The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วย1_สังคมมนุษย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by C.nakapaksin, 2021-06-02 01:35:09

หน่วย1_สังคมมนุษย์

หน่วย1_สังคมมนุษย์

หนา้ ทพ่ี ลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชวี ิตในสังคม

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๓ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔ - ๖

กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๕ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๖ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๗

๑_หลกั สตู รวชิ าสงั คมศกึ ษา
๒_แผนการจัดการเรียนรู้
๓_PowerPoint_ประกอบการสอน

๔_Clip
๕_ใบงาน_เฉลย
๖_ขอ้ สอบประจาหนว่ ย_เฉลย
๗_ การวดั และประเมินผล

๘_เสรมิ สาระ
๙_สอ่ื เสริมการเรยี นรู้

บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด : 142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200
Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทรศพั ท์ : 02 622 2999 โทรสาร : 02 622 1311-8 [email protected] / www.aksorn.com

๑หน่วยการเรียนรู้ท่ี

สงั คมมนษุ ย์

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
• วิเคราะห์ความสาคญั ของโครงสร้างทางสังคม การขัดเกลาทางสังคมและการเปล่ยี นแปลงทางสงั คมได้

ความหมาย การอยรู่ ่วมกัน และองคป์ ระกอบของสังคม

ความหมายของสังคม

• สังคม หมายถงึ กล่มุ คนอย่างนอ้ ยสองคนขนึ้ ไปมาอาศยั อยรู่ วมกันในบริเวณใดบริเวณหน่งึ คนเหล่าน้จี ะมี
ความสัมพันธ์หรือการกระทาตอบโตก้ ันทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น การพูดจาทักทาย การทางานร่วมกนั
หรือการติดต่อส่อื สารระหว่างกนั เป็นต้น

การอยรู่ ว่ มกนั เป็นสังคม

• อรสิ โตเตลิ (Aristotle) นักปราชญ์ชาวกรกี ได้กล่าวไว้ว่า มนษุ ย์เป็นสัตวส์ ังคม (social animal) หมายความวา่ มนษุ ย์จะมี
ชีวิตโดยอยู่ร่วมกันเป็นหมูเ่ หล่า มีความเกี่ยวข้องกนั และกนั และมคี วามสัมพนั ธก์ นั ในหมมู่ วลสมาชกิ โดยสาเหตุทม่ี นษุ ยม์ าอยู่
รว่ มกันเป็นสังคม เพราะมคี วามจาเป็นด้านต่างๆ ดงั นี้

• มนษุ ยม์ ีระยะเวลาของการเปน็ ทารกยาวนาน ไม่สามารถชว่ ยเหลอื ตวั เองได้ในระยะเริ่มตน้ ของชีวิต ด้วยความจาเป็นทีจ่ ะตอ้ ง
มกี ารเลีย้ งดูทารกเป็นระยะเวลานานนีเ้ อง ทาให้มนุษยจ์ าเปน็ ต้องใช้ชีวติ อยู่ร่วมกนั สรา้ งแบบแผนความสมั พนั ธ์กนั เปน็
ครอบครัว เปน็ เพ่ือนบ้าน และมีความสมั พนั ธ์กบั คนในสังคมอ่ืนๆ

• มนุษย์มคี วามสามารถทางสมอง สามารถคดิ ค้นวธิ ีการในการควบคมุ ธรรมชาติ นามาใช้ในการตอบสนองความตอ้ งการ ซงึ่
จาเป็นตอ้ งอาศยั การแบ่งงานและความร่วมมือจากบุคคลอืน่ เพอ่ื ใหง้ านบรรลผุ ลสาเรจ็ มีความจาเป็นท่ีจะตอ้ งอยู่ร่วมกนั
กบั คนหลายๆ คน เชน่ การแสวงหาอาหาร ผลติ ส่งิ ของเคร่อื งนุ่งหม่ ยารักษาโรค การสรา้ งที่อยู่อาศัย เปน็ ต้น

• มนษุ ย์มีความสามารถในการที่จะสรา้ งวัฒนธรรมและส่งผ่านไปสู่คนรุ่นหลงั เพอื่ นาไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ซ่ึงเปน็
ปัจจยั พ้นื ฐานในการดาเนินชีวิตและวัฒนธรรมที่เกยี่ วขอ้ งกบั ความต้องการอน่ื ๆ เชน่ ต้องการความรกั ความอบอุน่
การจดั ระเบียบทางสงั คม ความเชื่อ ศาสนา ศลิ ปะขนบธรรมเนยี มประเพณี

องคป์ ระกอบของสงั คม

• ประชากร จะต้องมีจานวนตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป สังคมที่มีขนาดเล็กท่ีสุด
ก็คือครอบครัวประกอบดว้ ย พอ่ -แม่-ลูก

• อาณาเขต โดยท่ัวไปคนในสังคมจะอาศัยอยู่ในบริเวณใดบริเวณหนึ่ง ซึ่งพ้ืนที่ อาจมีขนาดจากัด เช่น ในบริเวณบ้าน ในบริเวณ
โรงเรียน เปน็ ต้น

• ความสมั พันธ์ สมาชกิ ในสังคมจะต้องมีความสัมพันธ์และการปฏิสัมพันธ์
ระหวา่ งกนั เช่น การพดู จาทักทาย การทางานกลมุ่ เปน็ ต้น

• การจัดระเบียบทางสังคม ปูองกันความขัดแย้งระหว่างสมาชิกในสังคมช่วยให้การติดต่อกันทางสังคม
เปน็ ไปอย่างเรยี บรอ้ ย เช่น การจดั ระเบยี บการจราจร การควบคมุ เวลาปิด-เปดิ ของสถานบันเทงิ เปน็ ต้น

• การมีวัฒนธรรมของตนเอง เมื่อคนในสังคมมาอยู่ร่วมกันเป็นหมู่เหล่าภายใต้สภาพแวดล้อมเดียวกัน ก็จะสร้างวัฒนธรรมและ
ขนบธรรมเนยี มประเพณีข้ึน กอ่ ใหเ้ กดิ เปน็ วัฒนธรรมเฉพาะของตนเองท่เี ป็นเอกลกั ษณ์

หนา้ ทีข่ องสงั คม

• ดูแลสมาชกิ ในสงั คมให้อยู่ร่วมกนั อย่างสันตสิ ขุ
• สรา้ งความเปน็ ธรรมให้เกิดขน้ึ ในสงั คม

• ประสานประโยชน์ระหว่างสมาชกิ ในสังคม
• ส่งเสริมการคดิ อย่างสร้างสรรคใ์ นสงั คม

• ปลกู ฝังจิตสานึกท่ีดใี ห้แกส่ มาชิกในสังคม

โครงสรา้ งทางสงั คม

โครงสรา้ งทางสังคม

สามารถแบง่ ได้เป็น ๒ ระดับ

กลมุ่ สังคม สถาบนั
ทางสงั คม

ความสัมพนั ธใ์ นระดบั กลุ่มสงั คม

กลุ่มสงั คมแบ่งออกไดเ้ ป็น ๒ ประเภท คือ

กลมุ่ ปฐมภูมิ

• คนกลมุ่ เลก็ ท่มี คี วามสัมพันธ์แบบใกลช้ ดิ เช่น ครอบครวั กลุ่มเพอ่ื นสนทิ

กล่มุ ทตุ ยิ ภมู ิ

• คนกลมุ่ ใหญ่ท่รี วมตวั กันในเรือ่ งใดเร่อื งหน่งึ เชน่ โรงเรยี น สมาคม องคก์ าร

ความสัมพนั ธใ์ นระดบั สถาบนั ทางสงั คม

• สงั คมดารงอยู่ไดเ้ พราะมีสถาบนั ต่างๆ คอยทาหน้าที่ขัดเกลาสมาชิกในสังคมให้เปน็ คนดีมีความสามารถ
มีกฎระเบียบ กฎหมาย และขนบธรรมเนียมประเพณี คอยควบคมุ สมาชิกในสงั คมให้อยใู่ นระเบยี บวนิ ยั
ซึง่ ส่งิ ต่างๆ เหลา่ นี้ประกอบกนั เป็นโครงสรา้ งท่ียึดโยงให้สงั คมดารงอยไู่ ดอ้ ย่างมน่ั คง

• โครงสร้างทางสงั คมทาให้เรามองเห็นภาพรวมของสังคมได้แจ่มชัด สามารถระบไุ ดว้ ่าสังคมนน้ั ๆ จะมคี วามม่นั คงแขง็ แรงมากน้อย
ดูได้จากการทาหนา้ ที่ของสถาบนั ทางสังคมต่างๆ ว่ามีความสอดคลอ้ ง สมดุล สนับสนนุ หรอื แขง่ ขันตามกฎกติกาหรือไม่เพยี งใด
ตรงกนั ขา้ มโครงสร้างสงั คมจะอ่อนแอไม่ม่นั คงหากวา่ ความสัมพนั ธแ์ ละสถาบันทางสงั คมมแี ต่ความขดั แยง้ คนในสงั คมไม่ทาตาม
บรรทดั ฐานทางสังคมท่ีวางไว้ ปญั หาสงั คมกจ็ ะปรากฏขึ้น ในทส่ี ุดสงั คมก็จะวุน่ วาย ไร้ระเบยี บ

สถาบันทางสังคม

• เมอ่ื คนมาอาศัยอยรู่ ่วมกนั และสรา้ งความสัมพนั ธข์ ้ึนระหว่างกนั ความสมั พันธ์เหลา่ นัน้ จะเชือ่ มโยงกนั ไปมาเสมอื นเปน็ แบบแผน
ทมี่ นั่ คง หากจดั แบง่ ความสมั พันธ์น้อี อกเปน็ เรื่องๆ กจ็ ะเห็นกลมุ่ ความสมั พันธท์ ี่มลี ักษณะคลา้ ยคลงึ กัน เราเรียกกลุ่มความสมั พันธ์
ในเร่ืองหนึ่งๆ วา่ “สถาบนั ทางสงั คม (social institution)

• พจนานกุ รมศพั ทส์ ังคมวทิ ยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๔ ได้ใหค้ วามหมายของสถาบันทางสังคมว่า หมายถงึ
ยอดรวมของรูปแบบความสมั พันธ์ กระบวนการ และวสั ดุอุปกรณ์ทส่ี รา้ งขนึ้ เพื่อสนองประโยชนส์ าคัญๆ ทางสังคมในเรอื่ งใด
เรอื่ งหน่งึ ทกุ สถาบนั จึงมีจารตี ประเพณีกฎเกณฑ์ ธรรมเนยี มปฏบิ ตั ิ และวัสดุอุปกรณต์ า่ งๆ ของตนเอง เชน่ อาคารสถานท่ี
เคร่ืองจกั รกล อุปกรณส์ ือ่ สาร เปน็ ต้น

• สถาบนั ทางสังคมตามนัยแหง่ สังคมวิทยานัน้ ไม่ไดจ้ ะปรากฏออกมาในรูปท่ีเปน็ ทางการ เชน่ การอยรู่ ว่ มกนั เป็นครอบครัวใน
บา้ นแหง่ หนงึ่ (สถาบนั ครอบครวั ) ธนาคาร สานกั งาน ตลาดสด (สถาบนั ทางเศรษฐกจิ ) โรงเรียน วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั
(สถาบนั การศึกษา) เท่านั้น แต่รวมไปถงึ รูปแบบท่ีไมเ่ ปน็ ทางการด้วย ซึ่งในแตล่ ะสังคม จะมสี ถาบันทางสงั คมทีเ่ ป็นพืน้ ฐาน
ดงั นี้

สถาบนั ครอบครัว

บทบาทหนา้ ท่ี

• อบรมเลี้ยงดสู มาชิกในครอบครัวให้เป็นคนดีของสงั คม เชน่ รจู้ กั
การเสียสละความตรงต่อเวลา การมีนา้ ใจต่อคนรอบข้าง เปน็ ต้น

• ถ่ายทอดวัฒนธรรมให้แก่สมาชกิ ใหมท่ ่กี าเนดิ ขึ้นมาในสงั คม เชน่
การเคารพผใู้ หญ่ การอ่อนนอ้ มถ่อมตน เป็นต้น

• กาหนดแนวทางปฏบิ ัตแิ กส่ มาชกิ ในครอบครัว เช่น การใช้จา่ ย
การอดออม การเลือกคู่ การหมั้น การแตง่ งาน เปน็ ตน้

สถาบนั เศรษฐกิจ

บทบาทหนา้ ที่

• พัฒนาและสร้างความเจริญกา้ วหน้าในทางเศรษฐกิจเพ่ือความอุดมสมบรู ณ์
และความมั่นคงแก่สมาชกิ ในสงั คม

• เป็นตวั กลางในการกาหนดกลไกราคา โดยต้องคานงึ ถึงความเหมาะสม
และประโยชน์ของผู้บริโภคเป็นหลัก

• กระจายสินคา้ และบริการใหเ้ พียงพอและท่ัวถงึ แก่ผบู้ ริโภคมากท่สี ดุ
โดยสนิ ค้าและบรกิ ารต้องมีมาตรฐานตามท่กี ฎหมายกาหนด

สถาบนั การเมอื งการปกครอง

บทบาทหนา้ ท่ี

• รกั ษาความสงบเรียบร้อยของชาติบ้านเมืองใหอ้ ย่ใู นสภาวะปกติ
สร้างระเบียบกฎเกณฑ์ใหแ้ กส่ งั คม บาบดั ทุกขบ์ ารงุ สุขใหแ้ ก่ราษฎร

• วนิ จิ ฉยั ขอ้ ขัดแยง้ ระหว่างสมาชิกในสังคม มอี งคก์ รตุลาการให้ความ
ยตุ ธิ รรมแก่สมาชกิ ทม่ี ีความขดั แยง้ กนั

• สร้างความสัมพนั ธอ์ ันดกี บั นานาประเทศ มีการตดิ ตอ่ สอ่ื สาร เพือ่ สรา้ ง
ความไว้เนื้อเช่อื ใจระหว่างกัน นาไปสู่ความรว่ มมือกนั ในด้านต่างๆ

สถาบนั การศกึ ษา

บทบาทหน้าที่

• จดั การศกึ ษาให้เยาวชนมีความรู้ ความสามารถ เพื่อจะได้นาไปใช้ใน
การประกอบอาชีพและการดาเนนิ ชวี ติ ในอนาคตต่อไป

• ส่งเสริมคา่ นิยมทด่ี งี าม ให้เยาวชนรจู้ ักใช้สทิ ธิและหนา้ ที่ของตนให้เกิด
ประโยชน์ตอ่ สังคมและประเทศชาติ โดยไม่ละเมิดสิทธขิ องผูอ้ ื่น

• ปลูกฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม มงุ่ เนน้ ให้เยาวชนเป็นผู้มีความร้คู ู่
คณุ ธรรม มคี วามซือ่ สตั ย์สุจรติ และรู้จกั เสียสละเพอ่ื ส่วนรวมและ
ประเทศชาติ

สถาบันศาสนา

บทบาทหน้าที่

• จดั การศึกษาให้เยาวชนมคี วามรู้ ความสามารถ เพื่อจะไดน้ าไปใชใ้ นการ
ประกอบอาชีพและการดาเนินชีวติ ในอนาคตตอ่ ไป

• ส่งเสรมิ คา่ นยิ มทดี่ งี าม ใหเ้ ยาวชนรู้จักใชส้ ทิ ธิและหน้าท่ขี องตนให้เกิด
ประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ โดยไม่ละเมดิ สทิ ธิของผอู้ ื่น

• ปลกู ฝังคุณธรรม จริยธรรม มุ่งเนน้ ให้เยาวชนเปน็ ผมู้ คี วามรคู้ ู่คณุ ธรรม
มีความซ่อื สัตย์สจุ รติ และรูจ้ กั เสยี สละเพื่อสว่ นรวมและประเทศชาติ

สถาบนั นนั ทนาการ

บทบาทหน้าที่

• สง่ เสริมการใช้เวลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ ให้สมาชิกในสงั คมเหน็ คณุ คา่
ของการทากจิ กรรมที่สรา้ งสรรคเ์ พอ่ื ตนเองและสว่ นรวม

• สรา้ งความบนั เทิงใหแ้ กส่ มาชกิ ในสงั คม เพ่อื ให้การดารงชีวติ มีความสขุ
สมบรู ณ์มากยง่ิ ขึน้

• ช่วยผ่อนคลายความตงึ เครยี ด เพม่ิ พูนอนามยั ทด่ี ี รวมทงั้ เสรมิ สรา้ ง
สขุ ภาพจติ ทด่ี ีใหก้ ับสมาชกิ ในสงั คม

สถาบนั สื่อสารมวลชน

บทบาทหนา้ ท่ี

• มีความเปน็ กลางในการนาเสนอขอ้ มูลข่าวสาร ไมน่ าเสนอขอ้ มลู เอนเอยี ง
ไปทางฝุายใดฝาุ ยหนง่ึ

• เปิดโอกาสใหป้ ระชาชนไดแ้ สดงความคดิ เห็นผ่านส่ือมวลชน เพอ่ื สะท้อน
ความเป็นจริงทีเ่ กดิ ขึน้ ในสงั คมปจั จุบนั

• มีสว่ นร่วมตรวจสอบการทางานของบุคคลและกลุ่มบุคคล ไดแ้ ก่ ผู้ดารง
ตาแหน่งทางการเมือง ขา้ ราชการ หรอื เจ้าหนา้ ทขี่ องรัฐ เป็นตน้

การจัดระเบยี บทางสงั คม

ความหมาย

• การจัดระเบียบทางสงั คม หมายถึง วธิ กี ารตา่ งๆ ทค่ี นในสงั คมกาหนดขน้ึ เพ่อื ใชเ้ ป็นระเบยี บกฎเกณฑ์ในการอยู่
รว่ มกนั เป็นการควบคุมสมาชิกใหม้ คี วามสัมพันธก์ นั ภายใต้แบบแผนเดียวกัน เพ่อื ใหเ้ กดิ ความเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย
ในสงั คม การจดั ระเบยี บทางสังคมจะแตกต่างกนั ออกไปในแต่ละสังคม ทั้งนเ้ี ป็นผลมาจากความคดิ ความเชือ่
ประวตั ิศาสตร์ สภาพภมู ศิ าสตร์ และบรรทัดฐานของสังคมนนั้ ๆ

องค์ประกอบของการจดั ระเบียบทางสังคม

๑ ระบบคุณคา่ ของสังคม

• เป็นหวั ใจหรือเปาู หมายสงู สดุ ท่ีสังคมปรารถนาจะใหบ้ ังเกิดขน้ึ คุณคา่ น้ีเปน็ สงิ่ ทส่ี มาชกิ ของสังคมยอมรับ ถือว่า
เป็นสิง่ ทีด่ ีงาม น่ายกย่อง และสมควรกระทาให้บรรลุผล เพราะจะก่อให้เกดิ ความร่มเย็นและความพงึ พอใจของ
สงั คมทัง้ มวล อาจมีการเรียกระบบคุณค่าของสงั คมวา่ เปน็ “ข้อตกลงของสังคม”

• ระบบคุณค่าของสงั คมทาหน้าทเี่ สมอื นหน่งึ เปน็ สมองของมนษุ ย์ เป็นศนู ย์รวมกาหนดใหส้ ่วนต่างๆ ของร่างกาย
ดาเนนิ งานไปตามกลไกใหบ้ รรลุเปูาหมายสงู สดุ เปาู หมายของสังคมก็เปน็ เช่นเดยี วกันเพราะเป็นเปาู หมายที่
สมาชกิ ของสงั คมนัน้ ประสงคท์ ่ีจะก้าวไปให้ถึง

๒ บรรทดั ฐานหรอื ปทสั ถานทางสงั คม

• มาตรฐานการปฏิบัตติ ามบทบาทและสถานภาพของแต่ละบคุ คล บรรทัดฐานทางสังคมเป็นระเบียบแบบแผนท่ี
กาหนดว่า การกระทาใดถูกหรือผดิ ควรหรือไมค่ วรยอมรบั ทัง้ นเี้ พื่อให้เป็นไปตามทศิ ทางของระบบคุณคา่ ทาง
สังคมนั่นเอง

• การกระทาทางสงั คมอาจจาแนกออกเป็นระดับตา่ งๆ ซงึ่ แต่ละระดบั อาจเรียกว่า “ประเภทของบรรทดั ฐาน”
ประกอบดว้ ย
วถิ ปี ระชา (folkways)

จารีต (mores)

กฎหมาย (law)

วถิ ปี ระชา (folkways) • วิถปี ระชา (folkways) หรอื ธรรมเนยี มชาวบ้าน เปน็ ระเบียบแบบแผนที่สมาชิกในสงั คม
ควรปฏิบัตติ าม ถ้าหากไมป่ ฏิบตั ิตามหรอื ฝุาฝนื จะถูกสงั คมตาหนติ ิเตยี นหรือมีปฏกิ ิรยิ า
ตอบโต้ที่ไมร่ ุนแรง แตห่ ากว่าทาความดตี ามมาตรฐานท่ีสังคมกาหนดจะได้รบั คาชมเชย
เล็กๆ น้อยๆ เพอื่ ให้กาลงั ใจ

จารีต (mores) • จารตี (mores) หรืออาจเรียกว่ากฎศีลธรรม จารีตประเพณเี ปน็ มาตรฐานการกระทาท่ี
สาคัญมากขึ้น ผทู้ ท่ี าผิดจารีตจะถูกนินทาว่ารา้ ย ถกู ตาหนอิ ย่างรุนแรงเป็นท่ีรงั เกยี จของ
สงั คมทั่วไป โดยเฉพาะสังคมทีย่ ังไม่มภี าษาเขยี นเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจารีตจะเป็นเสมือน
กฎสงั คมทร่ี นุ แรงทสี่ ุด เชน่ หากใครทาผดิ เรอ่ื งชู้สาวจะถกู ขับออกจากสงั คมหรอื ต้องโทษ
ประหารชวี ติ เปน็ ต้น

กฎหมาย (law) • กฎหมาย (law) เปน็ ข้อบงั คับท่ีรัฐจดั ทาขน้ึ หรือมาตรฐานของสงั คมหรอื จารีตประเพณีที่
ไดร้ ับการเขียนเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร โดยกาหนดบทลงโทษผทู้ ฝี่ ุาฝืนตามระดับความรนุ แรง
ของการกระทาไว้อยา่ งชดั เจน

๓ สถานภาพและบทบาท

• ในสังคมตา่ งๆ จะพบคนและกลมุ่ คนมากมาย บ้างก็ทักทายปราศรัยกันหรือทางานร่วมกัน บ้างก็เดินผ่านกันไป
มา โดยไมไ่ ด้สนใจกนั ปรากฏการณ์ดังนี้สามารถพบเห็นได้ในทุกสังคม หากมองลึกลงไป คนในสังคมต่างมีการ
กระทาโต้ตอบกัน ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม ตามตาแหน่งและหน้าท่ีในสังคมเราเรียกตาแหน่งทางสังคมว่า
“สถานภาพ” และหน้าทที่ ี่กระทาตามตาแหน่งวา่ “บทบาท”

• สถานภาพทางสังคม (social status) หมายถงึ ตาแหนง่ ท่บี ุคคลครอบครองอยู่ ซง่ึ บคุ คลจะมสี ิทธิและหนา้ ที่
ตามบทบาทของตาแหน่งนน้ั ๆ

• บทบาททางสังคม (social role) หมายถึง หน้าที่หรือพฤติกรรมที่แต่ละสังคมกาหนดให้ผู้ท่ีดารงตาแหน่ง
ตา่ งๆ ในสังคมกระทา

สถานภาพสามารถจาแนกออกได้เปน็ ๒ ประเภท

สถานภาพทต่ี ิดตัวมาแตก่ าเนิด สถานภาพสัมฤทธ์ิ

• เป็นสถานภาพที่สงั คมกาหนดให้โดยทบี่ ุคคลไมม่ ี • เปน็ สถานภาพทไ่ี ด้มาดว้ ยการใช้ความรแู้ ละ
ทางเลอื ก เชน่ เพศ อายุ สีผวิ การเป็นพ่อแม่ลกู ความสามารถของบคุ คล ตัวอย่างของสถานภาพ
การเปน็ ญาตพิ น่ี ้องตามสายเลอื ด เป็นต้น ประเภทนี้ เช่น ตาแหนง่ หน้าท่ีการงาน ระดบั
การศึกษา รายได้

การขัดเกลาทางสงั คม

• การขัดเกลาทางสังคม หมายถึง กระบวนการเรยี นรู้การเป็นสมาชิกของสังคม โดยซมึ ซบั บรรทดั ฐานและคา่ นยิ มทาง
สังคมมาเปน็ ของตนและเรยี นรใู้ นการปฏบิ ัตติ นตามบทบาทหนา้ ที่ เพ่อื ท่จี ะสามารถปรับตัวเข้ากบั สงั คมท่ตี นเปน็
สมาชิกอยไู่ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี

• กระบวนการขัดเกลาทางสังคมเรมิ่ ต้นตงั้ แต่บุคคลถอื กาเนดิ ขนึ้ มาในโลก ตวั แทนสาคญั ทท่ี าหน้าท่ีในเรอ่ื งน้ี ได้แก่
ครอบครัว กล่มุ เพ่อื น โรงเรียน มหาวทิ ยาลยั ศาสนา ตลอดจนสือ่ มวลชนต่างๆ ตวั แทนเหล่านี้จะทาให้บุคคลได้
ตระหนักถึงคณุ ธรรม คุณค่า และอดุ มคติที่สงั คมยึดม่นั ได้เรยี นรู้บรรทดั ฐาน และขนบธรรมเนยี มประเพณี ท่ีใชอ้ ยใู่ น
สงั คม

ประเภทของการขัดเกลาทางสงั คม

การขัดเกลาทางสงั คมโดยทางตรง

• การอบรมเลยี้ งดขู องพ่อแม่ ต้องใช้เหตผุ ลในการอบรมเลยี้ งดลู ูก ไมใ่ ช้อารมณใ์ นการ
ตัดสนิ ใจหรอื แกไ้ ขปัญหา รบั ฟงั ความคิดเหน็ ของลูก รวมทั้งเปดิ โอกาสให้ลกู ไดแ้ สดง
ความสามารถทต่ี นมีอยู่

• การอบรมสั่งสอนของครูอาจารย์ ครูตอ้ งอบรมและเสรมิ สร้างทักษะความร้แู ละพฤตกิ รรมท่ี
ดงี ามให้แก่นักเรยี น ฝึกฝนให้นักเรยี นไดพ้ ัฒนาศักยภาพอยา่ งรอบดา้ น ไมว่ า่ จะเปน็ ในเรื่อง
ของการเรยี น การทากจิ กรรม ตลอดจนการใช้ชีวติ ในสังคมอยา่ งมีความสุข

ประเภทของการขดั เกลาทางสงั คม

การขดั เกลาทางสงั คมโดยทางออ้ ม

• อ่านหนังสือ ช่วยเพ่ิมพูนความรใู้ ห้มีความหลากหลาย สร้างเสรมิ ประสบการณใ์ หมๆ่ สามารถนามาเป็น
แนวทางในการประพฤตปิ ฏบิ ัตติ นใหช้ ีวิตมคี ณุ ค่าและมรี ะเบยี บแบบแผนทด่ี ียิ่งขน้ึ

• การฟงั อภิปราย ชว่ ยเปดิ โลกทศั นใ์ หก้ วา้ งไกลมากขึ้น ไดร้ บั ฟงั ขอ้ มลู จากผ้มู ีความรู้ สามารถนา
ขอ้ คิดทีไ่ ด้มาปรับใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ได้

• การทากจิ กรรมกล่มุ ช่วยใหเ้ กิดการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ซ่งึ กนั และกนั เสริมสร้างความสามคั คใี นหมคู่ ณะ
รูจ้ ักเสยี สละเพอื่ ใหก้ จิ กรรมทท่ี านั้นประสบความสาเรจ็ สูงสุด

องค์กรท่ีทาหน้าท่ีในการขัดเกลาทางสงั คม

ครอบครัว
เป็นองคก์ รท่ีมบี ทบาทสาคัญมาก ซง่ึ จะทาหน้าท่ีอบรมส่งั สอนสมาชกิ ใหเ้ ปน็ พลเมืองดี ปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์ท่ีสงั คมกาหนด

โรงเรยี น

เป็นองคก์ รท่ที าหน้าท่ีเสริมสรา้ งความรู้ ความสามารถ ตลอดจนการปรับตวั ในการใช้ชวี ติ ในสงั คม

สถาบันศาสนา

เป็นองคก์ รที่ทาหนา้ ที่ถา่ ยทอดแนวทางการดาเนนิ ชวี ิตให้แกส่ มาชกิ ในสังคม มุง่ เนน้ ให้คนกระทาความดี ละเวน้ ความชวั่

กลุ่มเพือ่ น

เป็นองค์กรทที่ าหนา้ ที่ขัดเกลาทางสังคมอีกหนว่ ยหนึ่ง ในความเชื่อและค่านิยมเฉพาะกลุ่มตนเอง อาจแตกตา่ งกันออกไป
ตามลักษณะกลุ่ม เชน่ การแต่งกาย กลุ่มเดยี วกันก็จะแต่งกายคลา้ ยๆ กัน

สื่อมวลชน

เป็นองคก์ รท่ีทาหน้าที่ถ่ายทอดข่าวสารความรู้ ศิลปะ ประเพณี รวมท้ังกฎระเบยี บทางสังคมไปยงั สมาชกิ ของสงั คมทกุ หมู่เหล่า

การเปล่ียนแปลงในสงั คม

ความหมาย

• การเปล่ยี นแปลงทางสังคม หมายถงึ การเปลยี่ นแปลงระเบยี บของสงั คมในการกระทาในเร่ืองตา่ งๆ ซงึ่ เปน็ การ
เปลย่ี นแปลงท่เี กย่ี วขอ้ งกับความสมั พันธ์และแบบแผนความประพฤตขิ องสมาชิกในสังคมท่ีแตกต่างไปจากเดิม เชน่
การเปลย่ี นวัตถุสิ่งของที่ใช้ การเปลย่ี นแปลงความคดิ ความเช่อื เปน็ ต้น

ประเภทของการเปลยี่ นแปลงในสงั คม

การเปลย่ี นแปลงระดับจุลภาค

เปน็ การเปลี่ยนแปลงขนาดยอ่ ยในระดับบุคคล กลุ่มบคุ คล และรวมถงึ พฤติกรรมต่างๆ ของบคุ คล ตวั อยา่ งเชน่

• การผลิตสินค้า จากเดิมที่ผลิตสินค้าด้วยมือ เปลี่ยนมาเป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่
ในการผลิตสินค้า เพอื่ ใหไ้ ด้ปรมิ าณมาก เพยี งพอกับความตอ้ งการในปัจจบุ นั

• การศึกษาของนักเรียน จากเดิมครูจะเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่นักเรียนฝุายเดียว
เปลี่ยนเปน็ การศึกษาเน้นให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนคิดเป็น
ทาเปน็ และมีภาวะความเป็นผนู้ า

ประเภทของการเปลย่ี นแปลงในสงั คม

การเปล่ยี นแปลงระดับมหภาค

เป็นการเปล่ียนแปลงขนาดใหญ่ท่ีเกี่ยวข้องกับระบบสังคม มีผลกระทบต่อแบบแผนการดาเนินชีวิตของผู้คนในสังคม
เป็นจานวนมาก ตวั อย่างเชน่

• การเลิกทาสในสมยั รัชกาลท่ี ๕ ส่งผลใหร้ าษฎรทกุ คนมีความเทา่ เทียมกนั มเี สรีภาพในการ
ดาเนินชวี ติ ประกอบอาชพี นอกจากนี้ยงั มีผลทาใหป้ ระเทศมแี รงงานอสิ ระเพิม่ มากขนึ้

• การเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ เปลี่ยนจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็น
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด
ประชาชนมสี ิทธิ เสรภี าพ และความเสมอภาคเท่าเทียมกนั

ปจั จัยท่กี ่อใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงในสงั คม

ปจั จยั ภายใน • เช่น การประดิษฐ์คิดค้นสิ่งของใหม่ๆ การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ เศรษฐกิจ เป็นต้น
ซ่ึงมีผลตอ่ ทางสงั คมมาก เพราะเทคโนโลยีใหมๆ่ ทาให้สะดวกสบาย ติดต่อส่ือสารได้เร็วขึ้น ผลิตสินค้าได้
ในปริมาณท่ีมากข้ึน เกิดการเปล่ียนแปลงโครงสร้างทางประชากรและอาจก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างครอบครวั และสังคมในลาดับตอ่ ไป

มลู เหตุที่ทาให้เกิด
การเปลย่ี นแปลงในสังคม
สามารถจาแนกออกเป็น

๒ ปจั จยั ใหญๆ่

• ปัจจุบันมีการแพร่กระจายและการรับวัฒนธรรมของสังคมอื่นมาใช้กันมาก ตัวอย่างเช่นการนาระบบ ปจั จยั ภายนอก
โรงเรยี นมาใช้แทนการเรียนรู้จากครอบครัวหรือวัดเช่นในอดีต หรือการรับวัฒนธรรมด้านเครื่องแต่งกาย
อาหาร ยารักษาโรค และเครื่องมือส่ือสารจากสังคมอ่ืนมาใช้จนทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงทางสังคมขึ้น
มากมายในปจั จุบัน

ปญั หาสงั คมไทยและแนวทางการแกไ้ ขปญั หา

• สังคมไทยกเ็ ป็นเชน่ เดียวกบั สงั คมอ่ืนๆ ทวั่ โลกที่มีปญั หา เพราะทุกสังคมมกี ารเปลี่ยนแปลงมีคนกระทาพฤตกิ รรม
เบย่ี งเบนความสมั พันธ์ และสถาบันทางสังคมทาหน้าที่ไมค่ รบสมบูรณซ์ ง่ึ สง่ิ เหลา่ นีเ้ ป็นปจั จยั พน้ื ฐานทาใหเ้ กดิ ปัญหา
สังคมได้ ปัญหาสังคมอาจมคี วามรุนแรงและส่งผลกระทบตอ่ สงั คมในระดบั และขอบเขตทต่ี ่างกนั เช่น ระดบั ชมุ ชน
ระดบั ประเทศ และระดบั โลก เปน็ ตน้

ปญั หายาเสพติด

สาเหตขุ องปัญหา

• ความอยากรู้อยากลอง ความรู้เทา่ ไมถ่ งึ การณ์
• ไม่ได้รับคาแนะนาท่ถี ูกต้องจากผ้ใู หญ่และบุคคลทเ่ี กย่ี วข้อง
• การชกั ชวนของเพื่อน โดยสว่ นมากมักเกดิ จากความเกรงใจเพอื่ นหรอื ต้องการแสดงตนวา่ เปน็ พวกเดียวกับเพ่ือน

แนวทางการแกไ้ ข

• รัฐบาลควรมีนโยบายปราบปรามยาเสพติดอย่างจริงจังและเป็นรูปธรรม

• พอ่ แมค่ วรปลูกฝงั ค่านิยมท่ดี ใี ห้แก่ลกู เพือ่ ปูองกนั ปัญหายาเสพตดิ
• องค์กรเอกชนควรมบี ทบาทในการให้ความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับพิษภยั ของยาเสพตดิ

ปญั หาสง่ิ แวดล้อม

สาเหตขุ องปัญหา

• การตดั ไมท้ าลายปาุ การเผาปุา การลา่ สตั ว์
• การคมนาคมขนสง่ ที่กอ่ ใหเ้ กดิ มลพิษ
• การทิง้ ขยะลงในแมน่ ้าลาคลอง
• กระบวนการผลติ ของโรงงานอตุ สาหกรรม

แนวทางการแก้ไข

• ปลกู ฝังความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับการอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม
• รว่ มกันรณรงค์ใหป้ ระชาชนหันมาใช้พลังงานทดแทนกันมากขึ้น เช่น การใช้ถุงผ้าแทนการใช้ถงุ พลาสติก
• ปลกู ตน้ ไม้เพ่อื เพ่มิ พ้ืนที่สีเขยี วในบริเวณชมุ ชนและบรเิ วณท่สี าธารณะ

ปัญหาการทจุ รติ

สาเหตขุ องปญั หา

• เกิดจากความโลภ ความต้องการ ความอยากได้ ความบริโภคท่เี กนิ พอดี
• การเห็นตัว เหน็ แก่ประโยชน์สว่ นตนมากกว่าประโยชน์ส่วนรวม
• การขาดจติ สานกึ ทางศลี ธรรมและการไม่เกรงกลวั กฎหมาย

แนวทางการแกไ้ ข

• ภาครฐั ควรมบี ทลงโทษทางกฎหมายที่เข้มงวดเก่ียวกบั การทจุ รติ
• พ่อแม่ควรปลกู ฝังค่านยิ มท่ีดี เนน้ ความซอื่ สตั ยส์ ุจรติ ใหแ้ กบ่ ตุ รหลาน
• องคก์ รทกุ ภาคสว่ นควรตระหนกั ถึงความสาคญั และเปน็ ตวั อย่างท่ีดใี นการแกไ้ ขปัญหาการทจุ ริตอย่างเป็นระบบ

ปญั หาความรนุ แรงในครอบครวั และสงั คม

สาเหตขุ องปัญหา
• สังคมมีจานวนสมาชกิ หรอื จานวนประชากรเพม่ิ มากขึ้นอยา่ งรวดเร็ว
• คนในสังคมตอ้ งแข่งขนั กันในด้านตา่ งๆ จนเกดิ ความเครียด
• อยู่ในสภาพสังคมที่เน้นวตั ถนุ ิยม ขาดการยบั ยั้งชั่งใจและการควบคมุ อารมณ์ใหม้ สี ติ

แนวทางการแกไ้ ข
• ให้เกยี รติกนั ในครอบครวั หันหนา้ ปรึกษากนั ทั้งทางดา้ นการเงนิ การเรียน การดาเนนิ ชวี ิต และทางด้านจิตใจ
• ขอความร่วมมือจากองค์กรท้ังภาครัฐและเอกชนเขา้ ไปรณรงคก์ ารตอ่ ต้านการใชค้ วามรุนแรง
• การสร้างความสมานฉันท์ในสงั คม ทากิจกรรมรว่ มกนั รู้จักการพึ่งพาอาศยั กนั

แนวทางการพฒั นาทางสงั คม

• การพฒั นาประเทศในระยะแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) ยดึ หลกั
การปฏิบตั ติ าม “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” และขับเคลอื่ นให้เกดิ ผลในทางปฏบิ ตั ิที่ชดั เจนยิง่ ขึน้ ยดึ แนวคิด
การพฒั นาแบบบูรณาการเปน็ องค์รวมทีม่ ี “คนเปน็ ศนู ยก์ ลางการพัฒนา” ท้งั ด้านตวั คน สังคม เศรษฐกิจ
สง่ิ แวดล้อมและการเมืองซง่ึ ไดก้ าหนดยทุ ธศาสตร์การพฒั นาไว้ ดังนี้

๑ สรา้ งความเปน็ ธรรมในสงั คม
๒ พัฒนาคนสู่สังคมแหง่ การเรยี นรตู้ ลอดชีวิตอยา่ งยง่ั ยืน
๓ สร้างความเข้มแขง็ ภาคการเกษตร และความมั่นคงของอาหารและพลังงาน
๔ ปรบั โครงสร้างเศรษฐกจิ สกู่ ารเตบิ โตอยา่ งมคี ณุ ภาพและยังยืน
๕ สร้างความเชอ่ื มโยงกับประเทศในภมู ภิ าคเพ่อื ความมน่ั คงทางเศรษฐกิจและสังคม
๖ การจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมอย่างยงั่ ยนื


Click to View FlipBook Version