The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มรายงานผลPA_สำอางค์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aim ma, 2022-09-14 14:17:01

เล่มรายงานผลPA_สำอางค์

เล่มรายงานผลPA_สำอางค์

รำยงำนผลกำรพฒั นำงำนตำมขอ้ ตกลงในกำรพฒั นำงำน (PA)

ของข้ำรำชกำรครแู ละบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ

ตำแหนง่ ผู้บรหิ ำรสถำนศกึ ษำ วทิ ยฐำนะชำนำญกำรพเิ ศษ

ประจำปงี บประมำณ พ.ศ ๒๕๖๕

ระหว่ำงวนั ที่ ๑ เดือน ตลุ ำคม พ.ศ .๒๕๖๔ ถงึ วนั ท่ี ๓๐ เดือน กนั ยำยน พ.ศ ๒๕๖๕

นำยสำอำงค์ จันทนนตรี

ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยกำรโรงเรียน

โรงเรียนกนั ทรวิชัย

สำนักงำนเขตพน้ื ทก่ี ำรศกึ ษำมัธยมศึกษำมหำสำรคำม
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พน้ื ฐำน
กระทรวงศึกษำธกิ ำร



คำนำ

รายงานขอตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรับขาราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา ตำแหนงผูบริหารสถานศึกษา วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ เพ่ือประกอบการประเมินผลการ
พฒั นางานตามขอตกลง ตามหนังสือสำนกั งาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.3/ว 10 ลงวันท่ี 20 พฤษภาคม
2564 รอบที่ 1 (1 ตุลาคม 2564 – 30 กันยายน 2565) ฉบับนี้ จัดทำข้ึนเพื่อประกอบ
การพิจารณาการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานตามขอตกลงในการพัฒนางาน
(PA) ซึ่งผูขอรับการประเมนิ ไดเรียบเรียงและรวบรวมขอมูล นำเสนอผลการปฏิบัตงิ านตามหนา ที่และ
ความรับผิดชอบและผลงานตามลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหนงและมาตรฐานวิทยฐานะ
รวมท้งั งานหนา ที่อืน่ ทีไ่ ดรับมอบหมายในดา นปรมิ าณงานและคุณภาพของงาน รวมทง้ั ผลงานทป่ี รากฏ
ตอการจัดการศึกษา

ขอขอบคุณ คณะครู นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และผูมีสวนได
สวนเสีย ที่ไดรวมกันรับผิดชอบในงานหนาที่ของตนและไดรวมคิด รวมปรึกษาหารือ รวมตัดสินใจ
รวมดำเนินการและรวมประเมินผล เพ่ือพัฒนางานอยางตอเน่ือง ทำใหการดำเนินงานในโรงเรียน
ประสบผลสำเร็จตามเปาหมายและขอขอบคุณผูเกย่ี วของทุกคนท่ีทำใหเอกสารฉบับนี้สำเรจ็ เรยี บรอย
ดวยดี

สำอางค จนั ทนนตรี
ผอู ำนวยการโรงเรียนกนั ทรวชิ ัย



สารบญั
เรื่อง หนา

คำนำ .................................................................................................................. ก
สารบญั ............................................................................................................... ข
ขอมูลผูจดั ทำขอตกลง ................................................................................................. 1
ประเภทของสถานศึกษา ............................................................................................. 1
สว นที่ 1 ขอตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐานตำแหนง ................................ ๒

1. ภาระงาน ..................................................................................................... ๒
2. งานทีจ่ ะปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานตำแหนง ผบู รหิ ารสถานศึกษา ........................ ๒

- ดานการบรหิ ารงานวิชาการและความเปนผนู ำทางวชิ าการ ................... ๒
- ดา นการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา ......................................................... ๑๓
- ดา นการบริหารการเปลีย่ นแปลงเชิงกลยุทธและนวัตกรรม .................... ๑๘
- ดา นการบรหิ ารงานชมุ ชนและเครือขาย ………………………...................... ๒๐
- ดา นการพฒั นาตนเองและวชิ าชพี ……….………………………...................... ๒๔
สว นที่ 2 ขอตกลงในการพัฒนางานที่เปน ประเดน็ ทาทายในการพัฒนา
คุณภาพผเู รยี น ครู และสถานศึกษา ...................................................... ๒
ประเด็นทา ทาย ………………………………………….………………………...................... ๒๕
1. สภาพปญหาการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาและคณุ ภาพการศึกษา
ของสถานศึกษา ………………………………….………………………...................... ๒๕
2. วธิ ีการดำเนินการใหบรรลุผล ....…………….………………………...................... ๒๖
3. ผลลัพธก ารพัฒนา ……………………………….………………………...................... ๒๘

1

รายงานผลการพฒั นางานตามขอตกลงในการพัฒนางาน (PA)
สำหรบั ขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ตำแหนง ผูบรหิ ารสถานศึกษา วิทยฐานะชำนาญการพเิ ศษ

ประจำปงบประมาณ พ.ศ 2565
ระหวา งวันท่ี 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ 2564 ถึงวนั ท่ี 30 เดือน กนั ยายน พ.ศ 2565

ผูจ ดั ทำขอตกลง
ชือ่ นายสำอางค นามสกุล จนั ทนนตรี ตำแหนง ผูอำนวยการสถานศึกษา วิทยฐานะ ชำนาญการพเิ ศษ
สถานศกึ ษา โรงเรียนกันทรวชิ ัย สังกดั สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษามหาสารคาม
รบั เงินเดอื นในอันดับ คศ. ๓ อตั ราเงินเดือน ๖๕,๒๒0 บาท

ประเภทของสถานศึกษา
 สถานศึกษาท่จี ดั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

 ระดับปฐมวัย
 ระดบั ประถมศึกษา
 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
การจดั การศึกษาพเิ ศษ (ไมม รี ะดับชั้น)
 สถานศึกษาท่จี ัดการศึกษาอาชีวศึกษา
 ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ
 ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชั้นสูง
 การฝกอบรมวิชาชพี ตามหลักสูตรวิชาชพี ระยะสน้ั
 สถานศึกษาท่ีจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
 การจดั การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
 การจัดการศึกษานอกระบบตามหลักสตู รประกาศนียบัตรวิชาชพี
 การจดั การศึกษาตอเนื่อง

ขา พเจา ขอรายงานผลการพัฒนางานตามขอตกลงในการพัฒนางาน (รอบ ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๔ –
๓๐ กันยายน ๒๕๖๕) ตำแหนง ผูบ รหิ ารสถานศึกษา วิทยฐานะผอู ำนวยการชำนาญการพิเศษ ซึ่งเปน ตำแหนงและ
วิทยฐานะทดี่ ำรงอยใู นปจ จบุ ันกบั ผบู งั คับบัญชา ดังตอไปนี้

2

สว นท่ี 1 ขอตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐานตำแหนง
1. ภาระงาน จะมีภาระดานการบริหารวิชาการและความเปนผูนำทางวิชาการ ดานการบริหาร

จัดการสถานศึกษา ดานการบรหิ ารการเปล่ยี นแปลงเชิงกลยุทธนวตั กรรม ดานการบรหิ ารงานชุมชนและเครือขาย

และดา นการพัฒนาตนเองและวชิ าชีพ เปนไปตาม ก.ค.ศ กำหนด

 เต็มเวลา
 ไมเต็มเวลา เน่อื งจาก…………………………………………………………………………………………………..

โดยภาระงานดานการบริหารวิชาการและความเปนผนู ำทางวชิ าการ จะมีการปฏบิ ตั ิการสอนไม
ต่ำกวา 5 ชัว่ โมง/สปั ดาห (ตำแหนง ผูอำนวยการสถานศึกษา ไมต ำ่ กวา 5 ชัว่ โมง/สปั ดาห และรองผูอำนวยการ
สถานศึกษา ไมตำ่ กวา 10 ชว่ั โมง/สัปดาห) โดยมีการปฏิบัติการสอน/การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนใน
สถานศึกษาอยางใดอยางหน่ึงหรือหลายอยาง ดังนี้

 ปฏบิ ตั กิ ารสอนประจำวิชาจำนวน ช่วั โมง/สัปดาห

 ปฏบิ ตั กิ ารสอนรวมกับครูประจำชน้ั /ประจำวชิ า จำนวน 5 ชัว่ โมง/สัปดาห

 สังเกตการสอนและสะทอนผลการสอนรวมกับครูในกิจกรรมเปดชัน้ เรยี น

จำนวน……๒………..ชว่ั โมง/สัปดาห

 เปน ผนู ำกิจกรรมแลกเปลยี่ นเรยี นรูในชุมชนการเรียนรูท างวิชาชพี ( PLC) ของโรงเรียน

จำนวน…๕…….ชวั่ โมง/สปั ดาห

 นเิ ทศการสอนเพื่อเปนพี่เล้ียงการจัดกจิ กรรมการเรยี นรใู หกับครู

จำนวน…1…….ชว่ั โมง/สปั ดาห

 จัดกิจกรรมเสรมิ สรา งการเรยี นรแู ละอบรมบม นสิ ัยผูเรียน จำนวน……1….ชั่วโมง/สปั ดาห

2. งานทีจ่ ะปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานตำแหนงผูบริหารสถานศกึ ษา
1. ดานการบรหิ ารงานวิชาการและความเปน ผูน ำทางวิชาการ
1.๑ การวางแผนพัฒนามาตรฐานการเรยี นรขู องผเู รียน

โรงเรยี นกันทรวชิ ัย ไดก ำหนดทิศทางการพฒั นาคุณภาพการศึกษา ป พ.ศ. 2563 – 2565
มงุ มน่ั พัฒนาผเู รียนเพ่ือยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน พัฒนาทกั ษะการคิด ทักษะชวี ติ สูมาตรฐานสากลใหเปน
พลเมืองโลกที่สมบูรณโดยยึดหลักชุมชนมีสวนรวม บนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กำหนดกลยุทธในการ
พฒั นาคณุ ภาพผเู รียนมีผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการตามหลักสตู รสถานศึกษา เปน ผมู คี ุณธรรม จริยธรรม มรี ะเบียบวินัย
มีสขุ ภาวะที่ดี และมีสนุ ทรยี ภาพ อนรุ กั ษและสบื สานประเพณีและวัฒนธรรมไทยรับผดิ ชอบตอ สงั คมโลก ดำรงชวี ิต
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสงเสริมและพัฒนาผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการตามหลักสูตร
สถานศึกษา โดยการจัดกระบวนการเรียนรูที่หลากหลาย เนนใหผูเรียนมีความรอบรู สามารถแสวงหาความรูดวย
ตนเอง มีทักษะกระบวนการคิดวิเคราะหอยางเปนระบบ สามารถสรางองคความรูจากการลงมือปฏิบัติจริง มี
สมรรถนะวชิ าชีพ และผลิตผลงาน ชนิ้ งานไดอยา งสรางสรรค

3
เมื่อสิ้นปการศึกษาทุกป โรงเรยี นจัดประชุมเชิงปฏิบัติการผูบ ริหาร ครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงาน โครงการ และกิจกรรม ถอดบทเรียนรวมกันเพื่อนำปญหา อุปสรรค
ตลอดจนผลการปฏิบัติที่เปนเลิศ เพื่อวางแผนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในปการศึกษาถัดไป และมีการ
ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อรายงานผลการบริหารจัดการศึกษา ปการศึกษา 2564 และ
นำเสนอสภาพปญหา อุปสรรค ในการดำเนินการและรวมระดมความคิดเห็นในการวางแผนการจัดการศึกษา ป
การศกึ ษา 256๕
ในการวางแผนพัฒนามาตรฐานการเรียนรูของผูเรียน ขาพเจาไดดำเนินการพัฒนาตาม
ขอตกลงใน 1 รอบการประเมิน โดยไดริเริ่มพัฒนา จัดทำมาตรฐานการเรียนรูของผูเรียน โดยมีแผนพัฒนาที่
สอดคลองกับนโยบายทุกระดับ ครอบคลุมภารกิจหลักของสถานศึกษา มีการประเมินความตองการจำเปนของ
ผูเ รียนและผทู ี่เกี่ยวของ มกี ระบวนการดำเนินงานท่ีถกู ตองและมผี ทู ่ีเก่ียวขอ งมีสวนรว มในการพฒั นามาตรฐานการ
เรียนรูของผูเรียน มุงผลลัพธ (Outcomes) ของงานเนนผูเรียนเปนสำคัญ ผลการปฏิบัติงานเปนไปตามที่คาดหวัง
ผูเรยี น ครูและสถานศึกษาเปล่ยี นแปลงในทางท่ดี ขี น้ึ คดิ เปนรอยละ 90 มีผลการประเมนิ ตนเอง ในระดับ 4
๑.2 การจัดทำและพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา
ในสถานการณโควิด-19 ระบาด ไดเปลี่ยนใหทุกๆท่ีกลายเปนโรงเรยี น เพราะการเรียนรูยัง
ตองดำเนินอยูแมนักเรียนไมส ามารถไปโรงเรียนตามปกติ โรงเรียนไดออกมาตรการดานการเรียนรูมารองรบั ดวย
การเรียนทางไกลรปู แบบตางๆ โดยพิจารณาจากเง่อื นไขความพรอมดานอุปกรณ ความพรอมของพอแม และความ
พรอมของนักเรียน ความทาทายในการเปลี่ยนครั้งนี้ไมใชแคการแกไขปญหาเฉพาะหนาในสถานการณโควิด-19
เทานั้น แตเปนการ “เปลี่ยนวิกฤติใหเปนโอกาส” ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนใหดีกวาเดิม ดังน้ัน
มาตรการการเรียนรูของโรงเรียนจึงไมไดมุงปรับแคกระบวนการเรียนรูในหองเรียน แตตองการปรับใหญทั้งระบบ
การเรียนรูที่ตองสอดคลองกันและเชื่อมโยงกับการเรียนรูของนักเรียน โดยดำเนินการกระชับหลักสูตร ปรับให
สอดคลองกับสถานการณโควิด-19 และสื่อสารใหผูเกี่ยวของทุกภาคสวนทราบ ซึ่งหลักสูตรการศึกษาพื้นฐานใน
ปจจุบัน เนนเนื้อหามาก ครูจำเปนตองใชเ วลาเยอะเพือ่ สอนไดครบถวน และไมเอื้อใหนักเรียนมีสวนรวม (Active
Learning) เทาที่ควร และหากยังใชหลักสูตรเดิมในการเรียนการสอนภายใตสถานการณโควิด-19 ครูจะตองใช
เวลาสอนมากขึ้นเพื่อสอนใหครบถวน การปรับหลักสูตรใหกระชับควบคูไปกับจัดลำดับความสำคัญ รวมทั้งผอน
คลายตัวชี้วัดเรื่องโครงสรางเวลาเรียนจะสามารถชวยลดความกดดัน โดยยังคงคุณภาพขั้นต่ำไวได โรงเรียนได
กระชบั หลักสตู รโดยเนน เน้ือหาจำเปนตามมาตรฐานของแตละชน้ั เพ่อื ใหค รูสามารถนำไปวางแผนการสอนและใช
เวลาไดอยางเหมาะสม รวมทั้งออกคูมือชี้แจงหลักสูตรฉบับยอตอผูปกครอง เพื่อสื่อสารใหเขาใจถึงหลักสูตรท่ี
ปรับเปลี่ยนไป กำหนดตัวชี้วัด“ตองรู”และ“ควรรู”ในแตละสาระวิชาแลว และเพิ่มความชัดเจน โดยระบุเนื้อหาจำเปน
ของแตละช้ัน และเปดใหครูมอี ิสระในการจัดการเรยี นรูเนื้อหาสวนอื่นๆ ตามความเหมาะสม โดยใหคำแนะนำในการ
เลือกตัวชี้วัดและเนื้อหานอกเหนือจากสวนที่จำเปนเพือ่ ใหเหมาะกับบริบทและสถานการณของโรงเรียน นอกจากนี้ โรงเรียนยัง
ไมล ะเลยการใหความรแู กน กั เรียนแตล ะคนในการปองกันตนเองจากโรคระบาด ซ่ึงไดจ ดั ทำมาตรการในการปองกัน
โรคไวแจงใหท ราบในสถานการณโควิด-19 ระบาด ไดเปล่ยี นใหท ุกๆที่กลายเปนโรงเรียน เพราะการเรียนรูยังตอง
ดำเนินอยูแมนักเรียนไมสามารถไปโรงเรียนตามปกติ โรงเรียนไดออกมาตรการดานการเรียนรูมารองรบั ดวยการ
เรียนทางไกลรูปแบบตางๆ โดยพิจารณาจากเงื่อนไขความพรอมดานอุปกรณ ความพรอมของพอแม และความ
พรอมของนักเรียน ความทาทายในการเปลี่ยนครั้งนี้ไมใชแคการแกไขปญหาเฉพาะหนาในสถานการณโควิด-19
เทานั้น แตเปนการ “เปลี่ยนวิกฤติใหเปนโอกาส” ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนใหดีกวาเดิม ดังนั้น

4

มาตรการการเรียนรูของโรงเรียนจึงไมไดมุงปรับแคกระบวนการเรียนรูในหองเรียน แตตองการปรับใหญทั้งระบบ
การเรียนรูที่ตองสอดคลองกันและเชื่อมโยงกับการเรียนรูของนักเรียน โดยดำเนินการกระชับหลักสูตร ปรับให
สอดคลองกับสถานการณโควิด-19 และสื่อสารใหผูเกี่ยวของทุกภาคสวนทราบ ซึ่งหลักสูตรการศึกษาพื้นฐานใน
ปจจุบัน เนนเนื้อหามาก ครูจำเปนตองใชเวลาเยอะเพือ่ สอนไดครบถวน และไมเอื้อใหนักเรียนมีสวนรวม (Active
Learning) เทาที่ควร และหากยังใชหลักสูตรเดิมในการเรียนการสอนภายใตสถานการณโควิด-19 ครูจะตองใช
เวลาสอนมากขึ้นเพื่อสอนใหครบถวน การปรับหลักสูตรใหกระชับควบคูไปกับจัดลำดับความสำคัญ รวมทั้งผอน
คลายตัวชี้วัดเรื่องโครงสรางเวลาเรียนจะสามารถชวยลดความกดดัน โดยยังคงคุณภาพขั้นต่ำไวได โรงเรียนได
กระชบั หลกั สูตรโดยเนนเนื้อหาจำเปนตามมาตรฐานของแตละช้นั เพ่ือใหครูสามารถนำไปวางแผนการสอนและใช
เวลาไดอยางเหมาะสม รวมทั้งออกคูมือชี้แจงหลักสูตรฉบับยอตอผูปกครอง เพื่อสื่อสารใหเขาใจถึงหลักสูตรท่ี
ปรับเปลี่ยนไป กำหนดตัวชี้วัด“ตองรู”และ“ควรรู”ในแตละสาระวิชาแลว และเพิ่มความชัดเจน โดยระบุเนื้อหาจำเปน
ของแตละชั้น และเปดใหครูมอี ิสระในการจัดการเรยี นรูเนื้อหาสวนอื่นๆ ตามความเหมาะสม โดยใหคำแนะนำในการ
เลือกตัวชี้วัดและเนื้อหานอกเหนือจากสวนที่จำเปนเพื่อใหเหมาะกับบริบทและสถานการณข องโรงเรยี น นอกจากนี้ โรงเรียนยัง
ไมล ะเลยการใหความรแู กน กั เรียนแตล ะคนในการปอ งกันตนเองจากโรคระบาด ซ่งึ ไดจ ดั ทำมาตรการในการปองกัน
โรคไวแ จง ใหทราบ

การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา มีการวิเคราะหจุดเดนและจุดที่ตองพัฒนา โรงเรียนได
พัฒนาปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาใหมีคุณภาพสอดคลองกับความตองการของชุมชน ครูและบุคลากรสามารถ
จัดการเรียนรูที่สอดคลองกับหลักสูตร ผูเรียน และบริบทของชุมชน ครูผูสอนจัดทำส่ือ นวัตกรรม ทะเบียนแหลง
เรยี นรูท่ีสอดคลอ งกับกระบวนการจดั การเรียนรู มคี วามชำนาญในการปฏบิ ัตหิ นาท่ี สง ผลใหผูเ รยี นเกิดการเรียนรู
อยางยั่งยืน โรงเรียนไดรวมกันจัดทำรูปแบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนกันทรวิชัย ดวยโมเดล
“KC-4’ONE Model” ในการบริหารโรงเรียนอยางเปนรูปธรรมและนำวงจรคุณภาพ PDCA ตามแนวคิดของ
Deming มาประยุกตใชในการบริหารงาน โดยเนนการบริหารแบบมีสวนรวม โดยการประชุมปรึกษาหารือ รวม
คดิ รว มทำ รว มรบั ผิดชอบและรว มชนื่ ชม โดยใช รปู แบบ KC-4’ONE Model ดงั แผนภาพ

5
หัวใจสำคัญของการจัดการศึกษา คือ นักเรียนมีคุณภาพ เปนเด็กดี เด็กเกง อยูในสังคมได
อยา งมีความสุข องคป ระกอบสำคัญทจ่ี ะใหน ักเรยี นมคี ุณภาพได ประกอบดว ย
กระบวนการจัดการเรียนการสอนตองมีคุณภาพ ครูตองปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน เปน
ครูมืออาชีพ ครูตองพัฒนาตนเอง เปนบุคคลแหงการเรียนรู นำเทคนิควิธีการใหม ๆ เทคโนโลยีที่ทนั สมัยท่ีผูเรียน
สนใจมาใชใ นการจัดกจิ กรรม ยดึ ผเู รียนเปน สำคัญ
การบริหารจัดการในโรงเรียนตองมีคุณภาพ สงเสริมสนับสนุนใหครูไดรับการพัฒนา
ผูบริหารตอ งเปนผนู ำในการเปล่ียนแปลง พัฒนาตนเอง เพือ่ พัฒนาคน พัฒนางานใหม คี ณุ ภาพ
เมือ่ นักเรยี นมีคุณภาพ ครูมคี ุณภาพ ผูบรหิ ารมคี ุณภาพ ก็จะสง ผลใหโ รงเรยี นเปนโรงเรียนที่
มีคุณภาพ ซึ่งในการบริหารโรงเรียนที่รับผิดชอบ เพื่อใหบรรลุเปาหมาย ขาพเจามีวิธีในการบริหาร โดยยึดหลัก
4’ONE ดงั น้ี
1) One Aim เปาหมายเดยี วกัน ทำความเขาใจกบั ผเู กย่ี วของทุกฝาย ถงึ เปาหมายในการ
จดั การศึกษาของโรงเรียนคือ “นกั เรยี นมีคุณภาพ” รว มกันพัฒนาโรงเรียนท่รี ับผิดชอบ มีเปา หมายเดียวกัน มีการ
รว มคิด รว มทำ วางเปาหมายขององคกรไปในแนวทางเดียวกนั ยดึ หลกั คุณธรรม นติ ิธรรมเพื่อไปสูเปาหมาย
เดยี วกนั
2) One Hand รวมมือกันเปนหนึ่งเดียว รวมกันพัฒนาโรงเรียนที่รับผิดชอบ ดวยความ
รวมมือกันอยางจริงใจไรความขัดแยง โดยผนึกกำลังรวมกัน จูงใจดวยคุณภาพงาน มีความคิดเชิงสรางสรรคมอง
โลกในแงดีและทำงานเปน ทมี ดวยความซอ่ื สตั ย
3) One Heart รวมใจเปนหนึ่ง รวมกันพัฒนาโรงเรยี นท่ีรับผิดชอบมีบรรยากาศท่ีย้ิมแยม
เปยมดวยน้ำใจ สรางความเปนกันเอง สรางการมีสวนรวมดวยความสุข รูจักกาลเทศะ สรางมิตรภาพและความ
ประทบั ใจเพือ่ ใหเ กดิ ความสขุ ในการทำงาน
4) One Innovation หนึ่งนวัตกรรม รวมกันสรางสรรคนวัตกรรม วิธีการแกปญหา
ที่เหมาะกับสาเหตุ สภาพและบริบทของสถานศึกษา ที่เกิดจากการมีสวนรวม สงผลตอการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา และมหี ลกั สำคญั ในการครองงาน โดยใชกระบวนการ PLC (Professional Learning Community)
กระบวนการ PLC มีขนั้ ตอนทีด่ ำเนินการ ดงั นี้ (ใช Lesson Study)
ข้ันที่ 1 Plan ขนั้ วเิ คราะหป ญ หา/สาเหต/ุ ทางแก/ พัฒนานวัตกรรม

1.1 รวมกลุมครูทม่ี ปี ญหา/ความตอ งการ เดียวกนั เชน ครูกลุม สาระเดยี วกัน ครูที่
สอนในระดบั ชนั้ เดียวกนั เปนตน

1.2 คน หาปญ หา ความตองการ
1.2.1. รว มกันเสนอปญหา/ความตอ งการ
1.2.2. จัดกลุมปญหา
1.2.3. จัดลำดบั ความจำเปน เรง ดว น
1.2.4. เลือกปญหาเพยี ง 1 ปญ หา โดยการพจิ ารณารว มกัน

1.3.รว มกนั หาแนวทางในการแกปญ หา
1.3.1 เร่ืองเลา เรา พลงั /บอกเลา ประสบการณที่แกป ญ หาไดส ำเร็จ
1.3.2 คน หาตวั อยาง/รูปแบบท่ีประสบความสำเรจ็
1.3.3 รว มกนั ตดั สนิ ใจเลอื กรูปแบบ/วิธีการ/นวัตกรรมในการแกป ญ หา

6

นวัตกรรมทก่ี ลุมเลือก 1.4. ออกแบบกิจกรรมการแกป ญหา / ออกแบบกจิ กรรมตามวธิ ีการ/
1.5 แลกเปลย่ี นเสนอแนะ

ขั้นท่ี 2 Do นำสกู ารปฏบิ ตั /ิ สงั เกตการสอน
2.1 นำกิจกรรมท่ีไดในขอ 1.4 ไปใชใ นการแกปญหาในชั้นเรียน
2.2 ผูสังเกตการณเ ขา รวมสังเกตในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน เชน การเย่ยี ม

ชั้นเรียน สงั เกตการสอน บนั ทึกภาพ VDO เปนตน
ขัน้ ท่ี 3 See คอื กลมุ รวมวพิ ากษ สะทอนผลเพ่ือการพฒั นา
ผูสอน ผูสังเกตการสอน นำผลที่ไดในหองเรียนมาสรุปผล ประเมินผลวาบรรลุผลคือ

สามารถแกปญหาในเรื่องนั้น ๆ ไดหรือยงั ซ่ึงอาจเปด VDO ทบ่ี ันทกึ ไวประกอบ ถา บรรลุผลคือแกป ญหาไดแลว ก็
ดำเนินการแกปญหาในเรื่องใหมตอไป แตถาเห็นวายังไมบรรลุผล แกปญหายังไมได ก็กลับไปเริ่มวงรอบใหม
Plan - Do – See โดยอาจจะเริ่มทบทวน วิเคราะหสาเหตุที่ทำใหเกิดปญหานั้นใหมวา ที่แทจริงมาจากสาเหตใุ ด
ถาวิเคราะหส าเหตุปญ หาไมต รงกบั ความเปน จรงิ กจ็ ะไมส ามารถแกได เพราะทุกปญหาตอ งแกทส่ี าเหตุ

สว นปญ หาใดท่ีใชวงรอบ Plan - Do – See หลายรอบแลวยงั ไมบ รรลผุ ล อาจจะตอง
ยกขึ้นเปน หัวขอในการทำวจิ ัยในเร่อื งนั้น ๆ ซึง่ ตองใชเวลา และกระบวนการทางการวิจยั มาดำเนนิ การ

ปจจัยสคู วามสำเร็จ
1. การสนับสนนุ ของผบู รหิ าร
2. ความรว มมอื ของผทู ่มี ีสว นไดเ สยี ทัง้ หมดของโรงเรยี น

การจัดทำและพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษา มกี ระบวนการ ดังน้ี
1) มีการวิเคราะหความตองการจำเปนของสถานศึกษาและชุมชน ในการพัฒนา

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนไดว ิเคราะหบริบท ความตองการจำเปนของโรงเรียนชุมชน และวิสัยทัศน พันธกิจ
ของโรงเรยี นมาจดั ทำเปนหลกั สูตรสถานศกึ ษาหลกั สูตรสถานศกึ ษาเหมาะสมและสอดคลองกับทอ งถิน่

2) มีการจัดทำหลักสูตรที่สอดคลองกับความตองการของชุมชนทองถิ่นและบริบทของ
สถานศกึ ษา จากรายงานการประเมนิ ตนเอง(SAR) ประจำปการศึกษา 256๔

3) มีการนิเทศ กำกับ ติดตามการใชหลักสูตรอยางตอเนื่อง โดยใชเทคนิควิธีการที่
หลากหลาย เชน การตรวจเยี่ยมและการสังเกตการณในชั้นเรียน การสอนแนะ (Coaching) การตรวจแผนการ
จดั การเรยี นรู การบนั ทึกรายงานหลังการสอน การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เปน ตน ไดจ ัดทำแผนการนเิ ทศ
กำกับ ติดตาม การใชหลักสูตร การประเมินผลการเรียนการสอน และการปฏิบัติงานของคณะครู อยางเปนระบบ

7

ทำใหกระบวนการนิเทศเปนวัฒนธรรมในการปฏิบัติงานของครูและบุคลกรทางการศึกษา บนพื้นฐานความรูสึกที่
เปนกัลยาณมิตร มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกัน และยอมรับการเปลี่ยนสถานภาพระหวาการเปนผูนิเทศ
และเปน ผูรบั การนเิ ทศ ซง่ึ เกิดข้ึนตลอดเวลาทำใหเกิดระบบการนิเทศ ตดิ ตาม ทเ่ี ปน กลั ยาณมิตร
4) มีการประเมินผลหลักสูตรสถานศึกษาและนำผลไปปรับปรุงแกไขหลักสูตร
สถานศึกษา โรงเรียนมีการประเมินผลหลักสตู รสถานศึกษาและนำผลไปปรับปรุงแกไ ขหลักสตู รสถานศึกษาอยาง
ตอ เนื่องทัง้ ในระดับครูผสู อน ระดับกลมุ สาระ และระดับโรงเรียน ทัง้ ระบบ ดังนี้
(1) กำหนดใหม กี ารประเมนิ การใชห ลกั สูตร เปนกิจกรรมหลักของสถานศกึ ษา
(2) สรา งความเขาใจเกยี่ วกับการประเมินการใชห ลักสตู รดวยตนเองใหเ กดิ ขึ้นกับคณะครู
(3) วางระบบเครือขายการทำงาน และมอบหมายงานการประเมินใหคณะ
ผปู ฏิบัติงานแตละคณะดำเนินการประเมินเปน ระยะ ๆ โดยกำหนดใหช ัดเจนวา คณะใดตอ งประเมนิ รายการใดบา ง
(4) สรปุ ผลการประเมิน และนำผลการประเมนิ มาปรบั ปรุงและพฒั นาหลักสูตร
ของสถานศกึ ษา การประเมินผลการใชหลักสูตรมีแนวทางการดำเนินการที่สำคัญคือ พิจารณา

องคประกอบของหลักสูตรที่จะประเมิน พิจารณาหลักเกณฑที่จะใชในการประเมิน ออกแบบการจัดเก็บขอมูล
ดำเนินการเก็บรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอ มลู เพ่อื ใชพิจารณาตัดสินใจในการปรับปรงุ หลกั สูตรตอไป

ผลที่เกิดจากการพัฒนา โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษา ที่สอดคลองกับสมรรถนะของ

ผูเรียนและสถานการณในปจจุบัน มีการปรับหลักสูตรสถานศึกษาป 2564 เปนแบบบูรณาการ เพื่อใชใน
สถานการณก ารแพรระบาดของเช้ือไวรัสโควดิ 2019 และใหค รดู ำเนินการจัดการเรียนการสอนแกผ เู รยี น มีคูมือ
การจัดการเรียนรู ตัวชี้วัด ของหลักสูตร ป 256๕ สงผลใหการพัฒนางานตามมาตฐานตำแหนงในขอนี้บรรลุ
เปา หมาย รอ ยละ 90 มผี ลการประเมนิ ตนเอง ในระดับ 4

ระเบียบสถานศกึ ษาวา ดว ยการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรตู ามหลกั สตู รโรงเรยี นกันทรวชิ ัย

8
๑.๓ การพัฒนากระบวนการจดั การเรยี นรทู ีเ่ นน ผเู รียนเปนสำคัญและปฏิบตั กิ ารสอน

ขาพเจาไดริเริ่ม พัฒนา ครูใหพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนใหมีคุณภาพ ครู
ตองปรับวธิ ีเรียน เปลย่ี นวธิ ีสอน เปน ครูมอื อาชีพ ครูตองพฒั นาตนเอง เปน บคุ คลแหงการเรียนรู นำเทคนิควิธีการ
ใหม ๆ เทคโนโลยีที่ทันสมัยที่ผูเรียนสนใจมาใชในการจัดกิจกรรม ยึดผูเรียนเปนสำคัญ ครูมีกระบวนการจัดการ
เรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญและขาพเจาไดปฏิบัติการสอน กำหนดใหครูมีการเตรียมการจัดการเรียนรู มีการ
วิเคราะหผูเรียน การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู การเลือกสื่อ และแหลงเรียนรู เครื่องมือวัดและประเมินผล จัด
กระบวนการเรียนรูตามแผนพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ มีเครื่องมือในการวัดและ
ประเมินผล และใหค รูนำผลไปปรบั ปรงุ พฒั นากระบวนการจัดการเรยี นรู

ผลที่เกิดจากการพัฒนา ครูมีแผนการจัดการเรียนรู/หรือแผนการจัดประสบการณ ท่ี
พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ จึงสงผลใหการพัฒนางานตามมาตฐานตำแหนงในขอน้ี
บรรลุเปาหมาย ไมนอยกวารอ ยละ ๘๕ มีผลการประเมินตนเองในระดับ 4

การพัฒนาสอ่ื นวัตกรรม และแหลง เรยี นรูม าใชใ นการจดั กระบวนการจัดการเรียนรู

พฒั นากระบวนการจัดการเรยี นรทู เี่ นนผูเรยี นเปนสำคญั

9
๑.๔ การสง เสรมิ สนับสนนุ การพัฒนาหรือการนำส่อื นวัตกรรม และเทคโนโลยที างการศึกษา
มาใชในการจดั การเรียนรู

ขาพเจาไดริเริ่ม พัฒนา สงเสริม และสนับสนุนงบประมาณการวางแผนการจัดหาและผลิต
ส่ือการเรียนรูแบบมีสวนรวมโดยใหครูผูสอนทุกคนสามารถเขียนโครงการในการจัดหาหรือผลิตส่ือการสอนท่ี
สอดคลองกับการจัดการเรียนรูของครูแตละคน โดยสามารถเขียนโครงการดำเนินงานไดในทุกปการศึกษาผาน
ระดับช้ันและกลมุ สาระ มีการใชส ื่อการเรียนรูเพ่อื การจัดการเรยี นรูอยางหลากหลาย ในแตละกลุม สาระการเรียนรู
และแตละวชิ าครมู กี ารใชสือ่ การจัดการเรยี นรูอยางหลากหลายตามธรรมชาติของแตล ะวิชา สง เสรมิ ใหค วามสำคัญ
ในการใชสื่อเทคโนโลยีมาใชในการจัดการเรียนรู มีการติดตามประเมินผลการใชสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี
ทางการศึกษา บรรลตุ ามวัตถุประสงค มกี ารติดตามประเมนิ ผลการใชส่ือ นวตั กรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา
มีการรายงานผลและนำไปปรบั ปรุง

ผลที่เกิดจากการพัฒนา ครู และหรือ ผูบริหารสถานศึกษามีนวัตกรรมและเทคโนโลยี
ทางการศึกษา และนำมาใชในการจัดการเรียนรู จึงสงผลใหการพัฒนางานตามมาตฐานตำแหนงในขอนี้บรรลุ
เปาหมาย รอยละ ๘๕ มีผลการประเมินตนเองในระดบั 4

สง เสรมิ ใหค รพู ัฒนาและนำสอ่ื เทคโนโลยีท่ีทนั สมัยมาใชใ นการจดั การเรยี นรู

10

การพัฒนาสือ่ นวัตกรรม และแหลงเรยี นรูมาใชใ นการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู
๑.๕ การนิเทศ กำกับ ติดตามประเมินผลการจัดการเรียนรูของครูในสถานศึกษา และมีการ
ประกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
ขาพเจา ไดมีการวางระบบการนิเทศผานกลุมสาระการเรียนรแู ละระดับชั้น มกี ารกำหนดคาบการ
ประชุมสำหรับการนิเทศติดตามไวอยางชัดเจน และกำหนดใหมีการบันทึกรายงานการประชุม /นิเทศ ตามลำดับ
สายงาน มีการจัดทำเครื่องมือการนิเทศภายในที่สอดคลองและครบถวนกับเปาหมายโครงการนิเทศ เชน
แบบสอบถาม แบบสงั เกต แบบสมั ภาษณ เปนตน มีการดำเนนิ การตามแผนการนิเทศอยางเปน ระบบ มกี ารนิเทศ
กำกับ ติดตามและประเมินผลการจัดการเรียนรูของครู โดยมีการริเริ่ม พัฒนา สงเสริมกระบวนการแลกเปลี่ยน
เรียนรูทางวชิ าชีพ มสี รุปรายงานการนเิ ทศและนำผลไปใชในการปรับปรุงพฒั นาการจัดการเรยี นรูและการนิเทศใน
ครั้งอนื่ ๆ ตอไป

11
ขาพเจามีการริเริม่ พัฒนาจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และใหถือวาการ
ประกันคุณภาพภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ตองดำเนินการอยางตอเนื่อง โดยมีการ
จัดทำรายงานประจำปเสนอตอหนวยงานตนสังกัดหนวยงานที่เกี่ยวของ และเปดเผยตอสาธารณชน เพื่อนำไปสู
การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ขาพเจา ไดรวมคดิ หาวิธีการใหม ๆ มาทดลองใชกับการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาภายใตมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานที่หลากหลายวิธีการ เพื่อใหโรงเรียนมีไดมาตรฐานตามที่โรงเรียน
กำหนด โดยไดสรุปผลการสังเคราะหรายงานประจำป ของสถานศึกษา( Self Assessment Report : SAR)
ประจำปการศึกษา ๒๕๖๔ , รายงานการวิเคราะห O-NET ของป 256๔ มาประกอบในการวางแผนพัฒนา
คุณภาพศึกษาใหเ หมาะสมกับบรบิ ทของสถานศกึ ษา ใหส ามารถพัฒนาคุณภาพการศึกษาไดเ ปนอยางดี
ผลที่เกิดจากการพัฒนา โรงเรียนมีคูมือ/แผน/ปฏิทินการนิเทศทางการศึกษา มีแผนการนิเทศ
ภายใน มีรูปแบบและกระบวนการนิเทศออนไลน และมีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาที่เปนระบบ
และตอ เน่ือง จึงสงผลใหก ารพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหนง ในขอ น้บี รรลเุ ปา หมาย รอยละ ๘๕ มีผลการประเมิน
ตนเองในระดับ 4

การจัดระบบนเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินและพัฒนางานอยา งสมำ่ เสมอ
๑.๖ การศึกษา วิเคราะหเพื่อแกปญหาและพัฒนาการจัดการเรียนรู เพื่อยกระดับคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษา

ขาพเจาศึกษา วิเคราะหเพื่อแกปญหาและพัฒนาการจัดการเรียนรู เพื่อยกระดับคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษา ได ริเริ่ม คิดคนพัฒนา สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหสอดคลองกับแผนการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา บริบทของสถานศึกษา โดยเนน การมีสว นรวม นอกจากนีย้ ังไดศึกษา คน ควา สังเคราะหวิธีการ

12
วัดและประเมินผล และการจัดเรียนการสอนในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(COVID – ๑๙) เชือ่ มโยงนำไปสรู ะบบการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น และการพฒั นาคุณภาพการศึกษา และ
มีเอกสารแนวทางการวัดและประเมินผลในชั้นเรียน ในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (COVID – ๑๙)

ผลที่เกิดจากการพัฒนา ครูมวี ิจยั ในชัน้ เรยี น อยา งนอยคนละ 1 ครมู ีการต่นื ตวั ดานการจัดเรยี น
การสอน การวัดและประเมินผล การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและปรับกระบวนการเรียนการสอน การ
ออกแบบการจัดการเรียนรแู บบกระตอื รือรน (Active Learning) ในรปู แบบ Online การวัดและประเมนิ ผลผเู รยี น
ในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19 ) มีคลังขอสอบมาตรกลาง
คณิตศาสตร ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามหาสารคาม , มีเอกสารแนวทางการวัดและประเมินผล
ในชั้นเรียน จึงสงผลใหการพัฒนางานตามมาตฐานตำแหนงในขอนี้บรรลุเปาหมาย รอยละ ๘๕ มีผลการประเมิน
ตนเองในระดับ 4

ริเร่มิ คิดคนพฒั นา สอ่ื นวตั กรรมและเทคโนโลยีใหสอดคลองกบั แผนการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
ตามบรบิ ทของสถานศึกษา โดยเนน การมสี ว นรวมดว ยรูปแบบ KC-4’ONE Model

13

รเิ ร่มิ คิดคน พัฒนา ส่อื นวัตกรรมและเทคโนโลยใี หส อดคลองกับแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
2. ดา นการบริหารจดั การสถานศึกษา
2.1 การบริหารจัดการสถานศกึ ษาใหเ ปน ไปตามกฎหมายระเบียบขอบังคบั นโยบายและตาม

หลกั บรหิ ารกิจการบา นเมืองทีด่ ี
การบริหารจัดการของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาใหมีคุณภาพสอดคลองกับ

ความตองการของชุมชน ครูและบุคลากรสามารถจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับหลักสูตร ผูเรียน และบริบทของ
ชุมชน ครูผูสอนจัดทำสื่อ นวัตกรรม ทะเบียนแหลงเรียนรูที่สอดคลองกับกระบวนการจัดการเรียนรู มีความ
ชำนาญในการปฏิบัตหิ นาที่ สงผลใหผูเรียนเกิดการเรยี นรูอยางยั่งยืน มีการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ และ
นำผลการประเมินไปใชพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ขาพเจาไดบริหารงานประกันคุณภาพ โดยจัดระบบโครงสราง
องคกรใหรองรับระบบการประกันคุณภาพการศึกษา กำหนดเกณฑ เปาหมายความสำเร็จของสถานศึกษาตาม
มาตรฐานการศึกษาและตัวชี้วัดของกระทรวง พัฒนางานตามแผน ประเมินคุณภาพภายใน เพื่อพัฒนาปรับปรุง
อยา งตอ เนอ่ื ง ประสานงานกบั สำนักงานรับรองมาตรฐานการศกึ ษาและประเมินคุณภาพการศึกษา ในการประเมิน
สถานศึกษา เพื่อเปนฐานในการพัฒนาอยางเปนระบบและตอเนื่องจนเปนวัฒนธรรมขององคกรที่ยั่งยืน งาน
ประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน และในสถานการณปจจุบัน การระบาดทั่วไปของ ไวรัสโคโรนา พศ.
2562-256๔ เปนการระบาดทั่วโลก ที่กําลังดำเนินไปของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) กอให
เกิดอุบัติการณ ประกอบดวย ความไมมั่นคงทางสังคม และเศรษฐกิจ รวมไปถึงการบริหารจัดการศึกษาของ
ผูบริหารสถานศึกษา สิ่งที่เรากําลังเผชิญกันอยูในทุกวันนี้เปนสถานการณที่เรียกไดวาเขาขั้นวิกฤต และเปนสิ่งที่
เกิดขึ้นในประเทศอยางที่ไมเคยปรากฎมากอน สิ่งเหลานี้เปนสัญญาณที่ทำใหเราตองตั้งรับ ปรับ ตัวหาวิธีที่จะ
รบั มือกับสถานการณตา ง ๆ ที่เกดิ ขนึ้ ผูบริหารจงึ ตองมกี ารบริหารจัดการศึกษาที่ สอดคลอ งกับความปกตใิ หมโดย
มแี นวทางในการ บรหิ าร ไดแ ก การเตรียมความพรอมในการเรียนการสอนออนไลนด า นอปุ กรณ สอื่ และเทคโนโลยี
การออกแบบ หลักสูตรโดยคำนึงถึงความแตกตางของนักเรียนแตละคน การบริหารจัดการโรงเรียนและครูให
ประสบความสำเร็จในการจัดการเรียนรู มีการหารือและวางแผนรวมกนั ของบุคคลท่มี ีสว นเกีย่ วของในทุกภาคสว น
ตั้งแต ผูบริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางศึกษา สังคม พอแม ผูปกครอง รวมถึงการเตรียมความพรอม

14

ทั้งทางดานรางกายและจิตใจของครูและนักเรียน ภายใตสถานการณโควิด – ๑๙ ที่ไมมีใครเคยประสบมากอน จึง
จำเปนตอ งวางแนวทางการจดั การเรียนการ สอนภายใตส ถานการณวกิ ฤตโควดิ – ๑๙ ในทกุ ระดบั ชัน้

ดังนั้น การบริหารสถานศึกษาจึงมีความสำคัญใน ฐานะที่เปนกระบวนการดำเนินกิจกรรม
ดานตางๆ ของสถานศึกษา ซึ่งประกอบดวย ผูบริหาร ครู อาจารย และคณะบุคคลฝายตาง ๆ เพื่อรวมกันวาง
แผนการจัดการศึกษาภายในสถานศึกษาอยางเปนระบบตามมาตรฐานและคุณภาพใหแกนักเรียน ที่ทำใหเกิดการ
พฒั นาในทุก ๆ ดาน อยา งมปี ระสิทธภิ าพและ ประสิทธผิ ล เพอ่ื ความเปนมนษุ ยท่สี มบูรณและสามารถดำรงชีวิตอยู
ในสังคม ไดอ ยา งมคี วามสขุ ซ่ึงไดด ำเนนิ การ ดงั นี้

1. จดั คนที่มีความรคู วามสามารถเขามา ทำงานใหเพียงพอกับภาระงานของสถานศึกษา
2. เพ่อื ชว ยพฒั นาการเรยี นการสอนโดยอาศัยการ พัฒนาปรบั ปรงุ ครใู หเปน ครูมืออาชพี
3. เพื่อพัฒนาหลักสูตรโดยมีการประเมินหลักสูตร ปรับปรุงเนื้อหา ปรับปรุงสื่อ ปรับปรุง
ตารางสอนของ ครู ปรับปรุงวธิ กี ารสอนและกิจกรรม
4. เพอ่ื จัดกิจกรรมแนะแนวและกิจกรรมปรึกษา ใหก ับนกั เรยี น
5. จดั กิจกรรมพฒั นานกั เรยี นเพอื่ ใหมีความ สามารถดานสังคม การทำงาน และการเปนผนู ำ
6. มกี ารประเมนิ การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนออนไลนของครูเปน ระยะ
7. สรางความสัมพันธระหวางโรงเรียนกบั ชมุ ชน โดยเฉพาะรปู แบบในการจดั การเรียนการสอนใหม
8. บรหิ ารอาคารสถานทีแ่ ละส่งิ แวดลอ มใหเ อ้อื ตอ การจดั การเรียนการสอน
9. ดำเนินการเกี่ยวกับงบประมาณดวยการขอ จัดหา และใชงบประมาณอยางมี
ประสิทธิภาพ เพื่อใหมผี ลตอ การจัดการศกึ ษา
การบริหารงานงบประมาณโปรงใส ตรวจสอบได มีการจัดทำโครงการของงานกลุมและฝาย
ตาง ๆ มีกระบวนการจัดซื้อ จัดจาง ตามระเบียบพัสดุและมีขั้นตอนที่ชัดเจน และมีการรายงานผลการดำเนินงาน
ตามโครงการ ผูบริหารมีภาวะผูนำและมีความสามารถในการบริหารจัดการไดอยางมปี ระสิทธภิ าพพัฒนาโรงเรียน
ไปสูเปาหมายได จากรายงานการประเมินตนเอง(SAR) ประจำปการศึกษา 2564 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการ
บริหารและการจัดการ มีผลการประเมินอยูในระดับยอดเยี่ยม ผูบริหารไดรับเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ “คุรุสดุดี”
ประจำป ๒๕๖๔ จากคุรุสภา
ขา พเจาไดมกี ารบริหารจดั การสถานศกึ ษา ไดแ ก ดานงานวิชาการ ดานบรหิ ารงานบุคคล ดา น
งบประมาณ ดานบริหารทั่วไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ นโยบาย และตามหลักบรหิ ารกิจการบานเมืองท่ีดี
จึงสงผลใหการพัฒนางานตามมาตฐานตำแหนงในขอนี้บรรลุเปาหมาย รอยละ ๘๕ มีผลการประเมินตนเองใน
ระดบั 4

15
2.2 การบริหารกิจการผเู รยี นและการสง เสรมิ พัฒนาผเู รียน

ขาพเจาไดร ิเริม่ พัฒนาการบริหารกจิ การผูเ รียนและการสงเสรมิ พัฒนาผูเ รียน มีสารสนเทศ
และแผนปฏิบัตกิ ารเกี่ยวกับการบริหารกิจการผูเรียน ไดประชุมชี้แจงบุคลากรและมอบหมายงาน โดยมีกรรมการ
นักเรียน เครือขายผูปกครองและจัดกิจกรรมชวยเหลือผูเรียน มีการติดตามและประเมินผล มีรายงานผลกการ
ดำเนินการและนำผลไปรับปรุงอยางตอเนื่องและเปนระบบ โดยใชกระบวนการในการบริหารมาเปนแนวทางใน
การปฏิบตั ิ กระบวนการในการบริหารงานทสี่ ำคัญ ๆ มีดังตอ ไปน้ี

1) การวางแผนงานการจัดกิจการนักเรียน ขาพเจาไดวางนโยบายในการปฏิบัติงานที่
เกี่ยวของกับการจัดกิจกรรมนักเรียนทั้งหมดไวใหชัดเจน วามีงานดานใดบางที่โรงเรียนจะปฏิบัติในแตละป
การศึกษา จะตองกำหนดวัตถุประสงคที่ตั้งไว การวางแผนงานที่ดีผูบริหารไมควรปฏิบัติตามลำดับการจะจัดต้ัง
คณะกรรมการโรงเรียนใหเ ขามามีสวนในการวางแผนดวย

2) การจัดบคุ คลที่รบั ผิดชอบในแตละกิจกรรม ขา พเจาไดก ำหนดลงไปวางานแตละกิจกรรม
หรือแตละโครงการนั้นควรจะมอบอำนาจความรับผิดชอบใหแกใคร พรอมทั้งจะตองกำหนดโครงสรางอำนาจ
หนาท่ี การแบงสวนงานและการจัดสายงานใหเดนชัด เพ่ือใหการปฏิบัติงานเปนไปตามวัตถุประสงคและไมเกิด
ความซับซอ น

3) ควบคุมดูแลการปฏิบัติงาน หลังจากที่บุคคลที่รับผิดชอบงานไดเริ่มดำเนินกิจกรรมแลว
ขาพเจาจะดูแลอยางใกลชิดเพื่อใหการปฏิบัติงาน ดำเนินไปตามแผนการที่วางไว ถาหากมีสิ่งใดบกพรองหรือไม
สามารถปฏบิ ัตติ ามแผนท่วี างไวได ขาพเจา ก็ส่ังการแกไขปรบั ปรุงไดทนั ทวงที

4) การจดั ประสานสัมพนั ธของหนวยงาน ในการจัดกิจการนักเรยี นนนั้ จะตองอาศัยหลายๆ
หนวยงานรว มมอื กนั ทำขาพเจา พยายามใช เทคนคิ วิธีตา ง ๆ ทำใหการดำเนินงานทุกหนว ยงานประสานสัมพันธกัน
ไดดี ท้ังนีเ้ พือ่ ใหงานดำเนนิ ไปสจู ดุ หมายเดยี วกัน ไมเ กดิ ความซำ้ ซอน เกิดความขดั แยง

5) การรายงานผล ขาพเจา ไดจัดใหมีการรายงานผลเปน ระยะ เพ่ือจะไดทราบปญหาและ
อปุ สรรคในการดำเนนิ งานเพื่อท่ีจะไดมีการปรบั ปรงุ แกไขปญหาทีเ่ กดิ ข้นึ ทุกระยะการดำเนนิ การ

6) การประเมินผลงาน ขาพเจามีสว นรว มในการประเมินผลงาน และในการประเมินผลงาน
ควรประเมินเปนระยะในระหวางโครงการกำลังดำเนินอยู และประเมินเมื่อสิ้นสุด โครงการอีกครั้ง เพื่อดูวาไดผล
ตามวัตถุประสงคท ีต่ ัง้ ไวหรือไมเพื่อจะไดนำขอ มูลเหลานี้มาเปนแนวทางในการปรับปรุงกิจกรรมตอ ไป และวิธีท่ีใช
ในการประเมินน้ันควรจะใชห ลาย ๆ วธิ ี เชน การสังเกต การออกแบบสอบถาม การสัมภาษณ และการพิจารณาจากผลงาน เปนตน

การบริหารงานกิจการนักเรียนเปนการสงเสริมในการดำเนินกิจกรรมตางๆของนักเรียนใน
การแกปญหาอุปสรรค ตางๆใหสำเร็จลุลวงไปดวยดี ผูที่รับผิดชอบบริหารงานกจิ การนักเรียนตองมีความเขาใจใน
ภารกิจความรบั ผดิ ชอบ และความตอ งการของนักเรียน ดังน้ี

1. สำรวจความตองการและปญหาของนักเรียน เพ่ือเปน ขอมูลในการจดั กจิ กรรมของโรงเรียน
2. พจิ ารณานโยบายของโรงเรยี นวามจี ุดเนน ทีก่ จิ กรรมประเภทใด
3. สำรวจความเปน ไปไดและความสะดวกในการขอความรวมมอื กบั หนว ยงานท่เี ก่ียวของ
4. สำรวจความพรอมและความเขา ใจของครทู ีเ่ กย่ี วขอ งวา มีความเขา ใจบทบาทหนา ท่มี ากนอ ยเพยี งใด
5. สำรวจแหลง ทุนและงบประมาณทจ่ี ะสนบั สนุนกิจการนักเรยี น
6. จัดบุคลากรใหเ หมาะสมกับกจิ กรรม เพ่ือใหการจดั กจิ กรรมเกดิ ประโยชนสงู สุด
7. ศึกษากิจกรรมพิจารณาวากจิ กรรมใดควรปรบั ปรุงและกิจกรรมใดควรพฒั นาและสรา งสรรคข้นึ มาใหม

16

8. กจิ กรรมใดท่ปี ระสบความสำเร็จยอดเย่ยี ม ควรพิมพเผยแพร กจิ กรรมใดที่ไมป ระสบ
ความสำเรจ็ ก็ประเมินไวเ ปน แนวทางในการปรบปรุงตอไป

9. มกี ารประชาสัมพันธ เพื่อกระตุน ใหเกิดความสนใจตอ การเขา รว มกิจกรรมมากข้นึ

ประมวลภาพกจิ กรรมโรงเรยี น

วารสารประชาสมั พันธ โรงเรยี นกันทรวชิ ัย
http://kantara.ac.th/?option=news&id=5
จึงสง ผลใหก ารพัฒนางานตามมาตฐานตำแหนงในขอนี้บรรลุเปาหมาย รอ ยละ ๘๕ มีผลการ
ประเมินตนเองในระดับ 4
2.3 การจดั ระบบดูแลชว ยเหลอื ผูเรียน
ขาพเจาไดริเริ่ม พัฒนาการจัดระบบดูแลชวยเหลือผูเรียนใหมีโอกาส ความเสมอภาค และ
ลดความเหลื่อมหล้ำทางการศึกษา มีการจัดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาชวยเหลือและแกปญหาผูเรียนอยางเปน
ระบบและตอเนอ่ื ง เชน
1) กิจกรรมแนะแนวตามหลักสูตร ซึ่งนักเรียนจะไดปฏิบัติกิจกรรมกับครูแนะแนวอยาง
ตอ เน่อื งตามหลกั สูตร
2) กจิ กรรมศกึ ษาปฐมนิเทศนักเรียนเขาใหม ม .1 ม .4 มีกจิ กรรมท่ชี ว ยเหลือนักเรียน
รจู กั ปรบั ตัว และวางแผนการเรยี นในโรงเรยี นกนั ทรวชิ ัยไดอ ยางมีคุณภาพ
3) กิจกรรมปจฉิมนิเทศ เปนกิจกรรมที่ใหขวัญ กำลังใจ และชี้แนะแนวทางในการศึกษา
ตอ และการปรบั ตวั สูร ัว้ มหาวทิ ยาลัยและสังคมภายนอก
4) กิจกรรมตามระบบดูแลชว ยนกั เรยี นเชน การเก็บขอ มูลนักเรยี นรายบุคคล การจดั อบรมครูทีป่ รึกษา
5) ระบบติดตามประเมนิ ผลนกั เรยี นจบการศึกษาชั้น ม .3 ม .6
6) กิจกรรมคายคณุ ธรรมนักเรียน
7) กิจกรรมการจายเงินอุดหนุนนักเรยี นยากจน
ผลการพัฒนา โรงเรียนมีรูปแบบระบบดูแลชวยเหลือผูเรียน และนำรูปแบบนั้นไปใชกับผูเรียน โดย
ใช รูปแบบ KC-4’ONE Model จึงสงผลใหการพัฒนางานตามมาตฐานตำแหนงในขอนี้บรรลุเปาหมาย รอยละ
๘๕ มีผลการประเมินตนเองในระดบั 4

17

กจิ กรรมคา ยคุณธรรมนักเรียน
ปลกู ฝงคุณธรรมนักเรียน

จายเงินอดุ หนุนนักเรียนยากจน

18
3. ดานการบริหารการเปลยี่ นแปลงเชิงกลยุทธและนวัตกรรม

ขาพเจาไดบรหิ ารจดั การสถานศึกษา โดยมกี ลยุทธ เคร่อื งมอื หรอื นวัตกรรมทางการบริหาร
เชิงรุก ในการริเร่ิม พัฒนาสถานศึกษาและคุณภาพสถานศึกษาและคุณภาพผูเ รยี น มีแผนปฏบิ ัติการสอดคลอ งกับ
มาตรฐานภาระงานบรหิ ารโดยคำนึงถึงประโยชนแ ละความคุมคา และมีการนำไปปฏิบัตจิ ริงบรรลผุ ลตามเปาหมาย
การบริหารจัดการของสถานศึกษากำหนดนโยบายกลยุทธ การกำหนดนโยบาย กลยุทธและนวัตกรรมทางการ
บริหารเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในชวงสถานการณก ารแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID – 19)
ใหมีคุณภาพสอดคลองกับความตองการของชุมชน ครูและบุคลากรสามารถจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับหลักสูตร
ผูเรียน และบริบทของชุมชน ครูผูสอนจัดทำสื่อ นวัตกรรม ทะเบียนแหลงเรียนรูที่สอดคลองกับกระบวนการ
จัดการเรียนรู มีความชำนาญในการปฏิบัติหนาท่ี สงผลใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางยั่งยืน โรงเรียนไดรวมกัน
จัดทำรูปแบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนกันทรวิชัย ดวยโมเดล“KC-4’ONE Model” ในการบริหาร
โรงเรยี นอยางเปน รูปธรรมและนำวงจรคุณภาพ PDCA ตามแนวคิดของ Deming มาประยกุ ตใชในการบริหารงาน
โดยเนนการบริหารแบบมีสวนรวม โดยการประชุมปรึกษาหารือ รวมคิด รวมทำ รวมรับผิดชอบ และรวมชื่นชม
โดยใช รูปแบบ KC-4’ONE Model ด งั แ ผ น ภ าพ

หัวใจสำคัญของการจัดการศึกษา คือ นักเรียนมีคุณภาพ เปนเด็กดี เด็กเกง อยูในสังคมได
อยา งมคี วามสุข องคประกอบสำคัญท่จี ะใหน กั เรยี นมีคุณภาพได ประกอบดว ย

กระบวนการจัดการเรียนการสอนตองมีคุณภาพ ครูตองปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน เปน
ครูมืออาชีพ ครูตองพัฒนาตนเอง เปนบุคคลแหงการเรียนรู นำเทคนิควิธีการใหม ๆ เทคโนโลยีที่ทันสมัยท่ีผูเรียน
สนใจมาใชในการจดั กจิ กรรม ยึดผเู รยี นเปน สำคญั

การบริหารจัดการในโรงเรียนตองมีคุณภาพ สงเสริมสนับสนุนใหครูไดรับการพัฒนา
ผูบรหิ ารตองเปน ผูนำในการเปลยี่ นแปลง พัฒนาตนเอง เพอื่ พฒั นาคน พฒั นางานใหม ีคณุ ภาพ

19
เมอื่ นักเรยี นมคี ุณภาพ ครูมีคณุ ภาพ ผูบริหารมีคณุ ภาพ กจ็ ะสงผลใหโ รงเรียนเปนโรงเรียนที่
มีคุณภาพ ซงึ่ ในการบรหิ ารโรงเรียนท่รี ับผิดชอบ เพ่อื ใหบรรลเุ ปา หมาย ขาพเจา มวี ธิ ใี นการบรหิ าร โดยยึดหลัก
4’ONE ดงั น้ี
1) One Aim เปาหมายเดียวกนั ทำความเขาใจกับผูเก่ยี วของทุกฝาย ถึงเปา หมายในการ
จดั การศกึ ษาของโรงเรยี นคือ “นักเรยี นมีคุณภาพ” รว มกนั พัฒนาโรงเรยี นทร่ี บั ผิดชอบ มีเปา หมายเดียวกัน มีการ
รวมคิด รวมทำ วางเปาหมายขององคกรไปในแนวทางเดียวกัน ยึดหลักคุณธรรม นิติธรรมเพื่อไปสูเปาหมาย
เดยี วกนั
2) One Hand รวมมือกันเปนหนึ่งเดียว รวมกันพัฒนาโรงเรียนที่รับผิดชอบ ดวยความ
รวมมือกันอยางจริงใจไรความขัดแยง โดยผนึกกำลังรวมกัน จูงใจดวยคุณภาพงาน มีความคิดเชิงสรางสรรคมอง
โลกในแงด ีและทำงานเปน ทมี ดว ยความซ่ือสตั ย
3) One Heart รวมใจเปนหนึง่ รวมกันพัฒนาโรงเรียนท่ีรับผิดชอบมีบรรยากาศที่ย้ิมแยม
เปยมดวยน้ำใจ สรางความเปนกันเอง สรางการมีสวนรวมดวยความสุข รูจักกาลเทศะ สรางมิตรภาพและความ
ประทับใจเพือ่ ใหเ กดิ ความสขุ ในการทำงาน
4) One Innovation หนึ่งนวัตกรรม รวมกันสรางสรรคนวัตกรรม วิธีการแกปญหา
ที่เหมาะ กับสาเหตุ สภาพและบริบทของสถานศึกษา ที่เกิดจากการมีสวนรวม สงผลตอการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา และมีหลักสำคัญในการครองงาน โดยใชกระบวนการ PLC (Professional Learning
Community)
กระบวนการ PLC มีขน้ั ตอนทีด่ ำเนินการ ดงั น้ี (ใช Lesson Study)
ขน้ั ที่ 1 Plan ขั้นวเิ คราะหป ญ หา/สาเหตุ/ทางแก/พัฒนานวตั กรรม
1.1 รวมกลมุ ครูที่มปี ญ หา/ความตองการ เดียวกนั เชน
ครูกลมุ สาระเดียวกนั ครทู ่สี อนในระดบั ช้ันเดยี วกนั เปนตน
1.2 คน หาปญ หา ความตองการ

1.2.1. รวมกันเสนอปญหา/ความตอ งการ
1.2.2. จัดกลุมปญหา
1.2.3. จดั ลำดับความจำเปนเรง ดว น
1.2.4. เลือกปญ หาเพียง 1 ปญหา โดยการพิจารณารวมกนั
1.3.รว มกนั หาแนวทางในการแกปญหา
1.3.1 เรือ่ งเลาเรา พลงั /บอกเลาประสบการณท ่ีแกป ญหาไดส ำเรจ็
1.3.2 คน หาตวั อยา ง/รปู แบบทปี่ ระสบความสำเร็จ
1.3.3 รว มกันตัดสินใจเลือกรูปแบบ/วิธีการ/นวตั กรรมในการแกปญหา
1.4. ออกแบบกจิ กรรมการแกปญ หา / ออกแบบกิจกรรมตามวิธกี าร/นวตั กรรมทกี่ ลมุ เลือก
1.5 แลกเปลย่ี นเสนอแนะ
ข้นั ท่ี 2 Do นำสกู ารปฏิบัติ/สงั เกตการสอน
2.1 นำกิจกรรมทีไ่ ดในขอ 1.4 ไปใชใ นการแกป ญหาในช้นั เรยี น
2.2 ผูสังเกตการณเขารวมสังเกตในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เชน การเยี่ยม
ชัน้ เรยี น สงั เกตการสอน บันทึกภาพ VDO เปนตน

20
ข้นั ที่ 3 See คือ กลุมรวมวิพากษ สะทอ นผลเพือ่ การพัฒนา

ผูสอน ผูสังเกตการสอน นำผลที่ไดในหองเรียนมาสรุปผล ประเมินผลวาบรรลุผลคือ
สามารถแกปญหาในเรื่องนั้น ๆ ไดหรือยัง ซึ่งอาจเปด VDO ที่บันทึกไวประกอบ ถาบรรลุผลคือแกปญหาไดแลว
ก็ดำเนินการแกปญหาในเรื่องใหมตอไป แตถาเห็นวายังไมบรรลุผล แกปญหายังไมได ก็กลับไปเริ่มวงรอบใหม
Plan - Do – See โดยอาจจะเริ่มทบทวน วิเคราะหสาเหตุที่ทำใหเกิดปญหานั้นใหมวาที่แทจริงมาจากสาเหตใุ ด
ถาวเิ คราะหสาเหตปุ ญ หาไมต รงกับความเปนจรงิ ก็จะไมส ามารถแกได เพราะทุกปญหาตอ งแกทีส่ าเหตุ

สว นปญหาใดท่ีใชวงรอบ Plan - Do – See หลายรอบแลว ยังไมบ รรลุผล อาจจะตองยกข้ึน
เปน หัวขอ ในการทำวจิ ัยในเร่อื งนน้ั ๆ ซง่ึ ตองใชเวลา และกระบวนการทางการวิจัยมาดำเนินการ

ปจ จยั สูความสำเร็จ
1. การสนบั สนนุ ของผูบรหิ าร
2. ความรวมมือของผทู ี่มีสวนไดเ สยี ทั้งหมดของโรงเรียน
ผลการพฒั นา โรงเรยี นมแี ผนพัฒนาการจัดการศึกษา มแี ผนปฏิบัตกิ ารประจำปท ่สี อดคลอง
กับมาตรฐานภารงานบริหาร จึงสงผลใหการพัฒนางานตามมาตฐานตำแหนงในขอนี้บรรลุเปาหมาย รอยละ ๘๕
มผี ลการประเมนิ ตนเองในระดบั 4
4. ดา นการบริหารงานชุมชนและเครอื ขา ย
ขาพเจา มีการประสานความรวมมือกับผูปกครองและชุมชน เพื่อใชเครือขายในการระดม
ทรัพยากรและความรวมมือภายนอกสถานศึกษา ทำใหโรงเรียนกันทรวิชัยไดรับประโยชนจากเครือขายความ
รวมมือ และขาพเจาไดแกปญหาของสถานศึกษาโดยใชเครือขายการทำงาน ผลการแกปญหาสงผลลัพธที่ดีตอ
โรงเรยี น ขาพเจามีการดำเนินงานดานการบรหิ ารงานชมุ ชนและเครอื ขาย ดงั น้ี
4.1 การสรางและพัฒนาเครือขายเพ่ือพัฒนาการเรยี นรู ขาพเจาไดร เิ ริ่ม พฒั นา สรางความ
รวมมืออยางสรางสรรคกับผูเรียน ครู คณะกรรมการสถานศึกษา ผูปกครอง ผูที่เกี่ยวของ ชุมชน และเครือขาย
เพ่อื พฒั นาการเรียนรูเ สรมิ สรางคณุ ธรรม จริยธรรม ชวยเหลือ และพฒั นาคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคของผูเรยี น
การสรางและพัฒนาเครือขายเพื่อพัฒนาการเรียนรู สรางความสัมพันธกับสถานศึกษาอื่นในการ
ขยายผลการบรหิ ารจัดการศึกษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มผี ลการดำเนนิ งาน ดังนี้
๑) มีเครือขายในการจัดการเรียนรู การบริหารจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงกับโรงเรียนเครือขาย โรงเรียนศูนยก ารเรยี นรู มหาวิทยาลัย กลุมโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
ในจงั หวดั มหาสารคามและมูลนธิ ิยวุ สถิรคุณ
๒) ผูบริหาร ครู นักเรียน รวมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูในการนำเสนอผลการดำเนินงานในแตละ
บทบาท หนาท่ี
๓) ผูบริหาร ครู นักเรียน เปนวิทยากร ในการเผยแพรผลการดำเนินงานของโรงเรียน
ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได
ดานความสัมพันธกับหนวยงานที่สังกัดหรือหนวยงานภายนอก มีผลการดำเนินงาน ดังนี้
๑) บุคลากรในโรงเรียนเกิดความตระหนัก ศรัทธาและเห็นคุณคาของหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งนำมาใชกับตนเองจนเกิดผล
๒) มีเครือขายความรวมมือในการบริหารจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและไดรบั การยอบรบั จากหนว ยงานอ่ืน

21
๓) เกิดความรวมมือกับชุมชน หนวยงานภายนอกจากการบริหารจัดการศึกษาตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจนประสบผลสำเร็จเปนที่ประจักษ เชน ตลาดนัดคนพอเพียง ๑ หองเรียน ๑
นวตั กรรมพอเพยี ง ทกุ ป งานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน ลกู เสือ โปงลาง และกิจกรรมดา นทักษะอาชีพ จึงสงผลให
การพัฒนางานตามมาตฐานตำแหนงในขอนี้บรรลุเปาหมาย รอยละ ๘๕ มีผลการประเมินตนเองในระดบั 4
4.2 การจัดระบบการใหบริหารในสถานศึกษา ขาพเจาไดมีการจัดระบบการใหบริการใน
สถานศึกษา โดยริเริ่มพัฒนา ประสานความรวมมือกับชุมชน และเครือขาย ในการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
ใหบริการดานวิชาการแกชุมชนและงานจิตอาสาเพื่อสรางเครือขายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาใหแกผูเรียน
สถานศึกษา และชุมชน และเสรมิ สรางวฒั นธรรมทองถน่ิ จึงสง ผลใหก ารพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหนงในขอน้ี
บรรลเุ ปาหมาย รอยละ ๘๕ มีผลการประเมนิ ตนเองในระดับ 4

“โครงการ ตลาดนดั คนพอเพียง ๑
หองเรยี น ๑ นวตั กรรมพอเพียง”

รว มบรจิ าคสงิ่ ของใหศ นู ยพักคอย รว มปลกู ตนไมในวนั ตนไมแหง ชาติ
อำเภอกนั ทรวิชัย อำเภอกนั ทรวชิ ัย

22
5. ดานการพฒั นาตนเองและวิชาชีพ

ขาพเจาไดต ระหนกั และใหความสำคัญตอ การพัฒนาตนเอง มีความมงุ ม่ัน กระตือรือรนในการเรียนรู มี
การวิเคราะหตนเองทั้งจุดเดน/จุดที่ควรพัฒนา เพื่อวางแผนพัฒนาตนเอง เลือกวิธีการพัฒนาตนเองอยาง
หลากหลาย และไดนำผลการพัฒนามาประยุกตใชในการบริหารโรงเรยี น การเรยี นการสอนและการปฏิบัติงาน ใส
ใจศกึ ษา คน ควา รเิ ริ่มสรางสรรคค วามรใู หมต อ วชิ าชพี อยูเสมอ ไดพ ฒั นาตนเองอยา งสม่ำเสมอ โดยศกึ ษาตอระดับ
ปริญญาโทและปริญญาเอกดวยงบประมาณสวนตัวเพื่อพัฒนาตนเองและปรับวุฒิการศึกษาอยางตอเนื่อง
นอกจากนี้ไดเขารับการพัฒนาตนเองในโอกาสที่มีอยางตอเนื่อง รวมการอบรมสัมมนา เชิงปฏิบัติการทั้งภายใน
และนอกสถานศกึ ษา คนควาหาความรูใ หมดว ยตนเองทางสื่ออินเตอรเน็ต โดยมเี กยี รตบิ ัตรผา นการอบรมมากมาย
ตอ เนอ่ื งทุกป เอกสารอา งองิ การพัฒนาตนเองตาม QR CODE

การพฒั นาตนเอง

ผลงานและนวัตกรรม

ผลงานและ
นวัตกรรมทไี่ ดร ับ
ซงึ่ เปนสืบเนื่อง
จากการพัฒนา

ตนเอง

ขาพเจานำความรทู ี่ไดจากการพัฒนาตนเอง มาใช ดงั น้ี
- การสงเสริม สนับสนุน พัฒนาครูใหมีทักษะการจัดการเรียนรูที่หลากหลาย ตอบสนองผูเรียนเปน
รายบุคคล สรางสรรคนวัตกรรม งานวิจัย และใชเทคโนโลยีดิจิทัลเปนฐานในกระบวนการจัดการเรียนรู สามารถ
พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 บูรณาการองคความรู STEM
EDUCATION สงเสริมชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพครู (PLC) สงเสริมใหครูไดรับการพัฒนาตนเองใหมี
สมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ พัฒนาวิทยฐานะใหครูไดรับความกาวหนาในวิชาชีพ และเสริมสรางปลูกจิต
วิญญาณความเปนครู ดำเนินชีวิตบนพื้นฐานของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและนอมนำสูกระบวนการ
จัดการเรียนรู สงผลใหครู มีความรูความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหมีคุณภาพ และยังไดรับ
รางวัลเชิดชูเกียรติทั้งในระดับชาติและระดับภูมิภาคจากการเขารวมแขงขันกิจกรรมวิชาการมากมาย เชน นาย

23
สมบัติ โพธิ์หลา ไดรับรางวัลโครงการคนดีศรีมหาสารคาม ประจำป พ.ศ. ๒๕๖๔ ประเภทครูดีเดน ระดับยอด
เย่ยี ม จากสำนกั งานสงเสริมสวัสดกิ ารและสวัสดภิ าพครูและบุคลากรทางการศึกษาจังหวดั มหาสารคาม นางย้ิมระ
มยั ผาใต ไดรับรางวลั ชนะเลิศ ครูผสู อนยอดเยยี่ ม การจดั การเรียนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง ดานการ
ใชเทคโนโลยีสงเสรมิ การจัดการเรียนรู โครงการพัฒนาการจัดการเรยี นรูท้ังระบบสกู ารยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
และเตรียมผูเรยี นใหมที ักษะที่จำเปน สำหรบั คนศตวรรษท่ี ๒๑ ประจำปก ารศึกษา ๒๕๖๔

ผลงานและนวัตกรรมทคี่ รไู ดร ับ ซ่ึงเปนสืบเนอื่ งผลจากการพฒั นาตนเองไปใชใน
การพัฒนาการบริหารจัดการสถานศกึ ษา

- การสง เสริม พฒั นาโรงเรยี น และผูเรยี น ซ่งึ ถอื เปน หัวใจหลกั ของการจัดการศึกษา นกั เรยี นจึงมี
ความสำคัญที่สุด การจัด กิจกรรมการเรียนการสอนตองเพื่อใหนักเรียนไดรับการพัฒนาอยางเต็มศักยภาพ ตาม
ความรู ความสนใจ และความถนัดของแตละคน จึงตองจัดกิจกรรมสงเสริมอยางหลากหลาย การสงเสริมการจัด
กิจกรรมการเรยี นการสอนใหน กั เรียนมีคุณภาพ ดำเนนิ การ ดงั น้ี

1) จดั กจิ กรรมพัฒนาศักยภาพนกั เรียนในกลุมสาระการเรียนรูต าง ๆ
2) จดั กิจกรรมพฒั นาคุณภาพชวี ติ ตามนโยบายคณุ ธรรมนําความรู สูเศรษฐกิจพอเพียง
3) จดั กจิ กรรมสรางเสริมความเปน ประชาธิปไตย มีคณุ ธรรมจริยธรรม
4) พัฒนาระบบดูแลชว ยเหลอื นักเรียนใหมีประสทิ ธิภาพมากข้นึ
๕) การพฒั นาแหลง เรยี นรูใ นโรงเรียน
โรงเรียนกำหนดเปนอีกหนึ่งภารกิจหลักที่จะพัฒนาบรรยากาศทางกายภาพ ที่เอื้อตอการจัดการ
เรยี นรูตาง ๆ โดยยดึ หลกั ทีว่ าบรรยากาศทางกายภาพที่ดจี ะสงผลใหท้ังผเู รียนและผูสอนมีความสุข ซึง่ สง ผลโดยตรง
กับผลสำเร็จในการจัดกิจกรรมตาง ๆ ในการที่จะพัฒนาคุณภาพนักเรียน โดยการปรับปรุง พัฒนาอาคารสถานท่ี
และ สิ่งแวดลอม การพัฒนาภูมิทัศนตาง ๆ ใหส ะอาดรมรนื่ สวยงามนาดู นา อยู นาเรยี น และการสรางแหลงเรียนรู
ทั้งดาน เทคโนโลยสี มัยใหมแ ละภมู ิปญญาทองถ่นิ
จึงสงผลใหการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหนงในขอนี้บรรลุเปาหมาย รอยละ ๘๕ มีผลการ
ประเมินตนเองในระดบั 4

24

วารสารประชาสมั พันธ โรงเรียนกนั ทรวิชัย

http://kantara.ac.th/?option=news&id=5

ประมวลภาพกิจกรรมโรงเรยี น

ผลงานและนวัตกรรมซึง่ เปน สืบเนอื่ ง
ผลจากการพัฒนาตนเองไปใชในการ
พัฒนาการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา

25

พัฒนาบรรยากาศทางกายภาพ ทีเ่ ออ้ื ตอการจัดการเรยี นรู

สว นท่ี 2 ขอตกลงในการพฒั นางานทเ่ี ปน ประเด็นทาทายในการพฒั นาคณุ ภาพผูเรยี น ครู และสถานศกึ ษา
ประเด็นทท่ี า ทายในการพัฒนาคณุ ภาพผเู รยี น ครู และสถานศกึ ษาของผูจ ัดทำขอ ตกลงซ่ึงปจ จบุ นั ดำรง

ตำแหนงผูบรหิ ารสถานศึกษา วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ ตองแสดงใหเห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของวิทย
ฐานะชำนาญการพิเศษ คือ การริเริ่ม พัฒนา การพัฒนาการบริหารจัดการสถานศกึ ษาและคุณภาพการศึกษาของ
สถานศกึ ษา ใหเ กิดการเปล่ยี นแปลงในทางที่ดขี ้ึนหรอื มีพัฒนาการมากขึ้น

ประเด็นทาทาย เรื่อง การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนสุขภาวะ ดวยกระบวนการชุมชนการเรียนรู
ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community: PLC) เพือ่ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นกนั ทรวิชยั

1. สภาพปญหาการบริหารจัดการสถานศึกษาและคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา
แนวคิดการพัฒนาสุขภาวะโดยใชฐานโรงเรียนนั้นถือวาเปนยุทธศาสตรที่มีความสำคัญอยางยิ่ง

เพราะประชากรประเทศที่เปนเยาวชนในวัยเรียนแทบจะทั้งหมดอยูในระบบโรงเรียน การปลูกฝงเรื่องสุขภาวะให
เกิดขึ้นกับผูเรยี น ถือวาเปนโอกาสที่ดีอยางยิ่งทีไ่ ดจะหลอหลอมเยาวชนของประเทศใหเปนบุคคลที่มีสุขภาวะเมอื่
เติบโตขึ้น ดังนั้น จึงจำเปนตองมีการพัฒนาในโรงเรียนและเครือขายครูในการเสริมสรางศักยภาพและพัฒนา
โรงเรยี นใหส ามารถบริหารจัดการและจดั กระบวนการเรียนรูทีส่ รางสุขภาวะแกผเู รยี นใหมากยิ่งข้ึน จนสามารถเปน
มวลท่ีมพี ลังการขบั เคลื่อนการพัฒนาใหเ ปน กระแสหลกั ไดในอนาคต

26
โรงเรียนเปนองคกรยุทธศาสตรในการพัฒนาเด็กและเยาวชนของประเทศใหมีคุณลักษณะตามท่ี
สงั คมคาดหวัง ซึ่งกระบวนการเสรมิ สรา งคุณลักษณะผูเรียนท่ีผานมาของโรงเรยี นน้ันมีทัง้ การจดั กระบวนการตาม
หลกั สตู รในแตล ะระดบั การศึกษาท่ีเปน บทบาทหนาทขี่ องโรงเรียนเอง และการสนับสนุนในลกั ษณะโครงการตางๆ
จากหนวยงานตนสังกัดหรือองคกรตางๆ ภายนอก โดยมุงใหเกิดการพัฒนาระบบการจัดการและกระบวนการ
เรียนรูในโรงเรียน ซึ่งตางมีเจตนารมณที่ดีในการพัฒนาเด็กและเยาวชนรวมกันเพียงแตมีเปาหมายหรือจุดเนนใน
การพฒั นาแตกตางกนั ไปตามกรอบภารกจิ และเปา หมายขององคกรนัน้ ๆ
โรงเรียนจึงตอ งจดั การเรียนการสอนโดยมีเปาหมายเพ่ือสรางเสริมให “ผเู รยี นเปนสขุ ”โดยการปรับ
สภาพเพื่อลดปจจัยเสี่ยงเพิ่มพฤติกรรมสุขภาพ จัดโครงสรางและระบบตางๆใหโรงเรียนสภาพแวดลอมครอบครัว
และชุมชนเปนพื้นที่ปลอดภัยและสงเสริมสุขภาวะของผูเรียนทั้งดานกาย ใจ สังคม และปญญา เพื่อใหผูเรียนมี
ทักษะที่จำเปนตอการรับการเปลี่ยนแปลงสูโลกยุคเทคโนโลยดีจิติอลตอไป จึงมีการขับเคลื่อนนโยบาย “การ
จัดการศึกษาโรงเรียนสุขภาวะ ดวยกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning
Community: PLC) เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนกันทรวิชัย สูการปฏิบัติจริงในสถานศึกษา อยางเปน
ระบบและตอ เนอื่ ง
2. วิธกี ารดำเนินการใหบ รรลุผล
2.1 ศกึ ษาสภาพปจจุบนั และสภาพทีพ่ ึงประสงคและวธิ กี ารพฒั นาสถานศึกษาดวยกระบวนการ
ชมุ ชนการเรียนรทู างวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) โรงเรยี นกันทรวิชัย เพ่อื การพัฒนา
คณุ ภาพการศึกษา
๒.๒ ศึกษาเอกสาร ตำรา งานวจิ ยั ท่เี ก่ยี วของ
2.๓ สรา งแนวทางการจัดการศกึ ษาโรงเรยี นสขุ ภาวะ ดว ยกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรทู างวิชาชีพ
(Professional Learning Community: PLC) เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
2.๕ ทดลองใชแ นวทางการบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนสขุ ภาวะ ดวยกระบวนการชุมชนการเรียนรู
ทางวิชาชพี (Professional Learning Community: PLC) เพอ่ื พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนกนั ทรวชิ ยั
2.๖ ประเมนิ ผลแนวทางการบรหิ ารจดั การศึกษาโรงเรียนสขุ ภาวะ ดวยกระบวนการชมุ ชนการเรียนรู
ทางวิชาชพี (Professional Learning Community: PLC) เพือ่ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นกันทรวชิ ัย

27
กรอบแนวคิดในการพัฒนาการบริหารจัดการโรงเรียนสุขภาวะ ดว ยกระบวนการชมุ ชนการเรียนรู
ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) เพอ่ื พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นกันทรวชิ ัย

28
3. ผลลัพธการพัฒนา
3.1 เชงิ ปรมิ าณ
๑. นักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที่ 3 มีคะแนนเฉลยี่ ในการสอบ O-NET ของปก ารศกึ ษา 2563
= 34.17 ปการศึกษา 2564 = 36.85 ซ่ึงสงู ขน้ึ = + 2.68
๒. นักเรียนโรงเรียนกันทรวิชัยทกุ คนไดรับการพฒั นาในทกุ ดา นอยา งสมดุล
๓. โรงเรยี นกนั ทรวชิ ัย ไดรับการรบั รองการประกันคุณภาพภายนอก (พ.ศ.2564-2568) จาก
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา (องคการมหาชน) ระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

โรงเรยี นกันทรวชิ ัยไดร บั การประกันคณุ ภาพภายนอก (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๘) จาก สมศ.

29

๒. ครูมีนวตั กรรมในการพฒั นาการจัดการเรียนการสอน รอยละ ๘๕

สง เสริมใหครพู ัฒนาและนำส่ือเทคโนโลยีทีท่ นั สมัยมาใชใ นการจดั การเรียนรู

30
สง เสรมิ ใหครพู ัฒนาและนำส่ือเทคโนโลยีท่ีทนั สมัยมาใชใ นการจัดการเรยี นรู

31

3.2 เชงิ คณุ ภาพ
๑. โรงเรียนกนั ทรวชิ ัย ไดแนวทางการบรหิ ารจัดการศกึ ษาโรงเรยี นสขุ ภาวะ ดวยกระบวนการชมุ ชน
การเรียนรูท างวชิ าชีพ (Professional Learning Community: PLC) เพอ่ื พฒั นาคุณภาพการศึกษา
๒. โรงเรยี นเปน "สถานศกึ ษาเปนชมุ ชนแหงการเรียนรูทางวิชาชพี " (School for Professional

Learning Community : SPLC) คมู ือการขับเคลอ่ื นกระบวนการPLC

(Professional Learning Community)

ผลความสำเรจ็ “ชมุ ชนการเรียนรทู างวิชาชีพ” สสู ถานศกึ ษา

โรงเรยี นกันทรวชิ ยั

๑. ผลที่เกิดกับผูเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสำคัญ มีการใหนักเรียนได

ฝกการปฏิบัติจริง เพื่อใหนักเรียนไดมีทักษะตางๆ ตลอดจนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมที่ดีงาม ความมีวินัยใน

ตนเอง สงผลใหผูเรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีวินัยในตนเอง มีสัมมาคารวะมีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย มี

ความสามารถในการใชภาษาในการสื่อสาร และเทคโนโลยีดิจิตลั รวมทั้งมีจินตนาการและความคิดสรางสรรค ซึ่ง

เปนสิ่งที่ผูเรียนสามารถนำความรูความเขาใจและทักษะไปบูรณาการและประยุกตใชในชีวิตประจำวันเปนการ

เพิ่มพนู สมรรถนะตนเองใหมากขน้ึ และสงผลใหการใชชวี ติ ภายหนา บนพ้ืนฐานคณุ ธรรม นำความรู บนวถิ ีชีวิตและ

ความพอเพียง ตลอดจนการอยรู วมกันในสงั คมไดอ ยา งมีความสขุ

๒. ผลที่เกิดกับครูผูสอน ไดดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหกับนักเรียน โดยรวมกับคณะครูจัดทำ

หลักสูตร สถานศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน วิเคราะหหลักสูตร จัดทำแผนการจัดเรียนรู และนำแผนการจัดการเรียนรู

ไปใชใ นการจัดประสบการณใหกับนักเรียน มกี ารวัดผลประเมนิ ผลตามสภาพจริง โดยใชแ ฟมสะสมผลงาน ชิ้นงาน

แบบฝก โดยการวัดผล ประเมินผลดังกลาวครอบคลุมทุกๆ ดาน ไดแก ดานความรู การปฏิบัติ กระบวนการและ

คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค

๓. ผลที่เกิดกับสถานศึกษา จากการที่สถานศึกษามีแผนกลยุทธในการพัฒนามีเปาหมาย

มที ิศทางในการดำเนนิ งาน เพือ่ พัฒนาสถานศกึ ษา นกั เรียน โดยมีการจดั กิจกรรม โครงการตาง ๆ อยางเปน รปู ธรรม

ซึ่งนักเรยี นและครมู ีสวนรวมในการปฏบิ ตั ิกิจกรรม ทำใหผลการดำเนินงานเปนทย่ี อมรบั ของผปู กครอง ชมุ ชน ทอ งถิ่น

๔. ผลที่เกิดกับชุมชน สถานศึกษามีสวนรวมกับชุมชน ในกิจกรรมตางๆตลอดปการศึกษา โดยเฉพาะ

กิจกรรม ที่เกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณี และพิธีกรรมทางศาสนา เชน ประเพณีแหเทียนเขาพรรษา ประเพณีลอย

กระทง ประเพณสี งกรานต การทอดผา ปา ทอดกฐิน เปนตน ตลอดจนกิจกรรม ที่เปน ประโยชน กจิ กรรมวันสำคัญ

ไดแ ก กิจกรรมวนั แม กิจกรรมสง เสรมิ ภูมปิ ญ ญาทองถ่นิ จนทำใหเกดิ ความรว มมือ ความเขาใจทดี่ ตี อกนั เกิดความ

รักและความภาคภูมิใจในโรงเรยี น และทองถิ่น นอกจากนี้โรงเรียนยังไดจดั กิจกรรมการประชุมผูปกครอง ประชุม

คณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานในแตละภาคเรียนเพื่อชี้แจงนโยบายของโรงเรียนและเพื่อหาแนวทางใน การ

รวมพัฒนาโรงเรียนทัง้ พัฒนาอาคารสถานท่แี ละพฒั นาทางวิชาการใหเ ปน ไปในทางทิศทาง เดียวกนั

32
สถานศกึ ษาเปนชุมชนแหง การเรยี นรทู างวชิ าชพี

33
สถานศกึ ษาเปนชุมชนแหง การเรยี นรทู างวชิ าชพี

34
สถานศกึ ษาเปนชุมชนแหง การเรยี นรทู างวชิ าชพี

35
สถานศกึ ษาเปนชุมชนแหง การเรยี นรทู างวชิ าชพี

36
สถานศกึ ษาเปนชุมชนแหง การเรยี นรทู างวชิ าชพี

37
การสงเสรมิ ใหน กั เรียนมี
ความสามารถดา นศิลปะ

ดนตรี ดวยกจิ กรรม
KC MUSIC FESTIVAL
วงโปงลางลกู พระกนั ทรวชิ ัย

สงเสริมและพัฒนาผเู รยี น ใหผ ูเรยี นมสี มรรถนะ และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค

38
การจัดกจิ กรรมพัฒนาผเู รยี นที่สง เสรมิ การเรียนรตู ามกลมุ สาระการเรียนรูตา ง ๆ อยางเต็มศักยภาพ

39
ผลการจัดกจิ กรรมพัฒนาผเู รยี นท่ีสง เสรมิ การเรยี นรตู ามกลมุ สาระการเรียนรตู าง ๆ อยางเต็มศักยภาพ

40
โรงเรียนกนั ทรวิชยั จดั สภาพแวดลอมและภูมิทัศนทร่ี มรนื่ สวยงามเอ้ือตอการเรยี นรแู ละเปนแหลง เรียนรู

41

ขอรับรองวา ขอมูลดงั กลาวขา งตนเปนความจริง
ลงชอื่ ..................................................
(นายสำอางค จนั ทนนตรี)
ตำแหนง ผูอำนวยการโรงเรียนกันทรวิชัย
ผรู ายงานขอ ตกลงในการพฒั นางาน

รำยงำนผลกำรพฒั นำงำนตำมขอ้ ตกลงในกำรพฒั นำงำน (PA)

ของขำ้ รำชกำรครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ

ตำแหนง่ ผบู้ รหิ ำรสถำนศกึ ษำ วทิ ยฐำนะชำนำญกำรพเิ ศษ
ประจำปงี บประมำณ พ.ศ ๒๕๖๕

ระหวำ่ งวนั ท่ี ๑ เดือน ตุลำคม พ.ศ .๒๕๖๔ ถึงวนั ที่ ๓๐ เดือน กนั ยำยน พ.ศ ๒๕๖๕

นำยสำอำงค์ จันทนนตรี
ผู้อำนวยกำรโรงเรยี นกนั ทรวชิ ยั


Click to View FlipBook Version