
- การปฏิบัตติ นในการออก
หนูนอ้ ยนักสัมผสั กำลงั กายและการพักผอ่ น
หนูทำได้ - การเลน่ เคร่อื งเลน่ สนาม
- ประโยชนข์ องการพกั ผ่อน
- ประโยชน์ของการออกกำลงั
กาย
- ความปลอดภยั ในการเล่น
- ความปลอดภัยบนทอ้ งถนน
- ความปลอดภยั ในการใช้
เคร่ืองใช้ไฟฟ้า
- ความปลอดภัยในการใช้ยา
- ความปลอดภัยในการใชข้ อง
แหลมคม
- การมองเห็น
- การดมกล่ิน
- การได้ยนิ
- การรบั รู้
- การสมั ผสั
- การลา้ งหนา้ /แปรงฟนั
- การอาบนำ้
- การแต่งตัว
- การรบั ประทานอาหาร
- การเกบ็ รกั ษาส่ิงของต่างๆ

หลักสตู รสถานศกึ ษา ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ บ้านบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560

๒๔

สาระการเรยี นรู้ตาม สาระการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ย่อย
หลักสูตร ศูนย์พัฒนาเดก็ เล็ก (รวม 34 หน่วย)
พ.ศ.2560 - มารยาทในการฟัง , พดู
หนนู ้อยนา่ รัก - การทำความเคารพผใู้ หญ่
- มารยาทในการรับสิ่งของ
2. เรื่องราวเกี่ยวกบั เร่ืองราวเกีย่ วกบั บา้ นแสนสุข - มารยาทในสังคม
บุคคลและ บุคคลและ - มารยาทในการแต่งกาย
สง่ิ แวดล้อมรอบ สง่ิ แวดล้อมรอบ - ความหมาย ประโยชน์ของ
ตัวเดก็ ตวั เด็ก บ้าน
- ประเภทและสว่ นประกอบ
ครอบครัวสุขสันต์ ของบ้าน
- หอ้ งต่างๆ ภายในบ้าน
บ้านใกล้เรือนเคียง - การรักษาความสะอาด
- พนื้ ทีแ่ ละบริเวณรอบบ้าน
- ชื่อคนในครอบครวั
- อาชีพของพ่อแม่
- ลกั ษณะของบ้าน
- สมาชกิ ในครอบครวั
- การทำงานในบ้าน
- ความหมายของเพื่อนบา้ น
- ไมส่ ร้างความเดือดร้อนให้
เพอ่ื นบา้ น
- การช่วยเหลอื ซงึ่ กันและกนั
- การร่วมกิจกรรมกบั เพ่ือน
บา้ น
- การอยรู่ ่วมกันอย่างมี
ความสุข

หลกั สตู รสถานศึกษา ศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็กบ้านบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560

๒๕

สาระการเรียนรูต้ าม สาระการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ สาระการเรยี นร้ยู ่อย
หลักสตู ร ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ (รวม 34 หน่วย)
พ.ศ.2560 - ช่อื ลักษณะภมู ปิ ระเทศ ของ
เรือ่ งราวเก่ียวกบั เรยี นรู้จังหวดั จงั หวดั ของเรา (กาญจนบรุ )ี
2. เรอื่ งราวเกยี่ วกบั บุคคลและ (กาญจนบรุ ี) - คำขวัญของจังหวดั
บคุ คลและ สงิ่ แวดล้อมรอบ (กาญจนบุร)ี
สิ่งแวดล้อมรอบ ตัวเดก็ - ศาสนาและประเพณีท้องถนิ่
ตวั เดก็ (ตอ่ ) (กาญจนบุรี)
- อาชพี และอาหารพื้นเมือง
ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ ของ ของจังหวัด (กาญจนบุร)ี
เรา - สถานทส่ี ำคญั ของจังหวดั
(กาญจนบุร)ี
บุคคลท่ีควรรู้จักภายใน - ชอื่ ศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็
ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก ตราสัญลกั ษณ์
- สถานที่ตั้งของศนู ย์พัฒนา
เดก็ เลก็
- หอ้ งต่างๆ ภายใน
ศูนย์พฒั นาเดก็ เล็ก
- สถานทตี่ า่ งๆ ในศูนย์พฒั นา
เด็กเลก็
- การดแู ลรักษา
- ความสำคัญของศูนย์พัฒนา
เด็กเล็ก
- บุคคลต่างๆ ภายใน
ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก
- หน้าทบ่ี ุคคลภายใน
ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก
- การปฏบิ ัตติ นต่อบคุ คล
ภายในศูนย์พฒั นาเด็กเลก็
- การรว่ มกิจกรรมภายใน
ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก

หลกั สตู รสถานศึกษา ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ บา้ นบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560

๒๖

สาระการเรยี นร้ตู าม สาระการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้ สาระการเรยี นร้ยู อ่ ย
หลกั สูตร ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ (รวม 34 หน่วย)
พ.ศ.2560 - สถานทใี่ กลเ้ คยี งศูนย์พัฒนา
เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ชุมชนของเรา เด็กเลก็
2. เรื่องราวเกี่ยวกบั บุคคลและ - ความสำคญั ของสถานทแ่ี ละ
บุคคลและ ส่งิ แวดลอ้ มรอบ ความหมาย
สิ่งแวดล้อมรอบ ตวั เดก็ - การช่วยกันดูแลรกั ษา
ตัวเด็ก (ตอ่ ) - การปฏิบัติตอ่ ชุมชน
- การมสี ว่ นร่วมในชมุ ชน
อาชพี ในฝัน - ช่ืออาชีพตา่ งๆ ของบดิ า
มารดาและผปู้ กครอง
3. ธรรมชาติรอบตวั ธรรมชาตริ อบตวั กลางวนั /กลางคืน - การปฏิบัติหน้าท่ี และการ
สตั ว์โลกผู้นา่ รัก แตง่ กาย
- อปุ กรณ์ในการทำงานของ
แตล่ ะอาชีพ
- สถานทใ่ี นการปฏบิ ตั งิ าน
- มีความชอบ ความรักใน
อาชีพต่างๆ
- ความหมายของกลางวัน/
กลางคนื
- ปรากฏการณใ์ นเวลากลางวัน
- การปฏิบตั ติ นในเวลา
กลางวนั
- ปรากฏการณ์ในเวลา
กลางคืน
- การปฏิบัตติ นในเวลา
กลางคืน
- สตั วบ์ ก
- สตั วน์ ้ำ
- สัตว์คร่ึงบกคร่ึงน้ำ
- สตั วป์ ่า
- สัตวเ์ ลี้ยง

หลักสตู รสถานศกึ ษา ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ บา้ นบวั ใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560

๒๗

สาระการเรียนรู้ตาม สาระการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้ สาระการเรียนร้ยู อ่ ย
หลักสูตร ศูนย์พัฒนาเดก็ เล็ก (รวม 34 หน่วย)
พ.ศ.2560 - ลกั ษณะรูปร่าง
ธรรมชาตริ อบตวั นกน้อยน่ารัก - ที่อย่อู าศัย
3. ธรรมชาตริ อบตัว - อาหาร
- การดแู ล
(ต่อ) - ประโยชนแ์ ละโทษ
- ลักษณะ รูปร่าง สขี องต้นไม้
ต้นไม้แสนรัก - หนา้ ท่ีสว่ นประกอบของ
ต้นไม้
ดอกไมส้ ดสวย - การบำรุงรกั ษาตน้ ไม้
ผเี สื้อแสนสวย - ประโยชน์ของต้นไม้
มดตัวน้อย - โทษของต้นไม้
ผกั และผลไม้ - ลักษณะ รูปรา่ ง สี
- การขยายพันธุ์
- การบำรงุ รกั ษา
- ประโยชน์
- โทษ
- รปู ร่าง ลักษณะของผเี สื้อ
- ที่อยู่อาศยั
- อาหารของผีเส้ือ
- วงจรชวี ติ ของผเี สือ้
- ประโยชน์และโทษของผเี ส้อื
- รปู รา่ ง ลกั ษณะของมด
- ท่อี ยูอ่ าศยั
- อาหารของมด
- วงจรชวี ิตของมด
- ประโยชนแ์ ละโทษของมด
- ชนิดของผลไม้
- รปู รา่ งลกั ษณะ
- รสชาตขิ องผกั ผลไม้
- วิธีทำผัก ผลไมใ้ ห้สะอาด
- ประโยชนแ์ ละโทษ

หลักสูตรสถานศกึ ษา ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ บ้านบัวใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560

๒๘

สาระการเรยี นรูต้ าม สาระการเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ยอ่ ย
หลกั สตู ร ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เล็ก (รวม 34 หนว่ ย)
พ.ศ.2560 - ชนิดของขา้ ว
ธรรมชาติรอบตัว ข้าวมหศั จรรย์ - ลกั ษณะของตน้ ข้าว
3. ธรรมชาตริ อบตวั - นำขา้ วมาแปรรูป
- อปุ กรณใ์ นการปลูกขา้ ว
(ตอ่ ) - ประโยชน์ของข้าว
- ความหมาย ประเภท
โลกสวยดว้ ยมอื เรา ส่ิงแวดลอ้ มตามธรรมชาติ
- สิง่ แวดล้อมท่ีมนุษย์สรา้ งขนึ้
4. สิง่ ต่างๆ รอบตัว สิง่ ต่างๆ รอบตวั สีสนั สดใส - การอนุรักษ์ส่งิ แวดล้อม
เดก็ เด็ก - ประโยชน์ของส่ิงแวดลอ้ ม
- โทษของส่งิ แวดล้อม
เที่ยวทัว่ ไทย - ประเภทของสี
(การคมนาคม) - สที ไี่ ดจ้ ากพชื ผัก ผลไม้
ดอกไม้
โลกไรพ้ รมแดน - สีท่รี ู้จัก (สขี องวนั ท้งั เจ็ด)
- แมส่ ีและการผสมสี
- ประโยชน์และโทษของสี
- ความหมายของการคมนาคม
- ประเภทของยานพาหนะ
- การปฏบิ ตั ิตนในการใช้
ยานพาหนะ
- ประโยชน์ของการคมนาคม
- โทษของการใช้ยานพาหนะ
- ความหมายของการส่ือสาร
- ประเภทของการสือ่ สาร
- วธิ กี ารสือ่ สาร
- มารยาทในการส่ือสาร
- ประโยชน์ของการสื่อสาร

หลกั สูตรสถานศกึ ษา ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เล็กบา้ นบวั ใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560

๒๙

สาระการเรียนรู้ตาม สาระการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรยี นรยู้ ่อย
หลักสูตร ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ (รวม 34 หน่วย)
พ.ศ.2560 - เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ใน
สงิ่ ตา่ งๆ รอบตวั เคร่ืองมอื เครอ่ื งใช้ ห้องเรียน
4. สิง่ ต่างๆ รอบตวั เด็ก - เครอื่ งมือ เครื่องใชใ้ นบ้าน
- เครอ่ื งมือ เครื่องใชใ้ น
เด็ก (ต่อ) การเกษตร
- เคร่อื งมือ เคร่ืองใช้ในการ
คณิตคดิ สนุก ก่อสร้าง
วิทยาศาสตร์นา่ รู้ - การเกบ็ รกั ษา/ประโยชน์/
โทษ
- ตวั เลข
- จำนวนนับ
- รูปเรขาคณิต
- การชัง่ น้ำหนัก
- การนบั เวลา
- แสง
- เสยี ง
- แมเ่ หลก็
- แวน่ ขยาย
- อากาศ

กำหนดเวลาเรียน
เวลาเรยี นตลอดหลกั สูตร ๑ ปี ปลี ะ ๔๐ สปั ดาห์ (๒๐๐ วัน โดยประมาณ) สัปดาห์ละ ๕ วัน

และการจัดกิจกรรมโครงการสง่ เสรมิ พฒั นาการผเู้ รียนปลี ะ 9 สัปดาห์ (45 วันโดยประมาณ) รวมเวลาเรียนทั้ง

ปี ๒๔๕ วนั โดยประมาณ

หมายเหตุ : 1. หนว่ ยการเรียนรู้ สามารถปรับเปลยี่ นและเพ่มิ เติมได้ตามความเหมาะสมกับบรบิ ทของ
ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ แตล่ ะแห่ง

2. สาระการเรยี นรูย้ ่อยสามารถเพ่มิ เตมิ ได้ตามความเหมาะสม เช่น โตไปไม่โกง เศรษฐกิจ-
พอเพยี ง วนั สำคัญต่าง ๆ ให้สอดคลอ้ งกับสาระการเรยี นรูแ้ ละหน่วยการเรยี นรู้

หลกั สตู รสถานศกึ ษา ศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็กบ้านบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560

๓๐

ตารางกจิ กรรมประจำวัน

ลำดบั ท่ี เวลา กิจกรรม

๑ ๐๘.๐๐ – ๐๘.๓๐ น. รับเดก็ /ตรวจสขุ ภาพ
๒ ๐๘.๓๐ - ๐๘.๔๕ น. เคารพธงชาติ
๓ ๐๘.๔๕ - ๐๙.๐๐ น. กจิ กรรมเคลื่อนไหว
๔ ๐๙.๐๐ - ๐๙.3๐ น. กิจกรรมเสริมประสบการณ์
๕ ๐๙.3๐ – ๑๐.0๐ น. พัก (รับประทานอาหารวา่ งตอนเช้า)
๖ ๑๐.๓๐ - ๑1.00 น. กิจกรรมกลางแจ้ง
๗ ๑1.00 - ๑2.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน/เขา้ หอ้ งนำ้ /แปรงฟัน
๘ ๑2.00 – ๑4.-00 น. นอนพกั ผอ่ น
๙ ๑4.00 – 14.3๐ น. เก็บท่ีนอน, ลา้ งหน้า ,ทาแป้ง , ดมื่ นม
๑๐ 14.3๐ - ๑5.0๐ น. เกมการศึกษา /เตรียมรอผูป้ กครอง

หมายเหตุ : ตารางกจิ กรรมประจำวนั น้สี ามารถยดื หยุ่นไดต้ ามความเหมาะสม

บรรยากาศการเรยี นรู้

การจัดสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความสำคัญต่อเด็กเน่ืองจากธรรมชาติของเด็กวัยนี้
สนใจท่ีจะเรียนรู้ ค้นคว้า ทดลอง และต้องการสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว การจัดเตรียมส่ิงแวดล้อมอย่าง
เหมาะสมตามความต้องการของเด็ก จึงมีความสำคัญท่ีเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการเรียนรู้ของเด็ก เด็ก
สามารถเรียนรู้จากการเล่นท่ีเป็นประสบการณ์ตรงท่ีเกิดจากการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัสท้ังห้า ศูนย์พัฒนาเด็ก
เล็ก จำเป็นต้องจัดสิ่งแวดล้อมให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของหลักสูตร เพ่ือส่งผลให้บรรลุ
จดุ หมายในการพฒั นาเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้คำนงึ ถึงส่ิงตอ่ ไปนี้

๑. ความสะอาด ความปลอดภัย
๒. ความมอี ิสระอยา่ งมีขอบเขตในการเลน่
๓. ความสะดวกในการทำกจิ กรรม
๔. ความพร้อมของอาคารสถานท่ี เช่น หอ้ งเรยี น ห้องน้าห้องส้วม สนามเดก็ เล่น ฯลฯ
๕. ความเพยี งพอเหมาะสมในเรอื่ งขนาด น้ำหนัก จำนวน สีของส่ือและเคร่ืองเลน่
๖. บรรยากาศในการเรียนรู้ การจดั ที่เลน่ และมมุ ประสบการณ์ต่างๆ

หลักสตู รสถานศึกษา ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ บ้านบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560

๓๑

สภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน

หลักสำคัญในการจัด ต้องคำนึงถึงความปลอดภัย ความสะอาด ความเป็นระเบียบ ความเป็นตัวของ
เด็กเอง ความรู้สึกอบอุ่นม่ันใจ และมีความสุขของเด็ก เป็นเป้าหมายในการพัฒนาเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ไดจ้ ดั แบ่งพ้นื ทใี่ หเ้ หมาะสม ดังน้ี

๑. พื้นทีอ่ ำนวยความสะดวกเพ่อื เด็กและครู
๑.๑ ทแ่ี สดงผลงานของเดก็ จัดทำเปน็ แผ่นป้ายหรือท่แี ขวนผลงาน
๑.๒ ท่ีเก็บแฟ้มผลงานเด็ก จดั ใส่แฟ้มรายบคุ คล
๑.๓ ทีเ่ กบ็ เครอ่ื งใชส้ ่วนตวั ของเด็ก
๑.๔ ทเ่ี กบ็ เคร่อื งใช้ของครู
๑.๕ ป้ายนเิ ทศ

๒. พื้นที่ปฏิบัติกิจกรรมและการเคลื่อนไหว ควรมีพื้นที่ท่ีเด็กสามารถทำงานได้ด้วยตนเอง และทำ
กจิ กรรมด้วยกันในกลมุ่ เลก็ หรือกลุ่มใหญ่ เด็กสามารถเคลื่อนไหวได้อยา่ งอิสระจากกิจกรรมหน่งึ ไปยังกิจกรรม
หนึ่งโดยไมร่ บกวนผ้อู นื่

3. พื้นที่จัดมุมเล่นหรือมุมประสบการณ์ สามารถจัดตามความเหมาะสมขึ้นอยู่กับสภาพห้องเรียน
จัดแยกส่วนที่ใช้เสียงดังและเงียบออกจากกัน เช่นมุมบล็อกอยู่ห่างจากมุมหนังสือ มุมบทบาทสมมติอยู่ติดกับ
มุมบล็อก มุมวทิ ยาศาสตร์อยู่ใกลม้ มุ ศิลปะเปน็ ต้น

สภาพแวดลอ้ มนอกหอ้ งเรยี น
การจัดสภาพแวดล้อมภายในอาณาบริเวณรอบๆ ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ รวมทั้งจัดสนามเด็กเล่น พร้อม

เคร่ืองเล่นการระวังรักษาความปลอดภัยภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และบริเวณรอบนอกศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ดูแลรักษาความสะอาด ปลูกต้นไม้ให้ความร่มรื่น สิ่งต่างๆ เหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งท่ีส่งผลต่อการเรียนรู้ และ
พฒั นาการของเดก็

ส่ือและแหล่งเรียนรู้
การจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย จำเป็นต้องอาศัยส่ือ วัสดุ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรตู้ ่างๆ

จงึ จะช่วยใหเ้ ด็กมปี ระสบการณ์และเกิดการเรียนรู้อย่างมคี ุณภาพ ไดด้ ำเนินการดังนี้
1. จดั ใหม้ สี อื่ หลากหลาย เพียงพอในการนำมาใช้ประกอบการพฒั นาเดก็ ส่อื มีทง้ั ทีเ่ ป็นวัสดุ

ธรรมชาติ ส่ือที่ครูผลิต/จัดทำ และสื่อที่ซอ้ื
2. จัดระบบการบริการและจดั เกบ็ สอ่ื ใหเ้ ป็นระเบยี บ สะดวกต่อการนำมาใช้
3. ใหเ้ ดก็ มีโอกาสเป็นผู้ลงมือการทำตอ่ วตั ถุหรือใช้สือ่ ต่างๆดว้ ยตนเอง เพ่อื ใหเ้ กดิ การเรียนรู้

อยา่ งแท้จรงิ และย่ังยืน
4. สง่ เสริมการใช้แหลง่ เรยี นรู้ตา่ งๆ ในศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็ก แหลง่ เรียนร้นู อกศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็ก

และภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ใหม้ ีสว่ นร่วมในการพัฒนาเด็ก
5. จดั ใหม้ รี ะบบการนิเทศ ตดิ ตาม กำกับ การใชส้ ่อื และแหล่งการเรยี นร้คู วบคไู่ ปกบั การ

ดำเนินการดา้ นอ่ืนในการพฒั นาเด็กปฐมวยั

หลกั สตู รสถานศึกษา ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เล็กบา้ นบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560

๓๒

แหล่งเรียนรูใ้ นศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็
1. โรงอาหาร
2. ปา้ ยทำเนียบครู
3. ป้ายนเิ ทศหน้าห้องเรยี น
4. สวนหย่อมหนา้ อาคารเรยี น
5. สนามเดก็ เลน่
6. ต้นไม้บรเิ วณรอบๆ อาคารเรียน
7. เสาธง
8. แปลงปลกู ผักสวนครัว
9. สวนสมนุ ไพร
10. อ่นื ๆ ที่เหมาะสมกับวยั เด็ก

แหล่งเรียนร้ใู นชมุ ชน (นอกศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ )
แหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ โบราณสถาน แหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพ แหล่งเรียนรู้

ศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรม (วัด) แหลง่ ธรรมชาติที่ปลอดภยั สำหรับเดก็ ปฐมวยั

การประเมนิ พฒั นาการ
การประเมินพัฒนาการเด็กช่วยให้ครูทราบและเข้าใจพัฒนาการ การเรียนรู้ของเด็กในความ

รับผิดชอบ ข้อมูลจากการประเมินพัฒนาการ ครูจะนำไปใชใ้ นการวางแผนการจัดกิจกรรมการจัดประสบการณ์
ให้กับเด็กและเป็นข้อมูลในการส่ือสารกับผู้ปกครองเพื่อร่วมมือในการพัฒนาเด็กให้เต็มศักยภาพอย่างต่อเนื่อง
ต่อไป ในระดับปฐมวัยเป็นการประเมินพัฒนาการ ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา เป็น
กระบวนการทตี่ ้องดำเนนิ การตอ่ เนื่อง และควบคไู่ ปกับการจัดประสบการณ์ให้กบั เด็กตามปกติในแต่ละวัน โดย
มีหลกั การประเมนิ พัฒนาการดงั นี้

1. ประเมินพฒั นาการครบทุกดา้ น นำผลมาพฒั นาเดก็ และปรบั ปรุงวิธสี อนของครู
2. ประเมินเปน็ รายบคุ คลอย่างสมำ่ เสมอ และตอ่ เน่ืองตลอดปี
3. สภาพการประเมินเป็นสถานการณเ์ ดียวกบั การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมประจำวนั
4. ประเมินอย่างเป็นระบบ มีการวางแผน เลือกใชเ้ ครือ่ งมือและจดบันทึกไว้เป็นหลักฐาน
5. ประเมนิ ตามสภาพจริงดว้ ยวิธีการหลากหลาย เหมาะกบั เด็ก รวมทั้งใช้แหล่งขอ้ มลู หลาย ๆ ด้าน
ใช้การทดสอบน้อยท่สี ุดตามความจำเป็น
วธิ กี ารประเมนิ
วิธกี ารประเมนิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั ที่เหมาะสมไดแ้ ก่
1. การสังเกตพฤติกรรมเด็ก
2. การเขยี นบันทึกพฤติกรรม
3. การสนทนา การสมั ภาษณ์
4. และการวิเคราะห์ข้อมูลจากผลงานของเดก็ ทเี่ ก็บในแฟม้ สะสมงานอยา่ งเปน็ ระบบ

หลักสตู รสถานศึกษา ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ บ้านบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560

๓๓

การบรหิ ารจัดการหลกั สตู ร
ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ ดำเนินการบรหิ ารจัดการหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย ดังนี้
1. เตรยี มความพรอ้ ม โดยประชุมครู บุคลากร และผู้มีส่วนเก่ียวขอ้ ง
2. แต่งตั้งคณะกรรมการ
3. การจัดทำ รวบรวมเอกสารที่เกย่ี วข้องกับการพฒั นาหลักสูตรปฐมวยั ของศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ โดยมี
การกำหนดปรัชญาวิสยั ทศั น์ ภารกิจ เป้าหมาย คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ สาระการเรียนรรู้ ายปี
การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ บรรยากาศการเรยี นรู้ ประเมินผล สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้
4. นำหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยของศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็ก สู่การปฏิบัติ
5. นิเทศ กำกับ ตดิ ตาม และประเมินผล
6. สรปุ ผลการดำเนินงาน
7. นำผลการประเมนิ สูก่ ารพัฒนา/ปรับปรงุ การดำเนนิ งาน

การเช่อื มต่อการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั
การเชอ่ื มต่อด้านการพฒั นา แก้ไขและสนับสนนุ เด็กปฐมวัยในทกุ ๆ ด้าน เปน็ การพัฒนาการอย่าง

ตอ่ เนอ่ื งและสอดคล้อง ตรงจุด และมีประสทิ ธภิ าพโดยผทู้ ่เี กี่ยวข้องดังน้ี
1. บทบาทพ่อแมแ่ ละผเู้ ลย้ี งดู
2. บทบาทบคุ ลากรในศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็
3. บทบาทขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ
4. บทบาทของหน่วยงานสาธารณสขุ ที่เก่ียวข้องกับทางด้านเดก็ (รพ.สต)

1. บทบาทพ่อแม่และผูเ้ ลี้ยงดู
1.1 มคี วามพร้อมด้านข้อมลู เก่ยี วกับตวั เด็ก ด้วยการคอยจดบันทึกพัฒนาการของลูกอยา่ ง
ละเอียดสมำ่ เสมอ และตรงตามความเป็นจรงิ
1.2 เป็นตัวเป็นแบบอย่างที่ดีใหก้ ับลูก และหลีกเลีย่ งการกระทำพฤตกิ รรมทไี่ ม่เหมาะสม
1.3 พิจารณาเลอื กสถานศกึ ษาใหเ้ ดก็ ตามความเหมาะสม และมีคุณภาพ
1.4 ให้ความรว่ มมือปฏบิ ัตติ ามคำแนะนำของสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั
1.5 พอ่ แม่กบั สถานพฒั นาเด็กใหค้ วามรว่ มมอื พัฒนาเด็กในทศิ ทางเดียวกัน
1.6 สร้างความค้นุ เคย เชือ่ มโยง และยอมรับนับถอื ซึ่งกันและกนั ระหวา่ งบ้านกบั ศูนย์
พัฒนาเดก็ เล็ก

2. บทบาทครแู ละบคุ ลากรในศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็
2.1 รวบรวมข้อมลู ต่างๆ เก่ียวกบั ตัวเด็ก ให้ละเอียดครบถว้ น
2.2 ต้องสร้างความไว้วางใจใหเ้ กดิ ขึ้นกับเด็กและผปู้ กครอง
2.3 ปฏิบตั ติ นกับเด็กและผู้ปกครองดว้ ยความอ่อนน้อม เหมาะสมใหเ้ กยี รติกนั
2.4 จดั กจิ กรรมใหเ้ ด็ก ครู และผปู้ กครอง เพ่ือสร้างความคนุ้ เคย ไว้วางใจ และสามารถอยู่ร่วมกับ
ผ้อู ืน่ ไดอ้ ย่างมีความสุข
2.5 ผลิตและพัฒนาสือ่ การเรียนการสอน เพ่ือใช้ในการสง่ เสริมและแก้ปญั หาท่ีเกิดข้นึ กับเดก็
2.6 เปน็ สะพานเชื่อมโยงผูป้ กครองกับหนว่ ยงานต่างๆ ทีเ่ กย่ี วข้องใหเ้ ข้ามามีส่วนร่วมกันในการ
ส่งเสริม ปรบั ปรุง และพัฒนาศักยภาพเด็ก

หลักสตู รสถานศึกษา ศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็กบา้ นบัวใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560

๓๔

3. บทบาทขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ
3.1 กำหนดนโยบายการพัฒนาการศึกษาอยา่ งเปน็ ระบบ
3.2 สนับสนุนทรพั ยากรและงบประมาณในการพัฒนาการจัดการศึกษาของศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็
อย่างตอ่ เนื่อง
3.3 สง่ เสริมพฒั นาศกั ยภาพครแู ละบุคลากรด้านการศึกษาให้มปี ระสทิ ธภิ าพในการปฏิบัตงิ าน
3.4 ประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาศูนย์พฒั นาเดก็ เล็ก
3.5 ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนรว่ มในการการพฒั นางานด้านการศึกษา

4. บทบาทของหน่วยงานสาธารณสุขทเ่ี กี่ยวข้องกับทางด้านเด็ก (รพ.สต)
4.1 ส่งเสรมิ มาตรฐานด้านการจดั สภาพแวดล้อมทีม่ คี วามปลอดภัยทัง้ ภายในและภายนอกอาคาร
สถานที่
4.2 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การเฝา้ ระวงั ภาวะโภชนาการ โดยการชัง่ นำ้ หนัก ส่วนสูงทกุ 3 เดอื น
4.3 ส่งเสริมกิจกรรมด้านทนั ตอนามยั ในช่องปากเด็กปฐมวัย
4.4 สง่ เสริมให้ความรู้แก่ครู และผปู้ กครองเกี่ยวกับโรคระบาดตามฤดูกาลในเด็กปฐมวยั

การกำกับ ตดิ ตาม ประเมิน และการรายงาน
การจัดการศึกษาปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นควรให้สังคม ชุมชน มีส่วน

ร่วมในการจัดการศึกษาและกระจายอำนาจการศึกษาไปยังศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตามที่กฎหมาย ระเบียบและ
หนังสือสั่งการกำหนด เพื่อให้ผลผลิตทางการศึกษาปฐมวัยมีคุณภาพตามมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
และสอดคล้องกับความต้องการของผู้ปกครอง ชุมชนและสังคม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินต้องมีระบบการ
กำกับ ติดตาม ประเมินและรายงานท่ีมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้ทุกกลุ่มทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมรับผิดชอบในการจัด
การศึกษา เห็นความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรค ตลอดจนการให้ความร่วมมือช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน การ
วางแผน และดำเนินงานการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ของศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็กให้มีคณุ ภาพอยา่ งแท้จรงิ

การกำกับ ติดตาม ประเมินและรายงานผลการจัดการศึกษาปฐมวัยเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการ
บริหารการศึกษาและระบบการประกันคุณภาพท่ีต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพ่ือนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สร้างความม่ันใจให้ผู้เกี่ยวข้อง โดยตอ้ งมกี ารดำเนินการ
ท่ีเป็นระบบเครือข่ายครอบคลุมท้ังหน่วยงานภายในและภายนอก ต้องมีการรายงานผลให้หน่วยงานต้นสังกัด
ตามลำดับ และประชาสมั พันธ์หรือแจ้งให้ทุกฝ่าย รวมทัง้ ผูป้ กครองและประชาชนทัว่ ไปทราบ เพ่ือนำข้อมูลจาก
รายงานผลมาจดั ทำแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ ต่อไป

หลักสูตรสถานศกึ ษา ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบัวใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560

๓๕

หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็
สำหรบั เดก็ อายุ 3 – 5 ปี

จุดหมาย
หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เล็ก สำหรับเด็กอายุ 3 – 5 ปี มงุ่ สง่ เสรมิ ให้เดก็ มพี ัฒนาการ

ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถ ความสนใจ และความ
แตกต่างระหวา่ งบคุ คล ดังนี้

1. รา่ งกายเจรญิ เตบิ โตตามวยั แขง็ แรง และมสี ขุ ภาพดี
2. สุขภาพจิตดีและมคี วามสุข
3. มที กั ษะชวี ิตและปฏิบัตติ นตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มวี ินัย และอย่รู ่วมกบั ผอู้ น่ื ได้อยา่ งมี

ความสุข
4. มที กั ษะการคดิ การใชภ้ าษาสื่อสาร และการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวยั สนใจเรียนรสู้ ่งิ

ต่างๆ

มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์
หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัยศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก สำหรบั เดก็ อายุ 3 – 5 ปี กำหนดมาตรฐานคุณลกั ษณะ

ทีพ่ ึงประสงค์ จำนวน 4 ด้านรวม 12 มาตรฐาน ดงั น้ี
1. พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย ประกอบด้วย ๒ มาตรฐานคือ
มาตรฐานที่ ๑ รา่ งกายเจริญเติบโตตามวยั และมสี ุขนสิ ัยทดี่ ี
มาตรฐานท่ี ๒ กล้ามเนอื้ ใหญแ่ ละกลา้ มเน้ือเล็กแข็งแรงใช้ไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ และประสาน
สัมพนั ธก์ ัน
2. พัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วย ๓ มาตรฐานคอื
มาตรฐานท่ี ๓ มีสขุ ภาพจิตดีและมคี วามสุข
มาตรฐานที่ ๔ ช่นื ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลอื่ นไหว
มาตรฐานที่ ๕ มคี ุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจทีด่ ีงาม
3. พัฒนาการดา้ นสงั คม ประกอบด้วย ๓ มาตรฐานคอื
มาตรฐานท่ี ๖ มที ักษะชีวิตและปฏิบตั ิตนตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ ม วฒั นธรรม และความเป็นไทย
มาตรฐานที่ ๘ อยูร่ ่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมคี วามสขุ และปฏิบัติตนเปน็ สมาชิกทีด่ ีของสงั คมใน
ระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข
4. พฒั นาการด้านสติปญั ญา ประกอบดว้ ย ๔ มาตรฐานคือ
มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาส่อื สารไดเ้ หมาะสมกบั วยั
มาตรฐานท่ี ๑๐ มีความสามารถในการคิดท่เี ป็นพื้นฐานในการเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๑๑ มีจินตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์
มาตรฐานที่ ๑๒ มเี จตคติที่ดตี ่อการเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความรไู้ ด้
เหมาะสมกบั วัย

หลกั สตู รสถานศึกษา ศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ บา้ นบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560

๓๖

สภาพท่พี งึ ประสงค์
สภาพที่พึงประสงค์สำหรับเด็กอายุ 3 – 5 ปี เป็นพฤติกรรมหรือความสามารถตามวัยที่คาดหวังให้

เกิดขึ้น บนพ้ืนฐานพัฒนาการตามวัยหรือความสามารถตามธรรมชาติในแต่ละระดับอายุเพื่อนำไปใช้ในการ
กำหนดสาระเรียนรู้ในการจัดประสบการณ์ กิจกรรมและประเมินพัฒนาการเด็กโดยมีรายละเอียดของ
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งช้ี และสภาพทพี่ งึ ประสงคด์ งั น้ี

1. พัฒนาการด้านร่างกาย

มาตรฐานที่ ๑ รา่ งกายเจริญเตบิ โตตามวยั เดก็ มสี ขุ นสิ ัยที่ดี

ตวั บง่ ช้ีที่ ๑.๑ มนี ้ำหนักและสว่ นสูงตามเกณฑ์

อายุ 3 ปี สภาพทพี่ งึ ประสงค์ อายุ 5 ปี
- น้ำหนกั และส่วนสงู ตามเกณฑ์ อายุ 4 ปี - นำ้ หนกั และส่วนสงู ตามเกณฑ์
ของกรมอนามยั ของกรมอนามัย
- น้ำหนกั และสว่ นสูงตามเกณฑ์
ของกรมอนามยั

ตวั บง่ ชี้ที่ ๑.๒ มสี ุขภาพอนามัย สุขนสิ ยั ที่ดี

สภาพทพี่ ึงประสงค์

อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี

- ยอมรับประทานอาหารท่ีมี - รับประทานอาหารที่มี - รบั ประทานอาหารทีม่ ี

ประโยชน์และดม่ื นำ้ ทส่ี ะอาด ประโยชน์และดมื่ นำ้ สะอาด ประโยชนไ์ ด้หลายชนิดและดื่ม

เมื่อมีผูช้ ี้แนะ ด้วยตนเอง นำ้ สะอาดไดด้ ้วยตนเอง

- ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร - ลา้ งมอื ก่อนรบั ประทานอาหาร - ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร

และหลังจากใชห้ ้องน้ำห้อง และหลงั จากใช้ห้องน้ำห้อง และหลังจากใชห้ ้องนำ้ ห้อง

สว้ มเมื่อมีผ้ชู ีแ้ นะ ส้วมดว้ ยตนเอง ส้วมด้วยตนเอง

- นอนพักผ่อนเป็นเวลา - นอนพักผอ่ นเป็นเวลา - นอนพกั ผ่อนเปน็ เวลา

- ออกกำลังกายเปน็ เวลา - ออกกำลังกายเปน็ เวลา - ออกกำลงั กายเปน็ เวลา

ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๑.๓ รักษาความปลอดภยั ของตนเองและผู้อ่ืน

อายุ 3 ปี สภาพที่พงึ ประสงค์ อายุ 5 ปี
- เล่นและทำกิจกรรมอยา่ ง อายุ 4 ปี - เล่นและทำกิจกรรมและปฏิบตั ิ
ปลอดภยั เม่ือมีผชู้ แี้ นะ ต่อผอู้ นื่ อยา่ งปลอดภยั
- เลน่ และทำกจิ กรรมอยา่ ง
ปลอดภัยด้วยตนเอง

หลักสูตรสถานศึกษา ศูนย์พัฒนาเดก็ เลก็ บ้านบวั ใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560

๓๗

มาตรฐานท่ี ๒ กล้ามเน้อื ใหญแ่ ละกลา้ มเนื้อเลก็ แข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสาน
สัมพันธ์กัน

ตัวบ่งชท้ี ่ี ๒.๑ เคลื่อนไหวร่างกายอยา่ งคลอ่ งแคล่วประสานสัมพันธ์และทรงตัวได้

อายุ 3 ปี สภาพทพี่ ึงประสงค์ อายุ 5 ปี
- เดินตามแนวท่กี ำหนดได้ อายุ 4 ปี - เดนิ ต่อเทา้ ถอยหลงั เปน็ เส้นตรง
ได้โดยไมต่ ้องกางแขน
- เดนิ ต่อเทา้ ไปข้างหน้าเปน็
เส้นตรงไดโ้ ดยไม่ตอ้ งกางแขน

- กระโดดสองขา ข้นึ ลงอยู่กับท่ี - กระโดดขาเดยี วอยู่กับท่ีไดโ้ ดย - กระโดดขาเดียว ไปขา้ งหนา้ ได้
ได้ ไม่เสียการทรงตัว อย่างต่อเนอ่ื งโดยไม่เสียการ
ทรงตวั

- วงิ่ แลว้ หยดุ ได้ - วง่ิ หลบหลีกส่งิ กีดขวางได้ - วิ่งหลบหลีกสิ่งกีดขวางได้อย่าง
คล่องแคลว่

- รับลูกบอลโดยใช้มอื และลำตวั - รบั ลูกบอลไดด้ ว้ ยมือทั้งสองข้าง - รับลูกบอลที่กระดอนข้นึ จาก
ช่วย พนื้ ได้

ตวั บง่ ชีท้ ี่ ๒.2 ใช้มอื -ตาประสานสมั พันธ์กนั

สภาพทีพ่ ึงประสงค์

อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
- ใช้กรรไกรตดั กระดาขาดจาก
- ใชก้ รรไกรตดั กระดาษตามแนว - ใชก้ รรไกรตัดกระดาษตามแนว
กนั ไดโ้ ดยใชม้ ือเดยี ว
เส้นตรงได้ เสน้ โค้งได้

- เขยี นรูปวงกลมตามแบบได้ - เขยี นรูปส่เี หล่ยี มตามแบบได้ - เขียนรปู สามเหลี่ยมตามแบบ

อยา่ งมีมมุ ชัดเจน ได้อย่างมมี ุมชดั เจน

- ร้อยวัสดุท่ีมรี ูขนาดเสน้ ผา่ น - ร้อยวสั ดทุ มี่ รี ูจนาดเสน้ ผ่าน - ร้อยวสั ดทุ ่ีมีรขู นาดเส้นผ่าน

ศนู ยก์ ลาง ๑ ซม. ได้ ศูนย์ ๐.๕ ซม. ได้ ศูนยก์ ลาง ๐.๒๕ ซม. ได้

หลักสูตรสถานศึกษา ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ บา้ นบวั ใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560

๓๘

๒.พฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ
มาตรฐานที่ ๓ มีสุขภาพจติ ดแี ละมีความสขุ
ตัวบง่ ชที้ ่ี ๓.๑ แสดงออกทางอารมณ์อยา่ งเหมาะสม

สภาพทพ่ี ึงประสงค์

อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
- แสดงอารมณ์ ความรสู้ กึ ได้
เหมาะสมกบั บางสถานการณ์ - แสดงอารมณ์ ความร้สู ึกได้ตาม - แสดงอารมณ์ ความรู้สกึ ได้

สถานการณ์ สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์อยา่ ง

เหมาะสม

ตวั บ่งชีท้ ี่ ๓.๒ มีความรสู้ กึ ท่ีดีตอ่ ตนเองและผู้อน่ื

สภาพที่พงึ ประสงค์

อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
- กลา้ พดู กลา้ แสดงออก
- กลา้ พดู กลา้ แสดงออกอย่าง - กลา้ พดู กลา้ แสดงออกอยา่ ง
- แสดงความพอใจในผลงาน
ตนเอง เหมาะสมบางสถานการณ์ เหมาะสมตามสถานการณ์

- แสดงความพอใจในผลงานและ - แสดงความพอใจในผลงานและ

ความสามารถของตนเอง ความสามารถของตนเองและ

ผู้อ่ืน

มาตรฐานท่ี ๔ ช่ืนชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว

ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๔.๑ สนใจและมีความสขุ และแสดงออกผ่านงานศิลปะ ดนตรแี ละการเคลอ่ื นไหว

สภาพทพ่ี ึงประสงค์

อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี

- สนใจและมคี วามสขุ และ - สนใจและมีความสุขและ - สนใจและมคี วามสขุ และ

แสดงออกผา่ นงานศลิ ปะ แสดงออกผ่านงานศลิ ปะ แสดงออกผา่ นงานศิลปะ

- สนใจ มีความสุขและ - สนใจ มีความสขุ และ - สนใจ มคี วามสุขและ

แสดงออกผ่านเสยี งเพลงดนตรี แสดงออกผ่านเสยี งเพลงดนตรี แสดงออกผ่านเสยี งเพลงดนตรี

- สนใจ มีความสุขและแสดง - สนใจ มคี วามสุขและแสดง - สนใจ มีความสุขและแสดง

ทา่ ทาง/เคลื่อนไหวประกอบ ทา่ ทาง/เคล่ือนไหวประกอบ ทา่ ทาง/เคลอื่ นไหวประกอบ

เพลง จงั หวะและ ดนตรี เพลง จังหวะและ ดนตรี เพลง จังหวะและ ดนตรี

หลักสตู รสถานศกึ ษา ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กบ้านบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560

๓๙

มาตรฐานท่ี ๕ มีคุณธรรม จรยิ ธรรมและมีจติ ใจท่ีดงี าม

ตวั บ่งชี้ท่ี ๕.๑ ซ่ือสตั ย์ สจุ ริต

อายุ 3 ปี สภาพที่พึงประสงค์ อายุ 5 ปี
- บอกหรอื ชี้ไดว้ ่าสง่ิ ใดเปน็ ของ อายุ 4 ปี - ขออนญุ าตหรือรอคอยเมื่อ
ตนเองและส่ิงใดเป็นของผู้อน่ื ตอ้ งการสิง่ ของของผู้อื่นดว้ ย
- ขออนญุ าตหรอื รอคอยเม่ือ ตนเอง
ต้องการส่งิ ของของผ้อู ื่นเมอ่ื มีผู้
ชีแ้ นะ

ตวั บ่งช้ีที่ ๕.๒ มคี วามเมตตา กรุณา มนี ำ้ ใจและชว่ ยเหลือแบ่งปนั

อายุ 3 ปี สภาพที่พงึ ประสงค์ อายุ 5 ปี
- แสดงความรักเพื่อนและมี อายุ 4 ปี - แสดงความรักเพ่ือนและมี

เมตตาสตั ว์เลี้ยง - แสดงความรักเพื่อนและมี เมตตาสตั ว์เล้ยี ง
- แบ่งปันสิ่งของใหผ้ ู้อ่ืนไดเ้ ม่ือมี เมตตาสตั วเ์ ลีย้ ง - ชว่ ยเหลอื และแบ่งปันผูอ้ นื่ ได้

ผูช้ แี้ นะ - ชว่ ยเหลือและแบง่ ปันผู้อนื่ ได้ ดว้ ยตนเอง
เม่ือมีผชู้ แ้ี นะ

ตัวบง่ ช้ีท่ี ๕.๓ มีความเห็นอกเห็นใจผ้อู นื่

อายุ 3 ปี สภาพที่พงึ ประสงค์ อายุ 5 ปี
- แสดงสหี นา้ หรือท่าทางรบั รู้ อายุ 4 ปี - แสดงสีหนา้ หรือท่าทางรับรู้

ความร้สู ึกผอู้ น่ื - แสดงสีหน้าหรอื ทา่ ทางรับรู้ ความรสู้ กึ ผู้อ่ืนอยา่ งสอดคลอ้ ง
ความรู้สึกผูอ้ น่ื กบสถานการณ์

ตวั บง่ ชีท้ ี่ ๕.๔ มคี วามรับผิดชอบ

อายุ 3 ปี สภาพทพ่ี ึงประสงค์ อายุ 5 ปี
- ทำงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมายจน อายุ 4 ปี - ทำงานทไี่ ด้รับมอบหมายจน
สำเร็จดว้ ยตนเอง
สำเรจ็ เมอ่ื มีผชู้ ว่ ยเหลอื - ทำงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายจน
สำเรจ็ เมื่อมีผูช้ แ้ี นะ

หลกั สตู รสถานศึกษา ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็กบ้านบวั ใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560

๔๐

๓. พัฒนาการด้านสังคม
มาตรฐานท่ี ๖ มที ักษะชีวิตและปฏบิ ัตติ นตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๖.๑ ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัตกิ ิจวัตรประจำวัน

อายุ 3 ปี สภาพทพี่ ึงประสงค์ อายุ 5 ปี
- แตง่ ตัวโดยมผี ้ชู ่วยเหลือ อายุ 4 ปี - แต่งตวั ด้วยตนเองไดอ้ ย่าง
คลอ่ งแคลว่
- รบั ประทานอาหารดว้ ยตนเอง - แต่งตัวด้วยตนเอง - รบั ประทานอาหารด้วยตนเอง
อย่างถูกวธิ ี
- ใช้หอ้ งนำ้ หอ้ งส้วมโดยมผี ู้ - รับประทานอาหารด้วยตนเอง - ใชแ้ ละทำความสะอาดหลงั ใช้
ชว่ ยเหลอื หอ้ งนำ้ ห้องสว้ มด้วยตนเอง
- ใชห้ อ้ งนำ้ ห้องสว้ มด้วยตนเอง

ตัวบ่งชท้ี ี่ ๖.๒ มีวนิ ัยในตนอง สภาพท่ีพงึ ประสงค์ อายุ 5 ปี
อายุ 4 ปี - เก็บของเล่นของใชเ้ ขา้ ท่ีอย่าง
อายุ 3 ปี เรยี บร้อยดว้ ยตนเอง
- เกบ็ ของเลน่ ของใชเ้ ข้าทเ่ี ม่อื มี - เกบ็ ของเล่นของใช้เขา้ ที่ด้วย - เขา้ แถวตามลำดับก่อนหลงั ได้
ผูช้ แี้ นะ ตนเอง ดว้ ยตนเอง
- เข้าแถวตามลำดบั กอ่ นหลงั ได้ - เข้าแถวตามลำดบั ก่อนหลังได้
เมอ่ื มผี ูช้ ้แี นะ ดว้ ยตนเอง

ตวั บง่ ชที้ ี่ ๖.๓ ประหยัดและพอเพียง

อายุ 3 ปี สภาพท่พี ึงประสงค์ อายุ 5 ปี
- ใช้สิ่งของเครื่องใช้อย่าง อายุ 4 ปี - ใชส้ ่ิงของเคร่ืองใช้อย่าง
ประหยดั และพอเพียงเม่ือมีผู้ ประหยัดและพอเพยี งดว้ ย
ชีแ้ นะ - ใช้ส่งิ ของเคร่ืองใช้อยา่ ง ตนเอง
ประหยดั และพอเพยี งเมือ่ มีผู้
ชแ้ี นะ

หลกั สูตรสถานศึกษา ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กบา้ นบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560

๔๑

มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม วัฒนธรรม และความเปน็ ไทย
ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๗.๑ ดูแลรกั ษาธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

สภาพท่พี ึงประสงค์

อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี

- มสี ่วนรว่ มในการดแู ลรักษา - มีสว่ นรว่ มในการดแู ลรักษา - มีส่วนร่วมในการดูแลรักษา

ธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มเมื่อมี ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเม่ือมี ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมด้วย

ผชู้ ้ีแนะ ผชู้ แ้ี นะ ตนเอง

- ทงิ้ ขยะได้ถูกที่ - ทิง้ ขยะได้ถูกท่ี - ท้งิ ขยะได้ถูกท่ี

ตัวบง่ ชที้ ่ี ๗.๒ มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรักความเปน็ ไทย

อายุ 3 ปี สภาพที่พงึ ประสงค์ อายุ 5 ปี
- ปฏิบตั ติ นตามมารยาทไทยได้ อายุ 4 ปี - ปฏิบัตติ นตามมารยาทไทยได้
เมื่อมผี ู้ชีแ้ นะ ตามกาลเทศะ
- กล่าวคำขอบคณุ และขอโทษ - ปฏิบตั ิตนตามมารยาทไทยได้ - กล่าวคำขอบคณุ และขอโทษ
เมื่อมผี ูช้ ี้แนะ ดว้ ยตนเอง ด้วยตนเอง
- หยดุ เมอื่ ไดย้ นิ เพลงชาติไทย - กลา่ วคำขอบคุณและขอโทษ - ยืนตรงและร่วมรอ้ งเพลงชาติ
และเพลงสรรเสรญิ พระบารมี ดว้ ยตนเอง ไทยและเพลงสรรเสรญิ
- หยดุ เมอื่ ได้ยินเพลงชาติไทย
และเพลงสรรเสริญพระบารมี พระบารมี

มาตรฐานท่ี ๘ อยู่รว่ มกบั ผอู้ ่ืนได้อย่างมีความสุขและปฏิบัตติ นเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคมใน
ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๘.๑ ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบคุ คล

สภาพทพ่ี ึงประสงค์

อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
- เล่นและทำกจิ กรรมร่วมกับเด็ก
- เลน่ และทำกจิ กรรมร่วมกบั เดก็ - เล่นและทำกิจกรรมรว่ มกับ กลุม่ ทแี่ ตกตา่ งไปจากตน

ท่ีแตกตา่ งไปจากตน กล่มุ เดก็ ทแ่ี ตกต่างไปจากตน

หลักสตู รสถานศกึ ษา ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กบา้ นบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560

๔๒

ตวั บ่งช้ที ่ี ๘.๒ มีปฏสิ ัมพนั ธ์ทีด่ กี บั ผู้อน่ื

สภาพท่ีพงึ ประสงค์

อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
- เล่นหรือทำงานรว่ มกับเพ่ือน
- เลน่ รว่ มกบั เพ่อื น - เล่นหรือทำงานร่วมกับเพื่อน อยา่ งมเี ป้าหมาย
- ยมิ้ หรอื ทักทายหรอื พูดคยุ กับ
เป็นกล่มุ ผใู้ หญ่และบคุ คลทค่ี ุ้นเคยได้
เหมาะสมกับสถานการณ์
- ยิ้มหรอื ทกั ทายผใู้ หญ่และ - ย้ิมหรือทกั ทายหรอื พดู คยุ กับ

บุคคลที่คุ้นเคยเมื่อมผี ชู้ ้ีแนะ ผู้ใหญแ่ ละบุคคลท่ีคนุ้ เคยได้

ด้วยตนเอง

ตัวบง่ ชที้ ี่ ๘.๓ ปฏบิ ตั ติ นเบื้องตน้ ในการเป็นสมาชกิ ทด่ี ีของสงั คม

สภาพที่พึงประสงค์

อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
- ปฏบิ ัตติ ามขอ้ ตกลงเม่ือมผี ู้
ชแ้ี นะ - มสี ่วนร่วมสร้างขอ้ ตกลงและ - มสี ่วนร่วมสร้างขอ้ ตกลงและ

- ปฏิบัตติ นเป็นผูน้ ำและผู้ตาม ปฏิบตั ิตามข้อตกลงเม่ือมผี ู้ ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลงดว้ ยตนเอง
เมอ่ื มีผชู้ แี้ นะ
- ยอมรบั การประนีประนอม ชี้แนะ
แก้ไขปญั หาเม่ือมผี ู้ชแี้ นะ
- ปฏบิ ัตติ นเปน็ ผู้นำและผูต้ ามทดี่ ี - ปฏิบัตติ นเปน็ ผนู้ ำและผตู้ ามได้

ได้ดว้ ยตนเอง เหมาะสมกับสถานการณ์

- ประนปี ระนอมแก้ไขปญั หาโดย - ประนปี ระนอมแก้ไขปัญหาโดย

ปราศจากการใช้ความรนุ แรง ปราศจากการใช้ความรุนแรง

เมื่อมีผู้ช้แี นะ ด้วยตนเอง

4. พัฒนาการด้านสติปัญญา
มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาส่ือสารได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๙.๑ สนทนาโต้ตอบและเลา่ เร่ืองใหผ้ ู้อืน่ เขา้ ใจ

อายุ 3 ปี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ อายุ 5 ปี
- ฟงั ผอู้ น่ื พูดจนจบและโต้ตอบ อายุ 4 ปี - ฟงั ผูอ้ น่ื พูดจนจบและสนทนา
เก่ียวกับเรือ่ งท่ีฟัง โต้ตอบอย่างต่อเนื่องเชื่อมโยง
- ฟังผ้อู ่ืนพูดจนจบและสนทนา กบั เร่อื งทฟี่ ัง
โต้ตอบสอดคล้องกับเรอ่ื งทีฟ่ ัง - เลา่ เปน็ เรอื่ งราวต่อเน่ืองได้

- เลา่ เร่ืองด้วยประโยคสัน้ ๆ - เลา่ เรอ่ื งเป็นประโยคอยา่ ง
ต่อเนอ่ื ง

หลักสูตรสถานศกึ ษา ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ บา้ นบวั ใหญ่ พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560

๔๓

ตวั บง่ ชี้ที่ ๙.๒ อ่าน เขยี นภาพ และสญั ลกั ษณไ์ ด้

อายุ 3 ปี สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ อายุ 5 ปี
- อ่านภาพ และพูดข้อความด้วย อายุ 4 ปี - อ่านภาพ สญั ลักษณ์ คำ ด้วย
ภาษาของตน การช้ี หรอื กวาดตามอง
- อ่านภาพ สัญลักษณ์ คำ จดุ เริ่มต้นและจดุ จบของ
พรอ้ มทัง้ ชี้ หรอื กวาดตามอง ข้อความ
ข้อความตามบรรทัด - เขียนช่ือของตนเอง ตามแบบ
เขยี นข้อความดว้ ยวธิ ที ค่ี ิด
- เขยี นขดี เข่ีย อยา่ งมีทิศทาง - เขียนคลา้ ยตวั อักษร ขนึ้ เอง

มาตรฐานที่ ๑๐ มคี วามสามารถในการคดิ ทเ่ี ป็นพน้ื ฐานในการเรยี นรู้
ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๑๐.๑ มคี วามสามารถในการคิดรวบยอด

สภาพท่พี งึ ประสงค์

อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
- บอกลกั ษณะของสิ่งของตา่ งๆ
จากการสังเกตโดยใชป้ ระสาท - บอกลกั ษณะและสว่ นประกอบ - บอกลักษณะ สว่ นประกอบ
สมั ผัส
ของส่ิงของต่างๆจากการสังเกต การเปลย่ี นแปลง หรอื

โดยใชป้ ระสาทสมั ผสั ความสมั พนั ธข์ องสงิ่ ของต่างๆ

จากการสังเกตโดยใชป้ ระสาท

สมั ผัส

- จับคหู่ รอื เปรียบเทียบสิ่งตา่ งๆ - จบั คูแ่ ละเปรียบเทยี บความ - จบั คแู่ ละเปรยี บเทยี บความ
โดยใชล้ ักษณะหรือหน้าที่การ แตกต่างหรือความเหมือนของ แตกต่างหรือความเหมอื นของ
งานเพยี งลกั ษณะเดยี ว สิ่งตา่ งๆโดยใชล้ ักษณะทสี่ งั เกต สิ่งตา่ งๆโดยใช้ลกั ษณะท่สี งั เกต
พบเพยี งลกั ษณะเดยี ว พบสองลักษณะข้นึ ไป

- คัดแยกสง่ิ ตา่ งๆตามลกั ษณะ - จำแนกและจัดกลมุ่ สงิ่ ต่างๆโดย - จำแนกและจดั กลุ่มสง่ิ ต่างๆโดย
หรอื หน้าท่ีการใช้งาน ใชอ้ ยา่ งนอ้ ยหน่ึงลักษณะเป็น ใช้ต้งั แต่สองลักษณะขึน้ ไปเป็น
เกณฑ์ เกณฑ์

- เรยี งลำดับส่ิงของหรือ - เรียงลำดบั สงิ่ ของหรือ - เรียงลำดับสง่ิ ของหรือ

เหตกุ ารณ์อยา่ งน้อย ๓ ลำดบั เหตกุ ารณ์อยา่ งน้อย ๔ ลำดับ เหตุการณ์อยา่ งน้อย ๕ ลำดับ

หลกั สตู รสถานศึกษา ศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็กบ้านบัวใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560

๔๔

ตัวบ่งชี้ท่ี ๑๐.๒ มคี วามสามารถในการคดิ เชงิ เหตุผล

อายุ 3 ปี สภาพท่พี ึงประสงค์ อายุ 5 ปี
- ระบุผลท่ีเกิดข้นึ ในเหตุการณ์ อายุ 4 ปี - อธบิ ายเช่อื มโยงสาเหตแุ ละผล
หรอื การกระทำเมื่อมผี ชู้ ีแ้ นะ ทเี่ กดิ ขน้ึ ในเหตุการณ์หรือการ
- ระบุสาเหตุหรือผลทเ่ี กิดข้ึนใน กระทำด้วยตนเอง
เหตุการณห์ รือ การกระทำเม่ือ
มีผู้ช้ีแนะ

- คาดเดา หรือ คาดคะเนสิ่งท่ี - คาดเดา หรอื คาดคะเนส่ิงที่ - คาดคะเนส่ิงทอี่ าจจะเกิดข้นึ
อาจเกิดขึ้น อาจจะเกิดขน้ึ หรือมีสว่ นร่วม และมสี ่วนรว่ มในการลง
ในการลงความเหน็ จากข้อมลู ความเหน็ จากข้อมูลอยา่ งมี
เหตผุ ล

ตวั บง่ ชี้ที่ ๑๐.๓ มคี วามสามารถในการคดิ แกป้ ัญหาและตัดสินใจ

อายุ 3 ปี สภาพที่พึงประสงค์ อายุ 5 ปี
- ตัดสินใจในเร่อื งง่ายๆ อายุ 4 ปี - ตดั สินใจในเรอ่ื งง่ายๆและ
ยอมรับผลที่เกิดขน้ึ
- ตัดสนิ ใจในเรอ่ื งง่ายๆและเร่ิม
เรียนรผู้ ลทเ่ี กดิ ขึ้น

- แก้ปญั หาโดยลองผดิ ลองถกู - ระบปุ ญั หา และแกป้ ัญหาโดย - ระบุปญั หาสร้างทางเลือกและ

ลองผดิ ลองถกู เลือกวิธีแกป้ ัญหา

มาตรฐานท่ี ๑๑ มจี นิ ตนาการและความคิดสร้างสรรค์
ตวั บ่งชท้ี ่ี ๑๑.๑ เล่น/ทำงานศลิ ปะตามจนิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์

อายุ 3 ปี สภาพทพ่ี ึงประสงค์ อายุ 5 ปี
- สร้างผลงานศิลปะเพ่ือสอื่ สาร อายุ 4 ปี - สรา้ งผลงานศลิ ปะเพื่อสอ่ื สาร
ความคิด ความรูส้ ึกของตนเอง ความคิด ความรูส้ ึกของตนเอง
- สรา้ งผลงานศิลปะเพื่อสอ่ื สาร โดยมีการดดั แปลงและแปลก
ความคิด ความรูส้ ึกของตนเอง ใหมจ่ ากเดิมและมรี ายละเอยี ด
โดยมีการดัดแปลงและแปลก เพ่ิมข้นึ
ใหม่จากเดิมหรอื มรี ายละเอียด
เพิ่มขน้ึ

หลักสตู รสถานศึกษา ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กบ้านบวั ใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560

๔๕

ตัวบง่ ช้ที ่ี ๑๑.๒ แสดงทา่ ทาง/เคล่อื นไหวตามจินตนาการอยา่ งสร้างสรรค์

อายุ 3 ปี สภาพท่พี งึ ประสงค์ อายุ 5 ปี
- เคลื่อนไหวท่าทางเพ่ือสื่อสาร อายุ 4 ปี - เคลื่อนไหวท่าทางเพ่ือสือ่ สาร
ความคดิ ความรสู้ ึกของตนเอง ความคดิ ความรสู้ ึกของตนเอง
- เคล่อื นไหวทา่ ทางเพื่อสือ่ สาร อยา่ งหลากหลายและแปลก
ความคดิ ความรสู้ ึกของตนเอง ใหม่
อยา่ งหลากหลายหรือแปลก
ใหม่

มาตรฐานท่ี ๑๒ มีเจตคตทิ ี่ดีต่อการเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความรไู้ ดเ้ หมาะสมกับวัย
ตัวบง่ ชที้ ่ี ๑๒.๑ มเี จตคติที่ดีตอ่ การเรยี นรู้

สภาพทพี่ ึงประสงค์

อายุ 3 ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
- สนใจฟังหรอื อ่านหนงั สอื ดว้ ย
ตนเอง - สนใจซกั ถามเกยี่ วกับสญั ลักษณ์ - หยิบหนงั สือมาอา่ นและเขียน

หรอื ตวั หนงั สอื ท่ีพบเห็น สื่อความคดิ ดว้ ยตนเองเปน็

ประจำอย่างตอ่ เน่ือง

- กระตอื รือร้นในการเขา้ รว่ ม - กระตือรือรน้ ในการเขา้ รว่ ม - กระตือรือร้นในการร่วม
กจิ กรรม กิจกรรม กิจกรรมตง้ั แต่ต้นจนจบ

ตัวบ่งช้ีที่ ๑๒.๒ มีความสามารถในการแสวงหาความรู้

อายุ 3 ปี สภาพท่พี ึงประสงค์ อายุ 5 ปี
- ค้นหาคำตอบของข้อสงสยั อายุ 4 ปี - ค้นหาคำตอบของข้อสงสัย
ต่างๆ ตามวธิ กี ารท่ีมผี ู้ชแ้ี นะ ตา่ งๆ ตามวธิ กี ารท่ีหลากหลาย
- คน้ หาคำตอบของข้อสงสยั ดว้ ยตนเอง
ตา่ งๆ ตามวธิ ีการของตนเอง

- เชอ่ื มโยงคำถาม “อะไร” ใน - ใชป้ ระโยคคำถามว่า “ที่ไหน” - ใช้ประโยคคำถามว่า “เม่ือไร”

การค้นหาคำตอบ “ทำไม” ในการคน้ หาคำตอบ อย่างไร” ในการค้นหาคำตอบ

หลกั สตู รสถานศึกษา ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กบ้านบวั ใหญ่ พุทธศักราช 2564
ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560


Click to View FlipBook Version