The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มรายงานผลกำกับติดตามฯ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เล่มรายงานผลกำกับติดตามฯ

เล่มรายงานผลกำกับติดตามฯ

รายงาน
ผลการกาํ กับ ตดิ ตาม
การยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา

โครงการขบั เคลือ่ นการยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาและประสทิ ธภิ าพ

โดยผา นกลไกคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดลําปาง
ประจําปง บประมาณ
พ.ศ.๒๕๖๕

สาํ นักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดลําปาง
สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ

คำนำ

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลำปางเป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่ในการประสานส่งเสริมและ
สนบั สนุนให้หน่วยงานทางการศกึ ษา และสถานศึกษาในสงั กัดกระทรวงศึกษาธกิ ารรวมทั้งหน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง
ในจงั หวดั ดำเนนิ งานใหส้ อดคลอ้ งกับนโยบายภายใต้การมีสว่ นรว่ มจากทกุ ภาคสว่ น ดงั นนั้ เพื่อให้การขับเคลอื่ น
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยผ่านกลไกคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
จึงจัดทำโครงการขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพการศกึ ษาและประสทิ ธิภาพการศกึ ษาจังหวดั ลำปางโดยผ่าน
กลไกคณะกรรมการศึกษาธกิ ารจงั หวดั โดยมีวตั ถุประสงค์ เพอื่ สรุปผลการกำกับ ติดตาม การยกระดบั คุณภาพ
การศึกษาของจังหวัดลำปางผ่านกลไกคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด รวมทั้งรับฟังความคิดเห็นและ
ข้อเสนอแนะองค์คณะบุคคลทงั้ ชุดเดมิ และชุดใหม่ โดยนำไปใชใ้ นการจดั ทำแผนพัฒนาการศกึ ษาจงั หวัดลำปาง
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 – 2570

ขอขอบคุณบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการทุกท่าน ที่ให้ความมร่วมมือในการ
ดำเนินกิจกรรมตามโครงการเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา ทำให้การดำเนินงานบรรลุผลตามเป้าหมาย
ท่ีกำหนด ซ่งึ ประโยชนเ์ กดิ ประโยชนส์ งู สุด ตอ่ การพฒั นาการศึกษาในจังหวัดลำปาง ใหม้ คี วามก้าวหนา้ ตอ่ ไป

กลุ่มนโยบายและแผน
สำนักงานศกึ ษาธิการจังหวดั ลำปาง

บทสรปุ ผบู ริหาร

ชื่อเรื่อง รายงานผลการกำกบั ตดิ ตาม การยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาของจังหวัดลำปาง ผา นกลไก
คณะกรรมการศกึ ษาธิการจงั หวัดลำปาง ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2565

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลำปางเปนหนวยงานที่ทำหนาที่ในการประสานสงเสริม
และสนับสนุน ใหหนวยงานทางการศึกษา และสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการรวมทั้งหนวยงาน
ท่ีเกีย่ วของในจังหวัด ดำเนินงานใหสอดคลองกับนโยบายภายใตการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน ดังนั้น เพื่อให
การขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยผานกลไกคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดเปนไป
อยางมีประสิทธิภาพ จึงจัดทำโครงการขบั เคลื่อนการยกระดับคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพการศึกษา
จังหวัดลำปางโดยผานกลไกคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดขึ้น ทำใหทราบถึงจำนวนโครงการที่ไดจัดทำ
ตามยุทธศาสตรแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดลำปาง ทั้งนี้ รวมถึงคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดลำปาง
ไดเห็นสภาพจริงในการจัดการศึกษาในแตละพื้นที่ วัตถุประสงคเพื่อสรุปผลการกำกับ ติดตามการยกระดับ
คุณภาพการศึกษาของจังหวัดลำปางผานกลไกคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดลำปาง และเพื่อรับฟง
ความคิดเห็นและขอเสนอแนะองคคณะบุคคลทั้งชุดเดิมและชุดใหม โดยนำไปใชในการจัดทำแผนพัฒนา
การศึกษาจังหวัดลำปาง (ระยะ 5 ป) ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 – 2570 กลุมเปาหมาย ไดแกหนวยงาน
การศึกษาในจังหวัดลำปาง จำนวน 7 แหง และสถานศึกษาในจังหวัดลำปาง 17 แหง ที่ดำเนินโครงการ/
กิจกรรม ในปงบประมาณ พ.ศ.2565 โดยใชเครื่องมือแบบติดตามการขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพ
การศึกษาและประสิทธิภาพการศึกษาจังหวัด โดยผานกลไกของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดลำปาง
ปงบประมาณ พ.ศ.2565 จำนวน 2 ชุด ที่ผูเ ช่ียวชาญไดจดั ทำขนึ้ เพอื่ นำไปใชใ นการลงพนื้ ท่ีกำกับ ตดิ ตามการ
ขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพการศึกษาจังหวัดโดยผานกลไกของคณะกรรมการ
ศึกษาธิการจงั หวดั ลำปาง โดยมีการวิเคราะหขอ มลู ดว ยการ หาคา สถติ โิ ดยหาคา รอ ยละ (Percentage)

ปรากฎผลดังน้ี ยุทธศาสตรที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
มีหนวยงานการศึกษา และสถานศึกษาดำเนินโครงการมากที่สุด จำนวน 40 โครงการ คดิ เปนรอยละ 46.78
ยุทธศาสตรท ี่ 2 การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสรางขีดความสามารถในการแขงขัน
ของประเทศ มีหนวยงานการศึกษา และสถานศึกษาดำเนินโครงการมากที่สุด จำนวน 24 โครงการ คิดเปน
รอยละ 36.92 ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรางสังคมแหงการเรียนรู
มหี นวยงานการศึกษา และสถานศึกษาดำเนินโครงการมากที่สุด จำนวน 46 โครงการ คิดเปนรอยละ 14.83
ยุทธศาสตรที่ 4 การสรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทียมทางการศึกษา มีหนวยงานการศึกษา
และสถานศึกษาดำเนินโครงการมากที่สุด จำนวน 40 โครงการ คิดเปนรอยละ 32.79 ยุทธศาสตรที่ 4
การสรางโอกาสความเสมอภาค และความเทาเทียมทางการศึกษา มีหนวยงานการศึกษา และสถานศึกษา
ดำเนินโครงการมากที่สุด จำนวน 40 โครงการ คิดเปนรอยละ 32.79 ยุทธศาสตรที่ 5 การจัดการศึกษา
เพื่อสรางเสริมคุณภาพชีวิตทีเ่ ปนมิตรกับสิ่งแวดลอม มีหนว ยงานการศกึ ษา และสถานศกึ ษาดำเนนิ การโครงการ
มากที่สุด จำนวน 38 โครงการ คิดเปนรอยละ 19.29 ยุทธศาสตรที่ 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบ

(ข)

บริหารจัดการศกึ ษา มีหนว ยงานการศึกษา และสถานศกึ ษาดำเนินการโครงการมากทส่ี ดุ จำนวน 29 โครงการ
คิดเปน รอยละ 16.86

ขอ เสนอแนะเชงิ นโยบายเพื่อพฒั นาการศึกษาจงั หวดั ลำปาง
1. ควรจัดตั้งหนวยงานกลางของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ตามระเบียบของราชการ เพื่อปฏิบัติ
หนาที่เปนศูนยกลางรวบรวมขอมูลสารสนเทศอาชีวศึกษาในจังหวัดลำปาง คลายคลึงกับสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาหรือสำนกั งาน กศน.จงั หวดั
2. สถานศึกษาควรนำ โครงการ / กิจกรรมที่นำเสนอ บรรจุไวในแผนพัฒนาการศึกษาหรือ
แผนปฏิบตั ิราชการของสถานศึกษาพัฒนาตอยอดสูความเปนเลิศ และนำเผยแพรส ูส าธารณะในรปู แบบตาง ๆ
3. ควรจัดการประสานงานและการ MOU. ดานวิชาการกับหนวยงานทางการศึกษา เชน
โรงเรียนวอแกววิทยา คูกับ โรงเรียนลำปางกัลยาณี จัดทำความรวมมือระหวางหัวหนาสวนระดับหนวยงาน
ที่เกี่ยวของ/ระดับจังหวัด ในการยกระดับคุณภาพการศึกษา บูรณาการความรวมมือการพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาภายในจงั หวัดอยา งเขมแข็งและเปนรูปธรรม และจดั ใหม ีระบบฐานขอมูล สารสนเทศทีเ่ ปน ฐานขอมลู
Big Data.
4. ผูบริหารหนวยงาน ควรนำเอาแผนพัฒนาการศึกษาของจังหวัดไปสื่อสารใหกับสถานศึกษา
ในสังกัด ไดรับทราบเห็นความสำคัญนำสูการปฏิบัติใหสอดรับการนำแผนพัฒนาการศึกษา/และนำแผน
สูก ารปฏิบัติการ
5. ควรจัดการประชมุ เพือ่ สรา งความเขาใจในการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัด ระดับหัวหนา
หนว ยงานเพือ่ การขบั เคล่ือนแผนใหเปนเอกภาพ
6. ควรมีการสรา งแรงจูงใจ ใหก ับหนว ยงานในการนำแผนสูการปฏบิ ัตใิ หเ ปน รปู ธรรม
7. ควรมีการประชาสัมพันธแผนพัฒนาการศึกษาฯ ทุกชองทางอยางทวั่ ถงึ
8. สถานศึกษา ควรสงเสริมปลกู ฝงความเนน เอกลักษณของเด็กจังหวัดลำปาง สงเสริมใหผูเรียน
ไดรูจักประวัตคิ วามเปนมาของทอ งถ่นิ ตนเองและจงั หวัดลำปาง มจี ติ อนรุ ักษและมีความภาคภูมิใจ
9. ควรนำเอาหลักสูตรของศูนยก ารศึกษาพเิ ศษประจำจงั หวัดลำปางเขาในทีป่ ระชุมคณะกรรมการ
ศกึ ษาธกิ ารจังหวดั ลำปาง (กศจ.) เพื่อเปน หลกั สูตรการศึกษาพเิ ศษของจังหวดั ลำปาง
10. โรงเรียนสังกัดเอกชน บุคลากรมีการเปลี่ยนแปลงบอย ทำใหการสอนขาดการตอเนื่อง
ขาดการทำวิจัยและนวัตกรรม ควรใหหนวยงานตนสังกัดจดั อบรมใหค วามรใู นเรื่องการทำงานวิจยั
11. เขตการศึกษาพระปริยตั ธิ รรมภาค 6 ครูผูสอนไมไดร บั พัฒนาในดา นวิชาการ ควรใหส ำนักงาน
ศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดลำปาง แจง การพัฒนาครูในดา นตา ง ๆ เพอ่ื สงเสรมิ ใหค รูไดรบั การพฒั นาอยา งตอ เนอ่ื ง

(ค)

สารบัญ หนา

คำนำ (ก)
บทสรุปผูบรหิ าร
สารบัญ (ค)
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
(ง)
- วัตถุประสงค
- กลมุ เปา หมาย 1
- นยิ ามศพั ท
- ประโยชนท ่ีไดร บั 2
บทท่ี 2 เอกสารและงานทเี่ ก่ียวขอ ง 2
- ยทุ ธศาสตรการพฒั นาการศึกษาของภาค 2
- ยุทธศาสตรจ งั หวัดลำปาง 2
- แผนพัฒนาการศกึ ษา ป พ.ศ.2562 – 2565 จังหวัดลำปาง
3
(ฉบับทบทวน ป พ.ศ.2563 – 2565)
- ตัวชว้ี ดั ตามเปาหมายของแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดลำปาง 3
บทท่ี 3 วิธกี ารดำเนินงาน 5
- กลมุ เปา หมาย 13
- เคร่ืองมอื ที่ใชใ นการเกบ็ รวบรวมขอมูล
- การเก็บรวบรวมขอมูล 18
- การวเิ คราะหขอ มูล
บทท่ี 4 ผลการดำเนินงาน 21
- การดำเนินงาน
- ผลการวิเคราะหขอ มลู 21
บทที่ 5 สรุปผลการดำเนินงานและขอ เสนอแนะ 21
สรปุ ผลการดำเนนิ งาน 22
ขอเสนอแนะเชงิ นโยบายเพอื่ พฒั นาการศกึ ษาจังหวัดลำปาง 22

(ง) 23

23

24

32

32

33

สารบญั ตาราง หนา
18
ตารางที่ 1 กำหนดคาเปาหมายและตวั ช้วี ดั ของแผนพัฒนาการศกึ ษาจงั หวดั ลำปาง

(จ)

สารบญั แผนภมู ิ หนา
24
แผนภูมทิ ี่ 1 แสดงภาพรวมจำนวนโครงการท่ดี ำเนนิ การทกุ ตัวชี้วดั ในยุทธศาสตรที่ 1 25
แผนภูมทิ ่ี 2 แสดงภาพรวมจำนวนโครงการทีด่ ำเนินการทกุ ตวั ชี้วดั ในยุทธศาสตรท่ี 2 26
แผนภูมทิ ่ี 3 แสดงภาพรวมจำนวนโครงการที่ดำเนนิ การทุกตัวชว้ี ัดในยุทธศาสตรท ี่ 3 27
แผนภูมทิ ี่ 4 แสดงภาพรวมจำนวนโครงการท่ดี ำเนินการทุกตัวชว้ี ัดในยทุ ธศาสตรท ี่ 4 28
แผนภูมทิ ่ี 5 แสดงภาพรวมจำนวนโครงการที่ดำเนนิ การทกุ ตัวชี้วดั ในยุทธศาสตรที่ 5 29
แผนภูมทิ ่ี 6 แสดงภาพรวมจำนวนโครงการที่ดำเนนิ การทุกตัวชีว้ ัดในยทุ ธศาสตรที่ 6

(ฉ)

สารบัญแผนภาพ หนา
10
แผนภาพท่ี 1 แสดงความเชอื่ มโยงนโยบาย 12
แผนภาพที่ 2 กรอบแนวคดิ การจดั ทำแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดลำปาง พ.ศ.2562 – 2565

(ช)

1

บทที่ 1
บทนำ

ท่ีมาและความสำคัญ

กระทรวงศึกษาธิการเปนหนวยงานหลักในการพัฒนาทรัพยากรมนุษยดานการศึกษา
ใหสอดคลองตามเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) แผนแมบท
ตามยุทธศาสตรชาติ แผนปฏิรูปประเทศ และนโยบายของรัฐบาล โดยยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและ
เสริมสรางทรัพยากรมนุษยมีเปาหมายเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกชวงวัยใหเปนคนดีเกงและมีคุณภาพ
มีทักษะที่จำเปนในศตวรรษที่ 21 ซึ่งมีแผนแมบททีส่ ำคัญประกอบดวย 2 ประเด็น คือ 1) พัฒนาศกั ยภาพคน
ตลอดชว งชีวิต โดยเนนที่วัยเรียน/วัยรุน ใหมีความรูและทักษะในศตวรรษท่ี 21 ครบถวน รูจักคิด วิเคราะห
รักการเรยี นรู มีสำนกึ พลเมือง มีความกลาหาญทางจริยธรรมมีความสามารถในการแกปญหา ปรับตวั ส่ือสาร
และทำงานรวมกับผูอื่นไดอยางมีประสิทธิผลตลอดชีวิตดีขึ้น และ 2) การพัฒนาการเรียนรู ใหคนไทย
มีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น มีทักษะที่จำเปนของโลกศตวรรษ ที่ 21 สามารถ
ในการแกปญหาปรับตัว สื่อสาร และทำงานรวมกับผูอื่นไดอยางมีประสิทธิผลเพิ่มขึ้นมีนิสัยใฝเรียนรู
อยางตอเน่อื งตลอดชวี ิต ไดร บั การพัฒนาเตม็ ตามศกั ยภาพตามความถนดั และความสามารถของพหุปญ ญา

ตามคำสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ 19/2560 เรื่อง การปฏิรูปการศึกษา
ในภูมภิ าคของกระทรวงศกึ ษาธิการ ลงวันท่ี 3 เมษายน 2560 ไดกำหนดใหม คี ณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
(กศจ.) มีอำนาจหนาที่การกำหนดยุทธศาสตร แนวทางการจัดการศึกษา และการสงเสริมสนับสนุน
การจดั การศึกษา ทุกระดบั ทุกประเภท ประสานและสงเสริมการบรหิ ารและการจัดการศึกษาองคกรปกครอง
สวนทองถิน่ รวมทั้งสงเสริมและสนับสนนุ การจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องคกรชุมชน องคกรเอกชน
องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอ่ืนท่ีจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย
ใหความเห็นชอบกรอบการประเมินผลการปฏิบัติงานและตัวชี้วัดในการดำเนินงานในลักษณะตัวชี้วัดรวม
ของสวนราชการหรือหนวยงาน และสถานศึกษา กำกับ เรงรัด ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน
ของสวนราชการหรือหนวยงานและสถานศึกษา โดยมีสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดรับผิดชอบงานธุรการ
ของคณะกรรมการศกึ ษาธิการจงั หวดั

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลำปางเปนหนวยงานที่ทำหนาที่ในการประสานสงเสริม
และสนับสนุน ใหหนวยงานทางการศึกษา และสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการรวมทั้งหนวยงาน
ที่เกี่ยวของในจังหวัด ดำเนินงานใหสอดคลองกับนโยบายภายใตการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน ดังนั้น เพื่อให
การขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยผานกลไกคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดเปนไป
อยางมีประสิทธิภาพ จึงจัดทำโครงการขับเคลื่อนการยกระดับคณุ ภาพการศึกษาและประสิทธิภาพการศึกษา
จังหวัดลำปางโดยผานกลไกคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดขึ้น ทำใหทราบถึงจำนวนโครงการที่ไดจัดทำ

2

ตามยุทธศาสตรแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดลำปาง ทั้งนี้ รวมถึงคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดลำปาง
ไดเหน็ สภาพจริงในการจดั การศึกษาในแตล ะพืน้ ท่ี

วตั ถปุ ระสงค

1. เพื่อสรุปผลการกำกับ ติดตามการยกระดับคุณภาพการศึกษาของจังหวัดลำปางผานกลไก
คณะกรรมการศกึ ษาธิการจงั หวัดลำปาง

2. เพื่อรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะองคคณะบุคคลทั้งชุดเดิมและชุดใหม โดยนำไปใช
ในการจัดทำแผนพฒั นาการศกึ ษาจงั หวัดลำปาง (ระยะ 5 ป) ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 – 2570

กลมุ เปาหมาย

หนวยงานการศึกษาในจังหวัดลำปาง จำนวน 7 แหง และสถานศึกษาในจังหวัดลำปาง 17 แหง
ทดี่ ำเนนิ โครงการ/กิจกรรม ในปงบประมาณ พ.ศ.2565

นยิ ามศพั ท

1. การยกระดับคุณภาพการศึกษา หมายถึง การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาที่เหมาะสม
กับบริบทพื้นที่ในจังหวัดลำปาง เพิ่มโอกาสทางการศึกษา การเรียนรูอยางทั่วถึงและมีคุณภาพ เทาเทียม
ดว ยการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ท่ชี ว ยสงเสริม สนบั สนุนศกั ยภาพของผเู รียน

2. ประสทิ ธภิ าพการศกึ ษา หมายถึง ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนของครูในจังหวัดลำปาง
ใหบรรลุจุดมุงหมายทีว่ างไว โดยใชท รพั ยากรในสถานศึกษาทมี่ ีอยูใหเ กิดประโยชนม ากท่สี ดุ โดยการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนทช่ี วยใหผเู รียนไดพ ัฒนาการเรยี นรขู องตนเอง ใหเปนไปตามวตั ถุประสงคของการจัดการเรียน
การสอน

3. คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด หมายถึง คณะบุคคลที่เกิดขึ้นตามคำสั่งหัวหนาคณะรักษา
ความสงบแหงชาติ ที่ 10/2559 เรื่อง การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ขอที่ 6
ซึ่งมีสาระสำคัญวา ในแตล ะจังหวัด ใหมีคณะกรรมการศกึ ษาธิการจงั หวัดทีท่ ำงานรวมกันเพือ่ ใหการดำเนนิ งาน
สำเร็จ จำนวน 15 คน

ประโยชนทไี่ ดร ับ

1. สำนกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดลำปาง ไดแนวทางการยกระดบั คุณภาพการศึกษา และการเรียนรู
ใหมคี ุณภาพ เทา เทยี มและทวั่ ถงึ ตามบริบทของจงั หวดั

2. ไดทิศทางการขับเคล่ือนการศึกษาของจังหวัดใหมีประสิทธภิ าพโดยผานกลไกคณะกรรมการ
ศึกษาธกิ ารจังหวดั

3

บทท่ี 2

เอกสารและงานทีเ่ กีย่ วขอ ง

การดำเนนิ งานโครงการขบั เคล่อื นการยกระดับคุณภาพการศึกษา และประสิทธภิ าพการศกึ ษาจังหวัด
โดยผา นกลไกของคณะกรรมการศกึ ษาธิการจงั หวัดลำปาง ไดศ กึ ษาเอกสารและงานท่ีเกี่ยวของดังนี้

1. ยุทธศาสตรการพฒั นาการศึกษาของภาค แผนยทุ ธศาสตรการพฒั นาการศกึ ษา พ.ศ.2562 –
2565 ภาค 15 (เขตตรวจราชการที่ 15)

2. ยทุ ธศาสตรจ ังหวัดลำปาง
2.1 วิสยั ทัศน
2.2 นยิ าม
2.3 พนั ธกิจ
2.4 เปาประสงค
2.5 ประเด็นยุทธศาสตร

3. แผนพฒั นาการศกึ ษาจังหวัดลำปาง พ.ศ.2562 – 2565 (ฉบับทบทวน ป พ.ศ.2563 – 2565)
3.1 ตวั ช้ีวัดตามเปาหมายของแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดลำปาง

1. ยุทธศาสตรการพฒั นาการศกึ ษาของภาค

แผนยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาการศกึ ษา พ.ศ.2562 – 2565 ภาค 15 (เขตตรวจราชการที่ 15)

วสิ ยั ทศั น
บูรณาการจัดการศึกษาที่หลากหลายบนพื้นฐานความเปนอัตลักษณของพื้นที่อยางมีคุณภาพ
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในศตวรรษที่ 21

พนั ธกิจ
1. ขับเคลื่อนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาภาค 15 ใหสอดคลองกับนโยบาย
กระทรวงศึกษาธิการ และการพฒั นากลมุ จังหวัด
2. ยกระดบั คุณภาพการศึกษาในพนื้ ทภ่ี าค 15
3. สรา งโอกาสทางการศึกษาหลากหลายใหป ระชาชนทกุ กลุม อยางเสมอภาคเปน ธรรมและท่ัวถึง
4. พัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลของขา ราชการครู และบุคลากรทางการศกึ ษา
5. เสริมสรางการมสี ว นรว มของทกุ ภาคสวนในการจดั การศกึ ษา

ประเดน็ ยุทธศาสตร
1. ยกระดบั ขบั เคลอ่ื นการบรู ณาการเพือ่ การพัฒนาการศกึ ษาเชงิ พืน้ ที่แบบมีสว นรวม
2. พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรูที่มีคุณภาพตรงตามศักยภาพผูเรียนที่หลากหลาย
เพ่อื เพ่ิมสมรรถนะความรู ความสามารถและคุณลักษณะในศตวรรษท่ี 21
3. ขยายโอกาสการเขา ถงึ บรกิ ารทางการศึกษาและการเรยี นรูต ลอดชีวิต

4

4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนการสอนของผูบริหาร
และบุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ

5. เสรมิ สรา งทศั นคติและสนับสนุนการจดั การศกึ ษาเพือ่ สมั มาชีพ
6. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพอื่ การศึกษา
7. เสรมิ สรา งปจจัยทุนทางสังคมและทนุ ทางธรรมชาตอิ ยา งหลากหลายท่ีเปนอตั ลกั ษณข องพื้นท่ี

เปา ประสงค
1. หนวยงานทุกภาคสวนในพื้นที่มีสวนรวมและสนับสนุนการจัดการศึกษาใหสอดคลองกับ
อตั ลักษณของพน้ื ที่
2. ผเู รียนไดรบั การศึกษาและการเรียนรูต ลอดชวี ติ อยางมีคุณภาพ มาตรฐาน
3. ผูเรียนไดรับการพัฒนาศักยภาพในการดำรงชีวิต และมีคุณภาพชีวิตที่ดีตามคุณลักษณะ
ในศตวรรษท่ี 21
4. ผเู รียนทุกกลมุ ไดร ับโอกาสการศกึ ษาทห่ี ลากหลาย เหมาะสม และเสมอภาค อยางมคี ณุ ภาพ
5. ทุก ภา คสวน สงเสริมกา รจัดกา รศึกษ าด านสั ม มา ชีพ ตรงกั บคว าม ตอง ก า ร
ของตลาดแรงงานในประเทศและเขตเศรษฐกิจตามแนวชายแดนกลุมประเทศอาเซยี น
6. ผูบรหิ ารและบุคลากรทางการศึกษาไดรับการสงเสริมสนบั สนุนพัฒนาศักยภาพในการบริหาร
จัดการและการจดั การเรียนการสอนอยา งมปี ระสิทธภิ าพทกุ ระดับ
7. ระบบ ICT มีการบูรณาการเชื่อมโยงกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อจัดการเรียนรู และบริหาร
จัดการท่ีมคี ณุ ภาพ
8. เพือ่ สรา งคณุ คา คานยิ ม และความภูมใิ จในอตั ลกั ษณทางวฒั นธรรมของพืน้ ท่ี

กลยุทธ
1. สงเสริมและประสานงานดานการศึกษากับองคกร หนวยงาน สถานศึกษาในพื้นที่
ใหเขามามีสว นรว มเพ่อื ขบั เคล่อื นการพัฒนาการศกึ ษาในแตล ะจังหวัดอยา งเปน รปู ธรรม
2. พัฒนาหลกั สูตรใหม ีโครงสรา งทย่ี ดื หยุน ตามอัตลกั ษณของทอ งถนิ่ อยา งหลากหลายทุกระดับช้ัน
3. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผูเรียนทั้งในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
โดยเนนทกั ษะการเรยี นรูใ นศตวรรษท่ี 21 และปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
4. สงเสริมการจัดการศึกษาจากทุกภาคสวนและกระจายโอกาสทางการศึกษาใหประชาชน
สามารถเขาถงึ โอกาสทางการเรียนรูไ ดอ ยา งหลากหลาย ครอบคลุมทุกพื้นท่แี ละกลุม เปา หมาย
5. พัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลและพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงานของขาราชการ ครู
และบุคลากรทางการศกึ ษา
6. รณรงคก ารอนุรักษ และเสริมสรางวถิ ีการเรยี นรูอ ัตลักษณทางวฒั นธรรมและภูมปิ ระวัติศาสตร
ของทอ งถิน่
7. สนบั สนุนการพฒั นาหลกั สตู รตามอตั ลักษณของทองถนิ่ อยา งหลากหลาย
8. พัฒนาและสงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการจัดการศึกษา
อยางสรา งสรรค
9. เพมิ่ ประสิทธภิ าพการจัดการเรยี นการสอนเพอ่ื สัมมาอาชพี
10. รณรงคส รา งความตระหนกั รตู อ การจัดการศกึ ษาเพ่อื สัมมาอาชพี

5

2. ยุทธศาสตรจงั หวัดลำปาง

2.1 วสิ ยั ทัศน “ลาํ ปางเมืองนาอยู นครแหงความสขุ ”

2.2 นิยาม : จังหวัดลําปางมุงไปสูการเปนเมืองนาอยูดวยการพัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐาน
ของเศรษฐกิจเชิงสรางสรรค โดยครอบคลมุ ทัง้ ดานการทองเทย่ี ว การคา และการเกษตร และเปนนครแหงความ
สุขดวย คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของประชาชนทุกกลุมทุกชวงวัย ภายใตการจัดระบบสวัสดิการทางสังคมถวนหนา
การเปนสังคมแหงการเรียนรู ประชาชนมีความมั่นคงปลอดภัย มีทรพั ยากรธรรมชาติทีอ่ ดุ มสมบูรณและสภาพ
แวดลอ มท่ดี ี

ดานเศรษฐกิจ - วัดจากผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดและรายไดตอหัวของประชากรที่เพิ่มขึ้น
ซึง่ สะทอนถึงอัตราการเตบิ โตทางเศรษฐกิจและมาตรฐานความเปนอยูที่ดขี ้นึ ของประชาชนจงั หวัดลาํ ปาง

ดานสังคม – วัดจากรอยละหรอื อัตราของประชากรกลุมเปาหมายประเภทตาง ๆ ที่เขาถึงสวัสดิการ
ของภาครัฐตามมาตรฐานการใหบริการของแตละกลุมเปาหมาย

ดานความมั่นคง - อัตราการเกิดคดีอาชญากรรม ยาเสพติด และสาธารณภัยตาง ๆ ท่ีกระทบตอชีวิต
และทรัพยสนิ ของประชาชนจงั หวดั ลําปางลดลง

ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม - ปญหาฝุนควันไฟปาลดลง /ปริมาณขยะและของเสียลด
จากการบริหารจัดการปญหาขยะทมี่ ปี ระสิทธิภาพ

2.3 พันธกิจ
2.3.1. สนับสนุนอํานวยความสะดวกและเสริมสรางบรรยากาศที่เอื้อตอการพัฒนาเศรษฐกิจ
ภายในจงั หวดั ใหสามารถเพิม่ มูลคาทางเศรษฐกจิ บนพื้นฐานของเศรษฐกจิ เชิงสรางสรรค
2.3.2. พัฒนายกระดับขีดความสามารถในการประกอบการของวิสาหกิจขนาดกลางขนาดยอม
และวิสาหกิจชุมชนใหมีประสิทธิภาพสามารถแขงขันไดในตลาดการคาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและ
ตลาดโลก
2.3.3. สง เสรมิ และพัฒนาชองทางจดั จาํ หนายผลติ ภณั ฑและบรกิ ารของวสิ าหกิจขนาดกลางขนาดยอม
และวสิ าหกจิ ชมุ ชนทงั้ ภาคผลิตภาคบรกิ ารและพาณิชยกรรมท้ังภายในและภายนอกประเทศ
2.3.4. สงเสริมใหมีการผลิตและจําหนายสินคาเกษตรและเกษตรแปรรูปคุณภาพสากลสรางมูลคา
เพ่ิม สอดคลองกบั ความตองการของตลาดท้ังภายใน และตางประเทศ
2.3.5. กําหนดนโยบายจัดทําแผนงานเตรียมความพรอมดานโครงสรางทางกายภาพบุคลากร
และการบริหารจัดการในการพัฒนาพื้นที่ของจังหวัดใหกาวสูความเปนศูนยกลางโลจิสติกสของภาคเหนือ
ตอนบน
2.3.6. พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและสังคมลําปางใหมีความเขมแข็งมีภูมคิ ุมกันรกั วัฒนธรรม
ทอ งถน่ิ และถนิ่ กาํ เนดิ ตามวถิ ีลําปางโดยดาํ รงชวี ติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2.3.7. เสริมสรางพัฒนาขีดความสามารถในการรักษาชีวิตทรัพยส นิ และความมั่นคงของคนในจังหวดั
สงเสริมการมีสวนรวมของภาคประชาชนและชุมชนในการสรางความเขมแข็งมั่นคงตลอดจนการเฝาระวัง
และปองกันภัยในชมุ ชน
2.3.8. สนับสนุนสงเสริมใหทุกภาคสวนในสังคมมีการดําเนินงานการบริหารจัดการในทุกระดับ
ใหโปรง ใสและเปนธรรมภายใตหลกั ธรรมาภิบาล

6

2.4 เปาประสงคร วม
2.4.1. เพื่อสรางความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยเนนสงเสริมการทองเที่ยว การคาการลงทุน
และ การเกษตร ที่สอดคลองกับศักยภาพของพื้นที่ และแกไขปญหาความยากจน ดวยการเสริมสรางอาชีพ
สนองตอบตอความตองการของประชาชนจงั หวัดลําปาง
2.4.2. เพ่ือพฒั นาคุณภาพชวี ติ ของประชาชนจังหวัดลําปางทุกกลุมทุกชวงวยั ในดานการจัดสวัสดิการ
สังคมอยางท่ัวถึงและเปนธรรม
2.4.3. เพื่อเสริมสรางจังหวัดลําปางใหเปนสังคมทีม่ ั่นคง ประชาชนอยูรวมกนั อยางสันติ ภายใตกลไก
การเชอื่ มประสานความสมั พันธปรองดองทีม่ ีประสิทธภิ าพ
2.4.4. เพือ่ สรางฐานทรพั ยากรธรรมชาติใหอุดมสมบรู ณ สูวิถีการดํารงชวี ิตที่ยัง่ ยืนของประชาชนและ
คณุ ภาพที่ดขี องสิ่งแวดลอม

2.5 ประเด็นยทุ ธศาสตร

ยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานของเศรษฐกิจเชิงสรางสรรค และการสรางมลู คาเพิ่ม
ใหกับสินคา และบริการ และเสรมิ สรางความเขมแขง็ ใหเศรษฐกิจชุมชนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

เปาประสงคเชิงยุทธศาสตร : จังหวัดลําปางเปนแหลงผลิตเซรามิก สินคาหัตถอุตสาหกรรม และ
บรกิ ารทางการทองเทย่ี ว บนพน้ื ฐานของเศรษฐกิจเชิงสรางสรรคที่มคี วามโดดเดนมคี ุณภาพระดับสากลสามารถ
สรา งมลู คาทางเศรษฐกจิ อยางยง่ั ยนื

กลยทุ ธ
1. พัฒนาศกั ยภาพผูประกอบการในดานการประกอบธุรกิจทั้งความรูในดานการพัฒนากระบวนการ
ผลิต การบริหารจัดการ การตลาดและการสงเสริมการเขาถึงแหลงเงินทุนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ
ในการแขงขันในตลาด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี นและตลาดโลก
2. สงเสริมและพัฒนาผูผลิตและผูประกอบการผลิตภัณฑเซรามิกและหัตถอุตสาหกรรมในดาน
การออกแบบและผลิตสินคาที่มีคุณภาพมาตรฐานตรงตามความตองการของตลาดเพิ่มประสิทธิภาพ
ในดานการบริหารจดั การตนทุนบนพนื้ ฐานของเศรษฐกิจเชงิ สรางสรรค
3. พัฒนาคุณภาพโครงสรางพื้นฐาน แหลงทองเที่ยว สนิ คา บริการดานการทองเที่ยวตลอดจนพัฒนา
กิจกรรมการทองเทีย่ วที่เนนอัตลักษณช ุมชน ทีส่ รางมูลคาทางเศรษฐกิจและความยั่งยืนใหกับสิ่งแวดลอม ชมุ ชน
เจาของพื้นที่ตลอดจนการพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากร และสรางจิตสํานึก ดานการทองเที่ยวใหกับ
ประชาชน ในพนื้ ที่
4. เสริมสรา งความเขมแข็งใหเ ศรษฐกิจชมุ ชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการสงเสริม
การรวมกลุมเครือขายวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมและวสิ าหกจิ ชมุ ชน และสนับสนุน การพฒั นาเครือขาย
ผูป ระกอบการ และเครอื ขายชมุ ชน บนฐานรากของความรสู มยั ใหม และภมู ิปญญาทองถิ่น
5. สงเสริมการประชาสัมพันธและการตลาดผลิตภัณฑเซรามิกสินคาหัตถอุตสาหกรรม และบริการ
การทอ งเท่ยี วของจังหวัดลาํ ปางใหเปนที่รูจ กั แพรห ลายทงั้ ระดบั ใน และตางประเทศ

ยุทธศาสตรที่ 2 การสรางเสริมและพัฒนาจังหวัดลําปางใหมีความพรอมรองรับการเปนศูนยกลาง
โลจสิ ติกสอยางเปนระบบ

เปาประสงคเ ชงิ ยทุ ธศาสตร : จังหวดั ลําปางเปนศนู ยกลางโลจสิติกสท างบกของภาคเหนือตอนบน

7

กลยทุ ธ
1. สรางการรับรูขอมูลใหเกิดการตื่นตัว (Awareness) ในกลุมบุคลากรทุกระดับและทุกภาคสวน

เพอ่ื ใหเกิดการพฒั นาศักยภาพและพรอ มรองรบั การเปนศนู ยกลางโลจสติ ิกสทางบกของภาคเหนือตอนบน

2. เสริมสรางพัฒนาและเชือ่ มโยง โครงสรางพื้นฐานระบบสาธารณูปโภค ระบบการขนสง ทั้งทางถนน
ทางรางและรูปแบบอื่นๆ สิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเปนอื่นๆ ตลอดจนเทคโนโลยีสารสนเทศที่สามารถรองรับ
แผนงาน การเปนศนู ยกลางฯ ในอนาคต และเออ้ื ตอการประกอบธุรกิจ

3. สนบั สนุนและสงเสริมใหเ กิดการลงทุนจากภาคเอกชนในพื้นที่เปาหมายท่ีกําหนด และเชื่อมโยงกับ
12 จงั หวัดรอบขาง ในลักษณะการพฒั นาเปนหวงโซอุปทานในการผลติ สนิ คาและบริการใหมคี ุณภาพ

ยทุ ธศาสตรที่ 3 การสงเสริมและพฒั นาสนิ คาเกษตรปลอดภัยและไดมาตรฐานแบบครบวงจร
เปาประสงคเชิงยุทธศาสตร : จังหวัดลําปางเปนแหลงผลิตและจําหนายผลิตภัณฑการเกษตร
เกษตรแปรรปู ท่มี ีคุณภาพมาตรฐาน โดดเดนของกลมุ จงั หวัดภาคเหนอื และของประเทศ
กลยุทธ
1. ปรับปรุงและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เทคโนโลยีการผลิตและสิ่งอํานวยความสะดวกที่จําเปน
โดยมุงเนนการพัฒนาแหลงน้ำ การปฏิรปู ทดี่ นิ และการใชเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม เพอ่ื ใหการผลติ ภาคเกษตรกรรม
มปี ระสทิ ธิภาพและมีตนทนุ ทีเ่ หมาะสม
2. การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร และสรางมูลคา เพิม่ ภายใตแนวคดิ เกษตรปลอดภัย
และเกษตรอินทรีย ควบคูกับการพฒั นาอุตสาหกรรมแปรรูปใหมีความหลากหลายสอดคลองกับความตองการ
ของตลาด
3. สงเสริมและพัฒนาเครือขายเกษตรกรและผูผลิตสินคาเกษตรปลอดภัย ใหผลิตสินคาที่มีคุณภาพ
ไดม าตรฐานปลอดภัยตอผบู ริโภค มคี วามโดดเดนเปนเอกลกั ษณ และสามารถสรา งมลู คาเพ่มิ ทางเศรษฐกิจ และ
พัฒนาและสงเสริมผลิตภัณฑสินคาเกษตรและบรรจุภัณฑ ใหมีมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจและสรางการยอมรับ
ในระดบั ชาติ
4. พัฒนาสถาบันเกษตรกร เครือขายผูผลิตและชุมชนใหเขมแข็ง มีความสามารถในการเขาถึง
แหลงเงินทนุ และสามารถหาปจจัยผลิตในราคาถกู
5. ประชาสัมพันธสงเสริมพัฒนาชองทางการตลาดสินคาเกษตรปลอดภัยของจังหวัดลําปาง
ทั้ง ภายในประเทศและตางประเทศ เพื่อสรางการยอมรับในระดับชาติ สามารถสรางรายไดใหกับเกษตรกร
และเครอื ขายผูผ ลติ

ยุทธศาสตรที่ 4 การเสริมสรางและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน และสังคมลําปางใหเปนสังคม
แหง การเรียนรูมคี วามเขมแขง็ มีภูมิคมุ กนั สามารถดาํ รงชวี ิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เปาประสงคเชิงยุทธศาสตร : ประชาชนลําปางมีโอกาสทางสังคม มีภูมิคุมกัน ชวยเหลือตนเองได
โดยเนน การขับเคล่ือนในมิตกิ ารพฒั นา ปอ งกัน ในลักษณะการสรางโอกาส พรอมกับเสรมิ ศักยภาพไปที่ตัวคน
ครอบครวั และชมุ ชน

กลยุทธ
1. สรางเสริมสุขภาพของประชาชนอยางเปนองครวมและพัฒนาคุณภาพการใหบริการสุขภาพ
ทง้ั ระบบและบรู ณาการในทุกระดบั และสงเสริม สนับสนนุ การกีฬาและการออกกาํ ลังกายเพ่ือสุขภาพ
2. สง เสริมคุณภาพชีวติ และสรางหลักประกันทางสงั คมใหแกแรงงานทั้งในและนอกระบบ

8

3. สงเสรมิ และสนบั สนุนการศกึ ษาของเดก็ เยาวชนและประชาชนใหมีคณุ ภาพ มกี ารเรียนรูตลอดชีวิต
สามารถ เขาถึงแหลงอาชพี ท่เี หมาะสม และมีสภาพแวดลอมทางสงั คมและสวสั ดกิ ารทางสงั คมท่ีดี

4. เสริมสรางและยกระดับความเขมแข็งใหกับสถาบนั ครอบครวั สถาบันทางสังคม เพื่อสรางภูมคิ ุม กัน
รวมท้ัง สนบั สนนุ ใหดํารงชวี ิตตามวถิ ีลําปางตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

5. สงเสริมและสนับสนุนใหเกิดความรักและภาคภูมิใจในทองถิ่น การอนุรักษและเผยแพรศาสนา
ประเพณี ศิลปวฒั นธรรมทองถิน่ ใหเปนท่ีรูจักอยางกวางขวาง

6. พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน สิ่งอํานวยความสะดวกพื้นฐานเพื่อการบริการประชาชนอยางทั่วถึง
และการจัดการ ทรัพยากรน้ำเพื่ออุปโภค บริโภคอยางเปนระบบครอบคลุมทุกพื้นที่ มีประสิทธิภาพและ
มาตรฐาน

7. พัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน ใหมีทักษะความรู มีภูมิคุมกัน และความสามารถ

ในการดํารงชวี ติ อยางมีคุณคา

ยุทธศาสตรที่ 5 การรักษาความมั่นคงการจัดระเบียบสังคมและสรางความรวมมือในการรักษา
ความสงบเรียบรอย

เปาประสงคเ ชิงยุทธศาสตร : จังหวัดลําปางมเี สถียรภาพดานความม่นั คงมากขึ้น ภายใตการอยูร ว มกัน
อยางสันติของประชาชนและการมีกลไกปองกันและแกไขปญหาสาธารณภัย ปญหายาเสพติด และปญหา
อาชญากรรมไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ

กลยทุ ธ
1. ปลูกจิตสํานึกการเคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย และการสรางความสามัคคีปรองดอง
ตามแนวพระราชดาํ รสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูห วั ฯ
2. พัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการความมั่นคงและการจัดระเบียบทางสังคมภายใต
การมีสวนรว มของทุกภาคสวน เพื่อความสงบเรยี บรอยภายในชุมชน
3. กระตุนการมีสวนรวมของประชาชนทั้งระดับครอบครัวและชุมชน ในการใหความรวมมือปองกัน
อาชญากรรมและแกไขปญหายาเสพตดิ อบายมุขและปญหาแรงงานตางดาวในจงั หวัด
4. สงเสริมการดําเนินงานของเครือขายภาคประชาชนในการสรางความสามัคคีปรองดอง
และสมานฉันท และการมีสวนรว มในการปองกันและแกไขปญ หาดวยตนเอง
5. พัฒนาบุคลากร เทคโนโลยี กระบวนการและปจจัยอื่นที่เกี่ยวของ เพื่อเสริมสรางประสิทธิภาพ
ในการรักษาความสงบเรยี บรอยและความปลอดภยั ในชีวิตและทรัพยสนิ
6. การสงเสริมศักยภาพดานการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยของสวนราชการ องคการปกครอง
ทอ งถน่ิ ภาคประชาชน เยาวชน มลู นธิ ิ องคกรการกุศล ใหมีความพรอ มในการรบั มอื กบั สาธารณภัย
7. สงเสริม และสนับสนุนการดําเนินงานของศูนยยุติธรรมชุมชนประจําตําบล
เพ่อื อาํ นวยความยตุ ธิ รรม และลดความเหลือ่ มล้ำในชมุ ชน

ยุทธศาสตรที่ 6 การสงเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางสมดุล
และยง่ั ยนื

เปาประสงคเชิงยุทธศาสตร : จังหวัดลําปางมีฐานทรัพยากรที่ไดรับการอนุรักษ ฟนฟู และพัฒนา
สามารถนํามาใชประโยชนไดอยางเหมาะสม การมีระบบกลไกการปองกันและแกไขปญหาสิ่งแวดลอม
ทีม่ ีประสิทธภิ าพ

9

กลยุทธ
1. สงเสริมการอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม รวมทั้งอนุรักษความหลากหลาย
ทางชีวภาพและรักษาคณุ ภาพส่งิ แวดลอม
2. เพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจดั การทรัพยากรนำ้ ทั้งระบบเพอ่ื ใหเกดิ ความม่นั คง สมดุลและยง่ั ยนื
3. สง เสรมิ การอนรุ ักษพ ลังงาน และสนับสนุนการใชพลงั งานทดแทน
4. พฒั นาและสงเสรมิ การบริหารจัดการนำ้ เสยี และขยะอยางยัง่ ยนื
5. เพิ่มขีดความสามารถในการนําเทคโนโลยีเขามาใชในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดลอม ตลอดจนการกําหนดมาตรการบังคับใชทางกฎหมายอยางเขมงวดและจรงิ จัง
6. สนับสนุนและพัฒนาใหเกิดเครือขายรักษและเฝาระวังดานสิ่งแวดลอมในพื้นที่เสี่ยงภัย โดยเนน
การมสี วนรว มของภาคีและภาคประชาชนในทองถ่ินในการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ

ยทุ ธศาสตรที่ 7 การบริหารกิจการบานเมืองท่ดี ีดวยหลกั ธรรมาภิบาล
เปาประสงคเชิงยุทธศาสตร : การบริหารจดั การองคกรมีความโปรงใสภายใตกระบวนการมสี วนรวม
ของทกุ ภาคสว น และกลไกการตรวจสอบที่มีประสทิ ธภิ าพ
กลยทุ ธ
1. พัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเพื่อไปสูองคกรที่มีสรรถนะสูง
ภายใตก ารบริหารจัดการหลกั ธรรมาภิบาล
2. พัฒนาสมรรถนะบุคลากรภาครัฐในทุกระดับและปลูกจิตสํานึกดานคุณธรรมใหแกผูปฏิบัติงาน
ในการทํางานและการบริหารจดั การดวยหลักธรรมาภิบาล
3. ปรับปรุงระบบและกลไกการปฏิบัติงานของหนวยงานใหมีลักษณะการบูรณาการ ความรวมมือ
ในการดําเนินงานในทุกมิติของจังหวัด และสนับสนุนการนําเทคโนโลยีเขามาใชเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพ
ในการบริหารจัดการ รวมถงึ การบงั คบั ใชกฎหมาย
4. เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการงบประมาณ และกลไกการติดตามประเมินผลการดําเนินงาน
ของหนวยงานท่โี ปรงใส ดว ยความเปนธรรมและจริยธรรมในการปฏิบตั งิ าน
5. สง เสรมิ ธรรมาภิบาลและการบริหารจัดการแบบมีสวนรว มของชุมชนเพ่อื ไปสูน ครสุจริต

แผนภาพท่ี 1 แสดงค

(รา ง)กรอบยุทธศาสตร ย. 1 การสรางความม่นั คง ย. 2 การสรางความสามารถในการแขงขัน ย. 3 การ
ศกั ยภาพ
ชาติ ระยะ 20 ป (พ.ศ. น. 1 การปกปอ งและเชดิ ชู น. 6 การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกจิ ของประเทศ
2561-2580) สถาบนั พระมหากษัตริย น. 7 การสงเสริมบทบาทและการใชโอกาสในประชาคมอาเซียน น. 4 การ
น. 2 การรักษาความมั่นคง น. 8 การพฒั นาและสงเสริมการใชป ระโยชนจากวิทยาศาสตร ทะนุบำรุง
นโยบายรัฐบาล ของรฐั และการตา งประเทศ เทคโนโลยี การวิจัยและพฒั นา และนวตั กรรม วัฒนธรร

แผนพฒั นาเศรษฐกิจ ย.5 การเสริมสรางความ ย.3 การสรางความเขม แขง็ ทางเศรษฐกิจและแขง ขนั ไดอยา งย่ังยนื ย.1 การเ
และสังคมแหงชาติ ฉบับ มัน่ คงแหงชาติเพื่อการพฒั นา ย.7 การพัฒนาโครงการพน้ื ฐานและระบบโลจิสตกิ ส ศกั ยภาพ
ที่ 12 (พ.ศ.2560 - ประเทศสูความมนั่ คงและ ย.8 การพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ทนุ มนุษย
2564) ย่ังยืน ย.9 การพัฒนาภาค เมือง และพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจ
ย.10 ความรว มมือระหวา งประเทศเพื่อการพัฒนา ย. 3 การ
แผนการศึกษาแหงชาติ ย. 1 การจัดการศึกษาเพือ่ ย. 2 การผลิตและพัฒนากำลังคนการวจิ ัย และนวตั กรรมเพิ่มสราง วยั และก
พ.ศ.2560 - 2579 ความม่ันคงของสังคมและ ขดี ความสามารถในการแขงขันของประเทศ
ยุทธศาสตร ประเทศชาติ ย. 1 พัฒ
กระทรวงศึกษาธิการ ย. 3 ยุทธศาสตรผ ลติ และพัฒนากำลงั คน รวมท้ังงานวจิ ัยท่ี เรยี นการ
ย.1 พฒั นาการจดั การศึกษา สอดคลองกบั ความตองการของการ ย. 2 ผลิต
ยุทธศาสตร เพื่อความมน่ั คง บคุ ลากรท
สำนกั งานปลดั ย.2 ผลิตพฒั นากำลงั คน การวิจยั เพ่ือสรา งความสามารถในการ ย. 4 ยทุ ธ
กระทรวงศึกษาธิการ แขง ขัน เขาถึงบร
เรียนรอู ย
ย.3 พัฒน

10

ความเช่ือมโยงนโยบาย

รพฒั นาและเสรมิ สราง ย.4 ดานการสรา งโอกาสบน ย. 5 ดานการสรางการเติบโตบน ย. 6 ดานการปรับสมดลุ และ
พคน ความเสมอภาคและความเทา คณุ ภาพชีวติ ท่ีเปนมิตรกับ พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การ

รศกึ ษาและเรียนรู การ เทียมกนั ทางสังคม สง่ิ แวดลอม ภาครฐั
งศาสนา ศิลปะและ
รม น.3 ความเหลือ่ มล้ำ น. 9 การรักษาความมั่นคงของฐาน น. 10 การสงเสริมการบริหาร
น.5 สาธารณสุข ทรัพยากร และการสรางสมดลุ ราชการแผนดินทม่ี ีธรรมาภิบาล
เสรมิ สรางและพฒั นา ระหวางการอนุรักษกบั การใช และการปองกนั ปราบปรามทุจริต
พ ย.2 การสรา งความเปนธรรม ประโยชนอยางยั่งยนื และประพฤติชอบในภาครัฐ
ย และลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
ย.4 การเตบิ โตทเ่ี ปน มิตรกบั น. 11 กฏหมาย
สิ่งแวดลอมเพื่อการพฒั นาอยาง
ยัง่ ยนื ย.6 การบริหารจดั การในภาครัฐ

การปอ งกันการทจุ ริตประพฤติมิ
ชอบและ

ธรรมาภิบาล

รพฒั นาศักยภาพคนทุกชวง ย. 4 การสรา งโอกาส ความ ย. 5 การจดั การศกึ ษาเพ่อื สรา ง ย. 6 การพัฒนาประสิทธภิ าพ
การสรางสังคมแหง การเรียนรู เสมอภาค และความเทาเทียม เสรมิ คุณภาพชวี ิตท่ีเปนมิตรกบั ของระบบบริหารจัดการศึกษา
ทางการศึกษา ส่งิ แวดลอ ม
ฒนาหลักสูตร กระบวนการ ย. 6 ยุทธศาสตรพ ฒั นาระบบ
รสอน การวัดประเมินผล ย. 4 ยทุ ธศาสตรข ยายโอกาส ย. 5 ยุทธศาสตรสง เสรมิ และพัฒนา บรหิ ารจัดการและสงเสริมใหท ุก
การเขา ถงึ บรกิ ารทางการศึกษา ระบบเทคโนโลยดี ิจิทลั เพอ่ื ภาคสวนมีสวนรวมในการจัด
ต พฒั นาครู คณาจารยแ ละ และการเรียนรอู ยางตอ เนอ่ื ง การศกึ ษา การศกึ ษา
ทางการศกึ ษา ตลอดชวี ติ

ธศาสตรขยายโอกาสการ ย.4 สรา งโอกาส ความเสมอภาค ย.5 สง เสรมิ และจดั การศึกษาเพ่ือ ย.6 พฒั นาระบบบริหารจดั การ
ริการทางการศึกษา และการ และความเทาเทียมทางการศึกษา เสริมสรา งคุณภาพชวี ติ ท่ีเปนมิตร ใหม ีประสทิ ธภิ าพ
ยางตอ เนอ่ื งตลอดชวี ิต
กบั ส่งิ แวดลอม
นาศักยภาพคนใหมคี ุณภาพ

แผนภาพที่ 1 แสดงควา

แผนบูรณาการ บ.1 การสรางความปรองดอง บ.5 การพัฒนาอตุ สาหกรรมศกั ยภาพ บ.15 การพัฒน
และสมานฉนั ท บ.6 การสงเสรมิ วิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอม บ.16 การยกระ
ยทุ ธศาสตร สป. บ.7 การพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกจิ พิเศษ และการเรียนรูต
ยุทธศาสตรภาค15 บ.2 การขบั เคลื่อนการแกไข บ.8 การพฒั นาโครงสรางพืน้ ฐานและระบบโลจิสติกส
ปญ หาในจังหวัดชายแดน 3. พัฒนาศักยภ
ภาคใต

บ.3 การจัดการปญหาแรงงาน บ.9 การพฒั นาเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั
ตางดาวและการคา มนษุ ย บ.10 การวิจัยและนวัตกรรม
บ.11 การสรา งรายไดจากการทอ งเที่ยวและบรกิ าร
บ.4 การปองกนั ปราบปราม บ.12 การพัฒนาระเบยี งเศรษฐกจิ ภาคตะวนั ออก
และบำบดั รักษาผูตดิ บ.13 การพัฒนาฝม อื แรงงานไปสไู ทยแลนด 4.0

ยาเสพติด

บ.14 การพฒั นาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร

บ.29 แผนบูรณาการเสรมิ สรา งความเขมแข็งและยงั่ ยืน
ใหกับเศรษฐกิจภายในประเทศ

1. พฒั นาการจดั การศึกษา 2. พฒั นากำลังคน การวิจัย เพอ่ื สรางความสามารถในการ
เพ่อื ความมั่นคง แขง ขนั ของประเทศ

1. ยกระดับขบั เคลอื่ นการบูรณาการเพ่อื การพัฒนา 2. พัฒนาหลกั ส
การศึกษาเชงิ พ้ืนที่แบบมีสว นรวม เรยี นรูทมี่ ีคณุ ภา
ผเู รยี นท่ีหลากห

ความรู ความสา
ศตวรรษท่ี 21

ยุทธศาสตร ศธจ. ย. 1 การสรา งความมน่ั คง ย. 2 การสรางความสามารถในการแขงขัน ย. 3 การพฒั นา
คน

11

ามเช่ือมโยงนโยบาย(ตอ )

นาศักยภาพคนตามชวงวัย บ.17 การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและ บ.18 การจัดการปญหาท่ีดินทำ บ.24 การปอ งกัน ปราบปราม
ชมุ ชนเขม แข็ง กนิ การทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบ
ะดบั คณุ ภาพการศึกษา
ตลอดชวี ิต บ.19 การพัฒนาระบบประกนั สุขภาพ บ.21 การบริหารจัดการขยะและ บ.25 การปฏิรูปกฎหมายและ
ส่งิ แวดลอม พฒั นากระบวนการยุติธรรม
บ.20 การสรา งความเสมอภาคเพอ่ื
รองรบั สงั คมผูสูงอายุ บ.22 การพฒั นาและเพิม่ บ.26 การอำนวยความสะดวก
ประสิทธภิ าพการใชพลังงานท่ี ทางธุรกจิ
เปน มิตรกับส่ิงแวดลอม
บ.27 การสง เสริมการกระจาย
บ.23 การบริหารจดั การ อำนาจ
ทรพั ยากรนำ้
ใหแกอ งคกรปกครองสว นทองถน่ิ

บ.28 การสง เสรมิ การพัฒนา
จงั หวดั

และกลมุ จงั หวัดแบบบูรณาการ

ภาพคนใหม ีคณุ ภาพ 4. สรา งโอกาสและความเสมอภาคทาง 5. สงเสริมและจดั การศึกษาเพื่อ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการให
การศึกษา เสรมิ สรางคุณภาพชวี ติ ท่ีเปน มติ ร มีประสทิ ธิภาพ
กบั สง่ิ แวดลอ ม
สตู รและกระบวนการ 3. ขยายโอกาสการเขา ถึงบริการทาง 4. เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบริหาร
าพตรงตามศกั ยภาพ การศึกษาและการเรียนรตู ลอดชวี ติ 7. เสรมิ สรา งปจ จัยทนุ ทางสังคม จดั การ และการจัดการเรยี นการ
หลาย เพื่อเพิ่มสมรรถนะ และทุนทางธรรมชาตอิ ยาง สอนของผูบ ริหารและบคุ ลากร
ามารถและคณุ ลักษณะใน 6. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ หลากหลายทีเ่ ปนอัตลักษณของ ทางการศึกษาทุกระดบั
และการสอ่ื สารเพ่อื การศึกษา พน้ื ท่ี
าและเสรมิ สรางศักยภาพ
5. เสรมิ สรา งทศั นคติและสนับสนุนการ ย. 5 ดานการสรางการเติบโตบน ย. 6 ดานการปรบั สมดลุ และ
จดั การศกึ ษาเพ่ือสมั มาชพี
คณุ ภาพชวี ิตท่ีเปน มิตรกบั พฒั นาระบบการบริหารจัดการ
ย.4 ดา นการสรา งโอกาสบนความเสมอ
ภาคและความเทา เทียมกนั ทางสังคม

สงิ่ แวดลอ ม ภาครัฐ

แผนภาพท่ี 2 กรอบแนวคดิ การจดั ทำแผนพฒั นาการศึกษาของจงั หวดั ลำป

นโยบายระดบั ชาติ ขอ มูลพื้นฐาน ทิศทางการ
1.แผนยทุ ธศาสตรช าติ 20 ป การศกึ ษาข
2.แผนพฒั นาศก.ป 2560-2564 ผลการ จังหวดั ลำป
3.แผนการศกึ ษาแหงชาติ 20 ป ดำเนนิ งาน
4.แผน ศธ./นโยบายศธ. Vision
5. แผน สป./ศธ. 1. เกง
2. ดี วิสยั ทัศน
นโยบาย/บรบิ ท ระดับจงั หวดั 3. มีสุข อตั ลักษณ
ระดบั ภาค เอกลักษ

1. แผนระดับภาค 15 mision
2. แผนพฒั นาจังหวดั ลำปาง
3. ทศิ ทางการพฒั นาจงั หวดั พันธกิจ
4. ความคาดหวงั /
ความตอ งการของผูป กครอง Goal
และชุมชน
5.บรบิ ททางสังคม วฒั นธรรมฯ เปา ประส

12

ปาง พ.ศ. 2562 -2565

รจัด ยทุ ธศาสตร โครงการ/กิจกรรม
ของ 1.พัฒนาการจดั การศกึ ษาเพอ่ื
ปาง ความม่นั คง
2. พัฒนากำลงั คน การวิจยั

เพ่อื สรางความสามารถในการ

น แขง ขนั ของประเทศ โครงการ

ณ 3.พฒั นาศักยภาพคนใหมคี ณุ ภาพ กิจกรรม

ษณ 4. สรา งโอกาสและ งบประมาณ

ความเสมอภาคทางการศึกษา ผรู บั ผดิ ชอบ

5. สงเสรมิ และจัดการศึกษา

สงค เพือ่ เสริมสรางคณุ ภาพชีวติ
ท่ีเปน มติ รกบั สงิ่ แวดลอม

13

3. แผนพัฒนาการศึกษา ปี พ.ศ. 2562 – 2565 จงั หวดั ลำปาง
(ฉบับทบทวน ปี พ.ศ. 2563 - 2565)

วสิ ยั ทศั น์
“ผู้เรียนเป็นคนดี มีวินัย มีความฉลาดรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของโลก สร้างสรรค์นวัตกรรม

การศกึ ษาบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และวฒั นธรรมท้องถน่ิ ”

พนั ธกิจ
1. ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความฉลาดรู้และมีทักษะ

ในศตวรรษที่ 21 ผู้เรียนเป็นคนดี มีวินัยมีหลักคิดที่ถูกต้อง สามารถค้นพบความถนัดในอาชีพดำเนินชีวิต
ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง มีความภมู ใิ จในวฒั นธรรมทอ้ งถ่ินของตน และรกั ษ์ส่ิงแวดล้อม

2. สร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับประชาชนทั้งในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย
อย่างท่วั ถึงและเป็นธรรม

3. ส่งเสรมิ การวิจัยและพัฒนานวตั กรรมเพื่อขจัดความเหลอ่ื มล้ำทางการศึกษา
4. ส่งเสริมสนับสนนุ ให้สถานศึกษาครู และบุคลากรทางการศึกษาจัดการเรยี นรู้ให้เกิดทักษะ
และคุณลักษณะของผ้เู รยี น ในศตวรรษท่ี 21 ตามมาตรฐานการศกึ ษา
5. ส่งเสรมิ การบูรณาและพฒั นาประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล
6. ส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษาในทุกระดับ เพื่อตอบสนอง
ความต้องการของประชาชนในพนื้ ท่ี

เป้าประสงค์หลัก
1. ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 เป็นคนดี มีวินัย มีทักษะชีวิต สามารถค้นพบความถนัด

ในอาชีพ ดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความภูมิใจในท้องถิ่นของตน
และรกั ษส์ ิ่งแวดล้อม

2. ผู้เรียนทุกช่วงวัยได้รับโอกาสทางการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย
อย่างทวั่ ถงึ และเป็นธรรม

3. หนว่ ยงานมกี ารวจิ ยั และพฒั นานวัตกรรมเพื่อขจัดความเหลอ่ื มล้ำทางการศึกษา
4. สถานศกึ ษา ครแู ละบุคลากรทางการศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐาน
5. ระบบบริหารจัดการมีประสิทธภิ าพ
6. ทกุ ภาคสว่ นมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษาให้ทุกระดับสามารถบูรณาการ การจัดการศึกษา
รว่ มกันเพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนในพื้นท่ี

ยทุ ธศาสตร์ 6 ยทุ ธศาสตร์
1. การจัดการศกึ ษาเพ่อื ความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
2. การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถ

ในการแขง่ ขนั ของประเทศ
3. การพฒั นาศักยภาพคนทุกชว่ งวัย และการสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรู้
4. การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทยี มทางการศึกษา
5. การจดั การศึกษาเพื่อสรา้ งเสรมิ คุณภาพชวี ิตทเ่ี ป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อม
6. การพฒั นาประสิทธิภาพของระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษา

ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพ่อื ความมัน่ คงของสังคมและประเทศชาติ
1.1 เสริมสร้างจิตสำนึกของพลเมือง ความรักสถาบันชาติ และยึดมั่นการปกครอง

ระบบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข

14

1.2 ส่งเสรมิ โอกาสในการเขา้ ถึงการศึกษาของประชาชนในพ้นื ที่สูง หา่ งไกลและทรุ กนั ดาร
1.3 ส่งเสริมการจัดการศึกษา การดูแลและป้องกันภัยจากยาเสพติด และภัยคุกคาม
ในรปู แบบใหม่
1.4 สง่ เสรมิ ให้มีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

เปา้ ประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
1.ผู้เรียนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบ

ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ
2.ผเู้ รยี นทกุ ช่วงวยั ได้รับการศกึ ษาการดแู ลปอ้ งกันจากภยั คกุ คามชีวติ ในรปู แบบใหม่
3.ผูเ้ รยี นทุกชว่ งวยั ในพ้ืนที่สูงมโี อกาสในการเข้าถึงการศึกษา

ตัวช้ีวัด
1. ร้อยละของสถานศึกษาที่จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่สะท้อนความรักและการธำรง

รักษาสถาบันหลักของชาติและการยึดมั่นในการปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมขุ เพ่ิมข้นึ

2. รอ้ ยละของผู้เรียนในพ้ืนท่ีสูงและธุรกันดารมีโอกาสในการเข้าถงึ การศึกษา
3. ร้อยละของสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนหรือจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้าง
ความจำ ความรู้ ความเขา้ ใจ การนำไปใช้ วิเคราะห์ ประเมนิ คา่ สังเคราะห์ สร้างสรรค์ ที่ถูกตอ้ งเกี่ยวกับภัย
คุกคามในรูปแบบใหม่ (ภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ ได้แก่ ปัญหายาเสพติด การหนีข้ามประเทศ การก่อ
การร้าย การบุกรุกปา่ อาชญากรรมปญั หาความรนุ แรง ภัยไซเบอร์ โรคภยั ภัยพิบัติทางธรรมชาต)ิ

ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถ
ในการแข่งขันของประเทศ
2.1 สง่ เสรมิ สถานศึกษาให้มีการผลิตและพฒั นาผู้เรียนให้มีทักษะท่ีจำเป็นและมสี มรรถนะ

ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน
2.2 ส่งเสริมให้สถานศึกษา วิจัย พัฒนา สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่เกี่ยวข้อง

ในการสร้างผลผลติ และมลู ค่าเพมิ่ ทางเศรษฐกิจของจังหวัดลำปาง
2.3 ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและสร้างนวัตกรรม

ในสาขาวชิ าชีพตา่ ง ๆ

เปา้ ประสงคเ์ ชิงยทุ ธศาสตร์
1. ผูเ้ รียนค้นพบความถนดั และมที ัศนคติท่ีดีในการประกอบอาชพี
2. ผเู้ รียนได้รับการพฒั นาให้มีสมรรถนะตรงกบั ความต้องการของตลาดแรงงาน
3. หน่วยงานการศึกษามีงานวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรม

ในการจัดการศกึ ษาท่ีเกีย่ วข้องในการสรา้ งผลผลิตและมูลค่าเพ่มิ ทางเศรษฐกจิ ของจังหวดั ลำปาง

ตัวชวี้ ัด
1. ร้อยละของสถานศึกษาที่มีการผลิตและพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะที่จำเป็นและมีสมรรถนะ

ตรงตามความตอ้ งการของตลาดแรงงาน
2. จำนวนงานวิจัย องค์ความรู้และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ

ของจงั หวดั ลำปาง
3. จำนวนเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา เอกชน สถานประกอบการ และชุมชน

ในการจัดการศกึ ษาและสร้างนวตั กรรมในสาขาวชิ าชพี ต่างๆ

15

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การพฒั นาศักยภาพคนทุกชว่ งวัย และการสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรู้
3.1 ส่งเสริมให้ผู้เรยี นทุกช่วงวัยมีทักษะและคุณลักษณะพ้นื ฐานของพลเมืองไทย
3.2 ส่งเสริมให้ผู้เรียนทุกชว่ งวยั มีทกั ษะและคุณลักษณะทีจ่ ำเป็นในศตวรรษที่ 21
3.3 สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นทกุ ช่วงวยั มีทักษะความรคู้ วามสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐาน

การศกึ ษาและมาตรฐานวชิ าชีพ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ไดต้ ามศักยภาพ
3.4 ส่งเสริมให้สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตร

อยา่ งมีคณุ ภาพและมาตรฐาน
3.5 ส่งเสริมให้ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ทุกระดับและประเภทการศึกษา

ได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐานวชิ าชีพ

เป้าประสงคเ์ ชิงยทุ ธศาสตร์
1. ผเู้ รียนทุกช่วงวัยมที กั ษะและคุณลกั ษณะพนื้ ฐานของพลเมอื งไทย
2. ผู้เรยี นทกุ ชว่ งวยั มีมีทักษะและคุณลักษณะท่จี ำเป็นในศตวรรษที่ 21*
3. ผู้เรียนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและ

มาตรฐานวิชาชพี และพัฒนาคุณภาพชวี ติ ได้ตามศกั ยภาพ
4. ผู้เรียนทุกช่วงวัยมีความพึงพอใจในการจัดการศึกษา มีความสุข สุขภาพดี

อตั ราการออกกลางคันน้อย
5. สง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพศกึ ษาทุกระดับทุกประเภทสู่มาตรฐาน
6. สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรอย่างมีคุณภาพแล ะ

มาตรฐาน
7. ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ทุกระดับและทุกประเภทการศึกษามีสมรรถนะ

ตามมาตรฐานวชิ าชพี
* ทักษะในศตวรรษที่ 21 คอื

ทักษะ 3R คือ Reading-อา่ นออก, (W) Riting-เขยี นได,้ (A) Rithmatics-คิดเลขเปน็
8C คอื 1. Critical Thinking and Problem Solving : การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ แกไ้ ขปญั หาได้

2. Creativity and Innovation : คิดอย่างสรา้ งสรรค์ คิดเชงิ นวัตกรรม
3. Cross-cultural Understanding : ความเข้าใจความแตกตา่ งทางวัฒนธรรม กระบวนการคดิ
ขา้ มวัฒนธรรม
4. Collaboration teamwork and leadership : ความร่วมมอื การทำงานเป็นทีม และภาวะ
ผู้นำ
5. Communications information and media literacy : ทักษะในการสื่อสาร และการร้เู ท่าทัน
สอ่ื
6. Computing and ICT literacy :ทักษะการใชค้ อมพิวเตอร์ และการรเู้ ท่าทันเทคโนโลยี
7. Career and learning skills : ทักษะทางอาชีพ และการเรียนรู้ และ 8.Compassion :
มคี ุณธรรม มีเมตตา กรุณา มีระเบยี บวินัย
ตัวชว้ี ัด

1. รอ้ ยละของผู้เรยี นทกุ ช่วงวยั มคี ณุ ลกั ษณะและทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เพ่ิมขน้ึ
2. รอ้ ยละของผูเ้ รียนทกุ ชว่ งวยั มคี ุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ ตามคา่ นิยม 12 ประการ เพ่ิมขนึ้
3. ร้อยละของผูเ้ รียนระดบั ปฐมวัยมีพฒั นาการสมวยั เพิ่มข้ึน
4. ร้อยละของผู้เรยี นมีอัตราออกกลางคันน้อย

16

5. ร้อยละของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตาม
มาตรฐานการศกึ ษา

6. ร้อยละของผู้เรียนระดับอาชวี ศึกษาทีม่ ีความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐาน
การศึกษาและมาตรฐานวชิ าชีพ

7. ร้อยละของผู้เรียนระดับอุดมศึกษาที่มีความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐาน
การศึกษาและมาตรฐานวิชาชพี

8. ร้อยละของวัยแรงงานและผู้สูงวัยที่ได้รับบริการทางการศึกษา พัฒนาทักษะอาชีพและ
ทกั ษะชีวติ เพม่ิ ขึน้

9. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาท่สี ามารถจดั กระบวนการเรยี นรไู้ ด้คุณภาพและมาตรฐานเพิม่ ขึ้น
10 ร้อยละของแหลง่ เรยี นรู้ ส่อื นวตั กรรม ท่ไี ด้รับการพัฒนาให้สามารถใหบ้ ริการทาง
การศึกษา
11. สถานศึกษามีระบบ กลไก การวัดและติดตามประเมินผลความรู้ ทักษะ และสมรรถนะ
ของผู้เรยี นทกุ ระดบั การศึกษาท่มี ปี ระสิทธิภาพ
12. ร้อยละครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ทุกระดับและประเภทการศึกษาได้รับ
การพฒั นาสมรรถนะตามมาตรฐาน
13. ร้อยละของสถานศึกษาที่มกี ารจัดกิจกรรมในการปลกู ฝังจิตสำนึกด้านวินัย

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศึกษา
4.1 สง่ เสรมิ ให้ผ้เู รียนทุกชว่ งวยั ทกุ ประเภทไดร้ ับโอกาสทางการศึกษาอยา่ งท่ัวถึง
4.2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการลดความเหลื่อมล้ำ

ทางการศึกษาสำหรบั คนทกุ ชว่ งวยั
4.3 ส่งเสริมให้สถานศึกษาเป็นศูนย์การเรียนรู้เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านดิจิทัล

แฟลทฟอร์มเพอ่ื การศกึ ษาสำหรับคนทุกช่วงวัย
4.4 ส่งเสริมการบูรณาการฐานข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา (Big Data) ที่ครอบคลุม

ถูกตอ้ ง เปน็ ปจั จุบัน
4.5 ส่งเสรมิ สวัสดกิ าร ทุนการศกึ ษา ทุนกยู้ มื จัดหาแหล่งงบประมาณ
4.6 ส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนหลักสูตรระยะสั้น หลักสูตรออนไลน์

การศึกษาทวภิ าคี ทวิศึกษา โรงเรียนในโรงงาน

เป้าประสงค์เชงิ ยทุ ธศาสตร์
1. ผ้เู รยี นทุกคนไดร้ บั โอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึงการศกึ ษาที่มีคณุ ภาพ
2. การเพ่ิมโอกาสทางการศกึ ษาผา่ นเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพ่ือการศึกษาสำหรบั คนทุกชว่ งวยั
3. จงั หวดั ลำปางมีระบบเครือข่ายขอ้ มลู สารสนเทศในการจัดการศึกษา (Big Data)
4. สถานศกึ ษาจดั หลักสูตรการเรยี นการสอนแบบทวศิ กึ ษา ทวิภาคี หลกั สูตรระยะสนั้

ตัวชวี้ ัด
1. ร้อยละของผู้เรียนในแตล่ ะช่วงวัยได้รับโอกาสทางการศกึ ษาอยา่ งเหมาะสม
2. ร้อยละของเครอื ขา่ ยที่มสี ่วนร่วมในการจดั การศกึ ษาสำหรบั คนทกุ ช่วงวยั
3. รอ้ ยละของสถานศึกษาทไี่ ดร้ บั บรกิ ารอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงครอบคลมุ ทุกพ้ืนที่
4. หน่วยงานการศึกษามีระบบสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน

สามารถอ้างอิงได้เพื่อใช้ประโยชน์ในการวางแผน การบริหารจัดการศึกษา การติดตาม ประเมิน และ
รายงานผล

17

5. รอ้ ยละของผู้เรียนมีวฒุ ิทางการศึกษาด้านสายอาชีพและ ด้านสายสามญั

ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 การจดั การศึกษาเพื่อสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชีวิตทเ่ี ป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม
5.1 เสรมิ สรา้ งใหผ้ ู้เรียนทุกชว่ งวัยมีจิตสำนึกรกั ษ์ส่ิงแวดล้อม วฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี ม

ประเพณี ภูมปิ ญั ญาของทอ้ งถิ่น และนำแนวคดิ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏิบตั ิ
5.2 ส่งเสริมสถานศึกษาพัฒนาหลักสูตร แหล่งเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ ที่เป็นมิตร

กับส่งิ แวดล้อม และนำแนวคิดตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏิบัติ
5.3 ส่งเสริมการวจิ ัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวติ

ท่ีเปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดล้อม
5.4 สง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรมให้แกผ่ ู้เรียนทุกชว่ งวัย

เปา้ ประสงค์เชิงยทุ ธศาสตร์
1. ผู้เรียนในทุกช่วงวัยมีทักษะชีวิต สามารถดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี งรกั และภมู ิใจในท้องถ่นิ ของตน
2. ผ้เู รียนในทกุ ชว่ งวยั มีจติ สำนึกรักษ์สงิ่ แวดลอ้ ม มคี ุณธรรมและจริยธรรม

ตวั ชวี้ ดั
1. รอ้ ยละของผเู้ รียนทกุ ช่วงวัยมีพฤติกรรมที่แสดงออกถงึ จิตสำนึกรักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม วฒั นธรรม

ขนบธรรมเนียมประเพณี ภูมิปัญญาของท้องถิ่นและประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ในการดำเนนิ ชีวิต

2. ร้อยละของสถานศึกษาที่พัฒนาหลักสูตรแหล่งเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ที่เป็นมิตร
กับสง่ิ แวดล้อม

3. รอ้ ยละของสถานศึกษาทีจ่ ัดกจิ กรรมเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
4. ร้อยละของสถานศึกษาท่ีนำแนวคิดตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏิบตั ิ
5. จำนวนงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร
กบั สง่ิ แวดลอ้ ม
6. ร้อยละสถานศึกษาทจี่ ัดกจิ กรรมสืบสานวฒั นธรรม ประเพณที ้องถ่ิน
7. ร้อยละของสถานศึกษาที่มีการจัดกิจกรรมในการปลูกฝังจิตสำนึกด้านความสะอาด
ของส่ิงแวดลอ้ ม

ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาประสทิ ธิภาพของระบบบรหิ ารจัดการศึกษา
6.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธ ิภ าพ และประสิทธ ิผล

ตามหลักธรรมาภิบาล
6.2 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของประชาชน

จงั หวัดลำปาง
6.3 พัฒนาระบบงานบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
6.4 พัฒนาระบบนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษา

ใหม้ ีประสทิ ธิภาพ

เปา้ ประสงคเ์ ชงิ ยุทธศาสตร์
1. ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา สามารถบูรณาการการจัดการศึกษาร่วมกัน

เพือ่ สร้างชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ สบื สานวัฒนธรรมท้องถิน่ ส่งเสริมคนดี มีวินยั และรกั ษ์ส่งิ แวดลอ้ ม
2. หน่วยงานการศกึ ษาและหนว่ ยงานทีจ่ ัดการศึกษามีการบริหารงานตามหลักธรรมมาภบิ าล

18

3. ระบบบริหารงานบุคคลมคี วามเปน็ ธรรม และสร้างขวญั กำลังใจในการปฏบิ ตั งิ าน
4. ระบบนเิ ทศ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจดั การศึกษามีประสิทธิภาพ

ตวั ชวี้ ัด
1. ร้อยละของสถานศึกษาที่มีระบบบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

ตามหลกั ธรรมาภิบาล
2. ร้อยละของสถานศกึ ษาที่มีคณุ ภาพตามเกณฑ์ประกนั คุณภาพการศึกษา
3. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาท่บี รหิ ารงานตามหลกั ธรรมาภิบาล
4. จำนวนเครือข่ายการศึกษาที่มีศักยภาพและความพร้อมในการส่งเสริมสนับสนุน

ในการจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนจังหวัดลำปาง
5. จำนวนองค์กร สมาคม มูลนิธิหรือหน่วยงานอื่นที่เข้ามาจัดการศึกษาหรือร่วมมือกับ

สถานศึกษา ทง้ั ของรัฐ เอกชน และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ เพิม่ ขนึ้
6. หน่วยงานการศึกษามีระบบสรรหาและแต่งตั้งผู้บริหารสถานศึกษา ครู อาจารย์

และบุคลากรทางการศกึ ษาตามหลักเกณฑ์ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ และความสำเรจ็ ในวิชาชพี
7. ร้อยละของสถานศึกษาทม่ี ีครูเพยี งพอต่อการจดั การเรยี นการสอน
8. ร้อยละของคร/ู ผู้ทรงคุณวฒุ ิจากภาคเอกชน/ผู้ประกอบการท่ปี ฏบิ ัติงานสนับสนุนการเรียน

การสอนเพิ่มขน้ึ
9. ร้อยละของสถานศึกษาที่มีระบบนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัด

การศึกษาให้มีประสทิ ธภิ าพ

ตัวขี้วัดตามเป้าหมายของแผนพัฒนาการศึกษาจงั หวดั ลำปาง
แผนพฒั นาการศกึ ษาจงั หวดั ลำปาง ปี พ.ศ. 2562 – 2565

(ฉบบั ทบทวน ปี พ.ศ. 2563 – 2565)

ตารางที่ 1 กำหนดคา่ เปา้ หมายและตวั ชี้วดั

คา่ เปา้ หมายตัวชีว้ ัด

ตัวชี้วัด 2563 2564 2565

ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การจดั การศึกษาเพ่อื ความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ

1. ร้อยละของสถานศึกษาท่จี ดั กิจกรรมส่งเสริมการเรยี นรูท้ ี่ 100 100 100

สะทอ้ นความรกั และการธำรงรกั ษาสถาบนั หลักของชาติ และ 100 100
100 100
การยดึ ม่นั ในการปกครองระบบประชาธิปไตยอนั มี

พระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ

2. ร้อยละของผูเ้ รยี นในพ้ืนท่ีสูง ทุรกนั ดารมีโอกาสในการเขา้ ถึง 100

การศกึ ษา

3. ร้อยละของสถานศึกษาท่จี ัดการเรียนการสอนหรือจดั กจิ กรรม 100

เพอ่ื เสรมิ สร้างความรู้ความเข้าใจทถ่ี ูกตอ้ งเกยี่ วกบั ภัยคุกคาม

ในรปู แบบใหม่

19

ตารางที่ 1 (ตอ่ )

ตวั ช้ีวัด คา่ เป้าหมายตัวช้วี ัด

2563 2564 2565

ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลติ และพฒั นากำลงั คน การวจิ ัย และนวัตกรรมเพ่ือสร้างขดี ความสามารถ

ในการแขง่ ขันของประเทศ

1. ร้อยละของสถานศึกษาทม่ี ีการผลติ และพฒั นาผเู้ รียนให้มี 7 9 11

ทกั ษะที่จำเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของ

ตลาดแรงงาน

2. จำนวนงานวิจัย องค์ความรู้และนวัตกรรมทส่ี ร้างผลผลติ และ 7 9 11

มูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกิจของจังหวดั ลำปาง

3. จำนวนเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาเอกชน 5 79

สถานประกอบการ และชมุ ชนในการจัดการศึกษาและสรา้ ง

นวัตกรรมในสาขาวิชาชีพตา่ งๆ

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคนทกุ ช่วงวัย และการสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้

1. ร้อยละของผ้เู รียนทกุ ชว่ งวยั มคี ุณลักษณะและทักษะการ 80 85 90

เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพม่ิ ขึน้

2. ร้อยละของผเู้ รยี นทกุ ชว่ งวยั มีคณุ ลักษณะตามคา่ นิยม 85 90 95

12 ประการ เพิ่มข้ึน

3. ร้อยละของผู้เรยี นระดบั ปฐมวัยมพี ัฒนาการสมวัยเพิ่มขึ้น 84 86 90

4. ร้อยละของผ้เู รียนมีอัตราการออกกลางคันลดลง 6 54

5. ร้อยละของผู้เรียนระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐานมีความรู้ 80 85 90

ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา

6. ร้อยละของผ้เู รยี นระดบั อาชีวศกึ ษาท่มี ีความรู้ ความสามารถ 70 75 80

และสมรรถนะตามมาตรฐานการศกึ ษา และมาตรฐานวิชาชพี

7. ร้อยละของสถานศึกษาทม่ี ีการจัดกิจกรรมในการปลูกฝงั 100 100 100

จติ สำนึกด้านวนิ ยั

8. ร้อยละของผู้เรยี นระดบั อุดมศึกษาท่ีมีความรู้ ความสามารถ 70 75 80

และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและมาตรฐานวชิ าชพี

9. รอ้ ยละของวัยแรงงานและผสู้ ูงวัยทีไ่ ด้รับบรกิ ารทางการศกึ ษา 12 13 14

พัฒนาทักษะอาชีพและทกั ษะชีวิตเพ่ิมขนึ้

10. ร้อยละของสถานศึกษาท่ีสามารถจดั กระบวนการเรยี นรไู้ ด้ 85 88 90

คณุ ภาพและมาตรฐานเพม่ิ ขนึ้

11. รอ้ ยละของแหล่งเรยี นรู้ ส่อื นวตั กรรม ที่ไดร้ บั การพฒั นา 60 70 80

ใหส้ ามารถให้บริการทางการศึกษา

12. สถานศกึ ษามรี ะบบ กลไก การวดั และติดตามประเมินผล มี มี มี

ความรู้ ทักษะ และสมรรถนะของผเู้ รียนทุกระดบั การศึกษา

ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ

13. ร้อยละครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษาทุกระดบั และ 85 90 95

ประเภทการศกึ ษาได้รบั การพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน

20

ตารางท่ี 1 (ต่อ)

ตัวช้ีวัด ค่าเป้าหมายตัวช้ีวดั

2563 2564 2565

ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศกึ ษา

1. รอ้ ยละของผู้เรียนในแต่ละช่วงวัยได้รับโอกาสทางการศึกษา 80 80 80

อยา่ งเหมาะสม

2. รอ้ ยละของเครอื ขา่ ยท่ีมสี ่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษาสำหรบั 5 5 5

คนทุกช่วงวัย

3. ร้อยละของสถานศึกษาทไ่ี ดร้ ับบริการอินเตอร์เนต็ ความเรว็ สูง 75 80 90

ครอบคลุมทุกพน้ื ที่

4. หนว่ ยงานการศกึ ษามรี ะบบสารสนเทศทางการศึกษาที่ มี มี มี

ครอบคลุม ถูกต้อง เปน็ ปัจจุบัน สามารถอ้างอิงได้เพ่อื ใช้

ประโยชนใ์ นการวางแผนการบริหารจดั การศกึ ษา การตดิ ตาม

ประเมนิ และรายงานผล

5. รอ้ ยละของผ้เู รียนมวี ฒุ ทิ างการศึกษาดา้ นสายอาชพี และด้าน 3 4 5

สายสามญั

ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 การจัดการศึกษาเพื่อสรา้ งเสริมคุณภาพชีวิตทเี่ ปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม

1. ร้อยละของผู้เรียนทุกช่วงวัยมีพฤติกรรมที่แสดงออกถึง 60 70 80

จิตสำนึกรักสิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี

ภูมิปัญญาของท้องถิ่น และประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี งในการดำเนินชวี ิต

2. ร้อยละของสถานศึกษาทพ่ี ัฒนาหลักสตู ร แหล่งเรยี นรู้ และสอ่ื 85 90 95

การเรยี นรู้ ทีเ่ ป็นมิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม

3. ร้อยละของสถานศึกษาทจี่ ัดกิจกรรมเสริมสรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรม 100 100 100

4. รอ้ ยละของสถานศึกษาทีน่ ำแนวคดิ ตามหลักปรัชญาของ 100 100 100

เศรษฐกจิ พอเพยี งส่กู ารปฏิบัติ

5. จำนวนงานวิจยั และนวตั กรรมทีเ่ กย่ี วข้องกับการสรา้ งเสริม 8 10 15

คุณภาพชีวติ ทเี่ ป็นมิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม

6. รอ้ ยละสถานศึกษาทีจ่ ัดกจิ กรรมสบื สานวฒั นธรรม ประเพณี 100 100 100

ทอ้ งถน่ิ

7. รอ้ ยละของสถานศึกษาทมี่ ีการจดั กิจกรรมในการปลูกฝัง 100 100 100

จิตสำนึกด้านความสะอาดของสิ่งแวดลอ้ ม

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 การพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบบรหิ ารจดั การศึกษา

1. ร้อยละของสถานศึกษามรี ะบบบริหารจัดการศึกษาทมี่ ี 100 100 100

ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลตามหลกั ธรรมาภิบาล

2. รอ้ ยละของสถานศึกษาท่มี ีคณุ ภาพตามเกณฑป์ ระกนั คุณภาพ 84 86 90

การศกึ ษา

3.รอ้ ยละของสถานศึกษาทบี่ ริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล 100 100 100

21

ตารางท่ี 1 (ตอ่ )

ตัวชี้วัด ค่าเปา้ หมายตัวชีว้ ัด
2563 2564 2565
4. จำนวนเครือข่ายการศกึ ษาที่มศี กั ยภาพและความพร้อม ในการ 11 12 13
สง่ เสริมสนบั สนนุ ในการจัดการศกึ ษาเพอ่ื ตอบสนองความต้องการ
ของประชาชนจงั หวัดลำปาง 10 15 20

5. จำนวนองคก์ ร สมาคม มลู นิธหิ รือหน่วยงานอ่นื ที่เข้ามาจัด มี มี มี
การศึกษาหรือร่วมมอื กบั สถานศกึ ษา ท้ังของรัฐ เอกชน และ
องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ เพิม่ ข้นึ 92 94 96
100 100 100
6. หน่วยงานการศึกษามีระบบสรรหาและแต่งตงั้ ผบู้ รหิ าร
สถานศึกษา ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ตาม
หลักเกณฑ์ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และ
ความสำเรจ็ ในวชิ าชีพ

7. รอ้ ยละของสถานศึกษาที่มีครูเพียงพอตอ่ การจดั การเรยี น
การสอน

8. รอ้ ยละของสถานศึกษาที่มีระบบนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ
และประเมินผลการจดั การศึกษาให้มีประสิทธิภาพ

21

บทที่ 3

วธิ กี ารดำเนนิ งาน

โครงการขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพการศึกษาจังหวัด
โดยผ่านกลไกของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดลำปาง มีวัตถุประสงค์เพื่อสรุปผลการกำกับ ติดตาม
การยกระดับคุณภาพการศึกษาของจังหวัดลำปางผ่านกลไกคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดลำปาง
และเพื่อรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะองค์คณะบุคคลทั้งชุดเดิมและชุดใหม่ โดยนำไปใช้ในการจัดทำ
แผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดลำปาง (ระยะ 5 ปี) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 – 2570 ได้ดำเนินการ
ตามข้ันตอนดังต่อไปนี้

1. กลุ่มเป้าหมาย
หน่วยงานการศึกษาในจังหวัดลำปาง จำนวน 7 แห่ง และสถานศึกษาในจังหวัดลำปาง 17 แห่ง

ทีด่ ำเนนิ โครงการ/กิจกรรม ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565

2. เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล
2.1 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบติดตามการขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพ

การศึกษาและประสิทธิภาพการศึกษาจังหวัด โดยผ่านกลไกของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดลำปาง
ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 แบง่ เป็น 2 ชุด ดังนี้

ชุดที่ 1 เป็นแบบติดตามการขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพการศึกษา
จังหวัด โดยผ่านกลไกของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดลำปาง ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ตามแผนพัฒนา
การศึกษาจังหวัดลำปาง ปี พ.ศ.2563 – 2565 (ฉบับทบทวน) สำหรับหน่วยงานการศึกษา จำนวน 6
ยุทธศาสตร์ 39 ตัวช้ีวดั ซึง่ มีจำนวน 39 ขอ้

ชุดที่ 2 เป็นแบบติดตามการขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพการศึกษา
จังหวัด โดยผ่านกลไกของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดลำปาง ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ตามแผนพัฒนา
การศึกษาจังหวดั ลำปาง ปี พ.ศ.2563 – 2565 (ฉบบั ทบทวน) สำหรบั สถานศกึ ษา จำนวน 6 ยุทธศาสตร์ 39
ตัวชี้วัด ซึง่ มจี ำนวน 39 ขอ้

2.2 ขั้นตอนการสรา้ งเคร่ืองมือ
ในการดำเนินการโครงการขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพ

การศึกษาจังหวัดโดยผ่านกลไกของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดลำปาง มีการดำเนินการสร้างเครื่องมือ
ตามลำดบั ตอ่ ไปนี้

1. ศึกษาแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดลำปาง ปี พ.ศ.2563 – 2565 (ฉบับทบทวน)
เพอื่ ใช้เปน็ แนวทางในการสร้างเครอื่ งมือแบบติดตามฯ

2. ดำเนินการเชิญผู้เชี่ยวชาญ วางแผนจัดทำเครื่องมือในการจัดเก็บ วิเคราะห์ข้อมูล
ในวันที่ 1 มิถุนายน 2565 ณ ห้องประชุมพระบาท 2 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลำปาง ได้เครื่องมือ
ในการจดั เกบ็ ขอ้ มลู 2 แบบ ไดแ้ ก่ ใชเ้ ฉพาะหนว่ ยงานการศกึ ษาและใชเ้ ฉพาะสถานศึกษา โดยใหใ้ ช้คา่ เปา้ หมาย
ของแผนพฒั นาการศึกษาจงั หวัดลำปาง ประจำปี 2563-2565

22

3. คณะผู้เชี่ยวชาญร่วมออกแบบเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูล 2 แบบ ได้แก่ ใช้เฉพาะ
หน่วยงานการศึกษา และใช้เฉพาะสถานศึกษา โดยให้ใช้ค่าเป้าหมายของแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดลำปาง
ประจำปี 2563 – 2565 (ฉบบั ทบทวน)

4. นําเครื่องมือแบบติดตามฯ ที่สร้างขึ้น ไปให้คณะผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้อง
และขอ้ เสนอแนะ เพม่ิ เติม พรอ้ มท้งั แก้ไขปรบั ปรงุ ตามข้อเสนอแนะ

5. ดำเนินการจัดประชุมคณะดำเนินการขับเคลื่อนฯ เข้าร่วมปรึกษาหารือ ในการลงพื้นที่
เข้ากำกับ ติดตาม และประเมินการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ในวันที่ 14 มิถุนายน 2565
ณ ห้องประชมุ พระบาท 2 สำนกั งานศึกษาธิการจงั หวดั ลำปาง ได้แบง่ กลุม่ เพอื่ ลงพื้นที่กำกับ ตดิ ตาม หน่วยงาน
การศึกษา จำนวน 7 แหง่ กล่มุ ตัวอยา่ งสถานศึกษาในจังหวัดลำปาง จำนวน 17 แหง่

6. นําเครื่องมือแบบติดตามฯ ที่ได้ปรับปรุงแก้ไข ให้นักวิชาการคอมพิวเตอร์ สำนักงาน
ศึกษาธิการจังหวัดลำปาง เป็นผู้ออกแบบระบบบนเว็บไซต์ http://203.159.241.157/survey01/

7. นำแบบติดตามฯ ที่สมบูรณ์ ไปใช้เก็บรวบรวมข้อมูลโดยให้หน่วยงานทางการศึกษาและ
สถานศึกษากลุ่มเป้าหมายเป็นผู้กรอกข้อมูล โดยคณะกรรมการฯ ได้ออกกำกับ ติดตาม และประเมินผล
การยกระดับคุณภาพการศึกษาของจังหวัดตามกลไกการยกระดับคุณภาพการศึกษา ในวันที่ 20 – 21
มิถุนายน 2565 ณ หน่วยงานการศึกษา/สถานศึกษา ในจังหวัดลำปาง จำนวนวน 24 แห่ง เพื่อพูดคุย
แลกเปลย่ี นการดำเนินงานในประเด็นภาพรวมตามยุทธศาสตร์จังหวัด (อาทิเช่น กจิ กรรม/โครงการท่ีดำเนินการ
ตามตวั ชวี้ ดั ในแต่ละยุทธศาสตรจ์ ังหวัดลำปาง, จุดเด่น, จุดพัฒนา เปน็ ตน้ )

3. การเก็บรวบรวมข้อมลู

โครงการขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพการศึกษาจังหวัดโดยผ่านกลไก
ของคณะกรรมการศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ลำปาง ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมลู ตามขั้นตอน ดงั นี้

1. ทำหนงั สอื แจ้งหนว่ ยงานทางการศกึ ษา และสถานศกึ ษาทเ่ี ปน็ กลุม่ เปา้ หมายเพ่ือขอความอนุเคราะห์
ในการกรอกข้อมลู ลงในแบบติดตามฯ ผา่ นระบบออนไลน์

2. ตรวจสอบความสมบูรณ์ ของแบบติดตามฯ ที่หน่วยงานทางการศึกษา และสถานศึกษา
ทเ่ี ปน็ กล่มุ เปา้ หมาย เปน็ ผกู้ รอก

3. นำข้อมลู ที่ได้ของแต่ละชุดมาสรุปตามตวั ช้วี ดั ของแตล่ ะยุทธศาสตร์

4. การวิเคราะหข์ ้อมลู

การศึกษาโครงการขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพการศึกษาจังหวัด
โดยผ่านกลไกของคณะกรรมการศึกษาธกิ ารจังหวัดลำปาง วิเคราะห์ข้อมูล ตามขั้นตอนดังนี้

1. ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบติดตามฯ ในระบบอิเล็กทรอนิกส์ ว่ามีความถูกต้อง สมบูรณ์
ครบถว้ น

2. จำแนกข้อมูลตามรายยุทธศาสตร์ หน่วยงานการศึกษา และสถานศึกษา จากแบบติดตามฯ
ท่ีได้จัดทำข้ึน ( http://203.159.241.157/survey01/deptype_report.php)

3. นําขอ้ มลู ทไี่ ด้มาประมวลผลข้อมูล เพ่ือวเิ คราะห์หาค่าสถิตโิ ดยหาคา่ รอ้ ยละ (Percentage) ใช้สตู ร
ค่ารอ้ ยละ = จำนวนรายการ X 100

ความถี่ทง้ั หมด

23

บทท่ี 4
ผลการดำเนนิ งาน

ผลการวิเคราะหข อ มูล โครงการขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพการศึกษา และประสิทธิภาพ
การศึกษาจังหวัดโดยผานกลไกของคณะกรรมการศึกษาธิการจงั หวดั ลำปาง มีวัตถุประสงคเ พอื่ สรุปผลการกำกับ
ติดตามการยกระดับคุณภาพการศึกษาของจังหวัดลำปางผานกลไกคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดลำปาง
และเพื่อรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะองคคณะบุคคลทั้งชุดเดิมและชุดใหม โดยนำไปใชในการจัดทำ
แผนพัฒนาการศึกษาจงั หวัดลำปาง (ระยะ 5 ป) ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 – 2570 ดังน้ี

4.1 การดำเนินงาน

1. กำหนดรูปแบบ/แนวทางการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรูใหมีคุณภาพ
เทาเทียม และทั่วถึง ตามบริบทของจังหวัด สรางเครื่องมือในการจัดเก็บ วิเคราะหขอมูล และวางแผน
ในการกำกับ ติดตามรายงานความกา วหนาการดำเนินงานตามกลไกการยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา

2. จดั ทำปฏทิ นิ การดำเนนิ งาน

3. ทำหนังสือเชิญผเู ชย่ี วชาญ และคณะกรรมการดำเนินการขบั เคลื่อน ฯ
3.1 คณะผูเชี่ยวชาญ วางแผนจัดทำเครื่องมือในการจัดเก็บ วิเคราะหขอมูล ในวันที่ 1

มิถุนายน 2565 ณ หอ งประชมุ พระบาท 2 สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดลำปาง ผลการดำเนินงาน ไดเ คร่อื งมอื
ในการจัดเก็บขอมูล 2 แบบ ไดแก ใชเฉพาะหนวยงานการศึกษา โดยใหใชคาเปาหมายของแผนพัฒนา
การศึกษาจังหวัดลำปาง ประจำป 2563-2565

3.2 คณะกรรมการดำเนินการขับเคลื่อนฯ รวมปรึกษาหารือ ในการลงพื้นที่เขากำกับ
ติดตาม และประเมินการยกระดบั คุณภาพการจัดการศึกษา ในวันที่ 14 มิถุนายน 2565 ณ หอ งประชุมพระ
บาท 2 สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดลำปาง ผลการดำเนนิ งาน คณะดำเนินการขับเคลื่อนฯ เขารวมประชมุ และ
แบงกลุมเพื่อลงพื้นที่กำกับ ติดตาม หนวยงานการศึกษา จำนวน 7 แหง กลุมตัวอยางสถานศึกษาในจังหวัด
ลำปาง จำนวน 17 แหง

24

4. ลงพนื้ ที่กำกบั ตดิ ตาม และประเมินผลการยกระดับคณุ ภาพการศึกษาของจงั หวดั ตามกลไก
การยกระดับคุณภาพการศึกษา ในวันที่ 20 – 21 มิถุนายน 2565 ณ หนวยงานการศึกษา/สถานศึกษา
ในจังหวัดลำปาง จำนวนวน 24 แหง ผลการดำเนินงาน ไดรับทราบประเด็นภาพรวมของการดำเนินงาน
ตามยทุ ธศาสตรจ ังหวดั (อาทิเชน กิจกรรม/โครงการทีด่ ำเนนิ การตามตัวช้วี ัดในแตละยุทธศาสตรจงั หวดั ลำปาง ,
จุดเดน , จุดพฒั นา เปน ตน)

5. สรุปรายงานผลการดำเนินงาน ประชุมกลุมยอย (Focus group) ในวันที่ 27 – 28
มิถุนายน 2565 ณ โรงแรมกัซซัน ขุนตาน กอลฟแอนดรีสอรท จังหวัดลำพูน ผลการดำเนินงาน ไดสรุปผล
การกำกับ ติดตามการยกระดับคุณภาพการศึกษาของจังหวัดลำปาง รับฟงขอเสนอแนะ โดยจะนำไปใช
ในการจัดทำแผนพฒั นาการศกึ ษาจงั หวดั ลำปาง ป พ.ศ.2566 -2570 ดงั นี้

4.2 ผลการวิเคราะหขอ มลู

4.2.1 สรุปผลการกำกับ ติดตามการยกระดับคุณภาพการศึกษาของจังหวัด โดยผานกลไก
ของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดลำปาง ปงบประมาณ พ.ศ.2565 จากระบบอิเล็กทรอนิกส
แยกตามยุทธศาสตร ดงั น้ี

ยทุ ธศาสตรท ่ี 1 การจัดการศกึ ษาเพอื่ ความม่นั คงของสังคมและประเทศชาติ
แผนภูมิท่ี 1 แสดงภาพรวมจำนวนโครงการทดี่ ำเนนิ การทุกตวั ช้ีวัดในยุทธศาสตรที่ 1

ภาพรวมจาํ นวนโครงการทด่ี ําเนินการตัวชว้ี ัด
ยุทธศาสตรท ี่ 1

45

40 40=46.51%

35

ํจานวนโครงการ 30 19=22.09% 27=31.40%
25
20

15

10

5

0 ตวั ชว้ี ัดที่ 2 ตวั ชวี้ ัดท่ี 3

ตัวช้วี ดั ที่ 1

จากแผนภูมิที่ 1 พบวา ยุทธศาสตรที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
ตวั ชวี้ ัดท่ี 1 สถานศกึ ษาจัดกิจกรรมสง เสริมการเรยี นรูที่สะทอนความรักและการธำรงรักษาสถาบนั หลกั ของชาติ
และการยึดมั่นในการปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขเพิ่มขึ้น มีหนวยงาน
การศึกษา และสถานศึกษาดำเนินโครงการมากท่สี ดุ จำนวน 40 โครงการ คิดเปนรอยละ 46.78 และตัวชี้วัด
ที่ 2 ผูเรียนในพื้นทีส่ ูงและธุรกันดารมีโอกาสในการเขาถึงการศึกษา มีหนวยงานการศึกษา และสถานศึกษา
ดำเนนิ การโครงการนอยทสี่ ุด จำนวน 19 โครงการ คดิ เปนรอ ยละ 21.64

25

ยทุ ธศาสตรที่ 2 การผลติ และพฒั นากำลังคน การวจิ ัยและนวัตกรรมเพ่ือสรา งขดี ความสามารถในการ
แขงขันของประเทศ

แผนภูมิท่ี 2 แสดงภาพรวมจำนวนโครงการที่ดำเนนิ การทุกตัวชี้วดั ในยทุ ธศาสตรที่ 2

ภาพรวมจาํ นวนโครงการทดี่ ําเนนิ การตวั ชีว้ ดั
ยุทธศาสตรท ่ี 2

30 24=36.92%

ํจานวนโครงการ 25 23=35.38% 18=27.69%

20

15

10

5

0 ตัวชวี้ ัดท่ี 2 ตัวช้วี ัดที่ 3

ตวั ชว้ี ัดท่ี 1

จากแผนภูมทิ ี่ 2 พบวายุทธศาสตรที่ 2 การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัยและนวตั กรรมเพื่อสรา ง
ขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ ตัวชี้วัดที่ 3 เครือขายความรวมมือระหวางสถานศึกษาเอกชน
สถานประกอบ และชุมชนในการจัดการศึกษาและสรางนวัตกรรมในสาขาวิชาชีพตาง ๆ มหี นวยงานการศึกษา
และสถานศึกษาดำเนินโครงการมากที่สุด จำนวน 24 โครงการ คิดเปนรอยละ 36.92 และตัวชี้วัดที่ 2
จำนวนงานวิจัย องคความรูและนวัตกรรมที่สรางผลผลิต และมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจของจังหวัดลำปาง
มีหนวยงานการศึกษา และสถานศึกษาดำเนินการโครงการนอยที่สุด จำนวน 18 โครงการ คิดเปนรอยละ
27.69

26

ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกชว งวัย และการสรางสังคมแหงการเรียนรู
แผนภมู ทิ ่ี 3 แสดงภาพรวมจำนวนโครงการท่ีดำเนินการทุกตวั ช้ีวดั ในยุทธศาสตรท ี่ 3

ภาพรวมจํานวนโครงการท่ีดําเนนิ การตัวชี้วัด
ยทุ ธศาสตรที่ 3

จํานวนโครงการ 50 46=14.84% 32=10.32% 27=8.71%
45 44=14.19%
40 28=9.03% 26=8.39%
22=7.10%
35

30 27=8.71%
25 23=7.42%
20 19=6.13%

15 6=1.94% 9=2.90%
10

5 1=0.32%

0

ตวั ช้ีวัดที่ ตัวช้ีวดั ที่ ตวั ชี้วดั ท่ี ตวั ชีว้ ดั ที่ ตวั ช้ีวดั ที่ ตัวชวี้ ัดท่ี ตวั ช้วี ดั ที่ ตัวชี้วัดที่ ตวั ชว้ี ดั ท่ี ตวั ช้ีวัดที่ ตัวชว้ี ัดท่ี ตัวชว้ี ัดที่ ตวั ชว้ี ดั ท่ี
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13

จากแผนภูมิที่ 3 พบวา ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรางสังคม
แหงการเรียนรูตัวชี้วัดที่ 1 ผูเรียนทุกชวงวัยมีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 เพิ่มขึ้น
มีหนวยงานการศึกษา และสถานศึกษาดำเนินโครงการมากที่สุด จำนวน 46 โครงการ คิดเปนรอยละ 14.83
และตัวชี้วัดที่ 8 ผูเรียนระดับอุดมศึกษาที่มีความรู ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา
และ มาตรฐานอาชีพ มีหนว ยงานการศึกษา และสถานศึกษาดำเนินการโครงการนอ ยท่ีสุด จำนวน 1 โครงการ
คดิ เปน รอ ยละ 0.32

27

ยทุ ธศาสตรท ่ี 4 การสรา งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา เทยี มทางการศกึ ษา
แผนภูมิที่ 4 แสดงภาพรวมจำนวนโครงการทด่ี ำเนนิ การทุกตัวช้วี ัดในยทุ ธศาสตรท ่ี 4

ภาพรวมจาํ นวนโครงการท่ดี าํ เนินการตวั ชว้ี ดั
ยทุ ธศาสตรที่ 4

ํจานวนโครงการ 45 40=32.79% 29=23.77% 21=17.21% 23=18.85% 9=7.38%

40 ตัวชี้วดั ท่ี 2 ตวั ชี้วดั ที่ 3 ตวั ชีว้ ัดท่ี 4 ตวั ช้วี ัดท่ี 5
35
30
25
20
15
10

5
0

ตัวชีว้ ัดที่ 1

จากแผนภูมิที่ 4 พบวายุทธศาสตรที่ 4 การสรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทียม
ทางการศึกษา ตัวชี้วัดที่ 1 ผูเรียนในแตละชวงวัยไดรับโอกาสทางการศึกษาอยางเหมาะสมมีหนวยงาน
การศึกษา และสถานศึกษาดำเนินโครงการมากที่สุด จำนวน 40 โครงการ คดิ เปนรอยละ 32.79 และตัวชีว้ ัด
ที่ 5 ผูเรียนมีวุฒิทางการศึกษา ดานสายอาชีพและดานสายสามัญ มีหนวยงานการศึกษา และสถานศึกษา
ดำเนินการโครงการนอ ยทส่ี ุด จำนวน 9 โครงการ คดิ เปน รอยละ 7.38

28

ยทุ ธศาสตรท่ี 5 การจัดการศกึ ษาเพ่อื สรา งเสริมคณุ ภาพชวี ิตที่เปนมติ รกบั ส่ิงแวดลอม
แผนภูมทิ ี่ 5 แสดงภาพรวมจำนวนโครงการที่ดำเนนิ การทกุ ตวั ช้วี ัดในยุทธศาสตรท ี่ 5

ภาพรวมจํานวนโครงการที่ดําเนนิ การตัวชี้วดั

40 38=19.29% ยุทธศาสตรท ่ี 5

35 34=17.26% 34=17.26%

30 25=12.69% 28=14.21%

ํจานวนโครงการ 25 22=11.17%

20 16=8.12%

15

10

5

0

ตัวชวี้ ัดท่ี 1 ตัวชว้ี ดั ท่ี 2 ตวั ชี้วดั ท่ี 3 ตัวชว้ี ดั ท่ี 4 ตัวช้วี ดั ที่ 5 ตัวช้วี ดั ท่ี 6 ตัวช้วี ดั ท่ี 7

จากแผนภูมิที่ 5 พบวายุทธศาสตรที่ 5 การจัดการศึกษาเพื่อสรางเสริมคุณภาพชีวิตที่เปนมิตร
กับสิ่งแวดลอม ตัวชี้วัดที่ 1 ผูเรียนทุกชวงวัยมีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงจิตสำนึกรักสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียมประเพณี ภูมิปญญาของทองถิ่น และประยุกตใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ในการดำเนนิ ชีวิต มีหนวยงานการศึกษา และสถานศึกษาดำเนินการโครงการมากทีส่ ุด จำนวน 38 โครงการ
คิดเปนรอยละ 19.29 และตัวชวี้ ัดท่ี 5 จำนวนงานวิจยั และนวัตกรรมที่เก่ยี วของกับการสรา งเสริมคณุ ภาพชวี ิต
ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม มีหนวยงานการศึกษา และสถานศึกษาดำเนินการโครงการนอยที่สุด จำนวน 16
โครงการ คดิ เปน รอยละ 8.12

29

ยทุ ธศาสตรท่ี 6 การพฒั นาประสิทธิภาพของระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษา
แผนภูมทิ ี่ 6 แสดงภาพรวมจำนวนโครงการทด่ี ำเนินการทุกตัวช้ีวดั ในยทุ ธศาสตรท่ี 6

ภาพรวมจํานวนโครงการที่ดาํ เนนิ การตัวชีว้ ดั
ยทุ ธศาสตรท่ี 6

35

29=16.86%

30

24=13.95% 22=12.79% 22=12.79% 22=12.79%

25

ํจานวนโครงการ 19=11.05% 19=11.05%
20 15=8.72%

15

10

5

0

ตวั ช้วี ัดท่ี 1 ตัวชี้วดั ที่ 2 ตัวชี้วดั ท่ี 3 ตวั ชี้วดั ท่ี 4 ตัวชีว้ ดั ที่ 5 ตัวชีว้ ัดที่ 6 ตัวชี้วดั ท่ี 7 ตัวชีว้ ัดที่ 8

จากแผนภูมิที่ 6 พบวายุทธศาสตรที่ 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
ตัวชี้วัดที่ 1 สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามหลักธรรมาภิบาล
มีหนวยงานการศึกษา และสถานศึกษาดำเนินการโครงการมากที่สุด จำนวน 29 โครงการ คิดเปนรอยละ
16.86 และตัวชี้วัดที่ 4 จำนวนเครือขายการศึกษาที่มีศักยภาพและความพรอมในการสงเสริมสนับสนุน
ในการจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองความตองการของประชาชนจังหวัดลำปาง มีหนวยงานการศึกษา
และสถานศกึ ษาดำเนินการโครงการนอ ยท่สี ุด จำนวน 15 โครงการ คิดเปน รอ ยละ 8.72

30

4.2.2 ผลการสรุปความคดิ เหน็ และขอ เสนอแนะ การกำกบั ติดตามการยกระดับ
คุณภาพการศึกษาของจังหวัด โดยผานกลไกลของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดลำปาง
ปง บประมาณ พ.ศ.2565

การจัดการศึกษาตามยุทธศาสตรทั้ง 6 ดาน สัมฤทธิ์ผลตามเปาหมายอยางไร และมีจุดเดน
ควรไดรับการพัฒนาสงเสริมเปนอัตลกั ษณ และเอกลักษณข องการจัดการศึกษาในแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
จงั หวัดในระยะตอไป และขอ เสนอแนะเชงิ นโยบาย ใหความเหน็ ไวด ังน้ี

ยทุ ธศาสตรท ่ี 1 การจัดการศึกษาเพือ่ ความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติ
1. การดำเนินการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ ทุกหนวยงานการศึกษา

และทุกสถานศึกษามีการดำเนนิ กิจกรรมอยางตอ เนื่อง เชน กิจกรรมลูกเสือ กิจกรรมจิตอาสาบำเพ็ญประโยชน
เปนตน

2. การจดั การศึกษาการเรยี นการสอนหรือจัดกิจกรรมเพ่ือเสริมสรางความรู ความเขาใจ การนำไปใช
ที่ถูกตองเกี่ยวกับภัยคุกคามชวี ิตในรูปแบบใหม ไดแก ปญหายาเสพติด การหนีขามประเทศ การกอการราย
อาชญากรรม ปญหาความรนุ แรง ภัยไซเบอร โรคภยั และภยั พิบัตทิ างธรรมชาติ ทกุ สถานศกึ ษามีการดำเนนิ การ
จัดกจิ กรรม

3. หนวยงานการศึกษาเขามามีบทบาท ในการทำแผนเผชิญเหตุภัยพิบัติตาง ๆ แตยังขาดการซอม
ภยั พิบัติ บรรจไุ วในแผนพฒั นาการศึกษาของจังหวดั ลำปาง

ยุทธศาสตรที่ 2 การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสรางขีดความสามารถ
ในการแขงขันของประเทศ

หนวยงานการศึกษา และสถานศึกษา ควรสงเสริมผูเรียนใหมีความสามารถที่หลากหลาย
นอกจากการเรียน เชน กฬี า ดนตรี ศิลปะ จดั การศึกษาและสรางนวัตกรรมในสาขาวิชาตา ง ๆ เพื่อสงเสริมและ
พัฒนาผูเรยี นใหมจี ำเปน และมสี มรรถนะตรงตามความตองการของตลาดแรงงาน

ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 การพฒั นาศักยภาพคนทุกชวงวยั และการสรางสังคมแหง การเรยี นรู
หนวยงานการศึกษา ตอ งมกี ารพฒั นาศักยภาพผูสอน ผูเรียน และผูบริหารสถานศกึ ษา
การพัฒนาผูเรียน ระดับปฐมวัย ตองพัฒนาทั้ง 4 ดานใหสมดุล ระดับประถมศึกษา

พัฒนาเชิงบูรณาการ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน พัฒนาใหมีความรูความเขาในทักษะตาง ๆ และระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย พัฒนาใหมคี วามรูเฉพาะดานตรงตามความสามารถและความตองการของผเู รยี น

การพัฒนาผสู อน ใหพฒั นาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ยึดหลกั การประเมินสมรรถนะพัฒนาบุคลากร
(Competency Based Approach) หรอื การประเมินประสิทธิภาพประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครู ใชเปน
ขอมูลแนวทางในการพัฒนาตนเองของครู โดยแผนดังกลาวนี้จะทำใหผูปฏิบัติงานสามารถรูจุดเดน จุดดอย
ของความสามารถ ในการปฏิบัติงานของตน และสามารถพัฒนาตนเองใหสอดคลองกับความตองการจำเปน
ของของหนวยงาน และของตนเองอยางแทจรงิ อีกท้ังจะทำใหการพฒั นาครู บุคลากรดำเนินไปอยางประหยัด
และสอดคลองกบั นโยบายของรฐั บาล

31

ยุทธศาสตรท่ี 4 การสรา งโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทยี มทางการศกึ ษา
หนวยงานการศึกษา ควรใหโรงเรียนขนาดใหญมีสวนชวยเหลือดานวิชาการแกโรงเรียนขนาดเล็ก

โดยใชเครือขา ยเทคโนโลยี ในการจดั การเรียนการสอนในวิชาทีข่ าดแคลนครูผสู อน

ยทุ ธศาสตรที่ 5 การจดั การศกึ ษาเพอ่ื สรา งเสริมคณุ ภาพชวี ิตท่ีเปน มิตรกบั สง่ิ แวดลอม
หนวยงานการศึกษา และสถานศึกษา มีโครงการ/กิจกรรมที่สอดคลองกับบริบท วิถีชีวิตของชุมชม

ในแตละพื้นที่ มีการสอนแบบ Problem based Learning : PBLการจัดการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน
มุงสรางประสบการณตรง จึงเนนใหผูเรียนลงมือปฏิบัติ ฝกทักษะการคิด เผชิญสถานการณปญหา วางแผน
การเรียนรู และตรวจสอบกำกับการเรียนรู และนอกจากนี้ PBL ยังชวยสรางแรงจูงใจในการเรียนใหกับผูเรยี น
ไดอกี “การใชปญหา ทำใหเ กดิ ปญญา”

ยทุ ธศาสตรท่ี 6 การพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบบรหิ ารจดั การศึกษา
หนวยงานการศึกษา มีการบริหารแบบมีสวนรวม จัดตั้งกลุมโรงเรียน เปนกลุมเครือขาย หนวยงาน

การศกึ ษายึดมาตราฐานของเขตพืน้ ที่การศกึ ษา เปน หลกั ในการบริหารโรงเรยี น PMQA , ITA , KRS และระบบ
Big Data

จดุ เดนของการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนจากการกำกบั ติดตาม และประเมินผลการยกระดบั
คณุ ภาพการศึกษาของจังหวัดตามกลไกการยกระดับคุณภาพการศกึ ษา มีดังนี้

ดานการพฒั นานวตั กรรม และเทคโนโลยี
1. พัฒนาระบบยานพาพนะไฟฟา (EV)
2. หุนยนตเสิรฟกาแฟ (CHIC ROBOT) ทดแทนแรงงานมนุษยในชวงสถานการณการแพรระบาด

ของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019
3. เคร่อื งลา งผกั โอโซนนำ้ ปผู ง
4. เครอ่ื งตรวจจบั คา PM.
5. เครอื่ งตรวจจับความเคลื่อนไหวภายในรถ

32

บทที่ 5

สรุปผลการดำเนนิ งาน และขอ เสนอแนะ

สรปุ ผลการดำเนนิ งาน

การกำกับ ติดตามการยกระดับคุณภาพการศึกษาของจังหวัด โดยผานกลไกของคณะกรรมการ
ศกึ ษาธิการจังหวดั ลำปาง ปง บประมาณ พ.ศ. 2565 มีดงั น้ี

1) ยุทธศาสตรที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ ตัวชี้วัดที่ 1
สถานศึกษาจัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูที่สะทอนความรักและการธำรงรักษาสถาบันหลักของชาติ
และการยึดมั่นในการปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขเพิ่มขึ้น มีหนวยงาน
การศึกษา และสถานศึกษาดำเนินโครงการมากที่สุด จำนวน 40 โครงการ คิดเปนรอยละ 46.78
และตัวชี้วัดที่ 2 ผูเรียนในพื้นที่สูงและทุรกันดารมีโอกาสในการเขาถึงการศึกษา มีหนวยงานการศึกษา
และสถานศกึ ษาดำเนนิ การโครงการนอยท่สี ุด จำนวน 19 โครงการ คิดเปน รอยละ 21.64

2) ยุทธศาสตรที่ 2 การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสราง
ขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ ตัวชี้วัดที่ 3 เครือขายความรวมมือระหวางสถานศึกษาเอกชน
สถานประกอบ และชุมชนในการจัดการศึกษาและสรางนวัตกรรมในสาขาวิชาชีพตาง ๆ มีหนวยงานการศึกษา
และสถานศึกษาดำเนินโครงการมากที่สุด จำนวน 24 โครงการ คิดเปนรอยละ 36.92 และตัวชี้วัดที่ 2
จำนวนงานวิจัย องคความรูและนวัตกรรมที่สรางผลผลิต และมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจของจังหวัดลำปาง
มีหนวยงานการศึกษา และสถานศึกษาดำเนินการโครงการนอยที่สุด จำนวน 18 โครงการ คิดเปนรอยละ
27.69

3) ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรางสังคมแหงการเรียนรู
ตัวช้วี ัดที่ 1 ผูเรยี นทกุ ชวงวัยมคี ุณลกั ษณะและทักษะการเรยี นรูใ นศตวรรษท่ี 21 เพิม่ ขึ้น มหี นวยงานการศึกษา
และสถานศกึ ษาดำเนนิ โครงการมากทส่ี ุด จำนวน 46 โครงการ คิดเปน รอยละ 14.83 และตัวช้วี ดั ท่ี 8 ผูเรียน
ระดับอุดมศึกษาที่มีความรู ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและ มาตรฐานอาชีพ
มีหนว ยงานการศึกษา และสถานศกึ ษาดำเนนิ การโครงการนอ ยทส่ี ุด จำนวน 1 โครงการ คดิ เปน รอ ยละ 0.32

4) ยุทธศาสตรท ี่ 4 การสรา งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา เทยี มทางการศึกษา ตัวช้ีวัดที่
1 ผูเรียนในแตละชวงวัยไดรับโอกาสทางการศึกษาอยางเหมาะสมมีหนวยงานการศึกษา และสถานศึกษา
ดำเนินโครงการมากที่สุด จำนวน 40 โครงการ คิดเปนรอยละ 32.79 และตัวชี้วัดที่ 5 ผูเรียน
มีวุฒิทางการศึกษาดานสายอาชีพและดานสายสามัญ มีหนวยงานการศึกษา และสถานศึกษาดำเนินการ
โครงการนอยที่สุด จำนวน 9 โครงการ คดิ เปน รอยละ 7.38

5) ยทุ ธศาสตรท่ี 5 การจดั การศกึ ษาเพ่อื สรา งเสริมคุณภาพชวี ิตที่เปนมิตรกบั สิ่งแวดลอม ตัวช้ีวัด
ที่ 1 ผูเรียนทุกชว งวัยมีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงจติ สำนึกรักสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี
ภูมิปญญาของทองถิ่น และประยุกตใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีหนวยงาน
การศึกษา และสถานศึกษาดำเนินการโครงการมากที่สุด จำนวน 38 โครงการ คิดเปนรอยละ 19.29 และ
ตัวชีว้ ัดที่ 5 จำนวนงานวิจัยและนวัตกรรมทีเ่ ก่ียวของกบั การสรางเสรมิ คุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิง่ แวดลอม

33

มีหนวยงานการศึกษา และสถานศึกษาดำเนินการโครงการนอยที่สุด จำนวน 16 โครงการ คิดเปนรอยละ

8.12

6) ยุทธศาสตรที่ 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา ตัวชี้วัดที่ 1
สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามหลักธรรมาภิบาล มีหนวยงาน
การศึกษา และสถานศึกษาดำเนินการโครงการมากที่สุด จำนวน 29 โครงการ คิดเปนรอยละ 16.86 และ
ตวั ช้วี ัดที่ 4 จำนวนเครือขายการศกึ ษาทม่ี ีศักยภาพและความพรอมในการสงเสริม สนับสนุนในการจดั การศึกษา
เพื่อตอบสนองความตองการของประชาชนจังหวัดลำปาง มีหนวยงานการศึกษา และสถานศึกษาดำเนินการ
โครงการนอ ยท่ีสดุ จำนวน 15 โครงการ คิดเปน รอ ยละ 8.72

ขอเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อพฒั นาการศึกษาจังหวัดลำปาง
1. ควรจัดตั้งหนวยงานกลางของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ตามระเบียบของราชการ เพื่อปฏิบัติ
หนาที่เปนศูนยกลางรวบรวมขอมูลสารสนเทศอาชีวศึกษาในจังหวัดลำปาง คลายคลึงกับสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาหรือสำนกั งาน กศน.จังหวดั
2. สถานศึกษาควรนำ โครงการ / กิจกรรมที่นำเสนอ บรรจุไวในแผนพัฒนาการศึกษาหรือ
แผนปฏิบตั ริ าชการของสถานศึกษาพฒั นาตอยอดสูความเปนเลิศ และนำเผยแพรสูส าธารณะในรูปแบบตาง ๆ
3. ควรจัดการประสานงานและการ MOU. ดานวิชาการกับหนวยงานทางการศึกษา เชน
โรงเรียนวอแกววิทยา คูกับ โรงเรียนลำปางกัลยาณี จัดทำความรวมมือระหวางหัวหนาสวนระดับหนวยงาน
ที่เกี่ยวของ/ระดับจังหวัด ในการยกระดับคุณภาพการศึกษา บูรณาการความรวมมือการพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาภายในจังหวัดอยา งเขมแข็งและเปนรปู ธรรม และจัดใหมีระบบฐานขอมูล สารสนเทศทเี่ ปนฐานขอมูล
Big Data.
4. ผูบริหารหนวยงาน ควรนำเอาแผนพัฒนาการศึกษาของจังหวัดไปสื่อสารใหกับสถานศึกษา
ในสังกัด ไดรับทราบเห็นความสำคัญนำสูการปฏิบัติใหสอดรับการนำแผนพัฒนาการศึกษา/และนำแผน
สูการปฏิบตั กิ าร
5. ควรจดั การประชุมเพ่ือสรา งความเขาใจในการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัด ระดับหวั หนา
หนว ยงานเพอื่ การขบั เคลื่อนแผนใหเปน เอกภาพ
6. ควรมีการสรางแรงจูงใจ ใหก ับหนว ยงานในการนำแผนสูการปฏิบตั ิใหเ ปน รูปธรรม
7. ควรมีการประชาสมั พันธแผนพฒั นาการศึกษาฯ ทุกชอ งทางอยางทั่วถงึ
8. สถานศึกษา ควรสงเสริมปลูกฝงความเนนเอกลักษณของเด็กจังหวัดลำปาง สง เสริมใหผ ูเรยี น
ไดร จู ักประวัติความเปน มาของทอ งถ่ินตนเองและจงั หวัดลำปาง มจี ติ อนรุ ักษแ ละมคี วามภาคภูมใิ จ
9. ควรนำเอาหลักสตู รของศนู ยก ารศึกษาพเิ ศษประจำจงั หวดั ลำปางเขาในท่ีประชมุ คณะกรรมการ
ศกึ ษาธิการจงั หวัดลำปาง (กศจ.) เพอ่ื เปน หลกั สูตรการศึกษาพเิ ศษของจังหวดั ลำปาง
10. โรงเรียนสังกัดเอกชน บุคลากรมีการเปลี่ยนแปลงบอย ทำใหการสอนขาดการตอเนื่อง
ขาดการทำวจิ ัยและนวัตกรรม ควรใหห นว ยงานตนสังกัดจดั อบรมใหค วามรใู นเรื่องการทำงานวจิ ยั
11. เขตการศกึ ษาพระปริยตั ธิ รรมภาค 6 ครูผูสอนไมไดร บั พัฒนาในดา นวิชาการ ควรใหส ำนกั งาน
ศึกษาธกิ ารจงั หวัดลำปาง แจง การพฒั นาครูในดา นตาง ๆ เพ่ือสงเสรมิ ใหครูไดร บั การพัฒนาอยา งตอเนือ่ ง

กลมุ นโยบายและแผนสาํ นักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดลาํ ปาง

สาํ นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ


Click to View FlipBook Version