3
คำนำ
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม โดยคณะศิลปนาฏดุริยางค์ ประสานความร่วมมือกับ
สถาบันอุดมศึกษาต่าง ๆ จัดการนำเสนอผลงานนาฏศิลป์สร้างสรรค์ระดับชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ครั้งที่ 5 โดยมี
วัตถุประสงค์หลักเพื่อเผยแพร่ผลงานนาฏศลิ ป์สร้างสรรค์ของคณาจารย์ ผ้สู รา้ งสรรค์งานอิสระ และนักศึกษาสู่สาธารณชน
และมุ่งมั่นที่จะสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการร่วมกับสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ คณาจารย์และนักศึกษาสามารถนำ
ผลงานสร้างสรรค์ไปต่อยอดหรือใช้ประโยชน์ รวมทั้งสามารถบูรณาการเข้ากับศาสตร์ต่าง ๆ เป็นการสร้างความก้าวหน้า
และพฒั นานาฏศิลป์อีกรปู แบบหนึ่งทปี่ ระกอบดว้ ยการอนรุ ักษ์สืบสานและพฒั นา อกี ทั้งเปน็ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน
ในศาสตรแ์ หง่ ศลิ ป์ ท่สี ำคัญอีกประการหนึ่ง คอื เป็นการเตรยี มความพร้อมให้กบั คณาจารย์ผ้สู ร้างสรรค์งาน และนักศึกษา
นำเสนอผลงานในระดับอาเซียนหรือระดบั นานาชาตติ ่อไป อยา่ งไรกต็ ามด้วยสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัสโคโร
นา (Covid-19) ส่งผลกระทบต่อการดำเนินการกิจกรรมต่าง ๆ และการดำเนินชีวิตของผู้คนทั่วโลก ดังนั้นการจัดการ
นำเสนอผลงานนาฏศิลป์สร้างสรรค์ในครั้งนี้ จึงปรับการนำเสนอ ประกอบด้วย 2 รูปแบบ คือ การนำเสนอบนเวที
(On-Site) และการนำเสนอผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Online) ทั้งนี้เพื่อสร้างความแข็งแกร่งทางวิชาการและงานนาฏศิลป์
สร้างสรรค์ของสถาบันอุดมศึกษาที่มีคุณภาพ เป็นรากฐานในการอนุรักษ์ สืบสาน สร้างสรรค์ด้านศิลปวัฒนธรรมของชาติ
อย่างมอื อาชพี ดา้ นงานศลิ ป์
สถาบันบณั ฑติ พฒั นศิลป์ กระทรวงวฒั นธรรม
4 2
การนำเสนอผลงานนาฏศิลปส์ ร้างสรรคร์ ะดบั ชาติ สถาบันบัณฑิตพฒั นศิลป์ ครงั้ ที่ 5
The 5th BPI : Presentation of Creative Performing Arts
วนั ที่ 16-17 ธนั วาคม 2564 ณ โรงละครวังหน้า สถาบนั บัณฑติ พฒั นศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม
1. หลกั การและเหตผุ ล
การศกึ ษา การวิจัย การสรา้ งสรรค์งาน ก่อให้เกิดองคค์ วามรู้ทส่ี ะท้อนคุณคา่ อนั เป็นเอกลกั ษณ์ อตั ลักษณ์ของงาน
ศิลป์ที่มุ่งเน้นเป็นยุทธศาสตร์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ รวมทั้งมุ่งส่งเสริมการสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ให้มี
ประสทิ ธิภาพ สอดคล้องกบั ความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น ดงั ปณิธาน ทีม่ งุ่ มนั่ สง่ เสรมิ อนรุ กั ษ์ สืบสาน สร้างสรรค์
เผยแพรศ่ ิลปวฒั นธรรม อันเปน็ อัตลักษณ์ของชาติ
ปัจจุบัน การพัฒนาด้านนาฏกรรมการแสดงหรือศิลปะการแสดงทางด้านนาฏศิลป์ไทยขยายตัวเป็นวงกว้าง
ก่อให้เกิดผู้สร้างสรรค์ นักวิจัยและนักวิชาการที่หลากหลาย รวมถึงผลงานที่เกี่ยวข้องทางด้านนาฏศิลป์สร้างสรรค์
นาฏศิลป์ร่วมสมัยและนาฏศิลป์ผสมผสานกับศาสตร์ศิลปะด้านอื่น ๆ แพร่หลายไปอย่างรวดเร็ว มีการเผยแพร่ทั้งใน
รูปแบบการแสดงบนเวทีและการแสดงผ่านสื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ ทั้งนี้คณะศิลปนาฏดุริยางค์ ได้รับมอบหมายจากสถาบัน
บัณฑิตพัฒนศิลป์ประสานความร่วมมอื กับสถาบันอดุ มศึกษาต่าง ๆ ดำเนินการจดั การนำเสนอผลงานนาฏศิลปส์ ร้างสรรค์
ระดับชาติ ครั้งที่ 5 โดยมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อเผยแพร่ผลงานนาฏศิลป์สร้างสรรค์ของคณาจารย์ ผู้สร้างสรรคง์ านอิสระ
และนักศึกษาสู่สาธารณชน โดยมุ่งมั่นที่จะสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการร่วมกับสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ
คณาจารย์และนักศึกษา สามารถนำผลงานสร้างสรรคไ์ ปต่อยอดหรือใช้ประโยชน์ รวมทั้งสามารถบรู ณาการเข้ากับศาสตร์
ต่าง ๆ ได้ สร้างความก้าวหน้าและพัฒนานาฏศิลป์อีกรูปแบบหนึ่งทีจ่ ะต้องประกอบดว้ ย การอนุรักษ์ สืบสาน และพัฒนา
อกี ทง้ั ยงั เป็นการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้รว่ มกนั ในศาสตร์แห่งศิลป์ ท่ีสำคญั อกี ประการหนง่ึ คือ เป็นการเตรยี มความพรอ้ มให้กับ
คณาจารย์ ผู้สร้างสรรค์งานและนักศึกษา เพื่อนำเสนอผลงานในระดับอาเซียนหรือ ระดับนานาชาติต่อไป ทั้งนี้เพื่อรวม
พลังสรา้ งความแขง็ แกร่งทางวิชาการและงานนาฏศิลปส์ รา้ งสรรค์ สูก่ ารเป็นสถาบันอุดมศึกษาที่มีคณุ ภาพ เป็นรากฐานใน
การอนรุ กั ษ์ สืบสาน สรา้ งสรรค์ ด้านศิลปวัฒนธรรม ของชาตอิ ยา่ งมอื อาชีพดา้ นงานศลิ ป์
2. วัตถปุ ระสงค์
2.1 เพื่อส่งเสริมให้คณาจารย์ นักสร้างสรรค์งานอิสระ นักศึกษา ได้มีโอกาสเผยแพร่ผลงานนาฏศิลป์ สร้างสรรค์
โดยผ่านเวทนี ำเสนอผลงานนาฏศิลป์สรา้ งสรรคใ์ นระดบั ชาติ
2.2 เพื่อสง่ เสริม สร้างสรรค์และสรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ทางวชิ าการในการพฒั นาศาสตร์แหง่ ศลิ ป์
3. ผลท่คี าดว่าจะไดร้ บั
3.1 คณาจารย์ นักสร้างสรรค์อิสระ และนักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาต่าง ๆ ได้เข้าร่วมนำเสนอ ผลงานและ
ได้รับประสบการณ์สู่การพัฒนาทักษะการนำเสนอผลงานสู่สาธารณชน รวมทั้งได้รับการกระตุ้นให้ เกิดการพัฒนางาน
นาฏศิลป์สร้างสรรคใ์ ห้มีคุณภาพ สามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ได้ตอ่ ไป
3.2 ผลงานนาฏศิลป์สรา้ งสรรค์ของคณาจารย์ นักสร้างสรรคอ์ ิสระ และนักศกึ ษา ได้รบั การเผยแพร่ สสู่ าธารณชน
3.3 นักวิจัยและสร้างสรรค์งานจากสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลงานและข้อมูล เกี่ยวกับการ
สร้างสรรคง์ านเชิงประจกั ษ์
53
คำกลา่ วเปิดงาน
การนำเสนอผลงานนาฏศิลปส์ ร้างสรรคร์ ะดบั ชาติ สถาบันบณั ฑติ พัฒนศลิ ป์ ครงั้ ท่ี 5
ของ ศาสตราจารยก์ ติ ติคณุ ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ นายกสภาสถาบนั บัณฑิตพัฒนศลิ ป์
ในวันพฤหสั บดีที่ 16 ธนั วาคม 2564 เวลา 09.00 น.
ณ โรงละครวังหนา้ สถาบันบัณฑติ พัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม กรุงเทพมหานคร
-----------------------------------------------------------------------
อธกิ ารบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศลิ ป์ ผบู้ ริหาร ผเู้ ช่ียวชาญ คณาจารย์ และผรู้ ว่ มประชมุ ทกุ ท่าน
ผมรู้สึกเป็นเกียรติและยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้รับเชิญมาเป็นประธานเปิดการนำเสนอผลงาน นาฏศิลป์
สร้างสรรค์ระดับชาติ สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศลิ ป์ ครัง้ ที่ 5 ในครงั้ น้ี
ดังที่ทราบกันแล้วว่าการจัดการศึกษา การทำนุบำรุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม เป็นหนึ่งในนโยบาย
ของรัฐบาล ดังนั้นการศึกษาวิชาชีพเฉพาะด้านนาฏศิลป์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และสถาบันอุดมศึกษาร่วมศาสตร์
จึงมบี ทบาทสำคญั ในการจัดการศึกษาของชาติโดยใช้มติ ิทางวัฒนธรรมเปน็ ทุนทางสงั คมเพื่อส่งเสริมการขับเคลื่อนนโยบาย
มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน รวมทั้งส่งผลต่อการสร้างและฟื้นฟู ทุนทางสังคมให้เกิดเป็นรูปธรรมอย่างแท้จริง การจัดการนำเสนอ
ผลงานนาฏศิลป์สร้างสรรค์ระดับชาติ ในครั้งนี้ นับเป็นโอกาสที่จะเผยแพร่ผลงานนาฏศิลป์สร้างสรรค์ให้แก่องค์กรต่าง ๆ
เพื่อนำผลงานไปประยุกต์ใช้ได้อย่างกว้างขวาง ซึ่งถือเป็นกลไกที่สนับสนุนให้มกี ารใช้องค์ความรู้ที่ไดจ้ ากงานวิจัยและงาน
สร้างสรรค์ ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาอย่างสูงสุดแก่ประเทศชาติ นอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นถึงศักยภาพและความ
ร่วมมอื ทางวชิ าการของสถาบันอุดมศึกษา ในการส่งเสรมิ และพฒั นางานวิจัยและงานสร้างสรรค์ดา้ นนาฏศิลป์ เพื่ออนุรักษ์
และพฒั นาศาสตร์แห่งศิลป์อย่างเท่าทันเทคโนโลยีในยุคโลกาภวิ ัตน์
ในนามของสถาบนั บัณฑติ พัฒนศิลป์ ขอขอบพระคุณคณาจารย์ นักสร้างสรรค์งานอสิ ระ และนักศึกษาท่ี
นำผลงานนาฏศิลป์สร้างสรรค์มานำเสนอในคร้ังน้ี ขอบคุณผูท้ รงคุณวุฒิ ผู้เชีย่ วชาญ ทุกท่าน ท่ีกรณุ าให้ข้อเสนอแนะเพ่ือ
การพัฒนาผลงานให้ดียิ่ง ๆ ขึ้นไป ขอบคุณเครือข่ายเจ้าภาพทั้ง 16 สถาบัน และขอบคุณคณะทำงานของสถาบันบัณฑิต
พัฒนศิลป์ ท่ีไดร้ ่วมแรงรว่ มใจจดั การนำเสนอผลงานนาฏศิลป์สร้างสรรคใ์ นครั้งนี้ได้อย่างดียงิ่
บดั น้ีได้เวลาอันสมควรแลว้ ผมขอเปดิ การนำเสนอผลงานนาฏศลิ ปส์ รา้ งสรรค์ระดบั ชาติ ครัง้ ที่ 5 และขอ
อวยพรให้การจดั งานในครงั้ น้ีสำเรจ็ ลุลว่ งสมดังเจตนารมณท์ กุ ประการ
6 4
คำกลา่ วรายงาน
การนำเสนอผลงานนาฏศลิ ปส์ ร้างสรรคร์ ะดบั ชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศลิ ป์ ครัง้ ที่ 5
ของ นางนภิ า โสภาสัมฤทธ์ิ อธิการบดีสถาบันบัณฑติ พัฒนศลิ ป์
ในวันพฤหสั บดีที่ 16 ธันวาคม 2564 เวลา 09.00 น.
ณ โรงละครวงั หนา้ สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศิลป์ กระทรวงวฒั นธรรม กรุงเทพมหานคร
-----------------------------------------------------------------------
เรยี น ทา่ นประธานท่เี คารพ
ดิฉันในนามคณะกรรมการจัดการนำเสนอผลงานนาฏศิลปส์ ร้างสรรคร์ ะดับชาติ สถาบนั บัณฑติ พัฒนศลิ ป์ คร้ังที่ 5
ขอขอบพระคุณท่านนายกสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ) เป็นอย่างยิ่ง
ที่กรณุ าใหเ้ กยี รตมิ าเป็นประธานเปดิ การนำเสนอผลงานนาฏศลิ ป์สรา้ งสรรคใ์ นครงั้ น้ี
การนำเสนอผลงานนาฏศิลป์สร้างสรรคร์ ะดบั ชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ครั้งที่ 5 มีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสรมิ
ให้คณาจารย์นักสร้างสรรค์งานอิสระ และนักศึกษา ได้มีโอกาสเผยแพร่ผลงานนาฏศิลป์สร้างสรรค์ โดยผ่านเวทีนำเสนอ
ผลงานนาฏศิลป์สร้างสรรค์ในระดับชาติและเพื่อส่งเสริม สร้างสรรค์ และสร้างเครือข่ายความร่วมมือทา งวิชาการในการ
พัฒนาศาสตรแ์ ห่งศลิ ป์ จดั ขน้ึ ระหวา่ งวันที่ 16 - 17 ธนั วาคม 2564 ณ โรงละครวงั หนา้ สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศิลป์ โดยแบ่ง
การนำเสนอออกเป็น 2 รูปแบบ คือการนำเสนอผลงานบนเวทีและนำเสนอผลงานผ่านระบบประชุมทางไกล
(Zoom Meeting) มีสถาบันอุดมศึกษาและนักวิจัยอิสระส่งผลงานเข้าร่วมนำเสนอทั้งสิ้น จำนวน 36 ผลงาน การจัดงาน
คร้ังนี้สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ ได้รบั ความรว่ มมือจากสถาบนั อดุ มศกึ ษา จำนวน 18 แห่ง ประกอบดว้ ย
1. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อบุ ลราชธานี
2. คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
3. คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสุนันทา
4. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
5. คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย
6. คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสติ
7. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร
8. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั บรุ รี มั ย์
9. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยพะเยา
10. คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี
11. คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภเู กต็
12. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
13. คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏวไลอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
5
7
14. มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชียงใหม่
15. วทิ ยาลยั นาฏศิลปและหน่วยงานในสงั กัดสถาบนั บัณฑติ พฒั นศลิ ป์
นอกจากนี้ยังได้รบั เกยี รติจากทา่ นนายกสภาสถาบันบัณฑติ พัฒนศลิ ป์(ศาสตราจารย์กติ ติคุณ ดร.บวรศกั ดิ์ อวุ รรณโณ)
เป็นวิทยากรบรรยายพิเศษ ซึ่งสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ขอกราบขอบพระคุณท่านมา ณ โอกาสนี้ บัดนี้ได้เวลาอันสมควร
แล้ว ขอเรียนเชิญท่านนายกสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์กล่าวเปิดการนำเสนอผลงานนาฏศิลป์สร้างสรรค์ระดับชาติ
สถาบนั บัณฑติ พัฒนศิลป์ คร้ังที่ 5 พร้อมทง้ั มอบ เกยี รตบิ ัตรแก่สถาบนั อุดมศึกษาที่ร่วมนำเสนอผลงาน และให้เกียรติร่วม
ถา่ ยภาพตามลำดบั ขอกราบเรยี นเชิญค่ะ
86
กำหนดการ
การนำเสนอผลงานนาฏศิลปส์ ร้างสรรคร์ ะดบั ชาติ สถาบันบณั ฑิตพัฒนศลิ ป์ คร้งั ท่ี 5
วนั พฤหสั บดีที่ 16 ธนั วาคม 2564
ณ โรงละครวังหน้า สถาบันบณั ฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวฒั นธรรม
เวลา กจิ กรรม วิทยากร
08.00 – 09.00 น. ลงทะเบยี นและรบั เอกสาร กลา่ วรายงาน โดย
09.00 – 09.45 น. พิธีเปิดการนำเสนอผลงานนาฏศิลป์สร้างสรรค์และ อธกิ ารบดสี ถาบันบณั ฑิตพัฒนศิลป์
บรรยายพิเศษ โดย (นางนิภา โสภาสมั ฤทธ)์ิ
นายกสภาสถาบันบณั ฑิตพัฒนศลิ ป์ พธิ กี ร : อาจารยน์ ิติพงษ์ ทบั ทิมหนิ
(ศาสตราจารยก์ ติ ตคิ ณุ ดร.บวรศกั ดิ์ อวุ รรณโณ)
- พิธีมอบเกียรติบัตรเจา้ ภาพร่วมและผนู้ ำเสนอ
ผลงาน
09.45 – 10.00 น. การแสดงพธิ เี ปิดการนำเสนอผลงานนาฏศิลป์
สร้างสรรค์ ชดุ สยามภารตะ โดย
คณะศลิ ปนาฏดุริยางค์
10.00 – 16.00 น. การนำเสนอผลงานนาฏศิลป์สร้างสรรคจ์ าก พิธกี ร : อาจารยญ์ าณวุฒิ ไตรสุวรรณ
สถาบนั อุดมศึกษาตา่ ง ๆ ดังนี้
-มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์
ในพระบรมราชูปถัมภ์
-มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
-มหาวิทยาลัยราชภฏั ภเู ก็ต
-วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปและหน่วยงานในสังกดั สถาบนั
บัณฑติ พฒั นศลิ ป์
หมายเหตุ : กำหนดการอาจมีการเปล่ยี นแปลงตามความเหมาะสม
97
กำหนดการ
การนำเสนอผลงานนาฏศิลปส์ รา้ งสรรคร์ ะดบั ชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศลิ ป์ คร้งั ท่ี 5
วนั ศกุ ร์ท่ี 17 ธันวาคม 2564
นำเสนอรปู แบบออนไลน์ ผา่ น ZOOM
เวลา กิจกรรม วทิ ยากร
09.00 – 16.00 น. การนำเสนอผลงานนาฏศลิ ปส์ ร้างสรรค์จาก พิธีกร : อาจารย์ญาณวุฒิ ไตรสวุ รรณ
สถาบนั อุดมศึกษาตา่ ง ๆ ดังนี้
1.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั
2.มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
3.มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา
4.มหาวทิ ยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์
ในพระบรมราชูปถัมภ์
5.มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
6.มหาวิทยาลัยราชภฏั บุรรี ัมย์
7.มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบรุ ี
8.มหาวทิ ยาลัยนเรศวร
9.มหาวิทยาลัยพะเยา
10.มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี
11.มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม
12.มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั นครราชสีมา
13.มหาวิทยาลยั ราชภัฎเชยี งใหม่
14.วิทยาลัยนาฏศิลปและหน่วยงานในสังกดั
สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์
หมายเหตุ : กำหนดการอาจมีการเปลีย่ นแปลงตามความเหมาะสม
10 8
ลำดับชดุ การแสดงผลงานนาฏศิลปส์ รา้ งสรรค์ วันที่ 16 ธันวาคม 2564 ณ โรงละครวังหนา้ สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศิลป์
ลำดับ ช่ือชุดการแสดง ชื่อสถาบัน ผ้สู ร้างสรรค์
1 สยามภารตะ คณะศลิ ปนาฏดรุ ยิ างค์ คณะศลิ ปนาฏดรุ ิยางค์
สถาบนั บัณฑิตพัฒนศิลป์ สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศลิ ป์
2 นางอุทุมพรพิษฐาน โครงการบณั ฑติ รองศาสตราจารย์ ดร.ศภุ ชยั จันทรส์ วุ รรณ์
สถาบันบณั ฑติ พัฒนศลิ ป์ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุขสนั ติ แวงวรรณ
3 นาคขอบวช มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ นายณรงคช์ ัย ไกรวารี
ในพระบรมราชูปถมั ภ์ อาจารย์ ดร.นฏั ภรณ์ พลู ภกั ดี
อาจารย์ ดร.ลกั ขณา แสงแดง
อาจารยม์ นทริ า มะโนรินทร์
4 การแสดงนาฏศลิ ป์ไทย วิทยาลยั นาฏศิลปลพบรุ ี อาจารย์ภกู ิจ พาสนุ นั ท์
สรา้ งสรรค์ ชดุ ลงสรงชาตรี สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศลิ ป์
5 ลายสาน มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภาวณิ ี บุญเสริม
6 นิพพานะ ปัจจะยะ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ภเู กต็ นักศกึ ษาและคณาจารย์
สาขาวชิ าศลิ ปะการจัดการแสดง
7 เสน่ห์สาริกา วทิ ยาลัยนาฏศลิ ป อาจารย์ประจำสาขานาฏศลิ ป์ไทย
สถาบนั บัณฑติ พัฒนศลิ ป์
8 นาฏยประดษิ ฐ์ : อษุ าทรงเคร่ือง คณะศลิ ปนาฏดรุ ยิ างค์ อาจารย์คัทรยี า ประกอบผล
ตามแนวทางละครดึกดำบรรพ์ สถาบนั บัณฑิตพัฒนศลิ ป์
9 นาฏศิลปส์ ร้างสรรค์ ชุด วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปลพบุรี อาจารย์ตรีรัตน์ วิสทุ ธิพนั ธ์
เทพโี ภคทรัพย์ สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์
10 เทพพระราหทู รงครุฑ วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปลพบุรี อาจารยอ์ นัส มาลาวงษ์
สถาบันบณั ฑติ พัฒนศิลป์
11 ผลงานสรา้ งสรรค์การแสดง วิทยาลยั นาฏศิลปสพุ รรณบุรี วา่ ทรี่ อ้ ยตรอี ลมั พล สงั ฆเศรษฐี
ชุด นักรบนบนเรศวร์ สถาบันบณั ฑิตพฒั นศิลป์
12 รามสรู สัปยุทธเทพบตุ รอรชนุ โครงการบัณฑติ ดร.สรุ ัตน์ จงดา
สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศิลป์
13 ผลงานสร้างสรรค์การแสดงเพลง วิทยาลยั นาฏศลิ ปสพุ รรณบรุ ี นางวรรณา แก้วกวา้ ง
ทรงเครอ่ื ง เร่ือง ตำนานเดมิ บาง สถาบันบณั ฑิตพฒั นศลิ ป์
นางบวช
11 9
ชอื่ ชุดการแสดง สยามภารตะ
หนว่ ยงาน คณะศลิ ปนาฏดุรยิ างค์ สถาบันบัณฑติ พัฒนศิลป์
ผู้สรา้ งสรรค์ คณะศลิ ปนาฏดรุ ิยางค์ สถาบันบณั ฑติ พฒั นศลิ ป์
แนวคิดในการสร้างสรรค์งานแสดง
นาฏยศาสตร์ เป็นคัมภีร์เก่าแก่ที่เกี่ยวกับศิลปะการแสดงทางดา้ นนาฏกรรม บันทึกโดยพระภรตมนุ ีส่งอิทธิพลต่อ
ลักษณะการแสดงของนานาประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงประเทศไทย คณะผู้ สร้างสรรค์จึงเกิดแรง
บนั ดาลใจในการสรา้ งสรรคก์ ารแสดง โดยสื่อให้เหน็ ถงึ ความสัมพันธด์ ้านความเช่ือ ความศรัทธา ดา้ นความงามในการ่ายรำ
ที่เป็นเอกลักษณ์ เปน็ การผสมผสานระหว่างนาฏศิลปภ์ ารตะและนาฏศิลปไ์ ทย
รูปแบบการแสดง
การแสดงสร้างสรรค์ชุด สยามภารตะ ใช้กระบวนท่าราํ การเคล่อื นไหวแบบนาฏศิลปอินเดียประเภทโอดสิ สี ภารต
นาฏยมั สลับกับทาราํ ตนแบบของการแสดงราชสาํ นกั ของไทยแบง่ การแสดงออกเปน็ 3 ชว่ ง คอื
ช่วงท่ี 1 นาฏยบูชา สอื่ ถงึ การบชู าเทพเจ้าตามรอยเสน้ ทางวัฒนธรรมและศาสนาในสมัยโบราณ
ช่วงที่ 2 นาฏยศาสตร์ สื่อถึงการใชรูปแบบการรําที่เกาแกของสองวัฒนธรรมอินเดียและไทยคือ ภารตนาฏยัม
และทารําจากตําราราํ แมบทสมยั อยธุ ยา
ช่วงที่ 3 นาฏยศิลป์ สื่อถึงความสัมพันธ์ของศิลปวฒั นธรรมดา้ นนาฏศิลปท์ ีส่ ืบสานจากตำรารำกับการร่ายรำนาฏ
ราชสู่สยามภารตะ
องคป์ ระกอบในการแสดง
- ผูแ้ สดง ประกอบด้วย ผูแ้ สดงจํานวน 20 คน กําหนดเปน็ นกั แสดงชาย 10 คน นักแสดงหญิง 10 คน
- เครื่องแตงกาย เปนการผสมผสานรูปแบบเครื่องแตงกายนาฏศิลปไทยราชสํานักกับเครื่องแตงกายนาฏศิลป
อนิ เดียแบบภารตะนาฏยมั
- เพลงหรือดนตรี ซึ่งมีหลักการออกแบบทวงทํานองเพลงจากหลักการใชเครื่องดนตรีและการแตงทํานองจาก
คมั ภีรโบราณ “สงั คตี รตั นการ”
12 10
ชื่อชุดการแสดง การแสดงละครนอก ชดุ นางอุทมุ พรพิษฐาน
หน่วยงาน โครงการบณั ฑติ ศึกษา สถาบันบณั ฑติ พฒั นศิลป์
ผสู้ รา้ งสรรค์ รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภชัย จันทร์สุวรรณ์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุชสันติ แวงวรรณ,
นายภัทรพล จติ รานนท์, นางสาวเบญจวรรณ ไวยเนตร
แนวคดิ ในการสร้างสรรค์งานแสดง
การแสดงชุดนี้ เป็นส่วนหนึ่งของผลงานสร้างสรรค์การแสดงละครนอก เรื่องพระไชยทัต ตอน ชิงนางอุทุมพร
กล่าวถงึ ตอนที่นางอุทุมพร ไดต้ ั้งจิตอธิษฐานอัญเชิญเทวดาให้มาคุ้มครอง ในขณะประกอบพิธบี ชู าเพื่อเส่ียงทาย ในกรณีท่ี
มียักษ์คนธรรพ์ แปลงตัวเป็นพระไชยทัตผู้เป็นสามีแล้วเกิดการต่อสู้กันระหว่างพระไชยทัตองค์จริงกับพระไชยทัตองค์ที่
แปลงมา
รปู แบบการแสดง
เป็นรูปแบบการแสดงรำเดี่ยว ประกอบด้วย กระบวนรำตีบทในเพลงวิลันดา และกระบวนรำประกอบเพลงหน้า
พาทย์ตระนาง โดยมีครูจินดารัตน์ วิริยะวงศ์ และครูอัจฉรา สุภาไชยกิจ เป็นที่ปรึกษาและประดิษฐ์กระบวนท่ารำร่วมกับ
คณะผู้สร้างสรรค์
องคป์ ระกอบในการแสดง
- ผู้แสดง ใช้ผู้แสดงหญิง รับบทบาทเป็นนางอุทุมพร แต่งกายยืนเครื่องนาง ลักษณะนางสีดาบวช ตามรูปแบบ
พระราชประดษิ ฐ์ ในพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยหู่ วั สวมกระบงั หนา้
- เพลงหรือดนตรี ใช้วงปี่พาทย์เครือ่ งหา้ บรรเลงประกอบการแสดง ประกอบด้วยเพลงจำนวน 2 เพลง คือ เพลง
วลิ นั ดาและเพลงหน้าพาทย์ตระนาง เพลงวลิ นั ดาเป็นเพลงในอัตราจังหวะ 2 ชั้น สว่ นเพลงหนา้ พาทยต์ ระนาง เป็นเพลงใน
ประเภทเพลงตระ 2 ชั้น 4 ไม้ลา รัว ลาเดียว แต่เดิมใช้สำหรับบรรเลงประกอบในพธิ ีไหวค้ รู เพื่ออัญเชิญเทพเจ้าฝ่ายนาง
เช่น พระอมุ า พระลักษมี และพระสรุ สั วดี แต่ไมม่ ีกระบวนทา่ รำ
11
13
ช่อื ชดุ การแสดง นาคขอบวช
หนว่ ยงาน สาขาศลิ ปะการแสดง คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์
ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
ผสู้ ร้างสรรค์ นายณรงคช์ ยั ไกรวารี
อาจารย์ ดร.นัฏภรณ์ พลู ภักด,ี อาจารย์ ดร.ลกั ขณา แสงแดง,อาจารย์มนทริ า มะโนรินทร์(ท่ปี รกึ ษา)
แนวคิดในการสร้างสรรคง์ าน
คณะผ้สู ร้างสรรคไ์ ด้แรงบนั ดาลใจมาจากตำนานเร่ืองนาคขอบวช ในพระไตรปิฎก เล่มท่ี 4 พระวินัยปิฎก เล่มท่ี 5
มหาวรรค ภาค 1 ซึง่ นาคแปลงกายเป็นมนษุ ยม์ าขอบวช เม่อื ครัน้ ราตรหี ลังนาคเต็มไปดว้ ยงู พระผู้มพี ระภาคทรงประทาน
พระพุทโธวาทนี้แก่นาคนั้นว่า พวกเจ้าเป็นนาคมีความไม่งอกงามในธรรมวินัยนี้ ไปเถิดเจ้านาค นาคตนนั้นจึงขอพระผู้มี
พระภาคว่า หากตนบวชเปน็ ภกิ ษุไมไ่ ด้ กข็ อใหใ้ ช้คำว่านาค กอ่ นจะบวชเป็นภกิ ษุด้วยเถิด พระผมู้ ีพระภาครบั คำ ดงั ตำนาน
ข้างตน้ คณะผ้สู ร้างสรรค์จงึ สนใจท่จี ะศกึ ษาเรอ่ื งนาคขอบวช ในรูปแบบนาฏศิลปร์ ว่ มสมัย
รปู แบบการแสดง
การแสดงสรา้ งสรรค์นาฏศลิ ป์ร่วมสมยั ชุด นาคขอบวช แบ่งออกเปน็ 3 องก์ ดงั น้ี
องก์ท่ี 1 อโห วต (อะ-โห-วะ-ตะ) คือ พญานาคตนหนงึ่ ไดบ้ วชเปน็ พระ ในขณะน้นั จติ ของพญานาคก็หลดุ
องก์ท่ี 2 สทธฺ า (สทั -ธา) คือ พญานาคได้ขอพระพทุ ธเจ้าบวชแตถ่ กู ปฏเิ สธ จึงขอพระพทุ ธเจา้ ให้ใช้คำว่านาค ก่อน
บวชเปน็ พระ
องก์ท่ี 3 อนุโมทน (อะ-น-ุ โม-ทะ-นะ) คือ การบวชนาคแบบปัจจุบัน
องค์ประกอบในการแสดง
- นกั แสดง 13 คน แบง่ เป็น นกั แสดงผู้ชายจำนวน 5 คน นกั แสดงผู้หญิงจำนวน 8 คน
- เครื่องแต่งกาย ประกอบด้วย นักแสดงพญานาคแต่งกายโดยการเพ้นท์ตัว สวมโจงสีแดงเลือดหมู ใส่กำไลทอง
และจอนหู นักแสดงหญิงใส่เกาะอกสีขาว ห่มสไบสีขาวและใส่กระโปรงสีขาว ทรงผมมวยต่ำทัดดอกไม้ นักแสดงชายใส่
บอดส้ี ูทสขี าว กางเกงจีบพลสี สขี าว ห่มสไบสขี าว
- เพลงหรือดนตรี ใช้เสียงโหม่ง เสียงกลอง เสียงระนาดบรรเลง อีกทั้งมีการใช้เสียงสังเคราะห์เป็นเสียงของ
พญานาค เสียงน้ำตก เสยี งลม เสียงสัตว์ เสยี งใบไม้ เสยี งแหล่ บทสวด และการใชเ้ สยี งรอ้ งการทำขวญั นาค เสยี งกลองยาว
เสยี งโหร่ อ้ ง เสยี งตบมือ เพ่ือสอื่ ถงึ การบวชนาค การออกแบบอุปกรณ์ประกอบการแสดง ไดส้ ือ่ ความหมายในเชงิ สัญลักษณ์
ไดแ้ ก่ ผา้ ดบิ สขี าว ผ้ากาว 11 สี ทองคำเปลว และเชอื กเหนยี วใยยักษ์
14 12
ช่ือชดุ การแสดง นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชดุ ลงสรงชาตรี
หน่วยงาน วิทยาลัยนาฏศิลปลพบรุ ี สถาบันบณั ฑิตพฒั นศลิ ป์
ผู้สร้างสรรค์ อาจารยภ์ กู จิ พาสนุ ันท์
แนวคิดในการสรา้ งสรรค์งาน
ลงสรงชาตรี เป็นทำนองเพลงร้องท่ีสรา้ งสรรคข์ ้ึนใหม่เพื่อใชบ้ รรจุในการรำลงสรงชาตรี สำหรับตัวละครพระสธุ น
เรื่องมโนห์รา เป็นการประพันธ์บทร้องที่อธิบายถึงการอาบน้ำแต่งตัวของพระสุธนเพื่อจะออกไปรบหลังจากที่ได้ฝากนาง
มโนห์ราไวก้ บั พระมารดา มกี ระบวนทา่ รำท่ีแสดงถงึ อัตลักษณ์ของละครรำอย่างละครชาตรี
รปู แบบการแสดง
ลงสรงชาตรี เป็นละครรำที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ โดยยึดจารีตอย่างโบราณของละครในและละครนอกแบบหลวง
รวมท้งั รูปแบบการแสดงละครเร่ืองมโนหร์ าของกรมศิลปากร โดยมขี ้ันตอนการแสดง ดังนี้
ชว่ งที่ 1 “คะนงึ อนงค์” หลงั จากทีพ่ ระสุธนไดล้ านางมโนห์ราและฝากไว้กับพระมารดาแลว้
ชว่ งท่ี 2 “ลงสรงชาตรี” พระสุธนอาบนำ้ แต่งตัว ซึง่ ในการลงสรงคร้งั น้มี กี ารอปุ มาถึงนางมโนห์ราผู้เป็นที่รักดว้ ย
องคป์ ระกอบในการแสดง
- ผ้แู สดง รบั บทเปน็ พระสุธนในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชดุ ลงสรงชาตรี จะต้องผ่านกระบวนการเรียน
ตัวพระ มีพื้นฐานการร่ายรำ มีความขยันอดทน มีประสบการณ์ในการแสดง เป็นผู้ที่มีบุคลิกลักษณะที่ตรงกับบทบาทของ
ตัวละคร และเป็นผทู้ ม่ี สี ติปัญญาเฉลียวฉลาดมีความจำทด่ี ีสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหนา้ ไดเ้ หมือนอยูบ่ นเวที
- เครื่องแต่งกาย แต่งกายยืนเครื่องตัวพระแขนสั้นสีน้ำเงินก่ำอย่างโบราณปักลวดลายตวั เสื้อ “สธน” เพื่อแสดง
ถึงอัตลักษณ์เฉพาะของการแสดง สวมเทริดที่มีแบบการประดิษฐ์สร้างจากเทริดอย่างละครชาตรีของกรมศิลปากรและ
เทรดิ โนรา รวมทงั้ เพม่ิ เติมเกราะและรองเทา้ ตามบทประพนั ธ์ของการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทยสรา้ งสรรค์ ชดุ ลงสรงชาตรี
- เพลงหรือดนตรี ใช้วงดนตรีปี่พาทย์ชาตรี มีการประพันธ์บท ทำนองเพลงร้องลงสรงชาตรี และบรรจุเพลง
แสดงถงึ จุดมุ่งหมายของตัวละครที่ชัดเจน เรมิ่ ด้วยเพลงเทพชาตรี ต่อดว้ ยเพลงลงสรงชาตรี แลว้ จึงจบด้วยเพลงเสมอ ตาม
ขนั้ ตอนของกระบวนการรำลงสรง
- อุปกรณ์ คันฉ่อง เคร่ืองพระสำอาง ขันสรงน้ำ พระขรรค์ เตยี ง ต่ัง
1513
ชอ่ื ชุดการแสดง ลายสาน
หน่วยงาน คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
ผู้สรา้ งสรรค์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาวณิ ี บุญเสริม
แนวคดิ ในการสร้างสรรค์งาน
การแสดงชุดลายสาน เป็นนาฏศิลป์สร้างสรรค์ที่ได้รับแรงบันดาลใจจาก งานจักสาน ซึ่งเป็นงานหัตถศิลป์อย่าง
หนึ่งที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาเป็นเวลาช้านาน งานจักสานเป็นภูมิปัญญาพื้นบ้านในการทำเครื่องมือเครื่องใช้โดยใช้วัสดุ
ธรรมชาติ มาจัก ขัด และสาน จนเกิดลวดลายท่ีสวยงาม งานสานเหล่าน้ีนอกจากจะแสดงถึงความคดิ สร้างสรรค์ และฝีมือ
อันประณีตของคนไทยแล้ว ยังสะท้อนถึงวิถีชีวิต ความเชื่อ ประเพณีท้องถิ่น อันถือว่าเป็นหัตถกรรมอันทรงคุณค่าของ
สังคมไทย
รูปแบบการแสดง
การแสดงชุดนี้ได้สร้างสรรค์ถ่ายทอดออกมาในรูปแบบนาฏศิลป์ไทยร่วมสมัยที่มีการผสมผสานทั้งความเป็นไทย
และตะวันตก โดยแบ่งการแสดงออกเปน็ 3 ช่วง คือ
ช่วงที่ 1 “วิถีชีวิต” เป็นการแสดงถึงวิถีชีวิตของชาวบ้านในชนบท ที่มีการใช้เครื่องจักสานในการดำรงชีพใน
ชีวติ ประจำวัน เช่น การใชเ้ ปน็ สุ่มจับปลา ข้อง ไซ กระบงุ กระจาด ตะกร้า เปน็ ต้น
ช่วงที่ 2 “เสน้ สายลายสาน” เป็นการแสดงให้เห็นถึงความงามของวัสดุจากธรรมชาติ ท่ีถกู นำมาสอดประสานจน
ขนึ้ เป็นลวดลายตา่ งๆ ผ้สู ร้างสรรคต์ อ้ งการนำเสนอกรรมวิธีการจักสาน ซ่ึงเปน็ เบ้ืองหลังของความประณีตสวยงามของงาน
หัตถศิลป์
ช่วงที่ 3 “ต่อยอดสร้างสรรค์” เป็นการออกแบบสร้างสรรค์โดยแสดงให้เห็นถึงการนำงานจักสานไปประยุกต์ให้
ทนั สมยั ในวิถปี ัจจบุ ัน
องค์ประกอบในการแสดง
- ผแู้ สดง เปน็ ผู้แสดงหญิงที่มีทักษะพนื้ ฐานทง้ั นาฏศิลป์ไทยและตะวันตก จำนวน 6 คน
- เคร่ืองแตง่ กาย เป็นการแต่งกายแบบไทยร่วมสมัย ออกแบบโดยไดร้ บั แรงบนั ดาลใจจากโครงสรา้ งของงานจักสาน
- เพลงหรือดนตรี เป็นเพลงแนวดนตรีร่วมสมัยแบบแต่งขึ้นใหม่ (New Composition) เพื่อใช้สร้างบรรยากาศ
ในการแสดง โดยมกี ารแบ่งช่วงทำนองออกเป็น 3 ช่วง คอื ช่วงแรกแสดงถงึ บรรยากาศวถิ ีชวี ติ ในชนบท ชว่ งท่สี องเปน็ การ
สร้างจังหวะแสดงท่วงท่าของการจักสานและช่วงสุดท้ายแสดงถึงท่วงทำนองของการเดินทางนำเครื่องจักสานไปสู่ความ
ร่วมสมัย
- อุปกรณ์ เส้นหวายและงานจักสานในรูปแบบร่วมสมัย
16 14
ช่อื ชดุ การแสดง นพิ พานะ ปัจจะยะ
ชื่อหน่วยงาน มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏภูเกต็
ผูส้ รา้ งสรรค์ นักศกึ ษาและคณาจารย์ สาขาวชิ าศลิ ปะการจดั การแสดง มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏภูเกต็
แนวคดิ ในการสรา้ งสรรคง์ าน
การศึกษาภาพจิตรกรรมสีฝุ่นโบราณ เรื่องราวภาพพุทธประวัติทศชาติชาดกบนฝาผนังปูนในพระอุโบสถวัด
มัชฌิมาวาสวรวิหาร อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา โดยช่างหลวงสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
รชั กาลที่ 4
รปู แบบการแสดง
รปู แบบการแสดงเป็นนาฏยศิลปร์ ว่ มสมัย โดยใช้กระบวนท่านาฏยศิลป์พ้ืนเมืองภาคใต้และท่านาฏยศิลป์ไทยเป็น
ท่าเชื่อม โดยแบ่งออกเป็น 4 ช่วง 1) พุทธศิลป์ การนำเสนอภาพจิตรกรรมพุทธประวัติทศชาติชาดก 2) พุทธศาสน์ ความ
เลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาและหลักคำสอน 3) พุทธองค์ ภาพสัญญะแห่งสติปัญญา ร่างกาย จิตใจซึ่งเป็นบ่อเกิด
ของกเิ ลสตัณหา 4) พทุ ธภูมิ ศาสนาแนวทางความหลุดพ้นของกเิ ลสตณั หาและการเข้าสู่พระนิพพาน
องค์ประกอบในการแสดง
- ผู้แสดง ผแู้ สดงเป็นผู้หญิง จำนวน 10 คน เพื่อสือ่ ความหมายภาพจิตรกรรมทศชาติ 10 พระชาติ
- เครอ่ื งแตง่ กาย แรงบันดาลใจจากภาพพุทธประวัติทศชาติชาดก ด้วยเทคนิคการเพ้นท์คอมพิวเตอร์ กราฟฟิกส์
บนผนื ผา้ สไบ อกี ทัง้ การนำผ้าทอพ้ืนเมืองจงั หวัดสงขลา (ผ้าเกาะยอ) มาตัดเยบ็ เป็นผ้าน่งุ โดยกำหนดสีทองและสีขาว เพื่อ
ส่อื ความหมายแห่งความรุ่งเรอื งของพระพทุ ธศาสนา ตลอดจนการกำหนดแนวคิดของเครื่องประดับโดยมีท่ีมาจากรูปแบบ
และลวดลายหน้าบันพระอุโบสถวัดมัชฌิมาวาสวรวิหาร ศีรษะจำลองมาจากเทริดมโนราห์ ซึ่งเป็นเครื่องประดับศีรษะ
ชน้ั สงู ของศิลปะการพน้ื บ้านภาคใต้
- เพลงหรือดนตรี บทร้องภาษาพ้นื ถิ่นภาคใต้และทำนองดนตรพี ืน้ เมืองภาคใต้ตอนบนร่วมสมยั
1715
ชอ่ื ชดุ การแสดง เสนห่ ์สาริกา
หน่วยงาน วิทยาลัยนาฏศิลป สถาบนั บัณฑติ พฒั นศิลป์
ผู้สร้างสรรค์ วิทยาลัยนาฏศลิ ป
แนวคดิ ในการสรา้ งสรรคง์ าน
เทพสาริกา มาจากคติความเชื่อแบบพุทธ ปรากฏอยู่ใน ‘ไตรภูมิพระร่วง’ หรือ ‘เตภูมิกถา’ วรรณกรรมพุทธ
ศาสนาเก่าแก่สมัยสุโขทัย “จักรวาลวิทยา” ภพทั้งสามคือ กามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ อนึ่งป่าหิมพานต์เป็นเหมือนพื้นที่ที่ไม่
สน้ิ สดุ ในการสรา้ งสรรค์ ความเปน็ มาของเทพสาริกามีฤทธ์ิทำให้เกิดเปน็ ทร่ี ักเป็นที่เมตตาแกผ่ ู้พบเห็น และเจรจาในการค้า
ขาย มีโชคลาภจากการเจรจาต่อรอง ทั้งในเรื่องความรัก เมตตามหานิยม การเข้าสังคม บริวารและเจ้านาย ผู้คนจะนิยม
ชมชอบ ค้าขายดี โดยเฉพาะที่ผู้ประกอบอาชีพเกี่ยวกับการพูดเจรจา จากความเชื่อและความศรัทธาจึงแนวคิดในการ
สรา้ งสรรคช์ ดุ เสน่หส์ ารกิ า
รูปแบบการแสดง
ผู้สรา้ งสรรคก์ ำหนดการแสดงแบบนาฏศิลป์ไทยโดยนำท่ารำในลักษณะท่าแม่บทใหญ่ท่ีมีความสัมพันธ์กับสัตว์ปีก
และทา่ ทางธรรมชาติของนกกำหนดการแสดงในรูปแบบระบำ โดยแบ่งเปน็ 3 ช่วง ช่วงที่ 1 สรรเสรญิ ปลกุ เทพสาริกา นำ
โดยการสวดพุทธคุณอัญเชิญเทพสารกิ า ประกอบกับอ่านทำนองเสนาะ ประกอบการบรรเลงวงเครื่องสายเทียบเคยี งสมยั
สโุ ขทัย ช่วงที่ 2 ร่ายร่างเสน่หาสาริกา ปรากฏตัวเทพสาริกา ประกอบการแสดงโดยผู้แสดงใช้ท่าทางนาฏศิลป์ สื่อสารสู่
ความเชื่อความศรัทธาในความเป็นมงคลของเทพสาริกา ช่วงที่ 3 สัมฤทธิ์ผลเสน่หาดลมงคล เทพสาริกาประทาน
ความสำเร็จแดผ่ เู้ คารพ เกิดเป็นทีร่ กั เมตตาแกผ่ พู้ บเหน็ ผแู้ สดงจับระบำโดยใชท้ ่านาฏศลิ ป์ไทยและทา่ ธรรมชาติ
องคป์ ระกอบในการแสดง
- ผแู้ สดง เพศหญิงจำนวน 6 คน
- เครอ่ื งแต่งกาย เครื่องประดบั ประกอบด้วย 1.ศิราภรณ์รัดเกล้าประดับดอกไมท้ ัด 2.อาภรณ์ ผ้าเคียนอกทิ้งชาย
สไบ นงุ่ ผา้ รูปแบบหนา้ นาง 3.ถนิมพมิ พาภรณ์ เครอื่ งประดบั สที องประกอบพลอย ไดแ้ ก่ สร้อยคอ ต้นแขน ขอ้ มอื
- เพลงหรือดนตรี เนื้อร้องสรรเสริญและประพันธ์บทโดย อาจารย์จักรยุทธ ไหลสกุล อาจารย์ อธิพัชร์ สุวรรณ
วัฒนะ เพลงนำโครงสร้าง เพลงมโนราห์โอด เพลงสาริกาแก้ว เพลงสาริกาชมเดือน อัตราจังหวะ 2 ชั้น และ ชั้นเดียว วง
ดนตรีประกอบการแสดง วงปี่พาทย์ไม้นวม และนำเครื่องดนตรีกระจับปี่ ซอสามสาย พร้อมเสียงธรรมชาติ มา
ประกอบการแสดง
- อปุ กรณ์ ปีกขนนก ประดบั ด้วยวัสดสุ ีทองลายกนก ติดหลงั ผู้แสดงเพอื่ ส่ือถึงผแู้ สดงเป็นเทพสาริกา
18 16
ชื่อชุดการแสดง อุษาทรงเครอื่ ง : ตามแนวทางละครดกึ ดำบรรพ์
หนว่ ยงาน คณะศลิ ปนาฏดรุ ยิ างค์ สถาบันบณั ฑติ พฒั นศิลป์
ผสู้ ร้างสรรค์ อาจารยค์ ทั รียา ประกอบผล
แนวคิดในการสร้างสรรค์งาน
นาฏยประดิษฐ์ : อุษาทรงเครื่องตามแนวทางละครดึกดำบรรพ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการรำลงสรงทรงเครือ่ ง
ตัวนางซ่ึงผู้วิจัยศึกษาบทลงสรงทรงเครื่องตัวนางในวรรณคดีเรื่องอุณรุท โดยเลือกตัวละครเอก“นางอุษา” นางเอกของ
เร่อื งอุณรทุ โดยศึกษาจารีตกระบวนทา่ รำ โครงสรา้ งตามหลักนาฏศลิ ป์ ประดิษฐ์ทา่ รำลงสรงทรงเครอ่ื งตวั นางชุดใหม่ จาก
บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เรื่องอุณรุท ตอน ท้าวกรุงพาณให้หาเทวามานิมิต
ปราสาทใหน้ างอษุ า โดยนำเสนอรูปแบบการแสดงท่ีแตกต่างจากรปู แบบเดิม แต่ยงั คงใช้แนวทางนาฏจารีตแบบด้ังเดิมเป็น
หลัก ซงึ่ ผู้วิจยั เกิดแนวคิดการสรา้ งสรรคแ์ นวทางใหม่ในรปู แบบการแสดงละครดึกดำบรรพ์
รปู แบบการแสดง
ผู้สร้างสรรค์มุ่งเน้นอัตลักษณ์นางเอกตามจารีตละครใน นำเสนอผ่านรปู แบบละครดึกดำบรรพ์ ซึ่งลักษณะพิเศษ
สำคัญ คอื ผแู้ สดงต้องรำและรอ้ งเพลงดว้ ยตวั เอง ผแู้ สดงต้องมกี ระแสเสยี งท่ีดีสามารถร้องเพลงได้อย่างไพเราะ
องคป์ ระกอบในการแสดง
- ผ้แู สดง เพศหญงิ 1 คน โดยพจิ ารณาจากคณุ สมบตั พิ ืน้ ฐาน คอื จะตอ้ งเปน็ ผทู้ ่มี ใี บหน้างดงามเปน็ รูปทรงไข่ หรือ
ใบหน้ากลมลักษณะอื่นๆ บนใบหน้าดูสมส่วนเพื่อให้รับกับรัดเกล้า มืออ่อน แขนอ่อน รูปร่างไม่สูงใหญ่นัก ท่าทางดู
อ่อนหวานนุ่มนวลเพราะการแสดงที่เป็นตัวนาง และคุณสมบัติสำคัญ ผู้แสดงจะต้องรำและร้องเพลงด้วยตัวเอง ตาม
รูปแบบนาฏยจารตี แบบหลวงละครใน
- เครื่องแต่งกาย ผู้สร้างสรรค์ได้ศึกษาลักษณะการแต่งกายอย่างโบราณ โดยใช้ลักษณะการแต่งกายตามภาพท่ี
ปรากฏในสมัยรชั กาลที่ 4 โดยแต่งกายยืนเคร่อื งนางแบบต้นกรงุ รตั นโกสินทร์ ศิราภรณร์ ัดเกล้ายอด ผา้ ห่มนางสีเขียวขลิบ
แดง พร้อมด้วยเครื่องถนมิ พิมพาภรณ์
- เพลงหรือดนตรี ผู้ศึกษาบทละครใน เรื่อง อุณรุท ตามบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า
จุฬาโลกมหาราช ซึ่งผู้วิจัยจงึ ได้นำมาสรา้ งสรรค์เป็นชุดการแสดง บทร้องรำอุษาทรงเครื่องทำนองเพลง ประกอบด้วย 3
เพลง คอื เพลงต้นเขา้ ม่าน เพลงชมตลาด เพลงเรว็ ลา
- อปุ กรณ์ อุปกรณท์ ่ีใชใ้ นการลงสรงสุคนธ์ของการแสดงชุดน้ี ประกอบด้วย เตยี ง คันฉ่อง และพานพระสำอาง คือ
พานทีใ่ ช้จัดวางอปุ กรณ์ในการทรงสุคนธ์ ทง้ั ขวดน้ำหอม ผอบแปง้ และโถกระแจะ ซ่ึงเป็นอุปกรณ์ท่สี ำคัญในการรำ
1917
หน่วยงาน ชือ่ ชดุ การแสดง นาฏศลิ ป์สร้างสรรค์ ชดุ เทพโี ภคทรัพย์
ผู้สร้างสรรค์ วิทยาลัยนาฏศลิ ปลพบรุ ี สถาบนั บัณฑิตพฒั นศลิ ป์
อาจารย์ตรีรัตน์ วสิ ทุ ธพิ นั ธ์
แนวคิดในการสร้างสรรคง์ าน
นางกวัก” หรือ “แม่นางกวัก” เป็นเครื่องราง สิ่งศักดิ์สิทธ์ิท่ีอยู่คูก่ ับความเชือ่ ของคนในสังคมไทยมาอยา่ งช้านาน
อิทธิพลความเชื่อนี้ พบเจอได้ทั่วไปตามร้านค้า ตั้งแต่ธุรกิจระดับย่อยกระทั่งธุรกิจระดับใหญ่มักมีแม่นางกวักบูชา เพื่อ
ความเจริญก้าวหน้า ค้าขายร่ำรวย เมตตามหานิยม ใครเห็นใครรัก ด้วยเหตุนี้ผู้สร้างสรรค์จึงได้นำความเชื่อเรื่อง
“นางกวัก” มาเป็นแนวคิดและแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์การแสดงนำเสนอรูปแบบระบำที่สื่อถึงความเชื่อความ
ศรัทธาในนางกวักที่มีต่อสังคมไทยและการค้าขาย โดยใช้ท่ารำพื้นฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทยจากท่ารำเพลงช้า เพลงเร็ว
และแม่บทใหญ่ เป็นพื้นฐาน ผสมผสานท่ารำท่สี รา้ งสรรค์ข้นึ ใหมต่ ามรปู สัญญะของนางกวัก ในรูปแบบนาฏศิลป์สรา้ งสรรค์
โดยแบ่งการแสดงออกเปน็ 3 ช่วง คอื
ช่วงท่ี 1 เคารพรูป แสดงถงึ การเดินทางมาของอทิ ธิพลความเชื่อรูปเคารพนางกวัก
ชว่ งท่ี 2 แรงศรัทธา แสดงถงึ ความโดดเดน่ นางกวกั อิรยิ าบถรปู แบบตา่ ง ๆ ท่ที ำให้เกิดแรงศรัทธา
ช่วงที่ 3 ทวีโภคทรัพย์ แสดงถึง บังเกิดผลการบูชานำพาโชคลาภ ทรัพย์สินเงนิ ทอง คนรัก เมตตาและเกิดความ
สมบรู ณ์พลู สขุ แก่ผูบ้ ชู า
20 18
หน่วยงาน ชอ่ื ชุดการแสดง เทพพระราหทู รงครฑุ
ผู้สรา้ งสรรค์ วิทยาลยั นาฏศลิ ปลพบุรี สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศิลป์
อาจารย์อนสั มาลาวงษ์
แนวคดิ ในการสรา้ งสรรค์งาน
ในอดีตคนไทยเชื่อว่าพระราหูเป็นสัญลักษณ์ของความชั่วร้าย หรือสิ่งอัปมงคล แต่ทว่า ณ ปัจจุบันผู้คนใน
สังคมไทยได้ปรับเปลี่ยนคติทางความเชื่อ ให้พระราหูเป็นเชิงความหมายทางด้านความเป็นมงคลแสดงถึงความอุดม
สมบูรณ์ โชคลาภทรัพยส์ นิ และการเปลี่ยนผ่านดวงชะตาชีวิตไปสู่ความสมบูรณพ์ ูนสุขดว้ ยเหตุที่มนษุ ย์ยังคงแสวงหาที่ยึด
เหนี่ยวทางจิตใจ ต้องการแก้ไขเหตุการณ์อัปมงคล ความทุกข์ยากในชีวิตจึงเกิดความศรัทธานิยมบูชาเทพพระราหูเพื่อ
ภาวนาให้เทพพระราหูงดการประทานทุกข์โทษภัยร้ายที่จะบังเกิดขึ้นกับชีวิต บันดาลให้เกิดความสุขสมหวังจากร้าย
กลายเป็นดี ผู้สร้างสรรค์จึงได้นำคติความเชื่อ ทางโหราศาสตร์นี้ มาเป็นแรงบันดาลใจสร้างสรรค์ผลงานการแสดงใน
รูปแบบนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ผสมผสานกับจนิ ตนาการ โดยแบ่งชว่ งการแสดงออกเปน็ 2 ช่วง ดงั นี้
ช่วงที่ 1 ชาติกำเนิดเทพนพเคราะห์พระราหู กล่าวถึง การจุติของเทพพระราหูที่ถูกเทวบัญชาขึ้นโดยพระ
อศิ วร เทพพระราหผู ทู้ ี่มลี กั ษณะเป็นเทพอสรู ทรงพาหนะพญาครฑุ เวียนรอบไปตามแต่ละจกั รราศรี
ชว่ งที่ 2 บารมอี ำนาจศักดิส์ ิทธแ์ิ หง่ เทพพระราหู กลา่ วถึง เทพผูป้ ระทานโชคลาภทรัพย์สินความอุดมสมบูรณ์
อำนวยพรใหด้ วงชะตาเคราะห์รา้ ยกลายเป็นดีแก่ผทู้ ี่บูชากราบไหว้
นักแสดงแต่งกายในรูปแบบยืนเครื่องตามลักษณะของตัวละคร และมีท่วงทำนองดนตรีประกอบ การแสดงโดยมี
ทำนองดนตรีหลักบรรเลงโดยวงปี่พาทย์บรรเลงสอดล้อผสมผสานไปกับเสียงทำนองดนตรีซาวด์เอฟเฟกต์เสียง เพือ่ ถา่ ยทอดอารมณ์
ของชดุ การแสดงได้อยา่ งสมจรงิ ซ่งึ แบ่งออกเป็น 3 ชว่ ง ดังน้ี
ชว่ งท่ี 1 ใชจ้ งั หวะทำนองดนตรีสือ่ ให้รสู้ ึกถึงอำนาจ และบารมีแห่งการกำเนิดจุติเทพพระราหู
ช่วงที่ 2 เป็นเสียงดนตรีแบบดำเนินทำนอง และเพิ่มเสียงจังหวะกลอง (เพลงตุ้งติ้ง) เพื่อสื่อถึงพลังอำนาจการเหาะ
เหินอยู่บนช้นั ฟ้า สือ่ ถึงการเดนิ ทางเวยี นไปตามจักรราศี ทรงพญาครฑุ เป็นพาหนะ
ช่วงที่ 3 ทำนองดนตรีเพลงหน้าพาทย์ ตระเทวาประสิทธิ์ แสดงถึงการประสิทธิ์ประสาทพรดลบันดาลโชค
ลาภบารมีแกผ่ ู้ทก่ี ราบไหวบ้ ูชา
19
21
ชือ่ ชุดการแสดง นักรบ นบนเรศวร์
หน่วยงาน วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปสุพรรณบุรี สถาบันบณั ฑติ พัฒนศิลป์
ผสู้ ร้างสรรค์ ว่าที่ร้อยตรอี ลัมพล สังฆเศรษฐี
แนวคดิ ในการสรา้ งสรรคง์ าน
ผลงานสร้างสรรคก์ ารแสดง ชุด นกั รบนบนเรศวร์ มแี นวคดิ ในการสร้างสรรค์มาจากแรงบันดาลใจ ในความระลึก
ถงึ พระมหากรุณาธคิ ุณของสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช และเหลา่ ทหารผหู้ าญกลา้ ทเ่ี สียสละแรงกาย และแรงใจในการกอบ
กูเ้ อกราชของชาตไิ ทย ยังประโยชนใ์ หป้ วงชนชาวไทยไดม้ ีอิสรภาพจากการรุกรานของขา้ ศกึ ดังปรากฏในประวตั ิศาสตร์
ของชาติไทยท่ีไดจ้ ารึกไวใ้ นแผ่นดนิ
รปู แบบการแสดง
รูปแบบการแสดงแบ่งออกเป็น 3 ชว่ งดงั นี้
ช่วงท่ี 1 ตำนาน แสดงใหเ้ หน็ ถึงความสามารถ ความเกรียงไกร แสดงถงึ ความเข้มแข็งของเหล่าทหาร
ช่วงที่ 2 นกั รบ เปน็ การแสดงฝมี ือและชนั้ เชงิ ทางอาวธุ เขา้ ต่อสูป้ ระกอบดนตรีท่มี คี วามสนุกสนาน
ชว่ งท่ี 3 นบนเรศวร์ เปน็ การแสดงแสนยานภุ าพของเหล่าทหารไทย ความเกรยี งไกรของกองทัพท่ีมีความเข้มแข็ง
และสง่างาม
องค์ประกอบในการแสดง
- ผู้แสดง ผู้แสดงการแสดงสร้างสรรค์ชุด นักรบ นบนเรศวร์ ทั้งหมดเป็นชายล้วน 12 คน ผู้แสดงต้องเป็นผู้ที่มี
ทักษะทางดา้ นนาฏศิลป์ และตอ้ งมที กั ษะทางด้านกระบ่ีกระบองเปน็ อยา่ งสงู
- เครื่องแต่งกาย ได้รับแรงบันดาลใจ มาจากเครื่องแต่งกายของทหารจตุรงคบาท ดังปรากฏอยู่ข้างช้างทรง
อนุสาวรีย์สมเด็จพระศรีสุริโยทัย โดยแบ่งเครื่องแต่งกายตามลักษณะตัวละครออกเป็น 3 กลุ่มคือ ทหารจตุรงคบาท พล
ทหารหอกซดั -โล่ห์ และพลธง
- เพลงหรือดนตรี
บทร้อง ประกอบการบรรเลงดนตรีไทยผสมสากล เพื่อให้มีความร่วมสมัยของการแสดงให้เหมาะสม กับการ
สรา้ งสรรคก์ ารแสดง
22 20
ช่อื ชดุ การแสดง รามสรู สปั ยุทธเทพบตุ รอรชุน
หนว่ ยงาน วทิ ยาลัยนาฏศิลป สถาบนั บณั ฑิตพัฒนศิลป์
ผู้สรา้ งสรรค์ อาจารย์ ดร.สุรัตน์ จงดา
แนวคิดในการสรา้ งสรรค์งาน
นำแนวความจากส่วนหนึ่งของเรื่องรามเกียรติ์ในตอน รามสูรเมขลาและรามสูรรบอรชุน ซึ่งต่อมากลายเป็น
ตำนานการมาอธิบายเร่ืองการเกิดฝนตกฟ้าร้องฟ้าผา่ ซึ่งในการแสดงโขนแบบดั้งเดมิ มักจะแยกเป็นตอนขนาดยาวหรอื ตัด
เฉพาะเรื่องรามสูรเมขลา ในการแสดงสร้างสรรค์ชุดนี้ได้นำเอาการแสดงทั้งตอนมาแสดงเล่าเรื่องให้สั้นและกระชับเหมาะ
สำหรับผ้ชู มในยุคปัจจุบัน โดยนำแนวคดิ จากกระบวนท่ารบทา่ ขึน้ ลอยมาสรา้ งออกแบบท่าลอยแบบใหมใ่ นการรบ
รูปแบบการแสดง
ขน้ั ตอนการแสดงแบ่งเป็น 3 ชว่ ง คือ
1) เทวรื่นเรงิ
2) รามสรู ชิงดวงแก้ว
3) รามสูรสปั ยทุ ธเทพบตุ รอรชนุ
วิธีการสรา้ งสรรค์
ใช้หลกั การทางนาฏศลิ ป์ไทยประเพณี โขน ละคร และหลกั การรบ หลักการสรา้ งทา่ ขึ้นลอย มาสร้างสรรค์ท่าจับ
ทา่ ขึ้นลอยใหม่ เพ่อื ให้เหมาะสมกบั แสดง
องค์ประกอบในการแสดง
- ผู้แสดง ใช้ผู้แสดงเป็นชายและหญิง ได้แก่ เทวดา และอรชุน ใช้นักแสดงที่มีพื้นฐานโขนพระ นางฟ้าและนาง
เมขลา ใชน้ กั แสดงหญงิ ทีม่ ีพนื้ ฐานละครนาง รามสรู ใช้นักแสดงทีม่ พี ้นื ฐานโขนยักษ์
- เครอ่ื งแต่งกาย เคร่ืองแตง่ กาย แตง่ กายแบบยืนเครื่องพระนางและตวั ยักษ์ ใชก้ ารปักและสแี บบโบราณ
- เพลงหรือดนตรี วงดนตรีทีใ่ ช้ประกอบใชว้ งปพี่ าทย์เครื่องห้า บรรเลงเพลงหน้าพาทย์ตามหลักการนาฏศลิ ป์
ไทย ได้แกเ่ พลงเขิดฉงิ่ และเพลงเชดิ กลอง อีกท้ังเพลงท่ีแต่งใหม่โดยใชฆ้ อ้ งวงใหญ่ดำเนินทำนอง
- อุปกรณ์การแสดง ใชอ้ าวธุ สำหรับนกั แสดง ได้แก่ ศร พระขรรค์ ขวาน ลูกแก้ว
2321
ช่ือชุดการแสดง การแสดงเพลงทรงเครอ่ื ง เร่ือง ตำนานเดิมบางนางบวช
หนว่ ยงาน วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปสพุ รรณบุรี สถาบันบณั ฑติ พฒั นศลิ ป์
ผูส้ รา้ งสรรค์ นางวรรณา แกว้ กว้าง
แนวคิดในการสร้างสรรคง์ าน
เป็นการนำเค้าโครงของตำนานเดิมบางนางบวช อันเป็นตำนานเรื่องเล่าจังหวัดสุพรรณบุรี สู่การนำเสนอใน
รปู แบบของการแสดงเพลงทรงเครื่องซึ่งเป็นการแสดงพ้ืนบ้านทเี่ ลน่ เป็นเร่ืองราวใช้เพลงพ้ืนบ้านขบั รอ้ งประกอบการแสดง
โดยการประพนั ธบ์ ทขนึ้ ใหม่พร้อมสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมอันดงี าม เพิม่ ความสนุกสนานดว้ ยมกุ ตลกให้เหมาะสมกับ
ยุคสมัย มีตัวละครสำคัญตามตำนานและสร้างตัวละครที่เป็นตัวประกอบเพิ่มเติม ใช้วงปี่พาทย์บรรเลงประกอบ รวมทั้ง
สร้างสรรคร์ ะบำชุดสัน้ ๆ สอดแทรกในการแสดง
รูปแบบการแสดง
ประกอบด้วยเหตุการณ์การแสดง จำนวน 3 ฉาก เริ่มต้นการเปิดเรื่องด้วยระบำทุ่งรวงทอง ซึ่งเป็นระบำท่ี
สร้างสรรค์ใหม่ จากนั้นนำสู่สถานการณ์ของตำนานโดยใช้ตัวละครทั้งที่เป็นตัวละครหลักและตัวละครเสริมเป็นผู้ดำเนิน
เรอื่ งราวด้วยการขบั รอ้ งเพลงพ้ืนบา้ นและบทสนทนา
องคป์ ระกอบในการแสดง
- ผู้แสดง ประกอบดว้ ยผ้แู สดงที่ปรากฏตามตำนาน คือ นางพิมสลุ าไลยแ์ ละพรานสีนนท์ และผู้แสดงทเ่ี ป็นตัว
ประกอบท้ังชายและหญิง
- เครื่องแต่งกาย แต่งกายตามรูปแบบของชาวบ้านโดยเครื่องแต่งกายผู้แสดงชายประกอบด้วย กางเกงขาก๊วย
เสอื้ คอกลม ผ้าขาวม้า เครื่องแต่งกายผแู้ สดงหญงิ ประกอบด้วย ผา้ นุ่งซนิ่ ลายขวาง เส้ือคอกลมแขนสามสว่ น ซ่งึ ใช้ท้ังสีพื้น
และเปน็ ลวดลายทเ่ี น้นสีสนั สดใส ส่วนทรงผมปลอ่ ยยาวหรือมุ่นเกล้ามวยผม
- เพลงหรือดนตรี ใช้วงป่ีพาทย์เครอ่ื งหา้ บรรเลงประกอบ นำเพลงพืน้ บ้านมาขับร้องคอื เพลงอีแซว เพลงฉ่อย
เพลงเกีย่ วขา้ วและเพลงแหล่ นำเพลงหน้าพาทยเ์ บื้องต้นบรรเลงประกอบอากัปกริ ยิ าของตัวละคร
- อปุ กรณ์ มีอุปกรณ์หลกั ท่ีปรากฏในเร่ืองอันเก่ียวขอ้ งกับสถานการณ์และอปุ กรณ์เสริมเพือ่ ให้เกดิ ความสมจริง
ของการแสดง
22
24
ลำดับชุดการแสดงผลงานนาฏศลิ ป์สร้างสรรค์ วันท่ี 17 ธันวาคม 2564 รูปแบบออนไลน์
ลำดบั ช่อื ชุดการแสดง ชอื่ สถาบัน ผ้สู รา้ งสรรค์
1 นาฏยประดิษฐ์ ชุด มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพชรบรุ ี ผู้ชว่ ยศาสตราจารยจ์ ติ สภุ วัฒน์ สำราญรตั น
“สบื สานวิถคี น ชนชาติพันธ์ุ
กะเหรี่ยง”
2 สองนาคน้อย มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุบลราชธานี ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์วรางคณา วฒุ ชิ ว่ ย
อาจารย์จกั รวาล วงศ์มณี
3 ฝ่าฟนั มหาวิทยาลัยราชภฏั บ้านสมเด็จ อาจารยย์ ุทธนา อัครเดชานัฏ
เจ้าพระยา ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐภา นาฏยนาวิน
อาจารย์ ดร.เอกรตั น์ รงุ่ สว่าง
อาจารยไ์ กรศร จนั ทน้อย
4 SUSTAINABLE VRU มหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ อาจารยม์ นทิรา มะโนรินทร์
ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ อาจารย์ ดร.นฏั ภรณ์ พูลภกั ดี
อาจารย์ ดร.ลักขณา แสงแดง
5 อุณากรรณปันหยชี มสวนขวญั มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสุนันทา อาจารยม์ นัญชยา เพชรจู ี
6 อัปสราเนียงด็อฮทมรวั กบู ารเมย็ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสนุ นั ทา นายณฐั วุฒิ ย่งิ ยงยุทธ
นายกฤษฎา แฝงฤทธ์ิ
นางสาวณชั ชา วจนาภรณ์
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มณิศา วศนิ ารมณ์
7 ตีผ้ึงร้อยรงั มหาวิทยาลัยราชภฏั บุรีรัมย์ สาขาวชิ านาฏศิลป์
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบุรรี ัมย์
8 ขันธ์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั อาจารย์ ดร.ณัฐกานต์ บญุ ศริ ิ
อาจารย์ ดร.ศักย์กวนิ ศิรวิ ัฒนกุล
9 นาฏศิลป์สร้างสรรค์ ชุด มหาวทิ ยาลยั นเรศวร อาจารย์ณัฐวฒั น์ สิทธิ
“อศั จรรย์สุวรรณภูมิ” อาจารย์ภาควชิ าศิลปะการแสดง
คณะมนษุ ยศาสตร์
10 การแสดงชดุ สิทธิ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร นสิ ิตภาควิชาศลิ ปะการแสดง
คณะมนษุ ยศาสตร์
11 การแสดงชดุ ฮ้องขวญั มหาวทิ ยาลัยนเรศวร นสิ ิตภาควิชาศลิ ปะการแสดง
คณะมนุษยศาสตร์
25
ช่อื ชดุ การแสดง ชื่อสถาบัน 23
การแสดงชดุ มายาคติ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ลำดับ ผสู้ ร้างสรรค์
12 ถาดรกั เสนห่ ์สาวเมีย่ น มหาวิทยาลัยพะเยา นิสติ ภาควิชาศิลปะการแสดง
13 นาฏศลิ ป์สรา้ งสรรค์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล คณะมนุษยศาสตร์
ชุด ปลากา้ งพระร่วง ธญั บุรี นางสาวนุสรา ธนานุศกั ดิ์
14 นาฏศลิ ปส์ ร้างสรรค์ ชุด อาจารย์ภูดิท ศริ วิ ฒั นกุล
วิจิตราลีลาสลักไผ่ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล อาจารย์ธนันวรรณ ศรที รัพโยทัย
15 การแสดงสร้างสรรค์ ชดุ ธญั บุรี ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์สชุ ีรา อินทโชติ
16 พทุ ธบชู าปารมี วิทยาลยั นาฏศิลปสุพรรณบุรี อาจารย์ณัฏฐนนั ท์ จันนินวงศ์
การแสดงสร้างสรรค์ ชดุ สถาบันบณั ฑิตพัฒนศลิ ป์
17 วิทยาลยั นาฏศลิ ปสพุ รรณบรุ ี นางอนิ ทริ า พงษ์นาค
ฟายฟ้อนนางเอ้ สถาบนั บัณฑิตพัฒนศลิ ป์
18 การแสดงสร้างสรรค์ ชุด วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบรุ ี นางก่งิ ดาว สวัสดี
สถาบันบัณฑติ พฒั นศลิ ป์
19 แกว้ กลั ยา วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปนครศรีธรรมราช นางสาวพนิดา บุญทองขาว
นาฏศลิ ป์สร้างสรรค์ชดุ สถาบนั บัณฑิตพฒั นศิลป์
20 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎมหาสารคาม อาจารยก์ ฤษณะ สายสุนีย์
“กาตยานีศรอี มุ า”
21 ฉยุ ฉายนางมณโฑ มหาวิทยาลยั ราชภฎั นครราชสมี า สาขานาฏศิลปแ์ ละการละคร
22 มหาวทิ ยาลัยราชภฎั นครราชสีมา มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั มหาสารคาม
23 รำโทนโคราชสามคั คี
มฤคพทุ ธเสมาราม วิทยาลัยนาฏศลิ ปเชียงใหม่ อาจารย์ ดร.ชมุ พล ชะมะนา
24 สถาบันบณั ฑติ พัฒนศิลป์ นักศกึ ษาสาขาวชิ านาฏศลิ ป์ไทย
ป้าดเกงิ่ ตุ๊มเกงิ่ มหาวิทยาลยั ราชภัฎเชียงใหม่ ว่าท่ีรอ้ ยตรีปยิ ชาติ แกว้ มณี
ฟอ้ นเทวาอารักษข์ าท้าวทั้งส่ี ว่าทีร่ อ้ ยตรสี รายุทธ อ่องแสงคณุ
26 24
ช่ือชดุ การแสดง นาฏยประดิษฐ์ ชดุ สบื สานวิถคี น ชนชาตพิ นั ธุ์กะเหรีย่ ง
หน่วยงาน สาขาวิชานาฏศลิ ป์ศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพชรบุรี
ผสู้ ร้างสรรค์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารยจ์ ิตสภุ วัฒน์ สำราญรตั น
แนวคิดในการสร้างสรรคง์ าน
ผู้สร้างสรรค์การแสดง นาฏยประดิษฐ์ชุด “สืบสานวิถีคน ชนชาติพันธุ์กะเหร่ียง” มีแนวคิดที่จะสะท้อนให้เห็นถึง
วิถีชีวิต ความเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ ของชาวกะเหรี่ยง ในอำเภอหนองหญ้าปล้อง จังหวัด
เพชรบุรี ที่เป็นผลงาน ผ่านการทางแสดงที่สร้างสรรค์โดยใช้ท่ารำของนาฏศิลป์พื้นบ้าน สื่อให้เห็นถึงแนวคิดของการ
แสดง ที่อาศัยบริบท สภาพแวดล้อม ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีพิธีกรรมความเชื่อของสังคมพื้นฐาน มาวิเคราะห์ประกอบ
กับเอกสารและงานวจิ ัยท่ีเก่ยี วขอ้ ง สรา้ งสรรคเ์ ป็นผลงานการแสดง
รปู แบบการแสดง
รปู แบบการแสดง นาฏยประดิษฐ์ชดุ “สบื สานวถิ คี น ชนชาตพิ ันธกุ์ ะเหรยี่ ง” แบง่ ออกเปน็ 3 ชว่ ง ได้แก่ ช ่ ว ง ท่ี
1 หญิงสาวชาวกะเหรี่ยง จะมีความเชื่อเกี่ยวกับวิถีชีวิต ประเพณีพิธีกรรม โดยจะนิยมให้ผู้หญิงที่เป็นภรรยา ออกจาก
บา้ น ไปเก็บฝา้ ยมาทอ เปน็ ชดุ ทใ่ี ชใ้ นพธิ กี รรมของชาวกะเหรย่ี ง
ช่วงที่ 2 หลังจากที่ภรรยาของตน กลับมาจากการหาฝ้ายแล้ว ก็จะเป็นหน้าที่ของ คนในครอบครัวมีหน้าที่ ทำ
ความสะอาดฝา้ ย ต้มย้อมฝ้าย ตากฝา้ ยใหแ้ หง้ สุดท้ายกจ็ ะเปน็ กระบวนการทอ
ช่วงที่ 3 เป็นการนำผลิตภัณฑ์โอท็อป (Otop) ที่ผลิตจากไม้ไผ่ของ ชาวบ้านตำบลเขาบันได อำเภอหนองหญ้า
ปลอ้ ง จังหวัดเพชรบรุ ี
องค์ประกอบในการแสดง
- ผู้แสดง ผแู้ สดงเป็นนักศึกษาในสาขาวิชานาฏศิลป์ศกึ ษา คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพชรบุรี
- เครื่องแต่งกาย เป็นการออกแบบแต่งกายของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยง นักแสดงผู้หญิง เน้นสีที่มีความสดใส
สวยงามคงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของการโพกศีรษะ สื่อให้เห็นถึงการออกจากบ้านมาทำงาน นักแสดงชาย โพกศีรษะ
เครื่องประดบั ยังใช้เครอื่ งประดบั เงนิ โดยจะมกี ารแบง่ รูปแบบการแตง่ กายออกเป็นตามลักษณะของช่วงแสดง
- เพลงหรือดนตรี ศึกษาทำนอง จังหวะในการบรรเลงและการแสดงของชนเผ่ากะเหรี่ยง โดยมีการปรับเปลี่ยน
เครื่องดนตรีให้เป็นแบบสมัยมากยิ่งขึ้น แต่ยังคงมีท่วงทำนองเพลงแบบดนตรีของชาวกะเหรี่ยง ที่สะท้อนให้เห็นถึง
วฒั นธรรมวิถีชวี ติ ของชนเผา่ กะเหรย่ี ง
- อปุ กรณ์ โง (ตะกรา้ ) หมอ้ ดนิ ตะเกียง
2725
ชอื่ ชดุ การแสดง สองนางนาคน้อย
หนว่ ยงาน คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อบุ ลราชธานี
ผูส้ รา้ งสรรค์ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยว์ รางคณา วฒุ ชิ ว่ ย และอาจารย์จกั รวาล วงศม์ ณี
แนวคิดในการสร้างสรรค์งาน
ได้รับแรงบันดาลใจจากตำนานผ้าทอลายโบราณ ของชาวบ้าน อำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานีที่สืบสานการ
ทอผ้ามัดหมี่ย้อมคราม ลายนาคน้อยเป็นมรดกของเมืองที่เก่าแก่ที่มีการถ่ายทอดตำนานของชุมชนโดยเฉพาะตระกูลวงศ์
ปัดสา ที่สืบเชื้อสายอัญญาผู้ปกครองเจ้าเมืองเขมราฐ ได้รวบรวมบันทึกประวัติเรื่องราวเกี่ยวกับลายผ้ามัดหมี่ของตระกลู
และอนุรักษ์ลายโบราณไว้ ผลงานสร้างสรรค์ในครั้งนี้เลือกศึกษาเฉพาะผ้ามัดหมี่ลายนาคน้อยซึ่งเป็นหนึ่งในลายผ้าที่มี
ชื่อเสียง และมีตำนานที่น่าสนใจในจำนวนผ้ามัดหมี่อีก 16 ลาย จากเรื่องเล่า ได้พบเห็นที่สองนางมายืมฟืม ฝากลวดลาย
ผ้าลายนาคน้อยให้เป็นที่รู้จักและมีชื่อเสียงแพร่หลายไปทั่ว ชาวบ้านจะนิยมสวมใส่ผ้าในเทศกาลบุญเดือนหก เพื่อบูชา
พญานาค ด้วยแรงศรัทธากับ ภูมิปัญญาชาวบ้านก่อให้เกิด ความสามัคคีในชุมชน และเพื่อเชิดชูผ้าทอคุณค่าทุนทาง
วัฒนธรรมและพัฒนามรดกอันดีงามของท้องถิ่นที่สืบทอดกันมานานอย่างยั่งยืน เป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิง
วฒั นธรรมเพมิ่ มูลค่าทางเศรษฐกจิ ให้เป็นท่รี ้จู กั อยา่ งแพรห่ ลายมากยิง่ ข้ึนผ่านชดุ การแสดงสร้างสรรค์สองนางนาคน้อย
รปู แบบการแสดง
แบ่งออกเป็น 2 ชว่ งดังนี้ ชว่ งที่ 1 สองนางนาคแต่งตัวออกจากถ้ำชว่ ยเหลือชาวบ้านในการทอผ้าลายนาคน้อย ช่วงท่ี 2
หญงิ สาวชาวบา้ นสวมใส่ผา้ ลายนาคน้อย บูชาสองนางนาคตามความเช่ือสบื ทอดกันมาแต่โบราณ
องคป์ ระกอบในการแสดง
- ผแู้ สดง ใชน้ กั แสดงรวมทงั้ หมด 8 คน ดงั น้ี นางนาค 2 คน และนักแสดงหญิงชาวบา้ น 6 คน
- เครือ่ งแตง่ กาย ผู้แสดงสองนางนาค เกลา้ ผมครึง่ ศรี ษะมุน่ เปน็ มวยไวก้ ลางศรี ษะใส่เก้ียวสที องและปล่อยผมยาว
ด้านหลัง จอนหูดอกไม้ ปิ่นทอง สไบ 2 ชั้นห่มสไบเกร็ดทองและผ้าลายนาคน้อยทับผ้านุ่งผ้าสีครามลายนาคน้อย เข็มขัด
สรอ้ ยคอ ตา่ งหู สงั วาล กำไล สวมแหวน ผู้แสดงหญิงชาวบา้ น เกลา้ ผมมวย ตดิ ชอ่ ดอกไม้ เสือ้ คอกลมสขี าว ห่มสไบผ้าย้อม
คราม ผา้ น่งุ สคี รามลายนาคนอ้ ย สวมเคร่ืองประดับได้แก่ ต่างหู สรอ้ ยคอ กำไล สังวาล
- เพลงหรือดนตรี ใช้ดนตรีพน้ื เมอื งอีสานในการบรรเลง ประกอบบทรอ้ งดว้ ย ทำนองลำเดินทำนองลำพน้ื ทำนอง
แหล่ โดยเฉพาะลายตังหวายที่เป็นเอกลักษณ์ของอำเภอเขมราฐ และทำนองลงของ (ลงโขง) ทำนองบูชานาคน้อยที่ได้
สรา้ งสรรค์ขนึ้ ใหม่
28 26
ชือ่ หนว่ ยงาน ชอ่ื ชดุ การแสดง ฝ่าฟัน
ผู้สร้างสรรค์ สาขาวิชานาฏยศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
รว่ มกับกล่มุ ศิลปินคดิ บวกสปิ ป์
อาจารย์ยทุ ธนา อัครเดชานัฏ, ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ณฐั ภา นาฏยนาวนิ , อาจารย์ ดร.เอกรตั น์ รุง่ สวา่ ง,
อาจารย์ไกรศร จันทน้อย
แนวคิดในการสรา้ งสรรค์งาน
การแสดงร่วมสมัย ชุด “ฝ่าฟัน” เป็นผลผลิตจากโครงการต้นกล้าหัวใจไทย : การแสดงร่วมสมัยปลูกความเป็น
ไทยในใจเยาวชน อันมีแนวคิดในการนำองค์ความรู้ด้านศิลปะการแสดงมาพัฒนาต่อยอดร่วมกับการเรียนรู้และการรับรู้
ของเยาวชนในยุคสถานการณ์โรคระบาดไวรัส Covid-19 โดยเป็นกลุ่มเยาวชนจากชุมชนในเขตคลองเตย จังหวัด
กรุงเทพมหานคร หยิบยกประเด็นเกี่ยวกับการสร้างและส่งกำลังใจให้กับผู้คนในสังคมที่เผชิญกับวิกฤตการณ์นี้ ผ่าน “ส่ือ
สังคมออนไลน์” (Social Media) เพื่อสื่อสารกับประชาชนทั่วไปภายใต้ฐานวิถีชีวิตใหม่ (New Normal) ทั้งนี้ เยาวชนได้ร่วม
ทดลองสร้างสรรค์การแสดงด้วยตนเองภายใต้การแนะนำของวิทยากร อันเกิดจากศั กยภาพการปรับตัวและรับมือกับ
วิกฤตการณ์ที่กำลังเผชิญ ซึ่งเป็นการส่งเสริมทักษะการเป็นศิลปินให้แก่เยาวชนและปลูกฝังค่านิยมจิตสำนึกที่ดี นำไปสู่การ
สร้างภมู ิค้มุ กันทางสังคมให้แกช่ ุมชนและเสริมสรา้ งสังคมคุณภาพให้แก่ประเทศชาติต่อไป
รปู แบบหรอื ขนั้ ตอนในการแสดง
การแสดงร่วมสมัยรปู แบบ Music video ทม่ี ีเนื้อหาแสดงถงึ การใหก้ ำลงั ใจผ่านบทเพลง
ช่วงที่ 1 สื่อถึงความหลากหลายและความทุกข์ของผู้คนในสังคมที่กำลังเผชิญกับวิกฤตการณ์โรคระบาดจาก
ไวรัส Covid-19
ชว่ งท่ี 2 ส่ือถงึ มมุ มองการสร้างกำลงั ใจและการสง่ กำลังใจไปยังผูช้ ม
องคป์ ระกอบในการแสดง
ผ้แู สดง ตัวแทนกลุ่มเยาวชนทเ่ี ขา้ ร่วมโครงการจำนวน 10 คน
เครอ่ื งแต่งกาย ออกแบบจากกระบวนการเรียนรผู้ ่านความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละความต้องการแสดงออกของเยาวชน
โดยประดิษฐ์จากวสั ดุทม่ี ีอยู่เดิม เช่น หมวก ถงุ เทา้ ผา้ ลายไทย ฯลฯ มาออกแบบและตกแตง่ เป็นเคร่ืองแต่งกายสำหรับการ
แสดง เนน้ สีสันทีส่ ดใส
เพลงหรือดนตรี ประพันธ์เนื้อร้องและทำนองในรูปแบบดนตรีสมัยใหม่ที่ผสมผสานกลิ่นอายของความเป็นไทย
โดยสอดแทรกเสียงระนาด เสยี งฉ่งิ
2927
ชอ่ื ชดุ การแสดง SUSTAINABLE VRU
หน่วยงาน มหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์
ผู้สรา้ งสรรค์ อาจารยม์ นทิรา มะโนรนิ ทร์ อาจารย์ ดร.นฏั ภรณ์ พูลภักดี และอาจารย์ ดร.ลกั ขณา แสงแดง
แนวคิดในการสรา้ งสรรค์งาน
การแสดงชุด SUSTAINABLE VRU มีแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานจาก “ยุทธศาสตร์ราชภัฏมหาวทิ ยาลัยเพ่ือ
การพัฒนาทอ้ งถ่ิน” ซึ่งมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เป็นสถาบนั ที่ผลติ บณั ฑติ ทีม่ ีอตั ลักษณ์ มคี ณุ ภาพ มสี มรรถนะ และเป็นสถาบัน
หลักที่บูรณาการองค์ความรู้สู่นวัตกรรมในการพัฒนาท้องถิ่น เพื่อสร้างความมั่นคงให้ประเทศ อันนำมาสู่การเป็น
มหาวทิ ยาลยั แหง่ ความสมดลุ และยัง่ ยืน โดยแบ่งการแสดงออกเป็น 3 องก์ ได้แก่ องกท์ ่ี 1 Community สะท้อนให้เห็นถึง
ชุมชนในพ้นื ทใี่ ห้บริการของมหาวิทยาลัย ได้เกดิ ความเหลื่อมลำ้ ขาดรายได้ และขาดองค์ความรู้ในการพัฒนาเศรษฐกิจใน
ชุมชน ต่อด้วยองก์ที่ 2 สายธารแห่งความหวัง ที่สะท้อนให้เห็นถึงบทบาทและหน้าที่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลย
อลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่มีความมุ่งมั่นในการพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบาย โดยการนำองค์ความรู้มาสู่
ชมุ ชน จบลงดว้ ยองก์ที่ 3 วถิ แี หง่ ความย่งั ยืน ท่ีสะทอ้ นใหเ้ ห็นถงึ ศักยภาพของชุมชนที่มคี วามเข้มแข็ง และดำรงอยู่ได้อย่าง
ยัง่ ยืน
องคป์ ระกอบในการแสดง
- ผูแ้ สดง นักแสดงมที ักษะดา้ นนาฏศลิ ปส์ ากล ไดแ้ ก่ แจส๊ (JAZZ) บัลเล่ต์ (BALLET) และนาฏยศิลป์ร่วมสมยั
(CONTEMPORARY DANCE) รวมจำนวนนกั แสดงทงั้ สน้ิ 14 คน
- เครอ่ื งแตง่ กาย รูปแบบเครื่องแตง่ กายของแจ๊ส (JAZZ) จะแต่งกายด้วยโทนสีดำและสวมหมวก นอกจากนี้ยงั มี
กลุ่มนักแสดงท่มี ีการแต่งกายแบบชีวติ ประจำวนั (EVERYDAY) รวมทั้งนกั แสดงทเี่ ต้นบลั เล่ต์ (BALLET) จะใส่กระโปรงททู ู
(TUTU) เส้อื รัดรปู แขนยาว และสวมรองเทา้ บัลเล่ต์
- เพลงหรือดนตรี ใช้การบรรเลงดนตรีสด โดยเปน็ ดนตรแี จ๊สและวอลซ์ (WALTZ)
- อุปกรณ์ เก้าอจ้ี ำนวน 3 ตัว พืชพันธุธ์ ญั ญาหาร และตะกร้าสำหรบั ใสพ่ ชื พันธุธ์ ัญญาหาร
30 28
ชือ่ ชดุ การแสดง อณุ ากรรณปนั หยชี มสวนขวัญ
หน่วยงาน มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสุนันทา
ผู้สรา้ งสรรค์ อาจารย์มนญั ชยา เพชรจู ี
แนวคดิ ในการสร้างสรรคง์ าน
นาฏยประดิษฐ์ชุด อุณากรรณปันหยีชมสวนขวัญ ผู้สร้างสรรค์ได้ร้อยเรียงกระบวนรำขึ้นใหม่ ความน่าสนใจของ
การแสดงชุดนี้คือการเกี้ยวพาราสีของปันหยีและอุณากรรณซึ่งมีลักษณะการรำแบบผู้เมียและการรำอาวุธ ผู้สร้างสรรค์
ได้รับแรงบันดาลใจและเรียบเรียงขึ้นจากบทพระราชนิพนธ์เรื่องอิเหนาของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ซ่ึง
วรรณคดีสโมสรยกยอ่ งใหเ้ ปน็ ยอดของกลอนบทละคร
รปู แบบการแสดง
ผู้สร้างสรรค์นำเสนอการแสดงในรูปแบบละครรำแบบหลวง การแสดงสามารถแบ่งออกเป็น 3 ช่วง ได้แก่ 1. พิศ
พนั ธพ์ุ ฤกษาเสนห่ าอาวรณ์ 2. ธ ประลองฤทธริ อนจบั พริ ธุ และ 3. พักสปั ระยทุ ธ์รื่นภริ มย์
องคป์ ระกอบในการแสดง
- ผูแ้ สดง คดั เลอื กตามหลกั เกณฑม์ าตรฐานละครหลวง โดยผแู้ สดงสวมบทบาทอณุ ากรรณและปันหยี
- เครื่องแต่งกาย ผู้แสดงแต่งกายตามจารีตของการแสดงละครรำแบบหลวง ผู้แสดงเป็นปันหยี
แต่งกายยืนเครื่องพระแขนยาวสีแดง ผู้แสดงเป็นอุณากรรณแต่งกายยืนเครื่องพระแขนยาวสีเหลือง
สวมศิราภรณ์ปันจเุ หร็จ เหน็บกริช ผแู้ สดงเปน็ อุณากรรณถอื พัดดา้ มจิว้ ประกอบการแสดง
- เพลงหรือดนตรี ผู้สร้างสรรค์คัดเลือกเหตุการณ์ที่ตนเองสนใจจากบทพระราชนิพนธ์เรื่องอิเหนาของ
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลัยและนำมาเรียบเรียงเป็นบทละคร จากนั้นจึงปรับคำจากคำประพันธ์ต้นฉบับท่วี า่
“หอมกลิน่ มาลาตลบไป” เป็น “หอมกลนิ่ อุณากรรณตลบไป” เพ่ือให้รสของการแสดงสอดคล้องกับชว่ งของการแสดงและ
เอกภาพของการแสดง บทที่เรียบเรียงขึ้นใหม่น้ันประกอบไปด้วยเพลงเร็วลา เพลงสะระหม่า บรรจุเพลงร้องเพลงแขกตา
โมะ๊ เพลงร่ายใน และเพลงแขกหวล บรรเลงดว้ ยวงปีพ่ าทย์ไม้นวมเคร่อื งคู่
- อปุ กรณ์ ผู้สร้างสรรคส์ รา้ งบุคลิกตัวละครอุณากรรณให้มีความแตกต่างจากปนั หยโี ดยใช้พดั ด้ามจ้ิวประกอบการ
แสดง เพราะในบทพระราชนิพนธ์เรื่องอิเหนา อุณากรรณมักใช้พัดด้ามจิ้วปกปิดและซ่อนเร้นอารมณ์ความรู้สึกอยู่เ สมอ
นอกจากน้ยี ังใช้ก้านบวั รา่ ยรำตา่ งกระบี่ซึ่งระบุไว้ในบทพระราชนพิ นธ์
3129
ชือ่ ชดุ การแสดง อปั สราเนยี งด็อฮทมรัวกบู ารเม็ย
หนว่ ยงาน สาขาศิลปะการแสดง(นาฏศิลป์ไทย) มหาวิทยาลยั ราชภัฎสวนสนุ ันทา
ผสู้ ร้างสรรค์ นายณัฐวุฒิ ยิ่งยงยุทธ นายกฤษฎา แฝงฤทธิ์ นางสาวณัชชา วจนาภรณ์และผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร.มณศิ า วศินารมณ์
แนวคดิ ในการสรา้ งสรรคง์ าน
ปราสาทภูมิโปน ตำบลดม อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ สร้างขึ้นในสมัยเจนละ ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 11 – 13
ปรากฏศิลปะแบบสมโบร์ไพรกุกและศิลปะแบบไพรกเมง ตามตำนานเล่าว่ากษัตริย์ขอมสร้างเมืองไว้กลางป่าใหญ่ ซึ่งมี
ปราสาทชอ่ื วา่ ภมู โิ ปน เม่ือมขี า้ ศกึ มาประชิดเมือง จงึ ส่งพระราชธดิ าขอมพระนามว่า “พระนางศรีจันทร์หรือเนียงด็อฮทม”
มาหลบซอ่ นทีป่ ราสาทแห่งนี้ ตอ่ มากษตั รยิ ์ต่างเมืองไดส้ ่งพรานป่ามาลา่ สัตว์ ดว้ ยกติ ตศิ ัพทค์ วามงามของพระนางศรีจันทร์
พรานปา่ จงึ ลักลอบแอบมองพระนางสรงน้ำ ฝ่ายพระนางศรีจนั ทร์เกิดลางสังหรณว์ ่ามีคนพบทห่ี ลบซ่อนของนาง หลังจาก
บรรทมทรงพระสุบินว่า ตนทำกระทงเสี่ยงทายและนำเส้นผมเจ็ดเสน้ พร้อมกบั เขียนสาสน์ ความวา่ “ใครเก็บกระทงได้นาง
จะนำไปเป็นคู่ครอง” เมื่อตื่นจากบรรทม นางกระทำตามความฝันนั้น และนำกระทงไปลอยน้ำ ณ สระน้ำลำเจียกจาก
แนวคิดดังกล่าวผู้สร้างสรรค์จึงนำการเสี่ยงทายของพระนางศรีจันทร์มาสร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบนาฏศิลป์อีสานใต้
ประยกุ ต์
รูปแบบการแสดง
การแสดงแบ่งออกเป็น 3 ช่วง
ช่วงที่ 1 ขบวนเนียงด็อฮทมพรอ้ มดว้ ยนางกำนลั ออกมาท่ีท่านำ้
ช่วงที่ 2 เนียงดอ็ ฮทมทำการเสยี่ งทาย
ช่วงท่ี 3 เนยี งดอ็ ฮทมและนางกำนลั จับระบำ
องคป์ ระกอบในการแสดง
ผแู้ สดง ผแู้ สดงสวมบทบาทเปน็ นางพระนางศรจี นั ทร์หรอื เนยี งด็อฮทม 1 คน และนางกำนลั จำนวน 12 คน
เครื่องแต่งกาย การออกแบบเครื่องแต่งกาย นำแนวคิดมาจากศึกษาและอนุมานข้อมูลจากปราสาทภูมิโปน
จังหวัดสรุ ินทร์ และหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ยี งั คงปรากฎอยใู่ นยุคสมัยเดยี วกนั
เพลงหรือดนตรี เพลงที่ใช้ในการแสดงเรียบเรียงทำนองเพลงขึ้นใหม่แนวอีสานใต้ ประกอบบทร้องในช่วง
เนียงดอ็ ฮทมทำการเส่ียงทาย ความยาวของการแสดงประมาณ 7.00 นาที
อปุ กรณ์ อุปกรณป์ ระกอบการแสดงชดุ อปั สราเนยี งดอ็ ฮทมรวั กูบารเมย็ คอื กระทงใบตอง
32 30
ชื่อชุดการแสดง ตีผ้ึงร้อยรงั
หนว่ ยงาน มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบุรรี ัมย์
ผู้สร้างสรรค์ สาขาวชิ านาฏศิลป์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบุรีรมั ย์
แนวคดิ ในการสร้างสรรคง์ าน
การแสดงชดุ ตีผงึ้ รอ้ ยรัง ไดแ้ นวคดิ การสรา้ งสรรค์ผลงานจาก ประเพณีตีผึ้งรอ้ ยรังของหมบู่ า้ นสายตรีพัฒนา 3
ตำบลบึงเจริญ อำเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ โดยนำอัตลกั ษณ์ของชุมชน คือ การนำเรื่องเล่าเกี่ยวกบั ความเป็นมา
ของศาลเจ้าพ่อบุญมา และผึ้ง ให้มีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กันจนเกิดเป็นคุณค่าและมูลค่าทางจิตใจของคนในท้ องถิ่นให้
ความเคารพยำเกรง เชื่อถือศรัทธาในอำนาจอันศักดิ์สิทธิ์ของเจ้าพ่อบุญมา จึงทำให้ผึ้งหลวงมาทำรังบนต้นไทรกลาง
หมู่บ้าน อีกทั้งผึ้งยังเป็นตัวแทนของมูลค่า ทำให้เกิดรายได้แก่ชุมชนจากการขึ้นตีเอาน้ำผึ้งไปจำหน่าย และก่อเกิดเป็น
ประเพณีประจำท้องถิ่น สร้างชื่อเสียง และรายได้แก่ชุมชนในแต่ละปีเป็นจำนวนมาก ศาลเจ้าพ่อบุญมาร้องรัง จึงเป็น
จุดเปล่ยี นสำคญั อย่างหน่งึ นำมาส่กู ารเกิดชมุ ชนผ้ึงร้อยรัง
รปู แบบการแสดง
ทา่ รำการแสดงนาฏศิลปพ์ ้ืนบ้าน ชดุ ตีผึ้งรอ้ ยรงั แบง่ ออกเป็น 3 ชว่ ง คือ
ช่วงที่ 1 นำเสนอการแสดงที่สอ่ื ลักษณะการบวงสรวงพ่อปู่บญุ มารอ้ ยรงั โดยใชท้ ่ารำเพ่ือส่ือถึงความศรัทธา
ช่วงท่ี 2 นำเสนอท่ารำท่ีแสดงถึงกระบวนการในการตีผึง้ ได้แก่ ท่าทางการปนี การปดั รังผึ้ง การตัดรังผึง้ เป็นตน้
ช่วงท่ี 3 นำเสนอถึงการค้ันนำ้ ผ้งึ และการเกยี้ วพาราสีของหนมุ่ สาว
องคป์ ระกอบในการแสดง
- ผแู้ สดง ใชผ้ ู้แสดงทง้ั หมด 16 คน แบ่งออกเป็นผชู้ าย 8 คน และผหู้ ญิง 8 คน
- เคร่ืองแตง่ กาย ชุดผชู้ าย 1) ชดุ ท่ีใชส้ ำหรับการตีผ้งึ ใส่เสือ้ แขนยาวสีกรมท่า กางเกงขากว๊ ย มีผ้าขาวม้าคาด
เอวและสวมหมวกตาข่ายเพื่อเป็นกำบังในการตีผึ้ง 2) ชุดทีใ่ ช้สำหรับวถิ ชี วี ิตทว่ั ไป สวมเสื้อแขนสน้ั สีเทา นุ่งผ้าเต่ียว มี
ผ้าคาดเอว ใส่เครอ่ื งประดบั เป็นตะกรุดคล้องคอ ชุดผหู้ ญงิ สวมเสอ้ื แขนกระบอกสามสว่ นสีชมพู นุ่งผ้าซิ่นไหมลายข้ัน
ปลอ้ งอ้อย ห่มสไบ เครอ่ื งประดบั เงิน ทดั ดอกสารภี
- เพลงหรือดนตรี ใช้วงโปงลางอีสานในการบรรเลง มีการเรียบเรียงทำนองดนตรีให้สอดคล้องกับรูปแบบของ
การแสดง ประกอบด้วย ช่วงที่ 1 ใช้ดนตรีจังหวะช้า สำหรับการบวงสรวง ช่วงที่ 2 บรรเลงในจังหวะที่สนุกสนาน มี
ความตืน่ เต้น และช่วงท่ี 3 บรรเลงดว้ ยจงั หวะนุ่มนวล และออ่ นหวานมากขน้ึ
- อุปกรณ์ ได้แก่ 1) คบไฟ สำหรับไว้รมรังผึ้ง 2) ถังพลาสติก ใช้สำหรบั รองนำ้ ผึ้ง 3) ผ้าขาวบางใช้สำหรบั
คน้ั นำ้ ผงึ้
3331
ชอื่ ชดุ การแสดง ขนั ธ์
ชอื่ หนว่ ยงาน จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั และมหาวิทยาลยั นเรศวร
ผ้สู ร้างสรรค์ อาจารย์ ดร.ณฐั กานต์ บุญศิริ, อาจารย์ ดร.ศกั ยก์ วนิ ศิริวัฒนกลุ และ อาจารยณ์ ัฐวฒั น์ สิทธิ
แนวคิดในการสร้างสรรคง์ าน
“ธรรมชาติ เป็น ธรรมศิลป์” จากนามธรรม (นัย) สู่รูปธรรม (สื่อแสดง) นับเป็นปฐมธาตุของโลกเชื่อมสัมพันธ์
ระหว่างความคิด (จักรวาลภายใน) จนเกิดเป็นการกระทำ (จักรวาลภายนอก) สื่อแสดงผ่านรา่ งกายมนุษย์ซึ่งเปน็ วัตถุธาตุ
ใน รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาน ด้วยการหยิบยืมการเคลื่อนไหวทางนาฏยศิลป์ ย่อ ยืด ยุบ โย้ ย้อน ยัก เยื้อง
เคลอื่ นกลาย นัย วง วฏั ก่อเกิดเปน็ พลังและการใช้ทว่ี ่าง ใหน้ าฏกรรมบังเกดิ ข้นึ เป็นสงั สารวฏั
รปู แบบการแสดง
นาฏกรรมภาพยนตร์ (Dance Film) ดว้ ยเทคนคิ Conrad ความยาว 5 นาที
องค์ประกอบในการแสดง
- ผ้แู สดง ทำหนา้ ที่เปน็ สื่อกลางที่เชื่อมระหว่างความคดิ ของการแสดงและถา่ ยทอดเปน็ นาฏกรรม ผู้แสดงเป็นผู้ท่ี
ผ่านการเรียนทางดา้ นนาฏยศลิ ป์ มคี วามรู้ทกั ษะด้านการปฏิบตั ภิ าษาท่าขน้ั พื้นฐาน
- เครื่องแต่งกาย ใช้กระบวนทัศน์การรื้อ - สร้างทางการออกแบบ โดยไม่อ้างอิงรูปแบบที่ตายตัว นุ่ง - ห่ม ด้วย
วธิ กี าร ห่ม คลมุ พาด พนั เหน็บ
- เพลงหรือดนตรี ดนตรีสังเคราะห์ที่ประพันธ์ขึ้นใหม่ โดยใช้กระบวนทัศน์การรื้อ - สร้างทางการออกแบบ
ประกอบสรา้ งและเคลือ่ นคอรด์ ใหอ้ ย่ใู นโครงสรา้ งท่ีเปน็ ลปู (loop)
- อปุ กรณ์ กระจกเงา และ ผ้า
34 32
นาฏศลิ ปส์ ร้างสรรค์ ชุด “อัศจรรย์สุวรรณภูมิ”
หนว่ ยงาน คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ผู้สร้างสรรค์ อาจารย์ ดร.รุง่ นภา ฉิมพฒุ , อาจารย์รชั ดาพร สคุ โต, อาจารย์ ดร.ภรู ติ า เรืองจริ ยศ, อาจารยว์ รวทิ ย์
ทองเนื้ออ่อน คณาจารยส์ าขาวิชานาฏศลิ ป์ไทย ภาควชิ าศิลปะการแสดง
ผสู้ ร้างสรรค์ดนตรีประกอบการแสดง ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เดชา ศรีคงเมอื ง, ดร.วราภรณ์ เชดิ ชู อาจารยส์ าขาวชิ า
ดรุ ยิ างคศาสตร์ไทย ภาควิชาดนตรี
ผู้บนั ทึกเสยี ง นายอนชุ ติ วงค์จนั ทร์ นสิ ิตสาขาวิชาดุรยิ างคศาสตร์สากล ภาควิชาดนตรี
ผ้ปู ระพันธ์บท รองศาสตราจารย์ ดร.ธัญญา สงั ขพันธานนท์ (ศิลปนิ แห่งชาติ ปี 2559) คณบดีคณะมนษุ ยศาสตร์
บรรเลงดนตรี นายธีร์ หมื่นอนิ ทร์, นายกฤตธิ ี บญุ พิมพ์ นิสติ สาขาวชิ าดุรยิ างคศาสตร์ไทย ภาควิชาดนตรี
แนวคิดในการสรา้ งสรรคง์ าน
“สวุ รรณภูมิ” ดินแดนแห่งความรุ่มรวยทางอารยธรรม ศนู ย์กลางแห่งพระพุทธศาสนา ความหลากหลายของชาติ
พนั ธุ์ ความอดุ มสมบรู ณ์ มั่งคั่ง และงดงาม
รปู แบบการแสดง นาฏศิลป์ไทยรว่ มสมยั (Thai Contemporary Dance)
องค์ประกอบในการแสดง
วรรณศิลป์ ผู้ประพนั ธ์ได้แรงบนั ดาลใจมาจากการศึกษาประวัตศิ าสตร์และอารยธรรมรากฐานของดนิ แดนใน
แถบอุษาคเณย์ จงึ ไดน้ ำ “กาพย์ฉบัง 16” มาใช้ในการประพนั ธ์บทประกอบการแสดง เพอ่ื ต้องการเนน้ ใหเ้ กดิ ลีลาเคร่งขรึม
อลังการ สมกบั ความยิง่ ใหญข่ องดนิ แดนสวุ รรณภมู ิ
ดรุ ิยศลิ ป์ มีแนวคิดจากหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ดนตรีและอารยธรรมในดินแดนสวุ รรณภูมิ
นาฏยศิลป์ การสร้างสรรค์ท่ารำจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์และทฤษฎีนาฏยศิลป์ ในรูปแบบนาฏศิลป์ไทย
ร่วมสมัยประกอบภาพหลักฐานโบราณคดี และอุปกรณ์ ดอกบัว, พัด, กระดิ่ง เพื่อแสดงให้เห็นถึงความงดงาม และความ
ยิ่งใหญ่ของอารยธรรมในดินแดนสุวรรณภูมิที่มีการผสมผสานกันอย่างลงตัว มีการแต่งกายตามข้อมูลทางโบราณคดีของ
อารยธรรมสุวรรณภูมิ แสดงโดยนสิ ติ ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร จำนวน 22 คน
3533
ชื่อชุดการแสดง สิทธิ
หนว่ ยงาน ภาควชิ าศิลปะการแสดง คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร
ผสู้ ร้างสรรค์ นางสาวกลั ยารตั น์ บุญสีโรจน์, นางสาวสริ ิยา เกตแุ ก้ว, นางสาวกาญจนาพร ปน่ิ เงิน,
นางสาวสพุ ชั ชา คลังเพ็ชร์, นายฐิตินันท์ ตั้งทอง, นางสาวพัชรินทร์ สุขโสดา,
นางสาวนันทน์ ภัส สมเี พ็ชร, นางสาวอมรรตั น์ บุญเกษม
อาจารยท์ ปี่ รกึ ษา อาจารย์ ดร.รุง่ นภา ฉิมพุฒ, อาจารย์ ดร.ภรู ิตา เรอื งจิรยศ, อาจารย์วรวิทย์ ทองเนอ้ื อ่อน
แนวคดิ ในการสร้างสรรคง์ าน
นำเสนอให้เห็นถึงมนุษย์ที่ขาดสิทธิและเสรีภาพย่อมดิ้นรน แสวงหาความเสมอภาค เพื่อให้ได้มาซ่ึงศักดิ์ศรีความ
เปน็ มนษุ ย์
รปู แบบการแสดง
นำเสนอในรูปแบบการแสดงนาฏศลิ ปร์ ่วมสมัย โดยแบง่ การแสดงออกเปน็ 3 ชว่ ง ดงั นี้
ช่วงที่ 1 นำเสนอใหเ้ ห็นถงึ การถกู จำกัดสิทธแิ ละเสรีภาพ
ชว่ งท่ี 2 นำเสนอให้เหน็ ถึงการหาทางออกเพื่อใหม้ สี ิทธแิ ละเสรภี าพทีม่ ากขึน้
ช่วงท่ี 3 นำเสนอใหเ้ ห็นถึงการมสี ทิ ธิและเสรีภาพท่ีเพ่ิมมากข้ึน
องคป์ ระกอบในการแสดง
ผแู้ สดง นิสิตภาควชิ าศิลปะการแสดง คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร จำนวน 7 คน
เครื่องแต่งกาย ได้รับแรงบันดาลใจมาจากการแต่งกายของชาวไทยหล่มในจังหวัดเพชรบูรณ์ โดยนำมาประยุกต์
ใหส้ อดคล้องกับแนวความคิดและรปู แบบของการแสดงชดุ สทิ ธิ
เพลงและดนตรี ประพันธ์ดนตรีขึ้นใหม่เพื่อให้เนื้อหาสาระและอารมณ์ของเพลงสอดคล้องกับรูปแบบการแสดง
ใหช้ อ่ื เพลงวา่ “สทิ ธ”ิ ประพันธท์ ำนองเพลงโดย นายวฒั นา รอดกลำ่
ผู้บันทึกภาพการแสดงและผู้ตดั ต่อวดิ ีโอ นายธนอฒั น์ ประสทิ ธกิ านนท์
36 34
ชื่อชุดการแสดง ฮอ้ งขวญั
หน่วยงาน ภาควิชาศลิ ปะการแสดง คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร
ผู้สร้างสรรค์ นายจิราวัฒน์ บุญเรือง, นางสาวสุทธินี ตั้งแก้ว, นายอนุชา ชังชั่ว,นางสาวไอริณ แสงแปลง, นางสาวกัญญาณัฐ ภาพติ๊บ,
นางสาวเมธาวี ปทั มสทิ ธางกลู ,นางสาวแพรวไพลิน ภาษิต, นางสาวนันธชิ า กจิ เจริญถาวรกุล, นางสาวสภุ ัคจติ ต์ สนิ สวัสดิ์
อาจารยท์ ่ีปรึกษา อาจารย์รัชดาพร สคุ โต, อาจารย์ ดร.จติ ตมิ า นาคเี ภท
แนวคิดในการสร้างสรรค์งาน
นำเสนอใหเ้ หน็ ถึงความเช่ือของชาวไทหล่ม ทเี่ ชอ่ื ว่ามนษุ ยท์ ุกคนเกิดมาพร้อมกับขวญั ที่ตดิ ตัวมาต้ังแต่เกิดและจะ
อยู่กับตัวตลอดชีวิต เมื่อใดที่มนุษย์ประสบอุบัติเหตุอย่างรุนแรงหรือเจ็บป่วยอย่างหนักจะทำให้ขวัญหายออกไปจากตัว
ถึงแม้จะหายจากอาการเจ็บป่วยแล้วก็ยังคงมีอาการซึมเซาไม่สดชื่นแจ่มใสหรือใช้ชีวิตได้ดังปกติ จนก่อให้เกิดความเช่ือ
เรื่องการส่อนขวัญที่หายไปให้กลับเข้าสู่ร่างกายและจิตใจเพื่อหลอมรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยผ่านพิธีกรรมอันเป็ น
เครื่องมือที่ใช้สำหรับต่อรองกับสิ่งที่เหนือธรรมชาติและความเข้าใจของมนุษย์ เพื่อสร้างขวัญกำลังใจให้มนุษย์มี
สตสิ ัมปชัญญะท่สี มบูรณ์ดังเดมิ
รปู แบบการแสดง นำเสนอในรูปแบบนาฏศลิ ปพ์ นื้ บา้ นร่วมสมยั โดยแบ่งการแสดงออกเปน็ 3 ช่วง ดงั น้ี
ช่วงที่ 1 นำเสนอให้เห็นถึงมนุษย์มีความเชื่อว่าหากขวัญหายหรือหลุดลอยจากร่างกายไปจะทำให้มีอาการเหม่อ
ลอยไม่มีสติ ช่วงที่ 2 นำเสนอให้เห็นถึงความเชื่อและพิธีกรรมการส่อนขวัญซึ่งเป็นการเรียกขวัญให้กลับสู่ร่างกายและ
จิตใจของมนุษย์ใหห้ ลอมรวมเป็นอนั หน่งึ อันเดยี วกัน ช่วงที่ 3 นำเสนอให้เห็นถึงผลจากการใช้พิธีกรรมการส่อนขวัญอัน
เป็นเครื่องมอื ในการสร้างปฏสิ ัมพันธ์กบั ความเช่ือก่อใหเ้ กิดผลลพั ธท์ ด่ี ีต่อการดำรงชวี ิตของมนุษย์
องค์ประกอบในการแสดง
ผู้แสดง นิสติ ภาควชิ าศิลปะการแสดง คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จำนวน 7 คน
เครื่องแต่งกาย ได้รับแรงบันดาลใจมาจากการแต่งกายลำลองของชาวไทหล่ม อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
ผสมผสานการออกแบบโครงเส้ือรว่ มสมยั กับองคป์ ระกอบของเครื่องแต่งกายแบบชาติพนั ธุ์ นำมาลดทอน สลายโครงสร้าง
และประกอบสรา้ งขึ้นใหม่
เพลงและดนตรี ประพันธ์ดนตรีขึ้นใหม่เพื่อให้อารมณ์ของดนตรีสอดคล้องกับรูปแบบการแสดง ให้ชื่อเพลงว่า
“ฮ้องขวญั ” ประพนั ธท์ ำนองเพลงโดย วา่ ทร่ี ้อยตรี ภูวไนย ดิเรกศลิ ป์
อุปกรณ์ ผ้าพื้นสี (สีแดง สีเขียว และสีม่วง) ในการสื่อถึงสีผ้าขาวม้า (ผ้าแพร) และผ้าพื้นสีขาว ในการสื่อถึงผ้าสี
ขาวอุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นพธิ ีกรรมส่อนขวญั
3735
ช่ือชดุ การแสดง มายาคติ
หน่วยงาน ภาควชิ าศลิ ปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร
ผู้สรา้ งสรรค์ นางสาวณัฏฐธิดา ชูฉำ่ , นายพงศธิษณ์ อนิ ทรประสิทธ์,ิ นางสาวนฤมล บุญกำ้ ,
นายราเชน อนิ ทร์น้อย, นางสาวปวริศา แยม้ ทัศน,์ นางสาววนั ทนา ตินชาติ
อาจารย์ทีป่ รึกษา อาจารย์ณัฐวฒั น์ สทิ ธิ
แนวคดิ ในการสรา้ งสรรคง์ าน
นำเสนอใหเ้ หน็ ถงึ การตคี วามและการสรา้ งความหมายใหม่ภายใต้มายาคติ
รูปแบบการแสดง
นำเสนอรูปแบบการแสดงผ่านวิธีการอ่านแบบร่วมสมัยจากประเด็นทางเป็นวัฒนธรรมแบบสัญญะมายาคติ บน
พืน้ ทท่ี บั ซอ้ นระหว่างภาษาท่าและภาษาภาพในบริบทของ Dance Film โดยแบ่งการแสดงออกเปน็ 3 ช่วง ดงั น้ี
ช่วงท่ี 1 นำเสนอใหเ้ ห็นถงึ การนำเขา้ ความคิดจากบริบททห่ี ลากหลาย
ช่วงท่ี 2 นำเสนอใหเ้ หน็ ถงึ มมุ มองความเชอ่ื ภายใต้มายาคติทหี่ ลากหลาย
ช่วงที่ 3 นำเสนอให้เห็นถึงภาวะปลายเปิดของกระบวนการสร้างความหมายต่อสำนึกของมนุษย์ที่อยู่ระหว่างวิถี
การตคี วามผา่ นมายาคติ
องคป์ ระกอบในการแสดง
ผู้แสดง นสิ ติ ภาควิชาศลิ ปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร จำนวน 5 คน
เครื่องแตง่ กาย ไดร้ บั แรงบันดาลใจมาจากการแตง่ กายของชาวลับแล อำเภอลบั แล จงั หวัดอตุ รดิตถ์
เพลงและดนตรี ประพันธ์ดนตรีขน้ึ ใหมเ่ พื่อให้อารมณส์ อดคลอ้ งกับรูปแบบการแสดงให้ช่ือเพลงว่า “มายาคติ”
ประพนั ธ์ทำนองเพลงโดย นายนรุตมพ์ ล ณ พัทลงุ
อปุ กรณ์ ผ้าวงกลมพืน้ ใหญ่ จำนวน 1 ผืน และผา้ วงกลมขนาดเล็ก จำนวน 3 ผืน
ผู้บันทึกภาพการแสดงและผู้ตดั ต่อวิดีทัศน์ นายคณาธปิ จุลสำลี, นายฤทธิฉัตร เพชรมนุ ินทร์
38 36
ชอ่ื ชดุ การแสดง ถาดรกั เสน่หส์ าวเม่ียน
หนว่ ยงาน มหาวทิ ยาลัยพะเยา
ผสู้ ร้างสรรค์ นางสาวนุสรา ธนานุศกั ด,์ิ อาจารย์ภูดิท ศริ วิ ฒั นกุล และอาจารย์ธนนั ยวรรณ ศรที รัพโยทัย
แนวคิดในการสรา้ งสรรคง์ าน
นำเสนอเรื่องราวความรักของชายและหญิงในชนเผ่าเมี่ยน ที่สื่อให้เห็นถึงวัฒนธรรมของการใช้ถาดและการเล่น
ถาดอย่างมีเอกลักษณ์ในประเพณี ต่ม ชิ่ง จา ซึ่งเป็นการแสดงที่มีลักษณะเฉพาะของชนเผ่าเมี่ยน โดยนำขั้นตอนการแจก
น้ำชาที่เป็นส่วนหนึ่งของประเพณีงานแต่งงานมาสร้างสรรค์เป็นกระบวนท่ารำ และนำลีลาการรำถาดของชนเผ่าเมี่ยนมา
ประยุกต์เป็นการแสดงสรา้ งสรรคท์ ย่ี งั คงความเป็นเอกลักษณ์ทางด้านวฒั นธรรม
รปู แบบการแสดง การแสดงนำเสนอในรูปแบบศิลปะการแสดงชาติพันธ์ุสรา้ งสรรค์ แบ่งออกเปน็ 2 ชว่ ง ดังน้ี
ช่วงที่ 1 ถาดสือ่ รกั สือ่ ให้เหน็ ถึงวฒั นธรรมการใช้ถาด และการพบรกั ของชายและหญงิ ในชนเผ่าเมีย่ น
ช่วงที่ 2 ต่ม ชิ่ง จา สื่อให้เห็นถงึ ประเพณีงานแต่งงาน และศิลปะการรำถาดทีเ่ ป็นการแสดงความยินดีแด่เจา้ บา่ ว
และเจ้าสาวในงานแต่งงาน
องคป์ ระกอบในการแสดง
- ผูแ้ สดง ใช้ผู้แสดงทงั้ หมด 8 คน แบง่ เป็น ตวั เอกหญิง 1 คน ตัวเอกชาย 1 คน ตวั ประกอบชาย 2 คน และ ตัว
ประกอบหญิง 4 คน
- เคร่ืองแตง่ กาย เครื่องแต่งกายได้รับแรงบันดาลใจมาจากการแต่งกายดั้งเดิมของชาวเมี่ยน
ผู้หญิง : ตัวเอก ใส่เสื้อแขนยาวสีดำ มี ลุย กวาน ทำจากไหมพรมสีแดง สวมกางเกง(โฮว)ขายาวสีดำ ใส่ชายผ้า
ด้านหน้ากางเกง และมผี า้ แถบสีเอวใชม้ ดั เอวประดบั ด้วยผ้าปกั ลายเหยว ใส่ท่ีสวมศรี ษะด้วยผ้าสดี ำ ใส่เครอื่ งประดบั ต่างหู
สร้อยคอ และกำไลเงิน ตวั ประกอบ ใส่เสื้อแขนยาวสีดำ มี ลยุ กวาน ทำจากไหมพรมสีบานเย็น สวมกางเกง(โฮว) ขายาว
สดี ำ ตกแตง่ เดนิ ขอบด้วยแถบสีแดง ใส่ท่ีสวมศรี ษะด้วยผ้าสดี ำ
ผู้ชาย: ใส่เสื้อแขนยาวสีดำคอกลม สวมกางเกงขาก๊วยสีดำ เดินแถบสีแดง ใส่ที่สวมศีรษะด้วยผ้าสีแดง ตัวเอกใส่
เคร่ืองประดับหว่ งคอเงนิ
- เพลงหรือดนตรี เพลงประพันธ์ขึ้นใหม่ โดยอาจารย์เกียรติศักดิ์ โพศิริ ครูดนตรีวงมโหรีล้านนา โดยมีทำนอง
ผสมผสานวฒั นธรรมจนี กับลา้ นนา เพอ่ื สื่อให้เห็นถงึ ต้นกำเนดิ วัฒนธรรมของชนเผา่ เมีย่ น
- อปุ กรณ์ ถาด ประดับลวดลายผ้าปักของชนเผา่ เม่ยี น
3937
หนว่ ยงาน ชอื่ ชุดการแสดง นาฏศิลปส์ รา้ งสรรค์ ชดุ ปลาก้างพระร่วง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี
ผู้สร้างสรรค์ ผชู้ ่วยศาสตราจารยส์ ุชีรา อินทโชติ
แนวคดิ ในการสรา้ งสรรคง์ าน
ปลาก้างพระร่วงมีความสำคัญทางดา้ นความเป็นมาของตำนานพระร่วง ซึ่งเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์
ในสมัยสุโขทัยในเรื่องวาจาที่ศักดิ์สิทธ์ อีกทั้งยังทรงมีความเมตตาต่อสรรพสัตว์ ซึ่งตรงกับหลักทศพิธราชธรรมท่ี
พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์พึงปฏิบัติ ทัง้ นี้ปลากา้ งพระร่วงยังเป็นปลาท่ีมีรูปรา่ งลักษณะแปลกและแตกต่างจากปลาชนิด
อ่นื ซึ่งมลี ักษณะทโี่ ดดเดน่ ก็คือมีตวั ท่ใี สเห็นกา้ งข้างในตวั และเป็นปลาทไ่ี ม่มีเกร็ดมขี นาดตัวทีเ่ ล็กและใกลจ้ ะสูญพันธ์ุ ดังน้ัน
ผวู้ ิจัยจึงนำมาสร้างสรรคเ์ ป็นการแสดงเพ่ือสื่อความสำคัญของปลาก้างพระร่วงท่ีควรอนรุ ักษ์
รูปแบบการแสดง
การแสดงออกเป็น 3 ชว่ ง ดงั นี้
ช่วงที่ 1 ตำนาน สอ่ื การเลา่ เรอ่ื งราวต้นกำเนดิ ของปลาก้างพระรว่ ง
ช่วงที่ 2 ก่อเกิด สื่อลีลาการขยับก้างที่หลัง ขยับครีบ หาง หนวด ทีละส่วน การโผล่ขึ้นหายใจ การว่ายน้ำ และ
ปรมิ านปลากา้ งพระรว่ งมีมากขน้ึ
ช่วงที่ 3 เลิศลักษณ์ สื่อลักษณะที่โดดเด่นของปลาก้าง พระร่วง ซึ่งประกอบไปด้วย ความใสของตัวปลา การอยู่
รว่ มตวั กนั เปน็ ฝงู ใหญ่ การแตกตัวออกจากกนั และกับมารวมฝูงกันอย่างรวดเรว็ การเคลอ่ื นทไ่ี ปเป็นฝูงอย่างพร้อมเพรยี ง
- ผู้แสดง ผู้แสดงหญงิ จำนวน 14 คน
- เครื่องแต่งกาย นำลักษณะเดน่ ของปลากา้ งพระร่วง ท่อี าศยั อยู่ในจังหวัดสโุ ขทัยมาใช้ในการออกแบบเครือ่ งแตง่
กาย โดยใช้สพี ื้นสีฟ้าอ่อน
- เพลงหรือดนตรี สรา้ งสรรค์เพลงโดยนำเคร่ืองดนตรีไทยและเครือ่ งดนตรสี ากลบรรเลงร่วมกนั เครอ่ื งดนตรไี ทยที่
นำมาส่วนใหญเ่ ป็นเคร่ืองดนตรีท่นี ิยมเลน่ ในสมยั สุโขทัย
- อปุ กรณ์ ร่มวาดลายน้ำตก 2 คัน
38
40
ชื่อชดุ การแสดงชุด วจิ ิตราลีลาสลักไผ่
หนว่ ยงาน มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี
ผู้สร้างสรรค์ นักศึกษาสาขานาฏศิลปไ์ ทย ชั้นปีท่ี 4
แนวคิดในการสรา้ งสรรคง์ าน
คณะผู้วิจัยมีความสนใจในความงดงามของลวดลายที่เกาะสลักบนไม้ไผ่ ทั้งยังเป็นการอนุรักษ์และส่งเสริมงาน
หัตถศิลป์การแกะสลักไม้ไผ่ที่เกิดจากวิถีชีวิตและภูมิปัญญาของคนในท้องถิ่นจังหวัดนครนายก ที่เป็นผลิตภัณฑ์สินค้า
OTOP ของจังหวัดนครนายกมาต่อยอดให้เกิดมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์ โดยถ่ายทอดในรูปแบบการแสดงนาฏศิลป์
สร้างสรรค์ เพื่อส่งเสริมและเผยแพรใ่ ห้บุคคลทั่วไปได้รู้จกั คุณค่าของภูมิปัญญาของคนในท้องถิ่นและความสามารถในการ
แกะสลกั ไมไ้ ผใ่ นรูปแบบต่าง ๆ ท่ีงดงามทรงคุณคา่ อีกทงั้ ยังเปน็ การสืบสานด้านงานหัตถกรรมให้เป็นที่ร้จู ักกว้างขวางมาก
ยงิ่ ข้ึน
รูปแบบการแสดง
กระบวนทา่ รำท่ีใช้ในการแสดงสร้างสรรค์ชุดวิจิตราลีลาสลักไผ่ ใชก้ ระบวนท่าทางธรรมชาตเิ ป็นหลักในการแสดง
ผสมผสานกับท่าทางนาฏศิลป์ จะแบ่งออกเปน็ 3 ชว่ งดงั น้ี
ช่วงที่ 1 กระบวนทา่ การตืน่ นอนของผู้คนในชีวิตประจำวนั การไหว้บูชาส่งิ ศักด์ิสิทธิ์
ช่วงท่ี 2 กระบวนการกรรมวิธีการแปรรปู ตน้ ไผ่
ช่วงที่ 3 การประกอบร่างกายให้ออกมาเป็นรูปร่างของลาย โดยใช้ไฟติดลำตัวเป็นตัวช่วยในการแสดงให้ออกมา
เป็นรูปรา่ งตามลายของกระบอกไม้ไผ่
องคป์ ระกอบในการแสดง
- ผ้แู สดง คือผทู้ ผี่ ่านการเรียน ด้านนาฏศิลปไ์ ทยต้องมีความรู้ มที ักษะดา้ นการปฏิบัตแิ ละต้องมีความสามารถ
ทางดา้ นการแสดงใช้ผแู้ สดงทั้งหมด 12 คน
- เคร่อื งแตง่ กาย เคร่ืองแต่งกายมคี วามทันสมัยในยุคปจั จบุ ัน หลกั การใชส้ ีใช้ชดุ การแสดงสีขาว เพือ่ ใชแ้ สงไฟส่ง
ใหผ้ ลติ ภัณฑม์ ีความโดนเดน่ ย่ิงข้ึน
- เพลงหรือดนตรี ใชท้ ำนองเพลงสากลผสมกับเสียงธรรมชาติ
- อุปกรณ์ ไมไ้ ผ่แกะสลกั หลากลายรูปแบบแตกต่างกันไปตามสว่ นตา่ ง ๆ ทีน่ ำมาแกะสลัก เช่น เหง้าลำไผ่ เป็นต้น
4139
ชื่อชดุ การแสดง นาฏศิลป์สร้างสรรค์ พุทธบูชาปารมี
หน่วยงาน วิทยาลยั นาฏศลิ ปสุพรรณบรุ ี สถาบันบัณฑิตพัฒนศลิ ป์
ผ้สู ร้างสรรค์ นางอนิ ทิรา พงษ์นาค
รองศาสตราจารย์ ดร.จินตนา สายทองคำ ที่ปรึกษาหลัก
ดร.รจั นา พวงประยงค์ (ศลิ ปนิ แหง่ ชาต)ิ ทป่ี รึกษารว่ ม
แนวคดิ ในการสร้างสรรค์งาน
พุทธบชู าปารมี เปน็ ผลงานสรา้ งสรรคท์ ่ไี ด้รับแรงบันดาลใจจากความศรทั ธาใน“พระพุทธปุษยครี ีศรสี วุ รรณภูมิ หรือหลวงพ่ออู่
ทอง” พระพุทธรูปแกะสลักหน้าผาที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย ปางโปรดพุทธมารดา ประดิษฐาน ณ เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัด
สุพรรณบุรี แหล่งประวัติศาสตร์สำคัญแห่งหนึ่งของประเทศไทย จุดมุ่งหมายของการแสดงชุดนี้เพื่อการระลึกถึงองค์สมเด็จพระสัมมาสัม
พุทธเจ้า และพระคุณธรรมของพระองค์ เป็นการผสมผสานแนวคิดการสร้างสรรค์งานด้านนาฏดุริยางศิลป์ไทย การศึกษาหลักฐานทาง
โบราณคดีท่ีกล่าวถึงอาณาจักรทวารวดี การได้รับอทิ ธิพลจากศิลปวัฒนธรรมอินเดีย และความสำคญั ของพระพุทธรูปสัญลกั ษณ์แห่งพุทธ
ปรัชญาที่แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองและการเป็นศูนย์กลางทางพุทธศาสนาในดินแดนสุวรรณภูมิ ด้วยการออกแบบบทร้อง ทำนองเพลง
กระบวนท่ารำ และเครื่องแต่งกาย ตามยุคสมัยทวารวดีผสมผสานกับศิลปะวัฒนธรรมอินเดีย แนวคิดการสร้างสรรค์จึงเป็นลักษณะการ
บูชาตามหลักพระพุทธศาสนาเถรวาท อามิสบูชา คือการบูชาด้วยเครื่องสักการะ (ดอกบัว) ลักษณะมือ และการใช้เท้านำมาจาก
ประติมากรรมพระพุทธรูป ดินเผารูปบุคคลฟ้อนรำ ศิลปะทวารวดี จิตรกรรมทางพระพุทธศาสนา รวมถึงการผสมผสานลีลาการร่ายรำ
แบบมอญและอนิ เดีย
รปู แบบและองค์ประกอบการแสดง
การสรา้ งสรรคเ์ ป็นรปู แบบระบำ แบ่งเป็น ๓ ชว่ ง ดังนี้
ช่วงท่ี 1 สักการะบชู า : การสักการะบูชาองคสัมมาสัมพุทธเจา สื่ออารมณ์ถงึ ความสงบ จติ ศรทั ธาเลอื่ มใส
ช่วงที่ 2 พุทธาประทานพร : การได้รับพรจากองค์พระพุทธปุษยคีรีศรีสุวรรณภูมิ (สัญลักษณ์แทนพระสัมมาสัมพุทธเจ้า) เกิด
ความเปน็ สริ มิ งคล ส่ืออารมณ์ถึงความเบกิ บาน สำราญใจ
ช่วงที่ 3 เฉลิมฉลองพุทธปารมี : การเฉลิมฉลองหลังจากได้รับพรจากองค์พระพุทธปุษยครี ีศรีสุวรรณภูมิ (สัญลักษณ์แทนพระ
สมั มาสมั พุทธเจา้ ) สือ่ อารมณถ์ ึงความรืน่ เริง
องค์ประกอบในการแสดง
- ผูแ้ สดง จำนวน 10 คน เปน็ ชาย จำนวน 4 คน หญิง จำนวน 6 คน
- เครื่องแต่งกาย ผสมผสานศิลปวัฒนธรรมและการแต่งกายจากอินเดีย กับอารยธรรมพื้นเมืองของทวารวดี ประกอบกับ
หลกั ฐานประติมากรรมปนู ปัน้ รูปนักดนตรี และประตมิ ากรรมรปู ธรรมจักร
- เพลง ดนตรี ออกแบบบทร้อง ทำนองเพลง ดนตรี โดยกำหนดสัดส่วนจากจังหวะช้า ไปจังหวะเร็ว เริ่มจากเสียงระฆัง
กังสดาล สื่อความหมายถึงบรรยากาศวิถีพุทธภายในวัดยามเช้า บทสวดไตรสรณ-คมน์ (เฉพาะบทแรก) บทสวดสรภัญญะ (แต่งบทใหม่)
เน้อื หากล่าวถงึ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ทำนองแขกถนอมนวล ทำนองเพลงเร็วระบำดอกบัวไทย (แต่งบทใหม่) และทำนองระบำแขก
(เฉลมิ ฉลองพทุ ธปารมี)
- อุปกรณ์ เทยี น และดอกบัว
42 40
การแสดงสรา้ งสรรค์ ชดุ ฟายฟ้อนนางเอ้
หนว่ ยงาน วทิ ยาลยั นาฏศิลปสุพรรณบรุ ี สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศิลป์
ผสู้ ร้างสรรค์ นางก่ิงดาว สวสั ดี
แนวคิดในการสรา้ งสรรค์งาน
ฟายฟ้อนนางเอ้ เป็นผลงานการแสดงสรา้ งสรรค์ที่ได้รับแรงบนั ดาลใจมาจากพธิ ีกรรม ความเชอ่ื เกี่ยวกับพิธีกรรม
ขอฝนในงานบญุ เดอื น 6 ตามประเพณี “ฮตี สบิ สองคองสิบสี่” ในประเพณีบุญบง้ั ไฟของลาวเวียงบา้ นดอนคา อำเภออ่ทู อง
จังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งเชื่อว่าเมื่อจุดบั้งไฟขึ้นฟ้า ฝนก็จะตกลงมาทำให้ทำให้มีพืชพันธ์ุธัญญาหารอุดมสมบูรณ์ จุดมุ่งหมาย
ของการแสดงชุดนี้ เพื่อแสดงออกถึงการระลึกถึงพระยาแถน (เทพวัสสกาลเทพบุตร) ด้วยการฟ้อนรำเพื่อแสดงความ
เคารพบชู าและส่งสัญญาณความภักดไี ปยังแถน ส่งิ ศกั ด์ิสทิ ธ์ทิ ชี่ ุมชนลาวเวียงนบั ถอื อนั กอ่ ให้เกิดคุณค่าในทางปฏิบัติ สร้าง
ความรัก ความสามคั คีของคนในชุมชน
รูปแบบการแสดง
การแสดงสรา้ งสรรค์ ชุด ฟายฟ้อนนางเอ้ แบ่งการแสดงออกเป็น 3 ช่วง
ช่วงท่ี 1 ศรทั ธา นำเสนอถึง การระลกึ ถึงพระยาแถน ส่อื อารมณถ์ งึ การร่วมแรงรว่ มใจ ความสามคั คี
ช่วงที่ 2 บูชาแถน นำเสนอถึง การแสดงความเคารพและความกตัญญูต่อพระยาแถน สื่ออารมณ์ถึง การเคารพ
บชู า ความภักดี
ช่วงที่ 3 ดินแดนแห่งความสุข นำเสนอถึง ชุมชนลาวเวียงบ้านดอนคา มีความอุดมสมบูรณ์ เมื่อพระยาแถนโปรย
ฝนลงมาใหช้ าวบ้านได้ใช้ทำการเกษตรกรรม สื่ออารมณ์ถึง ความสุข สนุกสนาน ร่ืนเรงิ
องคป์ ระกอบในการแสดง
- ผแู้ สดง ผู้แสดงหญงิ จำนวน 12 คน
- เครื่องแต่งกาย แต่งกายแบบลาวเวียงโดยใช้ผ้าฝ้ายทอมือย้อมสีแดงตัดเป็นเสื้อคอกลม แขนยาวทรงกระบอก
ผ่าหน้า ติดกระดุม 5 เม็ดชายเสื้อติดระบายลูกไม้สีแดง ห่มสไบผ้าลูกไม้สีขาว นุ่งผ้าซิ่นตีนจก ซึ่งเป็นผ้าทอมือที่เป็นอัต
ลักษณ์ของลาวเวยี ง พร้อมเครื่องประดบั ประกอบดว้ ย สรอ้ ยคอ ต่างหู เครอื่ งประดบั ศีรษะ ประกอบด้วย อุบะและดอก
จำปาลาว
- เพลงหรือดนตรี ประพนั ธ์บทรอ้ งโดยนายโยธนิ พลเขต และบรรจุเพลงรอ้ งและทำนองเพลงลายฟายฟ้อนนางเอ้
โดยนายสเุ ทพ สายชมภู แบ่งออกเป็น 3 ชว่ ง คอื ช่วงท่ี 1 เกรนิ นำ ชว่ งที่ 2 บทร้องกาพย์บง้ั ไฟ และชว่ งที่ 3 ลายฟายฟอ้ น
นางเอ้
- ดนตรีทใ่ี ชป้ ระกอบการแสดง ใชว้ งดนตรพี ื้นบ้านอีสาน ประกอบด้วย พณิ อีสาน แคน โหวด ซออู้ กลองยาว
อสี าน กลองหาง กลองรำมะนา ฉาบเล็ก ฉาบใหญ่
4341
ชอ่ื ชดุ การแสดง แกว้ กัลยา
ชือ่ หน่วยงาน วิทยาลยั นาฏศลิ ปสพุ รรณบุรี สถาบันบณั ฑติ พัฒนศลิ ป์
ผู้สรา้ งสรรค์ นางสาวพนดิ า บญุ ทองขาว
แนวคิดในการสรา้ งสรรคง์ าน
ด้วยปัจจุบันนี้ทั่วโลกกำลังกา้ วเข้าสู่สังคมผูส้ ูงอายุ ส่งผลกระทบต่อประชาชนและสังคมอย่างกว้างขวาง การแสดงสร้างสรรค์ ชุด
แก้วกลั ยา สร้างขึน้ สำหรบั ผสู้ งู อายหุ รือผูท้ ีก่ ้าวเข้าสู่วยั กลางคน ใชบ้ ทบาทของนาฏศิลป์ชว่ ยในการปรบั ตัวด้านร่างกายและจิตใจ เพื่อแสดง
ให้เห็นถงึ คุณคา่ ได้นำภูมปิ ัญญาการประกอบอาหารไทยเป็น จุดนำเสนอของการแสดง ประกอบกบั การใช้หลักการออกกำลังกายในการวาง
โครงสร้างการแสดง และมกี ล่มุ เยาวชนเขา้ มาร่วมแสดงเพ่ือใหค้ ณุ ค่า ความภาคภมู ิใจ ตอ่ ผู้สงู อายเุ ด่นชัดขนึ้
รปู แบบการแสดง รปู แบบการแสดงเป็นการผสมหลายจารตี มี 3 ชว่ ง ดังนี้
ช่วงที่ 1 เคลื่อนกายา เป็นช่วงอบอุ่นร่างกาย เคลื่อนไหวร่างกายประกอบจังหวะเพลงดว้ ยท่าทางการเคลื่อนไหวท่านาฏศลิ ปไ์ ทย
ท่าออกกำลังกาย ประกอบทำนองเพลง
ช่วงที่ 2 ภูมิปัญญาวิถี เป็นช่วงออกกำลงั กาย แสดงท่าตามธรรมชาติในการประกอบอาหารและท่านาฏศลิ ป์ประกอบบทร้อง ใน
จังหวะแร็พหรอื ฮปิ ฮอปและเสยี งประกอบจงั หวะในการทำอาหารแตล่ ะประเภท อาทิ ตำ ผดั ทอด ตม้
ช่วงที่ 3 เพลินชีวีสง่าสม ถือเป็นช่วงผ่อนคลาย เป็นการเคลื่อนไหวร่างกายประกอบจังหวะเพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ด้วยท่า
นาฏศลิ ป์ผสมสานท่าทางตามธรรมชาติ เพือ่ ชว่ ยผ่อนคลายกล้ามเนื้อ มีท่ารำนาฏศิลป์ตีบทตามคำรอ้ งของผแู้ สดงหญิงกล่มุ รองในตอนท้าย
องคป์ ระกอบในการแสดง
- ผ้แู สดง กำหนด จำนวนผแู้ สดงท้งั หมด 11 คน ประกอบด้วย ผแู้ สดงหญงิ กล่มุ หลกั ไดแ้ ก่ ผแู้ สดงกลมุ่ สูงอายุ
จำนวน 6 คน มีหนา้ ทด่ี ำเนินเรอื่ งราวหลกั ของการแสดง ผแู้ สดงชาย 2 คนและ ผแู้ สดงหญงิ กลุม่ รอง 3 คน เป็นวัยเยาวชน มีหนา้ ที่ประกอบ
เรอ่ื งราวใหส้ มบูรณ์และเสริมบทบาทของผู้แสดงหญิงกลุ่มหลัก
- เคร่ืองแตง่ กาย ผู้แสดงหญงิ กลุ่มหลักแสดงถึงความสง่างาม ความสดใส ความคล่องตัวในการเคลอ่ื นไหว และคงไว้ซึ่งความเป็น
ไทย ผแู้ สดงชาย เครื่องแต่งกาย เน้นความทะมัดทะแมง แสดงให้เหน็ ถึงความแขง็ แรงของรา่ งกาย ผู้แสดงหญงิ กลุ่มรองมแี นวคิดของเครื่อง
แต่งกาย เน้นสีขาวเพื่อให้สอดคล้องกับช่ือชุดการแสดง แก้วกัลยา เนื่องจากผู้แสดงกลุ่มนี้เปรียบเสมือนผู้แสดงคุณค่าของผู้สูงอายุผ่านบท
ร้องและทำนองเพลง
- เพลงหรือดนตรี การสร้างสรรค์ดนตรีขึ้นใหม่ตามหลักการออกกำลงั กาย โดยออกแบบการนำเสียงของเครือ่ งดนตรีไทย ดนตรี
สากล และเสียงสตริงคอร์ดมาผสมผสานเพื่อให้เกิดความร่วมสมัย เครื่องดนตรีที่นำมาใช้บรรเลงประกอบการแสดง มีทั้งเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรสี ากล ดังน้ี เครือ่ งดนตรไี ทย ประกอบดว้ ย ระนาดเอก ขลุย่ เครอ่ื งดนตรสี ากล ประกอบด้วย กตี า้ ร์ กีตา้ ร์เบส กลอง เปียโน
- อุปกรณ์ประกอบการแสดง อุปกรณ์ประกอบการแสดงที่สำคัญเป็นอุปกรณ์เกี่ยวกับการประกอบอาหารหลัก ๆ ได้แก่ ครก
และสาก กระทะพรอ้ มตะหลิว หมอ้ พร้อมทัพพี และกระต่ายขูดมะพรา้ ว
44 42
หน่วยงาน ชือ่ ชุดการแสดง นาฏศลิ ป์สร้างสรรคช์ ุด กาตยานศี รอี มุ า
วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรธี รรมราช สถาบันบณั ฑติ พฒั นศลิ ป์
ผ้สู รา้ งสรรค์ อาจารย์กฤษณะ สายสุนีย์
แนวคิดในการสร้างสรรค์งาน
ผู้วิจัยนำแนวคิดการสร้างสรรค์ผลงานคร้งั นี้มาจากตำนานของเทพีกาตยายนีในคัมภีร์ปุราณะผเู้ ปน็ องค์อวตารปาง
หนึ่งของพระอุมาเพื่อลงไปปราบมหิงษาสูรในนามว่า “เทพีกาตยายนี” ซึ่งเป็นการรำทรงเครื่องหลังจากพระอุมาอวตาร
ร่างเป็นเทพีกาตยายนีนี้ บทร้องพรรณนาถึงลักษณะทางกายภาพ เครื่องแต่งกายและอาวุธประจำกาย สำหรับชื่อเทพี
กาตยายนี ผู้วิจัยใช้วิธีการตัดเสียงและเปลี่ยนเสียงจากพระนามเดิมเป็น “เทพีกาตยานี” (อ่านว่า กา-ตะ-ยา-นี) เพื่อให้
เหมาะสมกับบทร้องในการแสดง กระบวนทา่ รำใชโ้ ครงสร้างท่ารำจากตำรารำทมี่ เี อกลักษณเ์ ฉพาะ และการผสมผสานการใช้
ภาษามือที่เรยี กวา่ มทุ รา มาผสมผสาน
รปู แบบการแสดง
นาฏศิลป์สรา้ งสรรคช์ ดุ “กาตยานศี รอี มุ า” แบ่งออกเปน็ 3 ชว่ ง ดงั นี้ ชว่ งท่ี 1 : การรำออกสูก่ ลางเวทีด้วยเพลรัว
ช่วงที่ 2 : การรำทรงเครื่องตามบทร้องด้วยเพลงอัปสรสำอาง เพลงสีนวล และเพลงสีนวลนอกและช่วงที่ 3 : การำเพ่ือ
สำแดงอิทธฤิ ทธ์แิ ละความเขม้ แข็งของเทพกี าตยานีด้วยเพลงหนา้ พาทย์รัวสามลา และการรำเขา้ สู่ด้านหลงั เวทีด้วยเพลงเชิด
องคป์ ระกอบในการแสดง
- ผู้แสดง ผู้แสดงเพศชาย ตามแบบอย่างการแสดงละครในและละครนอกในอดีต โดยมีอายุเฉลี่ย 18-25 ปี กำลัง
ศึกษาหรือสำเร็จการศึกษาในสาขาวิชานาฏศิลป์ไทย โขนพระ เพอื่ ใหไ้ ด้ผู้แสดงท่ีมีพนื้ ฐานความรู้ และความสามารถในด้าน
นาฏศลิ ปไ์ ทย
- เครื่องแต่งกาย ใช้รูปแบบการแต่งกายยืนเครื่องตัวนาง ศีรษะสวมรัดเกล้าเปลวและกระบังหน้าตามภาพ
จิตรกรรมภายในพระที่นั่งพุทไธสวรรย์ อีกทั้งการนุ่งผ้าชักชายสามเหลี่ยม ตลอดจนเครื่องประดับต่าง ๆ และการสวมเล็บ
จากภาพในตำรารำ
- เพลงหรือดนตรี ใชว้ งดนตรปี ่พี าทย์เครื่องห้าประกอบการแสดง โดยนายภวัต จนั ดารักษ์ เป็นผู้ประพันธ์บทร้อง
และบรรจุเพลง ประกอบด้วยเพลงรวั เพลงอัปสรสำอาง เพลงสีนวล เพลงสีนวลนอก เพลงหน้าพาทย์รัวสามลา และเพลง
เชดิ
- อุปกรณ์ ผู้แสดงถือตรีศูลเป็นอาวุธ ตามตำนานเทพีกาตยายนี ในคัมภีร์วามนปุราณะ กล่าวว่า พระอิศวรทรง
ประทานตรีศูลให้พระนางเป็นอาวธุ ประจำกาย และหลักฐานประติมากรรมรูปเคารพเทพีกาตยายนีที่สังหารมหิษาสรู ดว้ ย
ตรีศลู
4543
ช่อื ชดุ การแสดง นาฏศลิ ปส์ รา้ งสรรค์เชงิ อนรุ ักษ์ ชดุ ฉยุ ฉายนางมณโฑ
หน่วยงาน มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม
ผู้สร้างสรรค์ สาขานาฏศิลปแ์ ละการละคร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
แนวคดิ ในการสร้างสรรคง์ าน
การแสดงทเ่ี ก่ยี วกบั ตัวละครเอกมนี ามวา่ “มณโฑ ” ท่ปี รากฏในการแสดงเรอื่ ง รามเกียรต์ิ ตอน กำเนิดนางมณโฑ
ในบทพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) เป็นการแสดงชุดนี้เป็นผลงาน
ทางด้านนาฏศิลป์สร้างสรรค์เชิงอนุรักษ์ ชุด ฉุยฉายนางมณโฑ เป็นการรำเดี่ยวของตัวนาง ผู้สร้างสรรค์ได้ประดิษ ฐ์
กระบวนท่ารำและคำร้องข้นึ ใหม่ เพอ่ื ให้ทราบถงึ ประวตั ิความเป็นมาของตวั นางโขนท่ีมนี ามว่า “มณโฑ” ผแู้ สดงจะรำอวด
ฝีมอื ท่วงทา่ ลลี ากระบวนทา่ รำอย่างประณีตและสวยงาม ควบคกู่ ับการอนุรกั ษข์ นบจารตี ทางการแสดงนาฏศิลป์ไทย
รูปแบบการแสดง
การแสดงชดุ ฉุยฉายนางมณโฑ ผ้สู ร้างสรรค์ได้ออกแบบการนำเสนอการแสดง โดยแบง่ เปน็ 3 ชว่ ง
ช่วงท่ี 1 เกรนิ่ นำ หมายถงึ เกรนิ่ เลา่ ความเป็นมาของนางมณโฑ ด้วยบทประพนั ธโ์ คลงโบราณ
ช่วงที่ 2 รำตีบท หมายถึง เพื่อพรรณนาความงาม อวดฝีมือกระบวนท่ารำที่อ่อนช้อยงดงามของตัวนางมณโฑ ตามบท
ประพนั ธ์ท่ีแตง่ ขนึ้ ใหม่
ช่วงที่ 3 รำอวดฝีมือท่วงท่าลีลา หมายถึง การร่ายรำประกอบเพลงเร็ว - ลา เปน็ เพลงทต่ี ัวละครต้องร่ายรำเพ่ืออวดฝีมือ
โดยไม่มบี ทรอ้ งประกอบ
องคป์ ระกอบในการแสดง
- ผแู้ สดง นกั แสดงที่มีพน้ื ฐานทกั ษะการปฏิบัติทางดา้ นนาฏศลิ ปไ์ ทยเป็นอันดับแรก จำนวน 1 คน
- เครื่องแต่งกาย 1. เสื้อเกาะอกสีเขียวขี้ม้าตบแต่งด้วยขลิบสีทอง 2. ผ้ายกสีเขียว 3. กรองคอและรัดสะเอว
4. เคร่อื งประดบั สนี าค ประดับด้วยสังวาลดอกพุด 5. ศริ าภรณ์รัดเกลา้ เปลว
- เพลงหรือดนตรี เน้ือเพลงประพันธ์ขนึ้ ใหมโ่ ดยผ้สู รา้ งสรรค์ ปรบั ปรุงบทรอ้ งโดย อาจารย์เกษม ทองอร่าม บรรจุ
เพลงโดยอาจารย์มนตรี พนั ธ์รอด โดยเน้ือเพลงและทำนองตามลำดบั ดงั น้ี 1)บทโคลงโบราณ 2)ฉุยฉาย 3)แมศ่ รี 4)สีนวล
5)พมา่ เห่ 6)เรว็ -ลา
- วงดนตรที ใ่ี ช้ประกอบการแสดง คอื วงปี่พาทย์ จะใช้วงปพ่ี าทย์เคร่ืองหา้ เครือ่ งคู่ หรือเครอื่ งใหญ่ ขึ้นอยู่กบั
สถานทกี่ ารแสดง
46 44
ชือ่ ชดุ การแสดง รำโทนโคราชสามคั คี
หน่วยงาน มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา
ผสู้ รา้ งสรรค์ อาจารย์ ดร.ชุมพล ชะนะมา
แนวคดิ ในการสรา้ งสรรคง์ าน
สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อยกระดับกระบวนมโนทัศน์ของบุคลากรทางการศึกษาในการแสดงออกซึ่งความสามัคคีและ
ความรักในสถาบันชาติด้วยมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม โดยใช้การแสดงรำโทนโคราชเป็นสื่อกลางส่งเสริมให้เกิดความ
ความรัก กระตุ้นจิตสำนึกความสามัคคใี นชาตดิ ้วยการแต่งคำประพันธป์ ระกอบการแสดงด้วยประเด็นปลูกฝังความรักและ
ความสามคั คี ผ่านการแสดงออกดว้ ยลลี า ท่าทางแบบนาฏศลิ ป์ไทย และนาฏศลิ ปพ์ ื้นบา้ นโคราช ที่สามารถเข้าใจได้ง่ายไม่
ซบั ซอ้ นและนำไปปฏบิ ตั ติ ามไดจ้ รงิ ในสถานศึกษา และชมุ ชนต่าง ๆ ภายในจงั หวัดนครราชสมี า
รูปแบบการแสดง
นำเสนอเอกลักษณ์ของรำโทนในจงั หวดั นครราชสีผสมผสานกับหลกั การออกแบบการแสดงเพลงปลุกใจ รังสรรค์
ท่าทางในรูปแบบของรำโทนพื้นบ้านโคราชประยุกต์ มีบทร้องประกอบการรำตีบทที่กลา่ วถึงความรัก ความสามัคคีในชาติ
ชว่ งแรกเปดิ เร่ืองด้วยเพลงโคราช และการรอ้ งประกอบวงมโหรีโคราช ชว่ งทา้ ยแสดงการรำเกีย้ วพาราสีของชายหนุ่มหญิง
สาว โดยนำธงชาตไิ ทยประกอบลีลาในการแสดง
องคป์ ระกอบในการแสดง
- ผแู้ สดง ใช้นักแสดงถา่ ยทอดทา่ รำจำนวน 10 คน แบ่งเปน็ นักแสดงชาย 5 คน และนกั แสดงหญงิ 5 คน
- เครอ่ื งแต่งกาย ได้แรงบันดาลใจจากการแต่งกายของคนไทยในสมัยเปลี่ยนแปลงการปกครอง (พ.ศ.2475)
ผู้ชายสวมเสื้อคอกลม แขนสั้น นุ่งกางเกงขายาว ผู้หญิงสวมเสื้อคอขึง (คล้ายเสื้อคอกระเช้า) นุ่งผ้าซิ่น ผสมผสานกับ
เอกลักษณ์ท้องถิ่นโคราช ด้วยการห่มสไบและคาดเอวจากผ้าทอตามสีของธงชาติ สวมเครื่องประดับทองตามสมัยนิยม
และสวมรองเท้าทัง้ ชายและหญงิ
- เพลงหรือดนตรี ออกแบบบทขับร้องและดนตรีตามจารีตในการแสดงเพลงปลุกใจของกรมศิลปากร ที่เน้นการ
ใช้ภาษาทเ่ี ขา้ ใจง่าย สน้ั กระชบั และเนน้ ย้ำคำสำคญั ทต่ี อ้ งการให้ผู้ชมจดจำน่นั คือคำวา่ “สามคั คี” และยงั ได้นำเอกลักษณ์
นาฏศิลป์พื้นบ้านโคราช (รำโทน) ภาษาถิ่นโคราชสำเนียงของบทร้อง และเพลงประกอบที่บรรเลงด้วยมโหรีโคราช
ประกอบการตโี ทนเปน็ เคร่ืองดนตรีหลกั
- อปุ กรณ์ ธงชาตขิ นาดเล็กคนละ 1 ธง ประกอบการร่ายรำในตอนท้ายของการแสดง
45
47
ชอ่ื ชุดการแสดง มฤคพุทธเสมาราม
หนว่ ยงาน สาขาวิชานาฏศลิ ป์ไทย มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา
ผสู้ รา้ งสรรค์ นางสาวชลธิชา บวั ระพา นางสาวศิรพิ ร หมอประคำ
นางสาววิชุลัดดา สำรวย นางสาวสพุ รรษา วอนเก่านอ้ ย
นายนธิ พิ งษ์ ขำผา นายศตวรรษ ศรีม่วง
ดร.ชมุ พล ชะนะมา ผศ.ดร.นวลรวี กระต่ายทอง (ท่ีปรึกษา)
แนวคดิ ในการสร้างสรรค์งาน
การสร้างสรรคผ์ ลงานนาฏศิลปช์ ดุ “มฤคพทุ ธเสมาราม”สร้างสรรคข์ ้ึนดว้ ยแรงบนั ดาลใจจากเร่ืองราวที่ปรากฏใน
หลักฐาน จากการค้นพบวัตถุโบราณรูปปั้นกวางหมอบหน้าธรรมจักรที่เกิดขึ้นในสมัยทวารวดี ณ วัดธรรมจักรเสมาราม
อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา นำเสนอแนวคิดจากความเชื่อท่ีมีต่อกวางกับความสำคญั ในพระพุทธศาสนา เมื่อครั้งท่ี
พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมครั้งแรก ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน (ป่าของกวาง) ซึ่งชื่อของป่านี้มีที่มาตามความเชื่อในพุทธ
ชาดก 500 ชาติ เร่อื งนิโครธมิคชาดก ทพ่ี ระพุทธเจ้าเสวยชาตเิ ป็นพญากวางท่ปี ่าแหง่ น้ี
รูปแบบการแสดง
เป็นการนำลักษณะของระบำโบราณคดีสมัยทวารวดี ประยุกต์เข้ากับการเลียนแบบกิริยา ท่าทางของกวาง แบ่ง
การแสดงออกเป็น 3 ช่วงคือ ช่วงที่ 1 เสนออิริยาบถของกวาง ช่วงที่ 2 กล่าวถึงพญากวาง ที่เปรียบดั่งพระพุทธเจ้าเมื่อ
ครั้งเสวยชาติเป็นกวาง และช่วงที่ 3 นำเสนอบทสวดธรรมจักรกัปวัตนสูตรที่เป็นธรรมเทศนาครั้งแรก ณ ป่าอิสิปตน
มฤคทายวัน อนั กอ่ ให้เกิดสญั ลกั ษณส์ ำคัญทางพระพทุ ธศาสนา คอื เสมาธรรมจกั รและรูปป้ันกวางหมอบ
องค์ประกอบในการแสดง
- ผู้แสดง นักแสดงแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 นักแสดงชายแสดงบทบาทพญากวาง 1 คน กลุ่มที่ 2 นักแสดง
หญิงแสดงบทบาทกลุม่ กวาง (ตัวเมีย) 6 คน
- เครื่องแต่งกาย ได้แรงบันดาลใจจากการเลียนแบบรูปร่าง ลักษณะทางกายภาพของกวาง โดยใช้หลักการแต่ง
กายแบบนาฏศิลปไ์ ทย ออกแบบตามกล่มุ ของนักแสดงทั้ง 2 กลุม่ ใสเ่ คร่ืองประดบั ตามแบบศลิ ปวัฒนธรรมสมัยทวารวดี
- เพลงหรือดนตรี ผู้สร้างสรรค์ได้ออกแบบดนตรีประกอบการแสดงบนแนวทางของระบำโบราณคดีสมัยทวารดี
เป็นหลัก ปรบั ประยกุ ตใ์ ห้เขา้ กับวฒั นธรรมท้องถิน่ โคราช
48 46
ชอ่ื ชุดการแสดง “ป้าดเกิง่ ุตุ๊มเกงิ่ ”
หน่วยงาน วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปเชยี งใหม่ สถาบนั บัณฑติ พัฒนศิลป์
ผู้สรา้ งสรรค์ วา่ ทร่ี อ้ ยตรปี ยิ ชาติ แก้วมณี
แนวคิดในการสร้างสรรคง์ าน
ผู้สร้างสรรค์จึงได้แนวคิดและแรงบันดาลใจจากภาพจิตรกรรมฝาผนัง วรรณกรรมเรื่อง สังข์ทอง วิหารลายคำ ที่
ประดิษฐานพระพุทธสิหิงค์ อยู่ในวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร จังหวัดเชียงใหม่ โดยจะนำเสนอรูปแบบการการแต่งกายกลุ่ม
ชาติพันธุ์ไทใหญ่ หรือเงี้ยว ตามภาพจิตรกรรม ซึ่งมีความแปลกและแตกต่างจากการแสดงชุดอื่น และกลุ่มชาติพันธ์
อน่ื ๆ ซึ่งคนเมืองหรอื คนเชียงใหมเ่ รยี กขานกนั วา่ “ป้าดเกิง่ ต๊มุ เกิง่ ” ซ่ึงไม่ปรากฎการแตง่ กายลักษณะน้ใี หเ้ หน็ ในปจั จุบัน
รูปแบบการแสดง
สร้างสรรค์เรื่องราวและศิลปะการแสดงที่อนุรักษ์ไว้ซึ่งเอกลักษณ์การแต่งกายตามแบบอย่างใน ภาพจิตรกรรมฝา
ผนัง โดยนำเสนอออกมาในรูปแบบเรื่องราว (story show) ใช้เวลาในการแสดงทั้งหมด 8 นาที โดยแบ่งการแสดง
ออกเป็น 3 ชว่ ง ชว่ งที่ 1 : จายหาญเตียวดง ช่วงที่ 2 : อาจองคป์ ้าดเก่ิงตุ๊มเกิ่ง ช่วงที่ 3 : ง่วนงันเจงิ แอ่วสาว
องคป์ ระกอบในการแสดง
- ผู้แสดง นักแสดงทั้งหมด 18 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มที่ 1 คือคนล้านนา (คนเมือง) หรือคนนำสาร
จำนวน 3 คน กลุ่มท่ี 2 คือกลมุ่ ชาตพิ ันธุ์ไทใหญ่ จำนวน 15 คน รวม
- เครอ่ื งแตง่ กาย สรา้ งสรรค์แตง่ กายจากภาพจิตรกรรมฝาผนัง โดยนำเสนอรปู แบบการแตง่ กายกล่มุ ชาติพันธ์ุไท
ใหญ่ แต่งกายแบบเจ้าชาย 4 แบบและแต่งกายแบบล้านนา(คนเมือง)หรือคนนำสาร สร้างสรรค์เครื่องประดับตกแต่ง
ร่างกายใหส้ วยมากเหมาะกบั การแสดงทางดา้ นนาฏศลิ ป์
- เพลงหรือดนตรี ได้แนวคิดและแรงบันดาลใจจากทำนองเพลงประกอบฟ้อนเสเรเมา หรือฟ้อนเงี้ยว วงดนตรีที่
ใช้ในการประกอบแสดงชุด ป้าดเกิ่งตุ๊มเกิ่ง เป็นรูปแบบการประสมวงแนวผสมผสานขึน้ มาใหม่ ระหว่างวงปี่พาทย์ไม้นวม
ผสมวงดนตรพี ื้นเมือง และเครื่องดนตรีสากลบางชิ้น เหตุผลในการผสมวงเพื่อตั้งใจสื่อถึงความความเป็นดนตรีไทย ดนตรี
ลา้ นนา และสากลเพอ่ื ให้เกิดเปน็ แนวดนตรีสมัยใหม่
- อปุ กรณ์ รม่ และโหมง่
4947
ชอ่ื ชดุ การแสดง ฟ้อนเทวาอารกั ษ์ขาทา้ วท้ังส่ี
หนว่ ยงาน มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชยี งใหม่
ผสู้ รา้ งสรรค์ วา่ ทีร่ ้อยตรีสรายุทธ อ่องแสงคณุ
แนวคดิ ในการสรา้ งสรรคง์ าน
พิธีการขึ้นท้าวทั้งสี่ ตามความเชื่อของคนล้านนา เพื่อสร้างความสิริมงคลในการประกอบกิจกรรมต่าง ๆ นำมาสู่
กรอบแนวคิดในเรื่องการสรา้ งสรรคช์ ุดการแสดง โดยนำความเชื่อเรื่องการบูชาขึ้นท้าวทั้งสี่ ซึ่งใช้ผู้แสดงสมมตุ ิตนองเป็น
เทพตา่ ง ๆ ทง้ั 6 องค์ โดยแตง่ กายตามสขี องธงทีเ่ ปน็ สัญลกั ษณ์ใช้ปักบนกระทง และผฟู้ ้อนประกอบอีก 8 คน โดยการแสดง
ทสี่ ร้างสรรคข์ ึ้นใหมใ่ นคร้ังนี้ ใชช้ อื่ ชุดการแสดงว่า “ฟ้อนเทวาอารักษ์ขาทา้ วทั้งส่ี”
รปู แบบการแสดง
การแสดงชุดแบ่งออกเป็น 4 ช่วงการแสดง ช่วงที่ 1 บทอื่อกะโลง : มีความหมายถึงเทพทั้ง 6 องค์ ได้แก่ พระ
อินทร์ ทา้ วธตรฐ ท้าววริ ุฬหก ทา้ ววิรฬู ปกั ษ์ ท้าวกเู วร และพระแม่ธรณี ชว่ งที่ 2 อัญเชิญ : มคี วามหมายถึงมวลมนุษย์ทั้ง
8 ทิศ ฟ้อนรำพร้อมกัน ช่วงที่ 3 บูชา : ใช้รูปแบบการแปรแถว เพื่อแสดงให้เห็นถึงกระบวนท่าสัญลักษณ์เฉพาะของผู้
แสดงเทพทั้ง 6 องค์ ช่วงที่ 4 ฮักษา : ใช้ท่าฟ้อนสื่อให้เห็นถึงความรื่นเริง และเฉลิมฉลองปิติยินดีที่เทพทั้ง 6 เสด็จมา
ประทับยังแท่นทา้ วท้ังสี่ เพอื่ ปกปกั รกั ษา
องค์ประกอบในการแสดง
- ผู้แสดง ผู้แสดงเป็นเทพทั้ง 5 เป็นผู้แสดงชาย 8 คน ผู้แสดงเป็นเทพ (พระแม่ธรณี) เป็นผู้แสดงหญิง 1 คน และผู้แสดง
นางชา่ งฟอ้ น เป็นผูแ้ สดงหญงิ จำนวน 8 คน ซึ่งผแู้ สดงท้งั หมดมคี วามรู้พื้นฐานดา้ นนาฏศิลป์ไทย
- เครื่องแต่งกาย ได้แรงบันดาลใจในการออกแบบโดยศึกษาจากภาพจิตรกรรมภายในหออินทขิล รูปประติมากรรม
ท้าวจตุโลกบาลทั้งสี่ทิศ ภายในวัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ตลอดจนรูปประติมากรรมหุ่นพระแม่ธรณีบีบมวยผม นำมาเป็น
ต้นแบบในการจัดสร้างเครื่องแต่งกาย
- เพลงหรือดนตรี ใช้เพลงที่ประพันธ์ขึ้นใหม่ โดยมีการขับอื่อกะโลง ซึ่งเป็นคำประพันธ์ระดับสูงของล้านนา ตลอดจน
นำบทอัญเชญิ ท้าวทั้งส่ี โดยการบรรเลงเครอื่ งดนตรีวงสะลอ้ ซงึ และวงปาดเมือง (ป่ีพาทย์)
- อุปกรณ์ เทพแต่ละองค์มีอาวุธอันเป็นมงคล คือ มีวัชระ พระขรรค์ หอก ธนู กระบอง ตลอดจนช่อดอกไม้คำ เพ่ือ
แสดงถึงการนอ้ มถวายความบชู าแด่เทพทง้ั 6 องค์
50