The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 10_ญาณิศา, 2021-09-11 10:19:37

ความเป็นไทย

ความเป็นไทย

ความเปน ไทย

จัดทำโดย
นายศภุ กร กรอบมุข ม.6/8 เลขท่ี 15

สารบัญ

เร่ือง หนา

ภาษาไทย 1-2
การแตงกาย 3-4
การแสดงความเคารพ 5-6
สถาปต ยกรรม 7-8
ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี 9-10
ดนตรีไทย กีฬาไทย และการละเลนพ้ืนเมือง 11-12



ภาษาไทย คอื ภาษาพดู ท่ใี ชส� ่ือสารกนั ไดอ ยางเขาใจ ถึงแมจ ะมสี ำเนยี งทแี่ ตกตา งกนั ไป
บา งในแตละพื้นท่ี รวมถงึ การใช�ศัพทกบั บคุ คลในระดบั ตา ง ๆ และอกั ษรไทยที่ใช�ใน
ภาษาเขยี นโดยทัว่ ไป

ภาษาไทย หรอื ภาษาไทยกลาง เปนภาษาราชการและภาษาประจำชาตขิ องประเทศ
ไทย ภาษาไทยเปน ภาษาในกลมุ ภาษาไทซึง่ เปน กลมุ ยอ ยของตระกูลภาษาขรา-
ไท สนั นิษฐานวา ภาษาในตระกูลนมี้ ถี ่นิ กำเนิดจากทางตอนใตข องประเทศจีน และ
นกั ภาษาศาสตรบางสว� นเสนอวา ภาษาไทยนาจะมคี วามเชือ่ มโยงกับตระกลู ภาษา
ออสโตร-เอเชียติก ตระกลู ภาษาออสโตรนีเซยี น และตระกูลภาษาจีน-ทเิ บต

การแตงกาย ถงึ แมว าในปจ จบุ ันการแตงกายของชาวไทยจะเปนสากลมากขึ้น แตก ็
ยงั คงเครอ่ื งแตง กาย ของไทยไวใ นโอกาสสำคัญตา ง ๆ

ชดุ ไทย นน้ั คอื ชุดประจำชาติท่มี เี อกลักษณเฉพาะตวั ไมเ หมอื นกบั ชาติอ่นื ๆ ดว ยการออกแบบและการตดั เย็บทป่ี ระณตี
บวกกับการสรา งสรรคลวดลายบนผืนผา ทเ่ี กดิ จากงานฝม อื ของชา� งไทยทมี่ คี วามโดดเดน

นัน่ จึงทำใหช ุดไทยดูแตกตางและถอื ไดว า เปน งานศิลปะหน่งึ เดียวในโลกทหี่ าใครมาเทียบเทา ไดย าก ทุกวนั นี้ชุดไทยอาจ
ไมไดรจู ักกนั อยางแพรห ลายมากนกั เน่อื งมาจากยคุ สมัยทเี่ ปล่ียนแปลงไปอยางรวดเร็ว ผูคนสว� นใหญต างชืน่ ชมและ
หลงใหลอยูในวัฒนธรรมตา งชาติ ทำใหรสนิยมการแตง กายเริ่มเปล่ยี นแปลงไปสคู วามศวิ ิไลซม ากขึน้

ทำใหชดุ ไทยจึงถูกลดความสำคญั ไปโดยปรยิ าย ถึงแมใ นวา ทกุ วนั นี้ชุดไทยไมไ ดถ กู นำมาสวมใส�ในชีวิตประจำวัน แตว าก็
ไดมกี ารยกขนึ้ มาเอกลักษณก ารแตง กายประจำชาติ อีกท้ังยงั มกี ารรณรงคใ หสวมใสก� ันในวันสำคญั หรอื เทศกาลสำคญั
ตางๆ อาทิ วนั แตง งาน, วนั สงกรานต, งานเขา เฝา งานราตรใี นตา งประเทศ เปน ตน

การแสดงความเคารพดวยการไหวแ ละกราบ ซึ่งแบง แยกออกไดอยางชัดเจน เช�น
กราบพระพุทธรปู กราบพระสงฆ กราบไหวบ คุ คลในฐานะ หรือวัยตาง ๆ ตลอดจนการ
วางตนดว ยความสภุ าพออ นนอ มถอมตน การแสดงความกตัญูกตเวทตี อ ผูมพี ระคณุ

การแสดงความเคารพ การแสดงความเคารพ ถอื เปน กริ ยิ าทาทางของมารยาทไทยทสี่ ุภาพเรยี บรอยในการรวม
ประกอบ พธิ ีกรรมตาง ๆ ทางศาสนา ทีถ่ ูกตองตามระเบียบแบบแผนและเหมาะสมตามกาลเทศะ ซึง่ ครอบคลุม
ถึง การแสดงความเคารพ โดยการไหว การกราบ การค านบั การรับของและส�งส่ิงของเปน ตน การแสดงความ
เคารพ ถือเปน มารยาทไทยอยางหนงึ่ ท่แี สดงความออนนอมถอมตนของเดก็ ท่ีมีตอผใู หญ หรือผทู ม่ี ีความอาวุโส
กวา ซึง่ มีอยูหลายลกั ษณะ เชน� การประนมมอื การไหว การกราบ การค านบั ซงึ่ เม่อื น ามาใช� ในการเขา
รวมศาสนพิธตี าง ๆ

สถาปต ยกรรม เหน็ ไดจ ากชนิ้ งานทีป่ รากฏในศาสนสถาน โบสถว หิ าร ปราสาทราชวัง
และอาคารบาน ทรงไทย

สถาปตยกรรม (Architecture) คอื การออกแบบกอสรา งสิ่งตางๆ ไมวาจะเปนสิง่ กอสรา งสำหรบั การอยอู าศยั
ของคนท่ัวไป เชน� บา น อาคาร และคอนโด เปนตน และส่งิ กอสรางที่คนไมสามารถเขาอยอู าศัยได เชน� เจดีย
สถูปและอนสุ าวรีย เปน ตน นอกจากนี้ ยงั รวมไปถึงการกำหนดผังของบรเิ วณตา งๆ เพ่ือกอ ใหเ กิดความสวยงาม
และเพื่อเปน ประโยชนต อการใชส� อยไดต ามตองการ งานสถาปต ยกรรมนัน้ นับเปน แหลงรวมของงานศิลปะ
ทางการภายแทบทุกชนดิ โดยมักจะมีรูปแบบทีแ่ สดงถึงเอกลักษณข องสังคมและชว� งเวลานัน้ ๆ ไดอ ยางชัดเจน

ศลิ ปวัฒนธรรมและประเพณี ประเทศไทยมีการติดตอกับหลายเช้ือชาติ ทำใหมกี ารรบั วฒั นธรรมของชาติ ตาง ๆ
เขามา แตคนไทยสามารถนำมาประยุกตใ ช�ไดอ ยางเหมาะสม และปฏบิ ัติสืบตอกนั มาจน กลายเปน สว� นหน่งึ ใน

วิถชี วี ิตของไทย

ศลิ ปวฒั นธรรมและประเพณี ประเทศไทยมกี ารตดิ ตอกับหลายเชื้อชาติ ทำใหมีการรับวฒั นธรรมของชาติ ตาง ๆ เขา มา แตคนไทยสามารถนำมาประยกุ ตใ ช�
ไดอยา งเหมาะสม และปฏบิ ัติสบื ตอ กันมาจน กลายเปน สว� นหนง่ึ ในวิถชี วี ิตของไทยการทองเที่ยวนัน้ นอกจากจะกอใหเ กดิ การสรางงาน อันนำมาซง่ึ รายไดส ู
ทอ งถิ่นท่ัวทั้งประเทศแลว ยังเปน สว� น หน่งึ ทชี่ �วยเผยแพรชอื่ เสยี งของประเทศไทยใหเปน ท่รี ูจักไปท่ัวโลก อตุ สาหกรรมทอ งเที่ยวประกอบดวยปจ จัยหลาย
ประการ แตท ีส่ ำคญั ก็คือ ทรพั ยากรทางการทองเท่ียว ซ่งึ มอี ยใู นประเทศไทยเปน จำนวนมาก และมีความหลากหลาย เรยี งรายอยใู นทกุ พื้นที่ของประเทศ
สามารถแบงออกไดเปน 3 ประเภทใหญๆ คือ ประเภททเ่ี กิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ไดแ ก ปา ไม ภเู ขา นำ้ ตก ชายหาด ทะเล และเกาะแกง ประเภททีม่ นษุ ย
สรางขน้ึ ไดแ ก ศาสนสถาน โบราณสถาน โบราณวตั ถุ และส่ิงกอ สรางอื่น ๆ โดยมวี ัตถุ ประสงคใ นการสรา ง และอายุ รวมทง้ั รูปแบบสถาปต ยกรรมท่ี
แตกตา งกันไป แตท า ยทส่ี ดุ กก็ ลายเปน ทรพั ยากรอนั มคี าทางการทองเท่ียวของประเทศ ประเภทศลิ ปวฒั นธรรม กจิ กรรม ประเพณแี ละวิถชี วี ติ ของผูคนใน
ทองถ่ิน จะเห็นไดว า นอกจากทรัพยากรทเ่ี กิดขึ้นเองตามธรรมชาตปิ ระเภทท่ี 1 แลว ทรัพยากรทางการทองเที่ยวประเภท ท2่ี และ 3 นั้นมีรากฐานมา
จาก "วัฒนธรรมและประเพณ"ี ทัง้ สิ้น

ดนตรไี ทย กฬี าไทย และการละเลนพ้ืนเมอื งตางๆ

เครอ่ื งดนตรไี ทย คือ เครื่องดนตรี ทส่ี รา งสรรคขึ้นตามศิลปวัฒนธรรมดนตรขี องไทย ทมี่ รี ปู แบบเอกลักษณของความเปน ไทย ซง่ึ
สัมพนั ธกับชวี ติ ความเปน อยแู ละถอื วาเปนสว� นหนงึ่ ของชีวติ ของคนไทย โดยนิยมแบง ตามอากัปกริ ยิ า ของการบรรเลง เครอ่ื ง
ดีด เครื่องสี เคร่อื งตี เคร่ืองเปา
เครอื่ งดนตรีหลัก ๆ ไดแก ป ซอ ซออู ซอดว ง ระนาด ฆอ ง จะเข ฉิง่ ฉาบ กลองยาว โหมง และ กรบั
เครือ่ งดนตรไี ทยเกิดจากชนชาตไิ ทยเองและการเลียนแบบชนชาตอิ ่นื ๆ ที่อยใุ กลช ดิ โดยเร่ิมตั้งแตสมยั โบราณทไ่ี ทยตั้งถิ่นฐานอยใู น
อาณาจกั รฉอ งหวูดนิ แดนของประเทศจีนในปจ จบุ ัน ทำใหเ ครอ่ื งดนตรีไทยและจนี มีการแลกเปลย่ี นเลยี นแบบกัน นอกจากน่ียงั มี

เครื่องดนตรอี ีกหลายชนดิ ที่ชนชาติไทยประดิษฐข นึ้ ใช�กอ นที่จะมาพบวัฒธรรมอินเดีย ซึง่ แพรห ลายอยูทางตอนใตข องแหลมอนิ โด
จีน สำหรบั ช่อื เครอื่ งดนตรดี ัง้ เดิมของไทยจะเรียนตามคำโดดในภาษาไทย เช�น เกราะ โกรง กรบั ฉิง่ ฉาบ ขลุย พณิ เปยะ ซอ
ฆองและกลอง ตอ มาไดม กี ารประดิษฐเครอ่ื งดนตรใี หพฒั นาข้นึ โดยนำไมท ่ที ำเหมือนกรับหลายอันมาวางเรียงกันไดเ คร่อื งดนตรใี หม
เรยี กวาระนาดหรอื นำฆอ งหลาย ๆ ใบมาทำเปน วงเรยี กวา ฆอ งวง เปน ตน นอกจากนี้ยงั มกี ารผสมผสานกับวัฒนธรรมทางดนตรี
ของอินเดยี มอญ เขมร ในแหลมอนิ โดจีนทีไ่ ทยไดย า ยไปตง้ั ถ่ินฐานอยู ไดแ ก พณิ สงั ข ปไ ฉน บัณเฑาะว กระจบั ป จะเข เพลง
และเครื่องดนตรีบางอยางของประเทศเพอ่ื นบา นมาบรรเลงในวงดนตรีไทย เชน� กลองแขกของชวา กลองมลายูของมลายู เปง มาง
ของมอญ และกลองยาวของไทยใหญท ่พี มานำมาใช� รวมทัง้ ขมิ มาลอ และกลองจีน ซึ่งเปน เครอ่ื งดนตรีของจีน เปนตน ตอ มาไทย
มีความสัมพันธชาวกบั ตะวนั ตกและอเมริกา กไ็ ดน ำกลองฝร่งั เช�นกลองอเมรกิ นั และเครื่องดนตรอี น่ื ๆ เชน� ไวโอลีน ออรแกน มา
ใช�บรรเลงในวงดนตรขี องไทย




















Click to View FlipBook Version