The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือขับเคลื่อนPLCดงใหญ่-

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aim ma, 2020-07-16 10:46:17

คู่มือขับเคลื่อนPLCดงใหญ่

คู่มือขับเคลื่อนPLCดงใหญ่-

แบบรายงาน

การสราง
“ชุมชนการเรียนรูทางวชิ าชีพ” สูสถานศึกษา

PLC (Professional Learning Community)

โรงเรียนดงใหญวทิ ยาคม รชั มังคลาภเิ ษก

สํานักเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 26
สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คํานาํ

การเปลี่ยนแปลงในยุคศตวรรษท่ี 21 สงผลตอวิถีชีวีติของคนในสังคม ระบบการศึกษาจึงจําเปนตอง
พัฒนา ตอบสนองตอการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนนี้ดวย เดิมการศึกษามุงเนนใหผูเรียนมีทักษะเพียงอานออก
เขียนไดเทา นนั้ แตสําหรับในศตวรรษที่ 21 ตองมุงเนนใหผูเรียนเกิดการปฏิบัติ และการสรางแรงบันดาลใจไป
พรอมกัน กลาวคือจะไมเปนเพียงผูรับ (Passive Learning) อีกตอไป แตผูเรียนตองฝกการเรียนรูจากการลง
มือปฏิบัติและการแสวงหาความรูดวยตนเอง (Active Learning) โดยมีครูเปน “โคช” ท่ีคอยออกแบบการ
เรยี นรู เพื่อชวยผูเรียนใหบ รรลผุ ลได ประการสําคัญ คอื ครใู นศตวรรษที่ 21 จะตองไมต้ังตนเปน “ผูรู” แตตอง
แสวงหาความรไู ปพรอมๆ กันกบั ผเู รยี นในขณะเดียวกัน ดงั นั้นการเรยี นรูในศตวรรษที่ 21 ตองกาวขาม “สาระ
วิชา” ไปสูการเรียนรู “ทักษะแหงศตวรรษที่ 21” (21st Century Skills) ซึ่งครูจะเปนผูสอนไมไดแตตองให
นักเรียนเปนผูเรียนรูดวยตนเอง โดยครูจะออกแบบการเรียนรูฝกฝนใหตนเองเปนโคช(Coach) และอํานวย
ความสะดวก (Facilitator) ในการเรียนรูแบบใชปญหาเปนฐาน (Problem-Based Learning : PBL) ของ
นักเรียนสิ่งที่เปนตัวชวยของครูในการจัดการเรียนรูคือชุมชนการเรียนรูครูเพ่ือศิษย (Professional Learning
Communities : PLC) ซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันของครูเพ่ือแลกเปลี่ยนประสบการณการทําหนาท่ีของครู
แตละคนนัน่ เอง

คมู อื คูม ือการขบั เคลื่อน“ชมุ ชนการเรยี นรูทางวชิ าชพี ” สูส ถานศึกษา PLC (Professional Learning
Community) ระดบั สถานศึกษามวี ัตถปุ ระสงคส าํ คัญ เพื่อใหผ ูเ ขา รับการพัฒนาไดรับทราบนโยบายของ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรือ่ งการขบั เคลื่อน PLC สูสถานศึกษารับรกู ารขับเคล่อื นกระบวนการ PLC และนําสกู าร
ปฏิบตั ิในสถานศกึ ษาไดอ ยา งมีประสิทธภิ าพ

ขอขอบคุณคณะทํางานท่ีไดออกแบบการนํากระบวนการ PLC ไปใชในสถานศึกษาไว ณ โอกาสน้ี
และหวังวา เอกสารน้คี งเปน ประโยชนอ ยางยง่ิ ตอการศกึ ษา

โรงเรยี นดงใหญวิทยาคม รัชมงั คลาภเิ ษก

สารบญั หนา

เรื่อง ก

คาํ นํา 1
สารบัญ 1
สว นที่ 1 3
4
ความเปนมาและความสาํ คัญ 5
วัตถุประสงค 5
บทบาทของคณะครู 14
สว นท่ี 2 14
กระบวนการชุมชนการเรยี นรทู างวิชาชพี PLC สูสถานศกึ ษา 14
สว นที่ 3 16
การขบั เคลอ่ื นกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) 18
ระดบั สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน 20
ระดับสาํ นกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษา 21
ระดับสถานศึกษา 26
ภาคผนวก 31
ภาคผนวก ก แบบฟอรมในการขับเคลอื่ น PLC ในสถานศกึ ษา
ภาคผนวก ข แบบติดตามการขับเคล่ือนระดบั สถานศึกษา
ภาคผนวก ค คณะทาํ งานขบั เคลอื่ นกระบวนการPLC

สว นที่ 1
บทนาํ

ความเปนมาและความสําคัญ
ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community) เปนกระบวนการสราง

การเปลี่ยนแปลงโดยเรียนรูจากการปฏิบัติงานของกลุมบุคคลที่มารวมตัวกันเพ่ือทํางานรวมกันและสนับสนุน
ซง่ึ กนั และกนั โดยมวี ัตถุประสงคเพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน รวมกันวางเปาหมายการเรียนรูของผูเรียน
และตรวจสอบ สะทอนผลการปฏิบตั งิ านท้งั ในสวนบคุ คลและผลที่เกิดข้ึนโดยรวมผานกระบวนการแลกเปล่ียน
เรียนรู การวิพากษวิจารณ การทํางานรวมกัน การรวมมือรวมพลัง โดยมุงเนนและสงเสริมกระบวนการ
เรียนรูอยางเปนองครวม โดยมีการดําเนินการอยางนอย 5 ประการ ดังน้ี 1) มีเปาหมายรวมกันในการ
จัดการเรียนรู/การพัฒนาผูเรียนใหพัฒนาอยางเต็มศักยภาพ 2) มีการแลกเปล่ียนเรียนรูจากหนางาน/
สถานการณจริงของช้ันเรียน 3) ทุกฝายเก่ียวของรวมเรียนรูและรวมพลัง/หนุนเสริมใหเกิดการสรางความ
เปลี่ยนแปลงตามเปาหมาย 4) มีการวิพากย สะทอนผลการทํางานพัฒนาผูเรียน และ 5) มีการสราง
HOPE ใหทีมงาน อันประกอบดวย (1) honesty & humanity เปนการยึดขอมูลจริงที่เกิดขึ้นและใหการ
เคารพกนั อยา งจริงใจ (2) option & openness เปนการเลือกสรรส่งิ ที่ดีทสี่ ุดใหผูเรียนและพรอมเปดเผย/
เปดใจเรียนรูจากผูอ่ืน (3) patience & persistence เปนการพัฒนาความอดทนและความมุงมั่นทุมเทพ
ยายยามจนเกดิ ผลชดั เจน (4) efficacy & enthusiasm เปน การสรา งความเช่ือม่ันในผลของวิธีการจัดการ
เรียนรูท่ีเหมาะสมกับผูเรียนวาจะทําใหผูเรียนเรียนรู และกระตือรือรนที่จะพัฒนาตนเองอยางเต็มที่ (เรวดี
ชยั เชาวรัตน, 2558)

คุณลกั ษณะสําคัญท่ีทําใหเกิดชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ โรงเรียนใดมี PLC น้ันนอกจากจะตอง
ประกอบดวยสมาชิกซึ่งเปนกลุมบุคคลดังที่กลาวไปแลวนั้น การรวมตัวกันของสมาชิกชุมชนการเรียนรูทาง
วิชาชีพยังตองประกอบดวยคุณลักษณะสําคัญ โดยมีการกลาวถึงคุณลักษณะสําคัญที่จะทําใหเกิด PLC ไว
อยางหลากหลาย อยางไรก็ตามสามารถสรุปคุณลักษณะสําคัญท่ีทําใหเกิด PLC ได 5 ประการ คือ
1) การมีบรรทัดฐานและคานิยมรวมกัน (Shared values and vision) 2) การรวมกันรับผิดชอบตอการ
เรียนรูของนักเรียน (Collective responsibility for students learning) 3) การสืบสอบเพ่ือสะทอน
ผลเชิงวิชาชีพ (Reflective professional inquiry) 4) การรวมมือรวมพลัง (Collaboration) และ 5)
การสนับสนุนการจัดลําดับโครงสรางและความสัมพันธของบุคลากร (Supportive conditions structural
arrangements and collegial relationships) (Hord, Roussin & Sommers, 2009)

นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ไดมอบนโยบายใหกับ
คณะกรรมการดําเนินงานในการประชุมเชิงปฏิบัติการเตรียมการอบรม “PLC (Professional Learning
Community) ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ” ในวันท่ี 2 มีนาคม 2560 วา “ขณะน้ีกระทรวงศึกษาธิการ
มีแนวทางสงเสริมใหมีการอบรม PLC (Professional Learning Community) หรือ "ชุมชนการเรียนรู

PLC-โรงเรียนดงใหญ่วิทยาคม รัชมงั คลาภิเษก 1

ทางวิชาชีพ" ใหกับครูและผูบริหารสถานศึกษาท่ัวประเทศ ซ่ึงแนวคิดของการอบรม PLC คือ การนําคน
มาอยูรวมกัน เกดิ การเรียนรูและแบง ปนความรูกันระหวา งผเู ขา รว มอบรม จนกระทัง่ เกิดการสะทอนความคิด
ในดา นตาง ๆ ที่จะเปน แนวทางการพัฒนาอยางไรก็ตามเพื่อไมใหเปนการเพ่ิมภาระใหกับครูและไมใหเกิดการ
ใชเวลาในการอบรม PLC มากจนกระท่ังครูไมมีเวลาสอนเด็กในช้ันเรียน จึงจะกําหนดใหครูสามารถนํา
ช่ัวโมงการอบรม PLC ไปรวมกับจํานวนช่ัวโมงการสอนหนังสือท่ีจะใชเปนเกณฑในการเล่ือนวิทยฐานะ
ตามหลักเกณฑใ หมท จี่ ะประกาศใชใ นเรว็ ๆ น้ไี ดดว ย นอกจากนี้การอบรม PLC ถือเปนการพัฒนาบุคลากร
โดยเร่ิมจากลางขึ้นบน (Bottom Up) อยางแทจริงแทนท่ีจะสั่งการจากสวนบนลงมา ซึ่งส่ิงสําคัญที่สุดของ
การอบรม PLC อยทู ่กี ารเรียนรู (Learning) กลา วคือ ผูเขาอบรมตองรูวาวันน้ีไดเรียนรูและแบงปนความรู
อะไรบาง และจะทําอยางไรใหความรูจากการอบรมสงผลถึงคุณภาพการศึกษาของเด็ก ไมใชคํานึงถึงวิทย
ฐานะเพียงอยางเดียว แตวิทยฐานะเปนเพียงรางวัลตอบแทนวาครูมีความเกงแคไหน ซึ่งการอบรม PLC
ตอ งมีเกณฑตวั ช้วี ัดท่ีชดั เจน โดยจะมีผูป ระเมนิ การอบรม เชน อาจจะใหศึกษานิเทศกสุมตรวจการจัดอบรม
ตามหลักสูตรตาง ๆ” ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการยังไดกลาวดวยวา บางคนเปนครูท่ีสอนเกงแต
อาจยังไมม ผี ลงานก็ได อีกทั้งตามกฎหมายท่ีเกี่ยวของกับการบริหารงานบุคคลของ ก.ค.ศ. ก็ไมมีขอใดระบุให
ครูตองจัดทําผลงานทางวิชาการที่มีลักษณะเหมือนวิทยานิพนธเพื่อขอเลื่อนวิทยฐานะ ดังนั้น หากจะ
พิจารณาวา ครูคนใดเกง ก็ตองไปดูวานกั เรยี นเกงไดอ ยางไร ครูจึงจําเปนจะตองมีประสบการณ และมีช่ัวโมง
การสอนที่อยใู นเกณฑทไ่ี ดมาตรฐาน พรอ มกบั มกี ารพฒั นาอบรมดว ยตนเองตามหลักสูตร

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยสํานักพัฒนาครูและบุคลากรการศึกษาข้ัน
พ้นื ฐาน ไดด ําเนินการอบรมปฏบิ ัตกิ ารขับเคลื่อนกระบวนการ PLC (Professional Learning Community)
“ชมุ ชนการเรยี นรทู างวิชาชีพ” สูสถานศกึ ษา สําหรบั ศึกษานเิ ทศก จํานวนท้งั ส้ิน 687 คน ซึง่ ผลการอบรม
นัน้ พบวาศึกษานเิ ทศกสว นใหญม คี วามรูความเขาใจ สามารถนาํ ไปขยายผลใหบุคคลท่ีเกี่ยวของ และสามารถ
ออกแบบการนิเทศ กํากับ ติดตาม สงเสริมสนับสนุนใหผูบริหารสถานศึกษาและครูนํากระบวนการ PLC
(Professional Learning Community) ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ ไปสูการปฏิบัติในสถานศึกษาได
ดังนน้ั เพือ่ ใหก ารขยายผลมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ ลงสสู ถานศึกษาไดอยา งเปนรูปธรรม สํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงขอใหสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาดําเนินการแตงตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อน
กระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรยี นรทู างวิชาชีพ” สูสถานศึกษา
ในระดับสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาขึ้น และใหสงตัวแทนเขตพ้ืนที่การศึกษาละ ๖ คน เขารับการอบรม
เชิงปฏิบัติการขับเคล่ือนกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรียนรู
ทางวชิ าชพี ” สูสถานศึกษา ณ โรงแรมชลพฤกษรีสอรท อําเภอบานนา จังหวัดนครนายก ในระหวางวันท่ี
26 เมษายน - 3 พฤษภาคม พ.ศ.2560 แบง การอบรมเปน ๔ รุน รุนละ ๒ วัน ทั้งนเี้ พื่อใหคณะกรรมการ
ขับเคลื่อนฯ มีความรูความเขาใจ สามารถขยายผลแกบุคคลท่ีมีสวนเก่ียวของในหนวยงาน และรวมกันวาง
แผนการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) ชุมชนการเรียนรูทาง
วิชาชีพ ไปสูการปฏิบัติในสถานศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพและพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยางย่ังยืนตอไป
โรงเรียนดงใหญวิทยาคม รัชมังคลาภิเษก จึงไดนําแผนการขับเคล่ือนกระบวนการ PLC (Professional

PLC-โรงเรียนดงใหญว่ ทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก 2

Learning Community) ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ ไปสูการปฏิบัติในสถานศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาอยางยั่งยืนตอไป

วัตถปุ ระสงค

1. เพ่ือใหคณะครมู ีความรเู ขาใจเก่ียวกับ PLC (Professional Learning Community) ชมุ ชน
การเรียนรทู างวิชาชีพ

2. เพ่ือใหคณะครูสามารถวางแผนการขับเคล่ือนกระบวนการ PLC (Professional Learning
Community) ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ ไปสูการปฏิบัติในสถานศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพและ
ประสทิ ธิผล

บทบาทคณะครู

1. คณะครูแลกเปล่ยี นเรียนรูร วมกัน
2. ฝก ปฏบิ ัตงิ านตามใบงาน
3. นําเสนอผลการปฏิบตั กิ ิจกรรม

กจิ กรรม

1. คณะครูแลกเปลยี่ นเรียนรูรวมกันเกี่ยวกับรูปแบบของ PLC (ชุมชนการเรียนรูท างวชิ าชพี )
2. คณะครูฝก ปฏิบัติ การออกแบบรูปแบบ PLC ในสถานศึกษา การนําเสนอรูปแบบ PLC
3. คณะครูฝกปฏบิ ัติ การวางแผนการขบั เคลอื่ นกระบวนการ PLC สสู ถานศกึ ษา
4. คณะครูแลกเปลยี่ นเรยี นรู และใหขอ เสนอแนะรปู แบบ และการวางแผน PLC สสู ถานศึกษา
5. คณะครูเรียนรูจากกรณศี ึกษา
6. ผบู รหิ ารเติมเต็มความรู และสรปุ กจิ กรรม

สอ่ื และเอกสารประกอบการจดั กิจกรรม

1. วิดที ัศน
2. Power point
3. คลิปวดี โี อ

การวัดและประเมนิ ผล

1. ประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านตามใบงาน
2. ประเมินความคิดเหน็ ตอการจัดอบรม

PLC-โรงเรียนดงใหญ่วิทยาคม รัชมงั คลาภิเษก 3

สว นท่ี 2
กระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวชิ าชีพ PLC สูสถานศึกษา
ทิศทางการศกึ ษาไทยในอนาคต

“พระราชกระแสฯ ดานการศึกษาของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู ัว ร.9”

1. นักเรียน
1.1 “ครูตอ งสอนใหเ ด็กนกั เรียนมนี ้าํ ใจ เชน คนเรียนเกงชว ยตวิ เพื่อนท่เี รียนลา หลังมใิ ชส อนใหเด็ก

คิดแตจะแขงขัน (Compete) กับเพื่อน เพื่อใหคนเกงไดลําดับดี ๆ เชน สอบไดที่หนึ่งของชั้น แตตองใหเด็ก
แขง ขนั กับตนเอง” (11 มิ.ย.55)

1.2 “ครไู มจ ําเปนตองมคี วามรทู างเทคโนโลยมี าก แตตองมุงปลกู ฝงความดใี หนักเรยี น
ชน้ั ตน ตองอบรมบมนสิ ัยใหเปน พลเมอื งดี เด็กโตกต็ องทาํ เชน กนั ” (6 มิ.ย.55)

1.3 “เราตอ งฝกหดั ใหนกั เรียนรจู ักทาํ งานรวมกนั เปนกลมุ เปน หมคู ณะมากข้นึ จะไดมีความ
สามคั ครี ูจ ักดแู ลชวยเหลอื ซง่ึ กันและกนั เอ้ือเฟอเผื่อแผความรูและประสบการณแกกัน”
(5 ก.ค.55)

1.4 “ทาํ เปน ตวั อยางใหน กั เรียนเปนคนดี นักเรียนรกั ครู ครรู ักนกั เรียน” (9 ก.ค.55)
2. ครู

2.1 “เร่ืองครูมคี วามสําคญั ไมน อ ยกวา นกั เรยี น ปญ หาหนึง่ คือ การขาดครู เพราะจาํ นวน
ไมพอและครูยายบอย ดังน้ัน กอนคัดเลือกเด็กที่จะพัฒนาตองพัฒนาครูกอนใหพรอมที่จะสอนเด็กใหไดผล
ตามที่ตองการ จงึ จะตองคัดเลือกครูและพัฒนาครู ตองต้ังฐานะในสังคมของครูใหเหมาะสมและปลูกจิตสํานึก
โดยใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิธีการคือ การใหทุนและอบรม กลาวคือ ตองมีความรูทางวิชาการใน
สาขาที่เหมาะสมท่ีจะสอน ตองอบรมวิธีการสอนใหมีประสิทธิภาพ มีความเปนครูที่แทจริง คือ มีความรัก
ความเมตตาตอเด็ก ควรเปนครูทองที่เพ่ือจะไดมีความผูกพันและคิดท่ีจะพัฒนาทองถิ่นท่ีเกิดของตนไมคิดยาย
ไปยายมา” (11 ม.ิ ย.55)

2.2 “ตอ งปรับปรุงครู...ครูจะอายุ 40-50 ป กต็ อ งเรียนใหม ตอ งปฏวิ ัติครูอยา งจรงิ จัง”
(6 ม.ิ ย.55)

2.3 “ปญหาปจจุบันคือ ครูมุงเขยี นงานวทิ ยานพิ นธ เขยี นตําราสงผูบริหารเพ่ือใหไดตําแหนงและ
เงินเดือนสูงขึ้น แลวบางทีก็ยายไปที่ใหม สวนครูท่ีมุงการสอนหนังสือกลับไมไดอะไรตอบแทน ระบบไม
ยุติธรรม เราตองเปล่ียนระเบียบตรงจดุ น้ี การสอนหนงั สือตองถือวาเปนความดีความชอบ หากคนใดสอนดี ซ่ึง
สว นมาก คอื มีคณุ ภาพและปริมาณ ตองมี reward” (5 ก.ค.55)

2.4 “ครูบางสวนเวลาสอนนักเรียนจะสอนไมหมดแตเก็บไวบางสวน หากนักเรียนตองการรู
ท้ังหมดวิชา ก็ตองเสียเงินไปสมัครเรียนพิเศษกับครูทานน้ันจะเปนการสอนในโรงเรียนหรือสวนตัวก็ตาม” (5
ก.ค.55)

PLC-โรงเรียนดงใหญ่วทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก 4

พระบรมราโชวาท รัชกาลที่ 9 : ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแกนิสิตและนักศึกษาวิทยาลัย
วชิ าการศึกษา วนั พฤหัสบดที ี่ 15 ธนั วาคม 2503

“...ผูท่ีเปนครูอาจารยนั้น ใชวาจะมีแตความรูในทางวิชาการ และในทางการสอนเทาน้ัน ก็หาไม
จะตองรูจักอบรมเด็กทั้งในดา นศลี ธรรมจรรยาและวฒั นธรรมรวมทง้ั ใหมีความสํานึกรับผิดชอบ ในหนาที่ และ
ในฐานะที่จะเปนพลเมืองดีของชาติตอไปขางหนา การใหความรูหรือที่เรียกวาการสอนนั้น ตางกับการอบรม
การสอนคอื การใหค วามรแู กผูเ รียน สว นการอบรมเปน การฝก จิตใจของผูเรยี นใหซึมซาบติดเปนนิสัย ขอใหทาน
ทั้งหลายจงอยาสอนแตอ ยา งเดียว ใหอ บรมใหไดรับความรดู ังกลาวมาแลวดว ย...”

“เราจะใหอะไรกับครู จะดูแลครู/ดูแลนักเรียนไดอยางไร งบประมาณท่ีมีอยูจะใชอยางไรใหคุมคา
ทีส่ ุด”

การ
พัฒนา

ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยถือภารกิจและพืน้ ท่ปี ฏิบัตงิ านเปนฐาน
ดวยระบบ TEPE Online

PLC-โรงเรียนดงใหญ่วิทยาคม รัชมงั คลาภิเษก 5

การพัฒนาครูใหม สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
Model การพฒั นาครูใหม สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน

Professional Learning Community : PLC 6

PLC-โรงเรียนดงใหญ่วทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก

1. ความหมายของ PLC
PLC หมายถงึ การรวมตัว รวมใจ รวมพลัง รวมทาํ และรว มเรียนรรู วมกนั ของครู ผบู ริหาร และนกั การ

ศึกษา บนพื้นฐานวัฒนธรรมความสมั พันธแ บบกลั ยาณมติ ร สูคณุ ภาพการจัดการเรยี นรูท ่ีเนนความสําเรจ็ หรือ
ประสิทธิผลของผเู รียนเปนสําคัญ และความสขุ ของการทํางานรวมกันของสมาชิกในชุมชนย้าํ PLC เปน
เคร่อื งมือในการพฒั นา ไมใช หวั เรอื่ งในการสอน

2. วัตถุประสงคของ PLC
1. เพ่ือเปน เครื่องมือที่ชวยใหก ารแลกเปล่ยี นเรยี นรูมีประสทิ ธิภาพ
2. เพอื่ ใหเกิดการรวมมือ รวมพลงั ของทุกฝายในการพัฒนาการเรียนการสอนสูคณุ ภาพของผูเรยี น
3. เพื่อใหเกดิ การพฒั นาวชิ าชพี ครดู วยการพฒั นาผูเรียน
“PLC ถือวา ทุกคนคอื คนเช่ียวชาญในงานนนั้ จึงเรยี นรรู ว มกนั ได”

ความเชื่อของ PLC
1. ยอมรับวาการสอนและการปฏิบตั งิ านของครู มผี ลตอการเรยี นรขู องผเู รียน
2. ยอมรบั หลักการท่ีวา การเรียนรขู องครู คือการเรยี นรูข องผเู รียน
3. ยอมรับวา ครูมคี วามแตกตา งกนั
4. ยอมรบั วา การสอนบางคร้ังตองอาศยั ความรวมมือ รวมใจ และสัมพนั ธภาพแบบกลั ยาณมติ ร
3. องคประกอบสาํ คัญของ PLC
1. ตองมีวิสัยทัศนรวมกัน หมายถึง มีเปาหมาย ทิศทางเดียวกัน มุงสูการพัฒนาการเรียนการสอน
สูคุณภาพผูเ รยี น
2. รวมแรง รวมใจ และรวมมือ หมายถึง ตองเปดใจ รับฟง เสนอวิธีการ นําสูการปฏิบัติและประเมิน
รวมกัน Open เปด ใจรับและให care และ Share
3. ภาวะผนู าํ รว ม หมายถึง การทาํ PLC ตองมีผูนาํ และผตู ามในการแลกเปลีย่ นเรยี นรู
4. กลั ยาณมิตร หมายถงึ เปน เพอ่ื นรว มวิชาชพี เตมิ เต็มสวนทข่ี าดของแตล ะคน
5. ตอ งปรับเปลีย่ นวัฒนธรรมองคกร หมายถงึ ตองเนนการทาํ งานท่เี ปด โอกาสการทาํ งาน
ทช่ี ว ยเหลือกนั มากกวาการสัง่ การ มชี ั่วโมงพดู คุย
6. การเรยี นรแู ละพัฒนาวิชาชีพ หมายถงึ การเรียนรกู ารปฏบิ ตั งิ านและตรงกบั ภาระงานคือ การสอน
สูคุณภาพผูเรียน
4. PLC มีวิธีการทาํ งาน (กระบวนการ)
1. ตองมกี ารรวมกลุม และกลุมนน้ั ตองมีลักษณะคลายๆกัน เชน

1.1 จดั กลุมครทู ่ีมีลักษณะใกลเ คยี งกัน
- กลุมครูทสี่ อนวชิ า/กลมุ สาระเดียวกันในระดับชนั้ เดียวกนั
- กลุมครูที่สอนวชิ า/กลมุ สาระเดียวกนั ในชว งช้ันเดียวกนั
- กลมุ ครตู ามลกั ษณะงาน

PLC-โรงเรียนดงใหญว่ ทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก 7

1.2 จํานวนสมาชกิ 6-8 คน (ผบู รหิ าร/ศกึ ษานเิ ทศก หมนุ เวียนเขารว ม ทุกกลมุ )
1.3 ระยะเวลา 2-3 ชม.ตอ สปั ดาห ตลอดหนงึ่ ปการศึกษา กาํ หนดเปน ชัว่ โมงชดั เจนจะดีมาก
1.4 จัดช่วั โมงอยูในภาระการสอนของครู/ภาระงาน เพ่ือไมใหครถู ือวา เปน ภาระเพมิ่ ข้ึน
1.5. การจดั PLC โดยใช ICT ในการเขากลุมระหวางการดําเนนิ การ
2. บทบาทของบคุ คลในการทํา PLC
2.1 ผูอ าํ นวยความสะดวก

- รกั ษาระดบั การมสี วนรว มของสมาชิก
- ควบคุมประเด็นการพูดคุย
- ย่วั ยุใหเกดิ การแลกเปลี่ยนเรียนรโู ดยใหท ุกคนแสดงความคิดเห็น
2.2 สมาชิก
- เปดใจรบั ฟง และเสนอความคิดเห็นอยางสรา งสรรค
- รบั แนวทางไปปฏบิ ตั แิ ละนําผลมาเสนอ พรอมตอยอด
2.3 ผูบนั ทกึ
สรปุ ประเดน็ การสนทนาและแนวทางแกป ญหา พรอมบันทึก Logbook
3. กลุมรวมกันคิด “ปญหาการเรยี นรูของนักเรียน”หาปญหาสาํ คัญทสี่ ุด
สง่ิ ท่ตี อ งระวงั คือ การไมชวยกนั คน หาปญ หาท่แี ทจ ริง ผลักปญหาออกจากตวั
4. หาสาเหตุสําคัญท่ีทําใหเกิดปญหา จากนั้นกลุมอภิปรายหาสาเหตุท่ีแทจริง เนน
ไปท่ีการสอนของครูเปนอันดับแรก ท่ีถือวาเปนสาเหตุที่แทจริง เชน นักเรียนอานไมออก เปนปญหาสําคัญรวมกัน
ไมใชสาเหตวุ า พอแมแยกทาง
5. หาแนวทางแกไข “ปญหาการเรียนรูของนักเรียน”ท่ีสําคัญนั้น จะแกไขอยางไรดูสาเหตุของปญหา
แนวทางแกปญหาอาจใชประสบการณของครูท่ีทําใหเกิดความสําเร็จ ผูทรงคุณวุฒิ งานวิจัย หรือแหลงอ่ืนๆ ท่ีมี
การเสนอแนวทางไวแ ลว จากนน้ั สรุปแนวทางการแกป ญ หาสําคัญ 1 เร่ืองหรือ 2 เรอื่ งตามสภาพของโรงเรียน
6. นําแนวทางที่สรุปเพื่อนําไปแกไขปญหา มาชวยกันสรางงาน สรางแผนงาน เลือกการจัดการเรียนรู
แบบใชปญหาเปนฐาน (Problem Based Learning : PBL) โดยมีส่ิงท่ีตองทําตอ คือทําอยางไร ทําเม่ือไร ใช
อยางไร และตรวจสอบการทํางานอยา งไร จะเสนอผลระหวา งทํางานและสรุปผลเมือ่ ไร

PLC-โรงเรียนดงใหญว่ ิทยาคม รัชมงั คลาภิเษก 8

ตัวอยาง วิธีการทาํ งาน (กระบวนการ) PLC
ตวั อยา ง Timeline การจัดการเรียนรูแ บบบูรณาการผา นปญ หา/โครงงาน

PLC-โรงเรียนดงใหญว่ ิทยาคม รัชมงั คลาภิเษก 9

7. นําแผนที่รว มกันคิดไปใชตามกาํ หนดการทํางาน ตอ งนาํ ไปใชอยางจริงจัง และกลาเสนอผลจะสําเรจ็
หรอื ไมก็ตามและพรอ มจะนําไปปรบั ปรุง ตองนาํ ผลมาเสนอตามชว งเวลา ผลงานท่อี าจนําเสนอกันในชองทาง Line
หรอื Facebook หรือรปู แบบอน่ื ๆ

8. นําผลมาสรุปสุดทายวาผลเปนประการใด รวมกันสะทอนผล และปรับปรุงงานใหดีข้ึน ถาผลการ
ทดลองเปนไปตามวัตถุประสงค ก็เผยแพรหรือปรับปรุงใหยิ่งขึ้น ผลไมเปนไปตามวัตถุประสงค
ก็ปรบั ปรุงทดลองใหม

สิง่ สําเรจ็ คือ นวตั กรรม
ทส่ี ําคญั คอื การทาํ งานต้งั แตขั้นแรกถึงขน้ั สุดทาย ตองมีการบันทึก (Logbook) ออกแบบเอง
งา ย สนั้ หนง่ึ หนา กพ็ อ อาจนําเสนอทาง Line หรือ Facebook หรอื รปู แบบอนื่ ๆ

ภาพตลอดแนวของ PLC

PLC-โรงเรียนดงใหญ่วทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก 10

เทคนคิ หรอื เคลด็ ลับ ท่จี ําเปนในการเสรมิ กระบวนการ PLC
1. ทักษะการฟง
2. เรอ่ื งเลาเราพลัง
3. การวเิ คราะหปญหาและแนวทางการแกปญ หา
4. AAR
5. ระดับการพัฒนาของนกั เรียน
6. ICT

(After Action Review : AAR) ทบทวนผลการปฏิบตั ิงาน

รปู แบบการพัฒนานักเรียน ในยคุ ปฏิรปู การเรียนรูสูผ เู รียน

PLC-โรงเรียนดงใหญ่วทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก 11

ปจจัยความสําเรจ็ ของชมุ ชนการเรียนรทู างวิชาชพี :
แนวพระราชดํารขิ องพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช

1. ภูมิสงั คม
2. ระเบดิ จากขางใน
3. การมีสวนรวม
4. ประโยชนสว นรวม
5. องครวม
6. ทาํ ตามลาํ ดบั ขน้ึ
7. ไมตดิ ตาํ รา
8. ประหยดั เรยี นงา ย ไดป ระโยชนสงู สดุ

PLC-โรงเรียนดงใหญว่ ทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก 12

สว นที่ 3
การขบั เคลื่อนกระบวนการ PLC (Professional Learning Community)

สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ไดด ําเนนิ การขบั เคล่อื นกระบวนการ PLC Professional

Learning Community) สสู ถานศึกษา มีขน้ั ตอนการดาํ เนินงาน เปน 3 ระดบั ดงั น้ี
1. ระดับสาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
2. ระดบั สาํ นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา
3. ระดบั สถานศึกษา
โดยมีข้ันตอนการดาํ เนินงาน ตามกจิ กรรมและระยะเวลา ดงั น้ี

1. ระดับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

ขั้นตอน กจิ กรรม ระยะเวลา

1. แตง ต้ังคณะกรรมการขับเคลอ่ื น คณะกรรมการประกอบดว ย

PLC สสู ถานศึกษาระดับ สํานักงาน 1. ผูบรหิ ารระดับสงู

คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน 2. ผทู รงคุณวฒุ ิ

3. สาํ นักพฒั นาครแู ละบคุ ลากรการศึกษาข้นั พื้นฐาน

2. กาํ หนดรูปแบบกระบวนการ PLC 2.1 ประชุมสนทนากลมุ (Focus Group) ผอู าํ นวยการ ระหวา งวนั ที่ 3-5

ของ สํานักงานคณะกรรมการ สถานศึกษา ศกึ ษานิเทศก และครเู พอ่ื ออกแบบสํารวจ กมุ ภาพนั ธ 2560

การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ความตองการพฒั นาตนเองของขา ราชการครู พรอ มท้ัง

ดําเนนิ กิจกรรม PLC

2.2 ประชุมกําหนดรปู แบบกระบวนการ PLC ของ ระหวา งวันท่ี 2-4

สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน โดยการ มีนาคม 2560

สงั เคราะหก ระบวนการ PLC จากนกั วิชาการหนวยงาน

ราชการ และมหาวิทยาลัย

3. ประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร 3.1 ประชมุ เชิงปฏิบตั ิการ การขบั เคล่อื นกระบวนการPLC วันท่ี 28 กมุ ภาพนั ธ

กระบวนการ PLC ใหกบั ผอู ํานวยการสาํ นกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา 2560ระหวางวนั ท่ี

3.2 อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ การขับเคลื่อนกระบวนการPLC สู 31 มีนาคม – 6

สถานศึกษา สาํ หรับศกึ ษานเิ ทศก เมษายน 2560

4. ออกแบบ และวางแผนแนว 4.1 กําหนดบทบาทหนาท่ีคณะกรรมการขับเคลื่อน

ทางการขับเคล่ือนกระบวนการ PLC กระบวนการ PLC ในระดับ สํานักงานคณะกรรมการ

สูสถานศกึ ษา ระดับสํานกั งานเขต การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และ

พืน้ ท่ีการศึกษา สถานศกึ ษา

4.2 กาํ หนดรูปแบบการรายงานผลดว ยระบบ Online

4.3 จัดทําคูมือประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ

คณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สูสถานศึกษา

ระดับสํานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา

PLC-โรงเรียนดงใหญ่วทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก 13

ข้นั ตอน กจิ กรรม ระยะเวลา
5. อบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร
คณะกรรมการขับเคล่ือน อบรมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการขับเคล่ือนกระบวนการ ระหวา งวนั ท่ี 26
กระบวนการ PLC สูสถานศึกษา
ระดับ สํานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษา PLC สูสถานศึกษา ระดับสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เขต เมษายน –3
6. กํากบั ตดิ ตามนเิ ทศและ
ประเมนิ ผลการขบั เคล่อื น ละ 6 คน พฤษภาคม 2560
กระบวนการ PLC
6.1 วางแผนและจัดทําเครื่องมือการติดตามและประเมินผล
7. สรปุ และรายงานผลการ การขับเคลื่อนกระบวนการ PLC
ขับเคลือ่ นกระบวนการ PLC สู 6.2 คณะกรรมการติดตามและประเมินผลระดับสํานักงาน
สถานศกึ ษา ระดบั สาํ นกั งานเขต คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ออกติดตามและ
พน้ื ท่ีการศกึ ษาและสถานศกึ ษา ประเมินผลการขับเคลื่อนกระบวนการPLC ในระดับ
สํานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาและสถานศกึ ษา
8. กิจกรรมแลกเปลย่ี นเรยี นรู ถอด 6.3 คณะกรรมการติดตามและประเมินผลระดับสํานักงาน
บทเรียน และยกยอ งเชิดชเู กียรติ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน สรปุ และรายงานผลการ
การขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู ติดตามการขับเคลื่อนกระบวนการPLC ในระดับสํานักงาน
สถานศึกษา เขตพนื้ ที่การศกึ ษา
6.4 เรงรัด ติดตาม และสนับสนุน สํานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาและสถานศึกษาที่ไมประสบความสําเร็จในการ
ขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สสู ถานศึกษา

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยสํานัก
พัฒนาครูและบุคลากรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สรุปและ
รายงานผลการขับเคล่ือนกระบวนการ PLC สูสถานศึกษา
ระดับสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาเพื่อ
รายงานผเู ก่ยี วขอ ง

8.1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จัด
กจิ กรรมแลกเปลย่ี นเรียนรู (Show & Share) การขบั เคลอ่ื น
กระบวนการ PLC สสู ถานศึกษา
8.2 ยกยองเชิดชูเกียรติสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและ
สถานศึกษา ที่มีกระบวนการดําเนินการที่ดีสามารถเปน
แบบอยา งไดแ ละเผยแพรด ว ยวิธกี ารทีห่ ลากหลาย

PLC-โรงเรียนดงใหญว่ ทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก 14

2. ระดับสํานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา

ขน้ั ตอน กิจกรรม ระยะเวลา
1. แตง ตัง้ คณะกรรมการ คณะกรรมการจํานวนตามความเหมาะสม เมษายน 2560
ขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู 1. ผอู ํานวยการสํานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา
สถานศกึ ษา ระดับเขตพ้ืนท่ี 2. รองผูอํานวยการสาํ นักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา พฤษภาคม 2560
การศึกษา 3. บคุ ลากรกลุมนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผล
พฤษภาคม -
2. กําหนดแผนงานการ การศึกษา กรกฎาคม 2560
ขับเคลอ่ื นกระบวนการ PLC สู 4. บคุ ลากรการกลุมนโยบายและแผน
สถานศกึ ษา 5. บคุ ลากรกลุมบริหารงานบุคคล
6. ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา
3. การขบั เคลื่อนกระบวนการ 7. ครู ฯลฯ
PLC สูการปฏิบัตใิ นสาํ นกั งาน
เขตพื้นทกี่ ารศึกษาและ จัดทําแผนงานการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู
สถานศกึ ษา สถานศึกษา ประกอบดว ย
1. สรา งทมี งาน PLC ระดับกลมุ /เครือขา ย/ศูนย/

สหวทิ ยาเขต ฯลฯ
2 สรา งความรู ความเขา ใจ และแนวทางการ

ปฏิบตั ิใหก บั บุคลากรในสาํ นักงานเขตพน้ื ที่
การศกึ ษาและสถานศกึ ษา
3. สรา งเครือขา ยกบั หนวยงานอ่นื (มหาวทิ ยาลัย
องคกรและหนวยงานตา งๆ)
4. กาํ กบั ติดตาม นเิ ทศและประเมินผล
5. สง เสริม สนบั สนนุ และประสานงาน การ
พฒั นาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

3.1 ขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สูการปฏิบัติใน
สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา
พรอมท้ังบันทึกลงใน Logbook ตามลําดับดังนี้
1) คนหาปญหา 2) หาสาเหตุ 3) แนวทางแกไข
4) ออกแบบกิจกรรมและ 5) นําสูการปฏิบัติและ
สะทอ นผล
3.2 สรุปรายงานผล และจัดกิจกรรมแลกเปล่ียน
เรียนรู

PLC-โรงเรียนดงใหญว่ ทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก 15

ข้นั ตอน กิจกรรม ระยะเวลา
4. กํากับ ติดตามนิเทศและ 4.1 จัดทําแผนและเครื่องมือ กํากับ ติดตาม นิเทศ
ประเมินผล และประเมินผลการขับเคล่ือนกระบวนการ PLC สู
สถานศึกษา
5. สรปุ และรายงานผลการ 4.2 คณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC
ดาํ เนินการขบั เคล่ือน ระดับสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ดําเนินการ
กระบวนการ PLC สู กํากับ ติดตาม นิเทศ และประเมินผลการ
สถานศกึ ษา ขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สูสถานศึกษา ใน
สาํ นักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาและสถานศึกษา
6. กิจกรรมแลกเปลย่ี นเรยี นรู 4.3 เรงรัด ติดตาม และสนับสนุน สถานศึกษาที่ไม
ถอดบทเรียน และยกยองเชิดชู ประสบความสําเร็จในการขับเคลื่อนกระบวนการ
เกียรติการขับเคล่ือน PLC สสู ถานศกึ ษา
กระบวนการ PLC สู
สถานศึกษา 5.1 คณะกรรมการขับเคล่ือนกระบวนการPLC สู
สถานศึกษา ระดับสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
สรุปแล ะรายงานผล ดําเนินการขับเคลื่อน
กระบวนการ PLC สสู ถานศึกษา
5.2 สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษารายงานผลการ
ดําเนินการขับเคล่ือนกระบวนการ PLC สู
สถานศึกษา ตอ สํานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขนั้ พื้นฐานและผทู เี่ ก่ียวขอ ง

6.1 สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา จัดกิจกรรม
แลกเปลี่ยนเรียนรู (Show & Share) การ
ขับเคล่ือนกระบวนการ PLC สูสถานศกึ ษา
6 . 2 ย ก ย อ ง เ ชิ ด ชู เ กี ย ร ติ ส ถ า น ศึ ก ษ า ท่ี มี
กระบวนการดําเนินการท่ีดีสามารถเปนแบบอยาง
ได และเผยแพรดวยวธิ ีการทห่ี ลากหลาย

PLC-โรงเรียนดงใหญ่วทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก 16

3. ระดบั สถานศึกษา

ขัน้ ตอน กิจกรรม ระยะเวลา
1. แตงตั้งคณะกรรมการ คณะกรรมการจาํ นวนตามความเหมาะสม พฤศจิกายน 2561
ขบั เคลื่อนกระบวนการ PLC 1. ผอู ํานวยการสถานศึกษา
ระดบั สถานศึกษา 2. รองผอู ํานวยการสถานศึกษา พฤศจิกายน 2561
3. หวั หนาหมวด / ฝาย
2. กาํ หนดแผนงานการขับเคลือ่ น 4. ครู ฯลฯ พฤศจกิ ายน –
กระบวนการ PLC ระดบั ธนั วาคม 2561
สถานศึกษา จัดทําแผนงานการขับเคล่อื นกระบวนการ PLC สู
สถานศกึ ษา ประกอบดว ย พฤศจกิ ายน –
3. การขับเคลื่อนกระบวนการ 1. สรา งทมี งาน PLC ในสถานศกึ ษาทีส่ อดคลอ งกับ ธันวาคม 2561
PLC สูก ารปฏบิ ตั ใิ นสถานศกึ ษา
บริบทของสถานศกึ ษา
4. กาํ กบั ติดตามนเิ ทศและ 2. สรา งความรู ความเขา ใจ และแนวทางการปฏบิ ัติ
ประเมินผล
ใหก บั บุคลากรในสถานศกึ ษา (พาดู พาคิด พาทาํ )
3. สรา งเครือขา ยกบั หนว ยงานอนื่ (ระดบั บุคคล

ระดบั องคก าร ระดับหนว ยงาน)
4. กํากับ ติดตาม นเิ ทศ และประเมินผล
5. สงเสริม สนับสนุน และประสานงาน การพัฒนา

ขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา

3.1 ขบั เคลอ่ื นกระบวนการ PLC สูการปฏิบตั ใิ น
สถานศึกษา พรอมท้งั บันทกึ ลงใน Logbook ตามลําดับ
ดงั นี้ 1) คน หาปญหา 2) หาสาเหตุ
3) แนวทางแกไ ข 4) ออกแบบกจิ กรรมและ 5) นําสูก าร
ปฏิบตั ิและสะทอ นผล
3.2 สรปุ รายงานผล และจัดกจิ กรรมแลกเปล่ียนเรียนรู

4.1 จดั ทําแผนและเครอื่ งมือ กํากับ ตดิ ตาม นเิ ทศ
และประเมนิ ผลการขบั เคล่อื นกระบวนการ PLC สู
สถานศึกษา
4.2 คณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการPLC สู
สถานศึกษา ระดับสถานศึกษา ดําเนินการกํากับ
ติดตาม นิเทศ และประเมินผลการขับเคล่ือน
กระบวนการ PLCสสู ถานศึกษา
4.3 เรงรัด ตดิ ตาม และสนบั สนนุ ขา ราชการครแู ละ
บุคลากรทางการศึกษาทไ่ี มป ระสบความสาํ เรจ็ ในการ
ขบั เคลื่อนกระบวนการ PLC สูสถานศกึ ษา

PLC-โรงเรียนดงใหญว่ ิทยาคม รัชมงั คลาภิเษก 17

ขัน้ ตอน กจิ กรรม ระยะเวลา
5. สรปุ รายงานผลการดาํ เนนิ การ 5.1 ขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา รายงาน มกราคม 2562
การขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร ต า ม ก ร ะ บ ว น ก า ร PLC
สูสถานศึกษา พรอม Logbook เปนรายบุคคลตอ มีนาคม 2562
6. กจิ กรรมแลกเปล่ียนเรียนรู ผูบ รหิ ารสถานศกึ ษา
ถอดบทเรยี น และยกยองเชดิ ชู 5.2 คณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการPLC
เกยี รติการขับเคลือ่ นกระบวนการ สูสถานศึกษา ระดับสถานศึกษา สรุปและรายงานผล
PLC สูสถานศึกษา การดาํ เนนิ การตดิ ตามการขับเคล่ือนกระบวนการPLC
สสู ถานศกึ ษา ในสถานศึกษา
5.3 สถานศึกษารายงานผลการดําเนินการขับเคลื่อน
กระบวนการ PLC สูสถานศึกษา ตอสํานักงานเขต
พืน้ ท่ีการศกึ ษาและผทู เ่ี กี่ยวขอ ง

6.1 สถานศกึ ษาจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู (Show
& Share) การขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู
สถานศึกษา ที่สอดคลอ งกบั บรบิ ทของสถานศึกษา
6.2 ยกยองเชิดชูเกียรติขาราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา ที่มีกระบวนการดําเนินการที่ดีสามารถ
เปนแ บบอย างได แล ะเผย แพรด วยวิธี การ ท่ี
หลากหลาย

PLC-โรงเรียนดงใหญว่ ทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก 18

ภาคผนวก

PLC-โรงเรียนดงใหญว่ ิทยาคม รัชมงั คลาภิเษก 19

ภาคผนวก ก

แบบฟอรมในการขับเคลื่อน PLC โรงเรียนดงใหญวิทยาคม รชั มงั คลาภิเษก

PLC-โรงเรียนดงใหญว่ ิทยาคม รัชมงั คลาภิเษก 20

แบบแสนอการสรา งชุมชนแหง การเรยี นรู (PLC)

โรงเรียนดงใหญวิทยาคม รัชมงั คลาภิเษก

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ชอ่ื กลุม ............................................................................................................ สญั ลกั ษณ
สมาชกิ 1. .............................................................กลมุ สาระ...........................
คาํ ขวญั
2. .............................................................กลมุ สาระ...........................

3. .............................................................กลมุ สาระ...........................

4. .............................................................กลุมสาระ...........................

5. .............................................................กลมุ สาระ...........................

ปญ หาทเ่ี ลือก สาเหตุของปญ หา วธิ ีการแกปญ หา

ปฏทิ นิ การพัฒนา ภาคเรียนที่ ...../.......

ครง้ั ท่ี ว/ด/ป กจิ กรรม PLC หลักฐาน/ชิ้นงาน

(ลงชอื่ ) ……………………………………….
(…………………………….…….)

PLC-โรงเรียนดงใหญ่วทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก 21

ตัวอยางแบบแสนอการสรา งชมุ ชนแหง การเรียนรู (PLC)

โรงเรียนดงใหญว ทิ ยาคม รัชมังคลาภิเษก

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ช่ือกลุม ........กลั ยาณมิตรนิเทศ.............................

สมาชกิ 1. นายฉัตรมงคล สูงเนิน

2. นางสาวธนาภา บุญครอบ

3. นางสาวชุตมิ า สอนเสนา

4. นางวิไลพร หงษทอง ร่วมคิด ร่วมทํา นาํ วชิ าการ
5. นายสําอางค จนั ทนนตรี

ปญหาท่ีเลอื ก สาเหตขุ องปญ หา วิธกี ารแกป ญหา
ผลการสอบ O-NETของ 1. ครไู มวเิ คราะหส ารสนเทศ O-NET ขับเคล่ือนการพัฒนาคณุ ภาพนกั เรียนโดยใช
2. ครไู มใชส ือ่ ทนี่ า สนใช O-NET เปนฐานผา นกระบวนการ PLC
นักเรียนในสังกัดต่ํา 3. ครไู มป รบั พฤตกิ รรมการสอน
4. ขาดเครื่องมือ/อุปกรณ
5. นักเรยี นไมเ ห็นความสาํ คญั

ปฏทิ นิ การพัฒนา ภาคเรยี นท่ี 2/2561

คร้งั ที่ ว/ด/ป กิจกรรม PLC หลักฐาน/ช้นิ งาน
Logbook, ภาพกจิ กรรม
1 พ.ย. กาํ หนดปญหา วเิ คราะหส าเหตุ เลอื กวธิ กี าร Logbook, ภาพ, แผน/ปฏิทนิ
Logbook, ภาพ, สอื่ , คูมอื
2 พ.ย. จัดทาํ แผน/ปฏทิ นิ Logbook, ภาพ, ชิ้นงาน
Logbook, ภาพ
3 พ.ย. สรา งสอ่ื /คูม อื Logbook, ภาพ, สอ่ื , คมู ือ
Logbook, ภาพ, ชิ้นงาน
4 พ.ย. ลงสกู ารประชมุ ปฏบิ ตั กิ าร Logbook, ภาพ
Logbook, ภาพ, ส่อื , คมู ือ
5 ธ.ค. สะทอนผล Logbook, ภาพ, ชิน้ งาน
Logbook, ภาพ
6 ธ.ค. ปรบั ปรุงกิจกรรม/สื่อ Logbook, ภาพ, สื่อ, คูมือ
Logbook, ภาพ, ชิน้ งาน
7 ธ.ค. ลงสูการประชมุ ปฏบิ ัติการ Logbook, ภาพ, รายงาน
Logbook, ภาพ, รายงาน
8 ธ.ค. สะทอ นผล

9 ม.ค. ปรบั ปรงุ กจิ กรรม/สอ่ื

10 ม.ค. ลงสูก ารประชุมปฏบิ ตั กิ าร

11 ม.ค. สะทอนผล

12 ม.ค. ปรบั ปรงุ กิจกรรม/สอ่ื

13 ก.พ. ลงสูก ารประชุมปฏิบัติการ

14 ก.พ. ถอดประสบการณภ าพรวม

15 ก.พ. งานตลาดวิชาการเพ่ือความภาคภมู ิใจ (Show & share)

(ลงชือ่ ) ……………………………………….
(นายฉัตรมงคล สงู เนนิ )

PLC-โรงเรียนดงใหญ่วทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก 22

แบบรายงานการพัฒนางานผานชมุ ชนแหงการเรยี นรู (PLC)

โรงเรียนดงใหญว ิทยาคม รัชมงั คลาภเิ ษก

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ช่ือกลุม ............................................................................................

สมาชิก 1. .............................................................กลุม ...........................

2. .............................................................กลุม........................... สัญลักษณ

3. .............................................................กลมุ ........................... คําขวญั

4. .............................................................กลุม...........................

5. .............................................................กลมุ ...........................

ปญ หาทเ่ี ลือก เหตขุ องปญหา วิธีการแกปญ หา

วตั ถปุ ระสงค ................................................................................................................................................
ชื่อนวัตกรรม ....................................................................................................................................................
วิธีดําเนินการ

1. …………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
2. …………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
3. …………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
4. …………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
5. …………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
ผลการดาํ เนนิ งาน ............................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
ปญหา/อุปสรรค ..............................................................................................................................................
ขอเสนอแนะ ....................................................................................................................................................
สรปุ บทเรยี นทไี่ ดร บั .........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

(ลงช่อื ) ………………………………………. ผูรายงาน
(…………………………….…….)

PLC-โรงเรียนดงใหญว่ ทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก 23

แบบบนั ทกึ การประชุมชมุ ชนแหงการเรยี นรู (Log Book)

โรงเรยี นดงใหญว ทิ ยาคม รัชมังคลาภเิ ษก สํานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 26

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ชื่อกลุม ............................................................................................

สมาชิก 1. .......................................................................................

2. ....................................................................................... สัญลักษณ

3. ....................................................................................... คําขวญั
4. ........................................................................................

5. ........................................................................................

วันทีป่ ระชุม ...................................................... เวลาประชุม ............................รวม .......................... ชั่วโมง

สถานท่ีประชุม ...............................................................................................................................

ประเดน็ การประชุม .........................................................................................................................................

สง่ิ ทท่ี าํ ไดดี .......................................................................................................................................................

…………..………………………………………………………………………………………………………………………………….…………

ปญหาที่พบ .......................................................................................................................................................

สาเหตุของปญ หา ………………………………………………………………………………………………………………….…………

…………..………………………………………………………………………………………………………………………………….…………

………..…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………

แนวทางการแกป ญ หา/พัฒนา/กระบวนการ ………………………………………………………………………….…………

…………..………………………………………………………………………………………………………………………………….…………

………..…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………

…………..………………………………………………………………………………………………………………………………….…………

………..…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………

…………..………………………………………………………………………………………………………………………………….…………

สรปุ บทเรียนทไี่ ดร บั .........................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................

(ลงชอื่ ) ………………………………………. ผรู ายงาน (ลงช่ือ) ………………………………………. ผูรบั รอง
(…………………………….…….) (…………………………….…….)
..………/……………/….……. ..………/……………/….…….

PLC-โรงเรียนดงใหญว่ ิทยาคม รัชมงั คลาภิเษก 24

ภาคผนวก ข

แบบตดิ ตามการขับเคลื่อนโรงเรียนดงใหญวิทยาคม รชั มังคลาภเิ ษก

PLC-โรงเรียนดงใหญว่ ิทยาคม รัชมงั คลาภิเษก 25

แบบติดตามการสะทอนปญ หา แนวทางการแกปญ หาของกลมุ PLC (ระยะที่ 1)

โรงเรียนดงใหญวิทยาคม รัชมังคลาภเิ ษก สํานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 26

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. การเกดิ กลมุ PLC ในสถานศึกษา
⃝ เกดิ ⃝ ไมเกดิ

2. จาํ นวนกลมุ PLC ท่ีเกดิ ข้นึ ในสถานศกึ ษา
จาํ นวนกลมุ PLC ............ กลมุ มคี รเู ขา กลมุ PLC ทัง้ ส้ิน ................ คน จากครูในโรงเรยี น ............. คน

3. ลักษณะของกลุมทีเ่ กดิ ขั้นในสถานศึกษา
⃝ กลุม 2-5 คน ⃝ กลุม 6-10 คน ⃝ กลมุ 11-30 คน ⃝ กลุมมากกวา 30 คน

4. ลักษณะปญหาของกลุม PLC ในสถานศกึ ษา
⃝ การเรียนการสอน ⃝ พฤตกิ รรมนกั เรยี น ⃝ การวัดผล ⃝ ส่อื และบรรยากาศ
⃝ พัฒนางานตามนโยบาย ⃝ อน่ื ๆ (ระบุ) .......................................

5. พฤติกรรมของสมาชิกในกลมุ PLC ท่เี กดิ ข้ึนในสถานศกึ ษา

ขอที่ รายการตดิ ตาม รายการปฏิบตั ิ รองรอย/หลักฐาน
ปฏบิ ัติ ไมป ฏิบตั ิ
1 เปดใจและเช่อื มั่นในการเรียนรรู ว มกนั
2 ยอมรับวาการสอนและการปฏิบตั งิ านของครมู ผี ลตอการเรยี นรูข อง

ผเู รยี น
3 เสนอประเด็นปญ หาท่ีพบจากการเรยี นรขู องผเู รยี น
4 การแลกเปลยี่ นเรยี นรทู เี่ นนกระบวนการเรียนรูรว มกัน
5 มีจุดประสงคร ว มกันในการพัฒนาการเรยี นรูของผเู รียน
6 รบั ฟงความคิดเหน็ ของผูอื่นและแสดงความคดิ เห็นตอผูอื่นดวย

ทศั นคตเิ ชิงบวก
7 รวมกันคดั เลือกประเดน็ ปญ หา
8 ระดมสมองนาํ เสนอวิธแี กปญหาจากประสบการณ
9 หาขอ มลู ความรเู พ่ิมเตมิ
10 อภปิ รายสรุปและเลือกวิธกี ารแกป ญ หาทเี่ หมาะสม

ขอเสนอแนะเพมิ่ เติม
..............................................................................................................................................................................

(ลงชื่อ) ………………………………………. ผรู ายงาน (ลงชอ่ื ) ………………………………………. ผรู ับรอง
(…………………………….…….) (…………………………….…….)
..………/……………/….……. ..………/……………/….…….

PLC-โรงเรียนดงใหญว่ ทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก 26

แบบตดิ ตามการสะทอนปญ หาแนวทางการแกปญหาของกลมุ PLC (ระยะท่ี 2)

โรงเรียนดงใหญวิทยาคม รัชมังคลาภเิ ษก สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 26

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ ที่ รายการตดิ ตาม รายการปฏบิ ตั ิ รองรอย/หลกั ฐาน
ปฏิบตั ิ ไมปฏิบัติ

1 นาํ แนวทางการแกไขปญหาสูการปฏบิ ัตใิ นชน้ั เรยี น

2 การรว มมือรวมพลังของครูผสู อน ผูบรหิ าร ศึกษานิเทศก

และผูมสี วนเก่ียวของ

3 การใหค วามสําคัญกับการเรียนรขู องผเู รียน

5 การปรบั ปรงุ การเรียนการสอนในชั้นเรยี น

6 การเรยี นรทู างวชิ าชีพอยางตอเนือ่ งระหวา งการปฏิบตั ิงาน

7 การทาํ งานรวมกนั ดว ยความสัมพนั ธแ บบกลั ยาณมิตร

เพอื่ ใหบ รรลเุ ปาหมายเดียวกัน

8 การนําส่อื เทคโนโลยี และนวัตกรรมไปใชในการ

พัฒนาการเรยี นการสอนตามบรบิ ทของสถานศึกษา

9 การตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ านของครูกับผลการเรียนรูของ

ผเู รยี น

10 อภิปรายผลการสงั เกตการสอนและปรับปรุงแกไ ข

11 สรุปผลวิธีการแกปญหาทีไ่ ดผ ลดีตอการเรยี นรูของผูเรยี น

12 บันทกึ ทุกขั้นตอนการทํางานกลมุ : ระบุปญหา วิธีแก การ

ทดลองใช ผลทไ่ี ด

13 สมาชิกรวมสงั เกตการสอนและเก็บขอมลู

14 แบง ปนประสบการณ

15 การสรา งขวญั และกําลงั ใจในการปฏิบตั งิ าน

ขอเสนอแนะเพ่ิมเติม
..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

(ลงชอ่ื ) ………………………………………. ผรู ายงาน (ลงชอ่ื ) ………………………………………. ผรู บั รอง
(…………………………….…….) (…………………………….…….)
..………/……………/….……. ..………/……………/….…….

PLC-โรงเรียนดงใหญ่วิทยาคม รัชมงั คลาภิเษก 27

แบบรายงานผลการดําเนินงาน PLC (สิ้นสดุ การดาํ เนนิ งาน)
โรงเรยี นดงใหญวิทยาคม รัชมงั คลาภิเษก สํานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 26

1. ขอมลู พน้ื ฐานของโรงเรยี น
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

2. ประเด็นปญ หา
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

3. เปาหมายทีก่ าํ หนดไว
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

4. การวางแผนการดาํ เนินงาน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

5. วธิ กี าร/ข้นั ตอนการดําเนินงาน/กระบวนการทาํ งาน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

6. ผลการดาํ เนนิ งาน/ผลลัพธท ่ีเกิดขึ้นจริง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

PLC-โรงเรียนดงใหญ่วิทยาคม รัชมงั คลาภิเษก 28

7. ปจจัยท่ีสง ผลใหการดําเนนิ งานประสบความสําเร็จ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

8. อุปสรรค/ขอจํากดั /ขอขดั ของ ที่พบในการดาํ เนนิ งาน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

9. ประเด็นท่ีไดเ รยี นรู
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

10. ขอ เสนอแนะในการดําเนินงานครัง้ ตอไป
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

11. นวัตกรรมที่เกิดขึ้น
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

(ลงช่ือ) ………………………………………. ผูรายงาน (ลงชอ่ื ) ………………………………………. ผูร บั รอง
(…………………………….…….) (…………………………….…….)
..………/……………/….……. ..………/……………/….…….

PLC-โรงเรียนดงใหญว่ ิทยาคม รัชมงั คลาภิเษก 29


Click to View FlipBook Version