The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

e-book-ประชาธิปไตยกับสิทธิมนุษยชน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chirana888, 2022-09-01 22:11:31

e-book-ประชาธิปไตยกับสิทธิมนุษยชน

e-book-ประชาธิปไตยกับสิทธิมนุษยชน

ความหมายของประชาธิปไตย

ประชาธิปไตย คือ ระบอบการปกครองท่ีอานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน ประชาชนมีสิทธิ
เสรภี าพ โดยอาศยั หลกั การของการแบง่ แยกอานาจ และหลกั การท่ีวา่ ดว้ ยความถกู ตอ้ งแห่ง
กฎหมาย ผปู้ กครองประเทศท่ีมาจากการเลือกตง้ั ของประชาชน เป็นเพียงตวั แทนท่ีไดร้ บั มอบ
อานาจใหใ้ ชอ้ านาจอธิปไตยแทนประชาชน ซง่ึ ระบอบการปกครองตนเองของประชาชน โดย
ผา่ นการเลือกสมาชิกผแู้ ทนราษฎรไปบรหิ ารและดแู ลเร่อื งกฎหมาย เพ่อื ผลประโยชนข์ อง
ประชาชนส่วนใหญ่ เช่น การย่ืนเสนอหรอื แกไ้ ขกฎหมาย การย่ืนถอดถอนนกั การเมืองท่ี
ประพฤติมิชอบ การแสดงความคดิ ในการทาประชาพจิ ารณ์ การออกเสียงในการทาประชามติ
ระบอบนีม้ ีลกั ษณะเด่นอย่ทู ่ีการแขง่ ขนั อย่างเสรรี ะหว่างกล่มุ หรอื พรรคการเมืองตา่ งๆ เพยี ง
เพ่อื ใหไ้ ดร้ บั ความไวว้ างใจจากประชาชนสว่ นมาก

1.ความหมายของคาว่า ประชาธิปไตย
ซง่ึ ตรงกบั คาในภาษาองั กฤษว่า Democracy ซง่ึ เกิดจากการผสมคาสองคา คือ

Demos กบั Keratein หรอื Demos หมายถงึ ประชาชน และ Kratorsหรอื
Kratein หมายถึง การปกครอง ฉะนนั้ ประชาธิปไตย(Demoskratia) จงึ หมายถึง การ
ปกครองโดยประชาชนสว่ นคาวา่ ประชาธิปไตยท่ีใชใ้ นภาษาไทยของเรานน้ั บญั ญตั ิขึน้ โดยเทียบ
กบั ศพั ทภ์ าษาองั กฤษ เป็นการนาเอาคาสองคามารวมกนั คือ ประชา ซง่ึ เป็นคาสันสกฤต รูปคา
เดิม คือ ปรชา แปลว่า ราษฎร หรอื ประชาชนและคาวา่ อธิปไตย แปลว่า ความเป็นใหญ่อย่าง
ย่งิ ฉะนนั้ ประชาธิปไตยจงึ หมายถงึ ระบอบการปกครองท่ีประชาชนมีอานาจสงู สดุ ในการ
ปกครองประเทศน่นั เอง

2. ความหมายตามทม่ี าและขอบเขตอานาจ
มีผใู้ หค้ วามหมายของประชาธิปไตยไวว้ า่ อานาจสงู สดุ มาจากประชาชน ทง้ั นีโ้ ดยอา้ งว่า

มนษุ ยท์ กุ คนเกิดมายอ่ มมีสทิ ธิและเสรภี าพโดยธรรมชาติ พวกเขาสามารถท่ีจะคดิ และกระทา
การใด ๆ ได้ แต่เม่ือมนษุ ยม์ าอยรู่ วมกนั เป็นสงั คม เขาจะสละสทิ ธิ์และอานาจบางประการ
ใหก้ บั ผปู้ กครอง เพ่อื ใชอ้ านาจนน้ั ดาเนินการภายในกรอบท่ีกาหนด ฉะนน้ั เราจะพบวา่ รฐั บาล
ในประเทศประชาธิปไตยนนั้ จะมีอานาจท่ีมีขอบเขต

3. ความหมายทเี่ น้นเรอื่ งสทิ ธิเสรีภาพ และความเสมอภาค
นกั ปรชั ญาการเมืองหลายทา่ นท่ีชีใ้ หเ้ ห็นวา่ รูปแบบการปกครองท่ีดีก็คือ การปกครองท่ี

เคารพสทิ ธิ และความเสมอภาคของมนษุ ย์ เช่ือวา่ สมาชกิ ของสงั คมทกุ คนมีสทิ ธิเทา่ เทียมกนั ท่ี
จะเขา้ มีสว่ นรว่ มในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การเมือง และสงั คม เพ่อื พฒั นาตนเองและสงั คมโดย
ส่วนรวม นอกจากนีร้ ะบบการเมืองจะตอ้ งเปิดโอกาส หรอื ใหเ้ สรภี าพแก่ประชาชนในการ
ดาเนนิ การใด ๆ ภายใตก้ ฎระเบียบของสงั คมดว้ ย ซง่ึ รูปแบบการปกครองดงั กล่าวก็คอื ระบอบ
ประชาธิปไตย

4. ความหมายทเี่ น้นการเข้ามสี ่วนร่วมหรอื เสยี งของประชาชน
ในเม่ือระบอบประชาธิปไตยใหค้ วามสาคญั กบั ประชาชนในฐานะท่ีเป็นเจา้ ของอานาจ

อธิปไตย ใชอ้ านาจนีอ้ า่ นทางองคก์ รทางการเมืองตา่ ง ๆ เพ่อื ประโยชนส์ ขุ ของตนเอง บทบาท
ของประชาชนในทางการเมือง จงึ มีความสาคญั มากในระบอบนีจ้ นมีผกู้ ลา่ ววา่ ประชาธิปไตย
นน้ั ถือว่าประชาชน คือ เสียงสรรค์ เป็นระบอบท่ีเปิดโอกาสใหป้ ระชาชนรว่ มดาเนินการเพ่อื
สรา้ งสรรคส์ งั คมของตนเอง กิจกรรมการเขา้ รว่ มทางการเมืองของประชาชน อาจเป็นทางออ้ ม
โดยผ่านกระบวนการเลือกตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรเขา้ ไปทาหนา้ ท่ีแทน หรอื อาจเป็นทางตรง
เช่น การประทว้ ง การรอ้ งเรยี น ในรูปแบบต่าง ๆ เพ่อื ใหร้ ฐั บาลรบั ทราบถึงปัญหา เป็นตน้

5. ความหมายทเ่ี น้นเจตนารมณข์ องประชาชน
ประธานาธิบดีอบั ราฮมั ลินคอลน์ แหง่ สหรฐั อเมรกิ าไดใ้ หค้ วามหมายของคาว่า

ประชาธิปไตยไวอ้ ย่างกระชบั และคมคายวา่ เป็นการปกครองของประชาชน โดย ประชาชน และ
เพ่อื ประชาชน ในระบอบประชาธิปไตยนน้ั ผนู้ าทางการเมืองเป็นผทู้ ่ีถือเสมือนเป็นตวั แทน
เจตนารมณข์ องประชาชน รฐั บาลเป็นตวั แทนของพรรคการเมืองท่ีมีเสียงขา้ งมาก หรอื ไดร้ บั
เสียงสนบั สนนุ สว่ นใหญ่ รฐั บาลจะคงอย่ใู นอานาจต่อไดเ้ ม่ือวาระสนิ้ สดุ ลง ก็โดยการแสดงให้
ประชาชนผเู้ ลือกตงั้ เห็นว่ารฐั บาลสามารถสนองตอบต่อเจตนารมณข์ องประชาชนไดอ้ ย่างมี
ประสทิ ธิภาพเท่านน้ั

สทิ ธิมนษุ ยชน คือ สิทธิและเสรภี าพขนั้ พนื้ ฐานท่ีเป็นของพวกเราทกุ คน ไม่ว่าเราจะเป็นใคร
หรอื อยทู่ ่ีไหนบนโลกใบนี้ ไม่วา่ คณุ จะมีความเช่ืออะไร หรอื ใชช้ ีวติ แบบไหนก็ตาม
สิทธิมนษุ ยชนไม่สามารถถกู พรากไปได้ แตบ่ างครงั้ สทิ ธิมนษุ ยชนอาจถกู จากัด เช่น ถา้ คณุ
ทาผดิ กฎหมาย หรอื กระทาการท่ีอาจเป็นอนั ตรายต่อความม่นั คงของชาติ ทง้ั นี้ สิทธิ
มนษุ ยชนนน้ั ตงั้ อยบู่ นพนื้ ฐานของคณุ ค่าความเป็นมนษุ ย์ เช่น ความมีศกั ดศิ์ รี ความยตุ ธิ รรม
ความเทา่ เทียม ความเคารพ และความเป็นอสิ ระ นอกจากนีส้ ทิ ธิมนษุ ยชนนน้ั ไมไ่ ดเ้ ป็นเพียง
แค่แนวคิดท่ีเป็นนามธรรมเท่านน้ั เพราะสทิ ธิมนษุ ยชนคือแนวคดิ ท่ีไดร้ บั การนิยาม และไดร้ บั
การคมุ้ ครองตามกฎหมาย

สิทธิมนษุ ยชนขนั้ พนื้ ฐาน
สิทธิมนษุ ยชนมีคณุ ลกั ษณะเฉพาะ ซง่ึ ไดร้ บั การยอมรบั โดยประชาคมโลก ดงั นี้

มีความเป็นสากล: สิทธิมนษุ ยชนเป็นของมนษุ ยท์ กุ คน
พรากไปไมไ่ ด:้ สทิ ธิมนษุ ยชนไมส่ ามารถถกู พรากไปจากเราได้
ไม่สามารถแบง่ แยกได้ เพราะสิทธิทกุ สทิ ธิลว้ นเก่ียวขอ้ งกนั : รฐั บาลไม่สามารถเลือกท่ีจะ
เคารพสิทธิใดสทิ ธิหน่งึ ได้ สิทธิทกุ สิทธิตอ้ งไดร้ บั การเคารพอยา่ งเทา่ เทียมกนั

สิทธิมนษุ ยชน คือ สทิ ธิและเสรภี าพขนั้ พนื้ ฐานท่ีเป็นของพวกเราทกุ คน ไม่ว่าเราจะเป็นใคร
หรอื อยทู่ ่ีไหนบนโลกใบนี้ ไม่วา่ คณุ จะมีความเช่ืออะไร หรอื ใชช้ ีวิตแบบไหนก็ตาม
สทิ ธิมนษุ ยชนไม่สามารถถกู พรากไปได้ แต่บางครงั้ สทิ ธิมนษุ ยชนอาจถกู จากัด เช่น ถา้ คณุ
ทาผิดกฎหมาย หรอื กระทาการท่ีอาจเป็นอนั ตรายตอ่ ความม่นั คงของชาติ ทงั้ นี้ สิทธิ
มนษุ ยชนนนั้ ตงั้ อย่บู นพนื้ ฐานของคณุ ค่าความเป็นมนษุ ย์ เชน่ ความมีศกั ดศิ์ รี ความยตุ ิธรรม
ความเทา่ เทียม ความเคารพ และความเป็นอิสระ นอกจากนีส้ ทิ ธิมนษุ ยชนนน้ั ไม่ไดเ้ ป็นเพียง
แค่แนวคดิ ท่ีเป็นนามธรรมเทา่ นนั้ เพราะสทิ ธิมนษุ ยชนคือแนวคิดท่ีไดร้ บั การนิยาม และไดร้ บั
การคมุ้ ครองตามกฎหมาย

สทิ ธิมนษุ ยชนขนั้ พนื้ ฐาน
สทิ ธิมนษุ ยชนมีคณุ ลกั ษณะเฉพาะ ซง่ึ ไดร้ บั การยอมรบั โดยประชาคมโลก ดงั นี้

มีความเป็นสากล: สิทธิมนษุ ยชนเป็นของมนษุ ยท์ กุ คน
พรากไปไม่ได:้ สทิ ธิมนษุ ยชนไม่สามารถถกู พรากไปจากเราได้
ไม่สามารถแบ่งแยกได้ เพราะสิทธิทกุ สทิ ธิลว้ นเก่ียวขอ้ งกนั : รฐั บาลไมส่ ามารถเลือกท่ีจะ
เคารพสิทธิใดสทิ ธิหน่งึ ได้ สทิ ธิทกุ สิทธิตอ้ งไดร้ บั การเคารพอย่างเทา่ เทียมกนั

การตอ่ สกู้ บั การละเมดิ สิทธิมนษุ ยชน
พวกเรามกั ละเลยความสาคญั ของสิทธิมนษุ ยชน เพราะสทิ ธิมนษุ ยชนเป็นแนวคิดท่ีอยู่

บนพืน้ ฐานของหลกั การเร่อื งความมีศกั ดศิ์ รี ความยตุ ิธรรม ความเทา่ เทียม ความเคารพ และ
ความเป็นอิสระ หลายครงั้ เราจะลกุ ขนึ้ มาต่อสแู้ ละใหค้ วามสาคญั กบั สทิ ธิมนษุ ยชนก็ตอ่ เม่ือ
สทิ ธิของเราถกู ละเมดิ ในความเป็นจรงิ สิทธิมนษุ ยชนนน้ั ถกู ละเมดิ ตลอดเวลา ยงั มีคนนบั
พนั ท่วั โลกท่ีไมไ่ ดร้ บั การพจิ ารณาคดีอย่างเป็นธรรม และถกู จาคกุ เพยี งเพราะความคดิ หรอื
ความเช่ือบางอย่างของพวกเขา อีกทง้ั พลเมืองยงั ตกเป็นเปา้ โจมตีในสงคราม เด็กๆถกู
บงั คบั ใหอ้ อกไปรบ การขม่ ขืนถกู ใชเ้ ป็นเคร่อื งมือในการทารา้ ยคน น่ีคือเหตผุ ลว่าทาไมเราจงึ
ไมค่ วรละเลยความสาคญั ของสิทธิมนษุ ยชน และทาไมสทิ ธิมนษุ ยชนจงึ ควรถกู คุม้ ครองตาม
กฎหมาย เพ่อื ท่ีเราจะไดเ้ อาผดิ และดารงความยตุ ิธรรมเม่ือรฐั หรอื บคุ คลใดบุคคลหน่งึ ละเมิด
สิทธิมนษุ ยชน

ทาไมคุณต้องสนใจสิทธิมนุษยชน?
สทิ ธิมนษุ ยชนไมไ่ ดเ้ ป็นเพยี งแคก่ ฎหมาย แตส่ ทิ ธิมนษุ ยชนคือการตดั สนิ ใจ และส่ิงท่ีเรา

ประสบพบเจอในแต่ละวนั
ถา้ เรารูส้ กึ ไม่ชอบใจในส่ิงท่ีรฐั บาลทา ส่วนใหญ่แลว้ พวกเราคงไม่รรี อท่ีจะเอาไปพดู กบั เพ่อื นไม่
วา่ จะในอนิ เตอรเ์ นต็ หรอื ในรา้ นเหลา้ การกระทานีอ้ าจดไู ม่มีความหมาย แต่มนั คือสทิ ธิ
มนษุ ยชน คือ สิทธิและเสรภี าพในการแสดงออก
โดยสว่ นใหญ่แลว้ คนจะไมใ่ หค้ วามสาคญั ม่ือมีการเคารพสทิ ธิมนษุ ยชนเกิดขนึ้ เดก็ ๆ หลายคน
ไมย่ อมต่ืนนอนไปโรงเรยี นทง้ั ๆ ท่ีพวกเขาไดร้ บั สทิ ธิในการศกึ ษา แต่เดก็ ๆ ท่ีตอ้ งอพยพออกจาก
ประเทศตวั เอง และถกู ปฏิเสธไม่ใหไ้ ดร้ บั การศกึ ษาคงมีความสขุ ท่ีไดไ้ ปโรงเรยี นทุกวนั
สทิ ธิมนษุ ยชนในประเทศไทย

ประเทศไทยเป็นภาคีสนธิสญั ญาระหว่างประเทศดา้ นสทิ ธิมนษุ ยชนแลว้ จานวน 7 ฉบบั
จากทงั้ หมด 9 ฉบบั ทาใหป้ ระเทศไทยมีพนั ธะผกู พนั ในการปฏิบตั ิตามปฏิญญาสากลว่าดว้ ย
สทิ ธิมนษุ ยชน และสนธิสญั ญาระหว่างประเทศดา้ นสทิ ธิมนษุ ยชนท่ีประเทศไทยเป็นภาคี รวม
ไปถงึ ขอ้ ตกลงตา่ งๆ ท่ีเกิดขนึ้ จากการประชมุ ระดบั โลก โดยองคก์ รของรฐั ท่ีมีหนา้ ท่ีหลกั ในการ
ทางานเพ่อื คมุ้ ครองสิทธิมนษุ ยชนในประเทศไทย คือ กรมคมุ้ ครองสทิ ธิและเสรภี าพ กระทรวง
ยตุ ธิ รรม รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทยฉบบั ปัจจบุ นั (พ.ศ. 2560) ไดร้ ะบถุ งึ การคมุ้ ครอง
สทิ ธิมนษุ ยชนไวห้ ลายมาตราดว้ ยกนั เช่น ในมาตรา 4 นนั้ ระบวุ า่ "ศกั ดศิ์ รคี วามเป็นมนษุ ย์
สทิ ธิ เสรภี าพ และความเสมอภาคของบคุ คลย่อมไดร้ บั ความคมุ้ ครอง" และ ในหมวดท่ี 3 ซง่ึ
เป็นหมวดสิทธิและเสรภี าพของปวงชนชาวไทย มาตราท่ี 25 ถึง 49 ยงั ไดบ้ รรยายขอบเขตของ
สิทธิและเสรภี าพของประชาชนไวใ้ นหลายดา้ นดว้ ยกนั เชน่ ความยตุ ธิ รรมทางอาญา
การศกึ ษา การไม่เลือกปฏิบตั ิ เสรภี าพในการแสดงออก การไมก่ า้ วก่ายชีวิตสว่ นตวั และขา้ ว
ของเคร่อื งใชส้ ่วนตวั เป็นตน้ นอกจากนี้ รฐั บาลยงั ไดจ้ ดั ทา แผนสทิ ธิมนษุ ยชนแห่งชาติ ซง่ึ
จดั ทาฉบบั แรกในปี 2551 ในขณะท่ีฉบบั ปัจจบุ นั เป็นฉบบั ท่ี 3 พ.ศ.2557-2561 โดยรฐั บาลได้
จดั ทาแผนสิทธิมนษุ ยชนแหง่ ชาตขิ นึ้ เพ่อื ใหท้ กุ ภาคส่วนนาไปใชใ้ นการสง่ เสรมิ ปกปอ้ ง และ
คมุ้ ครองสทิ ธิของประชาชนในประเทศตอ่ ไป

ขอ้ ดีและขอ้ เสียของประชาธิปไตย

ขอ้ ดี

1.ประชาชนมีสทิ ธิ เสรภี าพและเสมอภาค ประชาชน ทกุ คนมีสิทธิแห่งความเป็นคนเหมือนกนั ไมว่ ่า
ยากดีมีจน เช่น สิทธิในรา่ งกาย สิทธิในทรพั ยส์ นิ ทกุ คนมีเสรภี าพในการ กระทาใดๆ ไดห้ าก
เสรภี าพนนั้ ไมล่ ะเมดิ สทิ ธิเสรภี าพของผอู้ ่ืน เช่น เสรภี าพในการนบั ถือศาสนา เสรีภาพใน การพดู
การเขียน การวิพากษว์ จิ ารณแ์ ละทกุ คนมีความเสมอภาค หรอื เท่าเทียมกนั ท่ีจะไดร้ บั การคมุ้ ครอง
โดย กฎหมายเป็นตน้

2.ประชาชนปกครองตนเอง ประชาชนสามารถเลือกตวั แทนไปใชอ้ านาจนิติบญั ญตั ใิ น
การออก กฎหมายมาใชป้ กครองตนเองและเป็นรฐั บาลเพ่อื ใชอ้ านาจบรหิ าร ซง่ึ สามารถ
สนองตอบความตอ้ งการของ ประชาชนสว่ นรวมไดด้ ีเพราะผบู้ รหิ ารท่ีเป็นตวั แทนของปวง
ชนยอ่ มรู้ ความตอ้ งการของประชาชนไดด้ ี

3.ประเทศมคี วามเจรญิ ม่นั คงการมสี ว่ นรว่ มในการปกครองตนเองทาให้
ประชาชนมคี วามพรอ้ มเพรยี งในการปฏบิ ตั ิามกฎ และระเบยี บท่ีตนกาหนด
ขนึ้ มายอมรบั ในคณะผบู้ รหิ ารท่ีตนเลอื กขนึ้ มาและ ประชาชนไมม่ ีความรู้
ตอ่ ตา้ นทาใหป้ ระเทศมคี วามสงบสขุ เจรญิ กา้ วหนา้ และม่นั คง

ขอ้ เสีย
1.ดาเนินการยาก ระบอบประชาธิปไตยเป็นหลกั การปกครองท่ีดีแตก่ าร
ท่ีจดั สรรผลประโยชนต์ รงกบั ความตอ้ งการประชาชนทกุ คนยอ่ มทา
ไม่ไดน้ อกจากนนั้ ยงั เป็นการยากท่ีจะใหป้ ระชาชนทกุ คนมีความรูค้ วาม
เขา้ ใจและปฏิบตั ิตามสิทธิเสรภี าพทกุ ประการ
2.เสียคา่ ใชจ้ ่ายสงู การปกครองระบอบประชาธิปไตยจาเป็นตอ้ งให้
ประชาชนไปใชส้ ทิ ธิเลือกตงั้ ผแู้ ทน เพ่ือใหป้ ฏิบตั หิ นา้ ท่ีแทนตน การ
เลือกตงั้ ในแตล่ ะระดบั ตา่ งตอ้ งเสียคา่ ใชจ้ า่ ยมากทงั้ งบประมาณ
ดาเนินงานช่องทางราชการและคา่ ใชจ้ ่ายของผสู้ มคั รรบั เลือกตงั้
3.มคี วามลา่ ชา้ ในการตดสั ินใจการตดั สนิ ใจในระบอบประชาธิปไตย
ตอ้ งใชเ้ สยี งสว่ นใหญ่โดยผา่ นขนั้ ตอนการอภิปราย แสดงเหตผุ ลและ
มตทิ ่ีมีเหตผุ ลเป็นท่ียอมรบั ของสมาชิกสว่ นใหญ่จึงตอ้ งดาเนินตาม
ขนั้ ตอนทาใหเ้ กิดความลา่ ชา้

1. อานาจอธิปไตย หรอื อานาจสงู สดุ ในการปกครองประเทศ หรอื บางทีก็เรียกกนั

วา่ อานาจของรฐั (state power) เป็นอานาจท่ีมาจากปวงชน และผทู้ ่ีจะได้
อานาจปกครองจะตอ้ งไดร้ บั ความยินยอมจากประชาชนสว่ นใหญ่ในประเทศ
2. ประชาชนมีสิทธิท่ีจะมอบอานาจปกครองใหแ้ ก่ประชาชนดว้ ยกนั เอง โดยการ
ออกเสียงเลือกตงั้ ตวั แทนเพ่อื ไปใชส้ ทิ ธิใชเ้ สียงแทนตน เช่น การเลือก สส. หรอื สว.
โดยมีการกาหนดวนั เลือกตง้ั และมีวาระการดารงตาแหนง่ เช่น ทกุ 4 ปี หรอื 6 ปี
เป็นตน้
3. รฐั บาลจะตอ้ งเคารพสิทธิและเสรภี าพขนั้ พนื้ ฐานของประชาชน อาทิ สิทธิใน
ทรพั ยส์ นิ สทิ ธิในชีวิต เสรภี าพในการพดู การเขียน การแสดงความคิดเห็น การ
ชมุ นมุ โดยรฐั บาลจะตอ้ งไมล่ ะเมิดสิทธิเลา่ นี้ เวน้ แต่เพ่อื รกั ษาความม่นั คงของชาติ
หรอื เพ่อื รกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ย หรอื เพ่อื รกั ษาศีลธรรมอนั ดีงามของประชาชน
4. ประชาชนทกุ คนมีสทิ ธิเสมอกนั ในการท่ีจะไดร้ บั บรกิ ารทกุ ชนดิ ท่ีรฐั จดั ใหแ้ ก่
ประชาชน เช่น สิทธิในการ ไดร้ บั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน 12 ปีโดยไม่เสียค่าใชจ้ ่าย
5. รฐั บาลถือกฎหมายและความเป็นธรรมเป็นบรรทดั ฐานในการปกครอง และใน
การแกป้ ัญหาความขดั แยง้ ต่าง ๆ ระหว่างกล่มุ ชน รวมทงั้ จะตอ้ งไม่ออกกฎหมายท่ี
มีผลเป็นการลงโทษบคุ คลยอ้ นหลงั

ระบอบประชาธิปไตยแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ แบบท่ีมีพระมหากษัตรยิ เ์ ป็นประมขุ
และแบบท่ีมีประธานาธิบดีเป็นประมขุ
1. แบบแรกมีพระมหากษัตรยิ เ์ ป็นประมขุ ไดแ้ ก่ องั กฤษ เนเธอแลนด์ เบลเย่ียม
เดนมารก์ นอรเ์ วย์ สวีเดน ญ่ีป่นุ มาเลเซยี และไทย
2. แบบท่ีสองมีประธานาธิบดีเป็นประมขุ ไดแ้ ก่ ฝร่งั เศส อินเดีย สหรฐั อเมรกิ า
เป็นตน้
1. ประชาธิปไตยทางตรง คือ รูปแบบการปกครองโดยท่ีพลเมืองสามารถมีสว่ น
รว่ มกบั การตดั สินใจใด ๆ ไดโ้ ดยตรง โดยไม่ตอ้ งอาศยั คนกลางหรอื ผทู้ าหนา้ ท่ีแทน
ตน ประชาธิปไตยทางตรงปัจจบุ นั เป็นเพียงรูปแบบท่ีไมค่ อ่ ยแพรห่ ลายนกั
เน่ืองจากรูปแบบการปกครองดงั กลา่ วสามารถใชไ้ ดก้ บั ชมุ ชนท่ีมีกลุ่มคนขนาดเลก็
เท่านนั้
2. ประชาธิปไตยทางออ้ มเป็นการปกครองโดยท่ีประชาชนมีหนา้ ท่ีเลือกผูแ้ ทนไป
ทาหนา้ ท่ีแทนตนในรฐั สภา โดยการเลือกตง้ั จะคดั เอาผทู้ ่ีมีคะแนนเสียงเหนือกวา่
เป็นมาตรฐาน ผแู้ ทนดงั กลา่ วนอกเหนือจากจะสามารถมาจากการเลือกตง้ั โดยตรง
แลว้ ยงั อาจเขา้ มาจากการสรรหาตามรฐั ธรรมนญู หรอื อาจมาจากการกาหนด
ผแู้ ทนโดยพรรคการเมือง หรอื อาจใชร้ ูปแบบผสมผสานกนั

หลกั การสาคญั ของการปกครองระบอบประชาธิปไตย

1. หลกั ความเสมอภาค
- ความเสมอภาคทางการเมืองประชาชนทกุ คนสามารถมีสว่ นรว่ มทางการเมืองไดอ้ ย่างเท่า
เทียมกนั รูปแบบจดั แสดง การต์ นู เคล่ือนไหว Animation แสดงหลกั ความเสมอภาคทาง
การเมืองผ่านประชาชนทกุ ระดบั ทกุ อาชีพท่ีตา่ งมีหน่งึ สทิ ธิหน่งึ เสียงเทา่ เทียมกนั
- ความเสมอภาคทางเศรษฐกิจประชาชนทกุ คนตอ้ งไม่ถกู กีดกนั ในการประกอบอาชีพการ
ประกอบการตอ้ งเป็นไปอย่างเสรเี ป็นธรรมไม่มีการผกู ขาดทางการคา้ รูปแบบการจดั แสดง
การต์ นู เคล่ือนไหวแสดงหลกั ความเสมอภาคทางเศรษฐกิจผา่ นเรอ่ื งราวของประชาชนคนหน่งึ
ซง่ึ สามารถเปล่ียนอาชีพไดอ้ ย่างอิสระเสรี
- ความเสมอภาคทางโอกาสบคุ คลสามารถจะไดร้ บั การศกึ ษา การรกั ษาพยาบาลและการ
ใหบ้ รกิ ารจากรฐั อยางเทา่ เทียมกนั รูปแบบการจดั แสดง การต์ นู เคล่ือนไหว แสดงหลกั ความ
เสมอภาคทางโอกาสผา่ นภาพเปรยี บเทียบการไดรบั โอกาสท่ีเท่าเทียมกนั แมว้ า่ จะต่างฐานะ
กนั

2. หลกั สิทธิ เสรภี าพและหนา้ ท่ี
- สทิ ธิ คือ อานาจอนั ชอบธรรม หรอื ประโยชนท์ ่ีกฎหมายรบั รองและคมุ้ ครอง
รูปแบบการจดั แสดง การต์ นู เคล่ือนไหว แสดงหลกั สิทธิเปรยี บเทียบผา่ นเรอ่ื งราวการเคารพ
สิทธิซง่ึ กนั และกนั บนทอ้ งถนน โดยรถยนตค์ นั หนง่ึ ท่ีกระทาละเมิดสทิ ธิของรถคนั อ่ืนท่ีมาก่อน
- เสรภี าพ คือ การมีอิสระท่ีจะกระทาส่ิงใด ๆ โดยตอ้ งไมล่ ะเมดิ เสรภี าพของผอู้ ่ืน
รูปแบบการจดั แสดง การต์ นู เคล่ือนไหว Animation แสดงหลกั เสรภี าพการเคารพ
เสรภี าพซง่ึ กนั และกนั ของเพ่อื นท่ีอาศยั รว่ มหอ้ งเดียวกนั
- หนา้ ท่ี คือ ส่งิ ท่ีบคุ คลตอ้ งปฏบิ ตั หิ รอื งดเวน้ จากการปฏิบตั บิ คุ คลย่อมมีสิทธิ เสรภี าพ และ
หนา้ ท่ีซง่ึ การใชส้ ทิ ธิ เสรภี าพตอ้ งไมไ่ ปละเมิดสทิ ธิของผอู้ ่ืน และตอ้ งปฏิบตั หิ นา้ ท่ีของตน
ภายใตก้ ฎหมาย
รูปแบบการจดั แสดง การต์ นู เคล่ือนไหว Animation แสดงหลกั หนา้ ท่ีผ่านอาชีพแต่ละ
อาชีพท่ีแต่ละบคุ คลในสงั คมพงึ ปฏบิ ตั ติ ามหนา้ ท่ีแต่งอาชีพของตน

3. หลกั นิติธรรม
การใชก้ ฎหมายเป็นหลกั ในการบรหิ ารประเทศ บคุ คลทกุ คนตอ้ งอย่ภู ายใตก้ ฎหมาย เจา้ หนา้ ท่ี
ของรฐั ตอ้ งใชก้ ฏหมายตอ่ ทกุ คนอย่างเทา่ เทียมกนั โดยไม่เลือกปฏิบตั ิ
รูปแบบการจดั แสดง การต์ นู เคล่ือนไหว Animation แสดงหลกั นิตธิ รรมผ่านตาช่งั ความ
ยตุ ิธรรมเท่าเทียมกนั แมว้ ่าอีกฝ่ายจะมีอานาจฐานะมากกวา่ อีกฝ่ายก็ตาม
4. หลกั การใชเ้ หตผุ ล
คือ การใชห้ ลกั เหตผุ ลมาเป็นพนื้ ฐานในการตดั สนิ ใจ และหากมีการตดั สนิ ปัญหาดว้ ยการออก
เสียงตอ้ งยอมรบั มติของเสียงขา้ งมาก แตต่ อ้ งเคารพสิทธิของเสียงสว่ นนอ้ ย รูปแบบการจดั
แสดง การต์ นู เคล่ือนไหว Animation แสดงหลกั การใชเ้ หตผุ ่านการลงมติเสียงเลือกทาสี
หอ้ งใหมข่ องนกั เรยี นหอ้ งหนง่ึ โดยอาศยั หลกั เหตผุ ลและเสียงขา้ งมากในการตดั สินแตไ่ ม่ละเลย
เสียงขา้ งนอ้ ย
5. หลกั การมีส่วนรว่ มทางการเมือง
การปกครองระบอบประชาธิปไตยนนั้ ประชาชนมีส่วนรว่ มในการปกครองประเทศทงั้ ทางตรง
และทางออ้ ม ทางตรง เช่น การออกเสียงประชามติ การเสนอถอดถอน ฯลฯ ทางออ้ ม เชน่ การ
เลือกตวั แทนเขา้ ไปทาหนา้ ท่ีบรหิ ารประเทศแทนตน

- ทางตรง คือการใชส้ ิทธิเสรภี าพตามรฐั ธรรมนญู เช่น การแสดงความคิดเหน็ การออกเสียง
ประชามติ การขอรบั รูข้ อ้ มลู ข่าวสารราชการ การชมุ นมุ การรอ้ งทกุ ขส์ ว่ นราชการ
- ทางออ้ ม คือ การเลือกตง้ั ตวั แทน เช่น ส.ส. , ส.ว. ไปทาหนา้ ท่ีในการออกกฎหมายและบรหิ าร
ประเทศ
รูปแบบการจดั แสดง การต์ นู เคล่ือนไหว Animation แสดงหลกั การมีส่วนรว่ มทางการเมือง
ผา่ นการคดั เลือกหวั หนา้ หอ้ งคนใหม่ หากเลือกคนไมด่ ีเขา้ ไปเป็นตวั แทนจะทาใหเ้ ดือดรอ้ น
ดงั นน้ั ควรเลือกตวั แทนท่ีดีเขา้ ไปทาหนา้ ท่ีแทนตน


Click to View FlipBook Version