The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 3 โรคโภชนาการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ฟิล์ม เมืองงาม, 2021-01-09 09:50:48

โภชนการเพื่อชีวิต

หน่วยที่ 3 โรคโภชนาการ

หนว่ ยที่ 3 โรคโภชนาการ

ภาวะโภชนาการ
หมายถึง สภาพของร่างกายที่เกิดจากการบริโภคอาหารเกี่ยวกับความสมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย และจิตใจ

แบ่งออกเป็น
1. ภาวะโภชนาการท่ีดี หมายถึง สภาพของร่างกายที่ได้รับอาหาร ครบทั้งปริมาณและคุณภาพตามความ

ตอ้ งการของรา่ งกาย และร่างกายสามารถใชอ้ าหารนัน้ ให้เป็นประโยชนไ์ ด้ อยา่ งเตม็ ที่
2. ภาวะโภชนาการทไ่ี มด่ ี หมายถงึ สภาพของรา่ งกายที่ได้ รบั อาหารครบตามความต้องการ แตร่ ่างกายไม่

สามารถใช้อาหารนนั้ ใหเ้ ป็นประโยชน์ไดอ้ ย่างเตม็ ท่ี หรอื เกดิ จากการทร่ี างกายไดร้ บั อาหารไมค่ รบ และ ไดร้ บั อาหาร
มากเกินไปตามความต้องการ ซึง่ อาจรวมกันเรียกว่า “สภาวะ ทุพโภชนาการ” ซง่ึ แบ่งออกเป็น 2 สภาวะไดแ้ ก่ :

1. การขาดสารอาหาร 2. ภาวะโภชนาการเกนิ
สาเหตุ ทําให้เกิดภาวะทพุ โภชนาการ เราแบ่งออกไดเ้ ปน็ 5 สาเหตุใหญ่ๆ ด้วยกัน คอื

1. เกิดจากความไม่รู้ คือ ไม่มีความรู้ว่าอาหารใดเมื่อกินเข้าไปจะได้ประโยชน์ และไม่รู้วาร่าง กายต้องการ
อาหารประเภทใด และทําอย่างไรจึงจะได้ประโยชน์จากอาหารอย่างเต็มที่รวมทั้งยังขาดความรู้ใน เรื่องการเลี้ยงดู
ทาร และเด็กวยั ก่อนเรยี นอยา่ งถูกต้องอกี ดว้ ย

2. เกดิ จากความยากจน ไม่สามารถหาอาหารมารบั ประทานใหค้ รบตามความต้องการของร่างกายได้
3. เกดิ จากโรคภยั ไข้เจ็บ ผทู้ เี่ จ็บปว่ ยบ่อย ทาํ ให้รับประทานอาหารไดน้ ้อยลงตามไปด้วย
4. วัฒนธรรมขนบธรรมเนยี มประเพณีของแต่ละทอ้ งถนิ่
5. การโฆษณา
โรคขาดสารอาหารในประเทศไทย
เป็นที่ยอมรับกันว่าประเทศไทย เรามีปัญหาทุพโภชนาการเกิดขึ้น ซึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นในแต่ละ ประเทศไม่
เหมือนกัน แตท่ เ่ี ก่ียวขอ้ งกับปัญหาการขาดสารอาหารในประเทศไทยมี
1. โรคขาค Prot & Cal
2. โรคโลหิตจางเนื่องจากการขาดสารอาหาร
3. โรคคอพอก
4. โรคขาด Vit B1
5. โรคขาด Vit B2
6. โรคขาด Vit A
7. โรคนิ่วในกระเพาะปสั สาวะ
โรคขาด Prot & Cal
โรคนี้เป็นปัญหาโภชนาการที่สําคัญของประเทศไทย และประเทศที่กําลังพัฒนาทั้งหลาย เพราะมีผลต่อ
สุขภาพของประชาชน มักพบได้ในทุกกลุ่มอายุ ซึ่งจําเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศ ความสน ใจเกี่ยวกับโรคนี้
ในทางการแพทย์ได้เริ่มเป็นจริงเมื่อประมาณ 40 ปีเศษมานี้ โดยเริ่มมีการรายงานถึงกลุ่มอาการที่ เกิดจ าการขาค

Prot ซึ่งมีลักษณะแตกต่างกันไปจากกลุ่มอาการที่เกิดขึ้นจาการขาด Cal ต่อมาได้มีการศึกษาวิจัย กันมากเพื่อให้

เขา้ ใจถึงการเปลี่ยนแปลงทางสรรี ะและชีวเคมีของคนไข้

ปญั หาการขาด Prot และ Cal เป็นปญั หาทส่ี ง่ ผลต่อเนื่องให้เกดิ การขาดสารอาหารอนื่ ๆ ด้วย เพราะอาหาร

ที่ให้ Prot และ Cal มักจะมีสารอาหารอื่นๆ ด้วยเสมอ เช่น Vit ทําให้การเรียนรู้ต่างๆ ด้อยลง และภูมิต้านทานโรค

ตดิ เชอ้ื ต่าง ๆ ต่ำลง มีอตั ราการป่วย และการตายสงู

อาหารที่คนไทยบริโภคนั้นปกติข้าวเป็นหลัก อาจจะเป็นข้าวเจ้า ซึ่งนิยมบริโภคในภาคกลาง ภาคใต้และ

ภาคตะวันออก ข้าวเหนียวซึง่ นยิ มบริโภคกนั ในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อาหารท่ีรบั ประทานพร้อม

กับข้าว คือ กับข้าว ซึ่งเตรียมจากอาหารหมู่ต่างๆ เช่น เนื้อสัตว์ ไข่ ถั่ว น้ำมัน และผักต่าง ๆ ซึ่งมีสารอาหารต่าง ๆ

ครบถ้วน ถ้ารับประทานพอเพียงก็จะไม่เกิดการขาคอาหารขึ้น แต่โดยทั่ว ๆ ไป แล้วกับข้าวถูกจัดให้เป็น

ส่วนประกอบเพื่อทําให้รับประทานข้าวได้เป็นจํานวนมากเท่านั้น ในชนบทที่ยากจน หรือ ในชุมชนแออัดตามเมือง

ใหญ่ ๆ กับข้าวจะมีน้อยมาก อาจจะมีเพียงปลาร้า ส้มตํา เท่านั้น กับข้าวเหล่านี้จะถูก ปรุงให้มีรสจัดเพื่อช่วยให้

รับประทานขา้ วได้มาก ๆ จากการศึกษาเร่ืองความต้องการ Prot และ Cal ของคนไทย ในชนบทพบว่า ชายวัย 20-

30 ปี จะบริโภคข้าววันละ 800-1000 g

การขาด Prot และ Cal ในประชากรที่กินข้าวอย่างคนไทยนั้นอาจเกิดขึ้นได้ เพราะไม่มีข้าวกิน อย่าง

พอเพียง เนื่องจากความยากจน และ ขาดการกินกับขาวที่เหาะสมกับความต้องการของร่างกายในวัยต่าง ๆ

นอกจากนค้ี วามเชอ่ื ในเรอื่ งอาหารแสลงในหญิงมีครรภ์ และให้นมบตุ ร ตลอดจนเมอ่ื มีการเจ็บปว่ ยกม็ ีส่วนทํา ให้เกิด

การขาด Prot และ Cal ไดม้ ากข้ึน

การเรยี กชื่อโรค

โรคที่เกิดจากการขาค Prot และ Cal มีชื่อเรียกมากมาย แต่ขณะนี้เป็นที่ยอมรับกันว่าเรียกชื่อ โรคขาด

Prot และ Cal ซงึ่ จะรวมโรคท่ีเกิดจาการขาค Prot และ การขาด Cal ทุกรูปแบบ เช่น

- โรคขาด Port เรยี กวา่ ควาชิออร์กอร์

- โรคขาด Cal เรยี กวา่ มาราสมสั

- โรคขาด Prot & Cal เรยี กว่า มาราสมัส ควาชอิ อรก์ อร์

ผูป้ ว่ ยทข่ี าด Prot มักจะขาด Cal ดว้ ย และผปู้ ว่ ยท่ีขาด Cal ก็มกั จะขาค Prot ดว้ ยเชน่ กัน

การเกิดโรค PEM,PCM

การขาค Prot และ Cal เราพบได้ในบุคคลต่อไปนี้

1. PEM เป็นโรคที่พบบ่อยในทารกและเด็กวัยก่อนเรียน อายุ 0-5 ปี ซึ่งเป็นวัยที่กําลังเจริญ เติบโตอย่าง

รวดเร็วมีความต้องการอาหารทั้งปริมาณและคุณภาพต่อหน่วยน้ำหนักมากกว่าวัยอื่น ๆ เมื่อทารก และเด็กได้รับ

อาหาร Prot และ Cal ไม่พอกับความต้องการของร่างกายก็จะทําให้เป็นสาเหตุของการเกิดโรคขาดพลังงานและ

โปรตีนขึ้น เมื่อเกิดโรคนี้แล้วจะทําให้ภูมิต้านทานโรคติดเชื้อต่ำลงเป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อการพัฒนาการทั้งด้าน

ร่างกาย สติปญั ญา การเรยี นรู้ และมีอตั ราการตายสูง

เดก็ พวกนโี้ ดยท่วั ไปมักจะอยู่ในภาวะแวดล้อมท่ีไมถ่ ูกสุขลักษณะจงึ เกิดโรคติดเชื้อได้งา่ ยเช่น ท้องเสีย หวัด
ปอดบวม หัด ไอกร่ม และโรคผิวหนัง เป็นต้น ถ้าโรคติดต่อเชื้อรุนแรงผู้ป่วยมักจะตาย ถ้าไม่ตาย ก็ทําให้ภาวะ
โภชนาการเลวลงไปอกี

ถ้าการขาด Prot และ Cal อยูใ่ นระยะรุนแรง เด็กจะมีลักษณะผอม หนา้ ตาเหี่ยวย่นเหมอื นคน แก่ ไขมันใต้
ผิวหนงั มีน้อย และกลา้ มเน้ือตามสว่ นตา่ ง ๆ จะมนี อ้ ยลงดว้ ยลักษณะแบบนี้มองเห็นดว้ ยตาเปล่าก็ พอจะบอกได้ว่ามี
การขาคอาหารเกดิ ข้ึน ถ้าการขาคอาหารอยใู่ นระยะปานกลางเด็กจะดผู อมและตวั เล็กกวา่ ปกติ

2. การเกิด โรคขาดพลังงานและโปรตีน ในหญิงมีครรภ์และให้นมบุตร ปัญหาที่พบในกลุ่มหญิงมีครรภ์
โดยเฉพาะ ในชนบท คือ ภาวะโภชนาการของแม่ไม่ดีมาแต่ก่อนตั้งครรภ์เนื่องจากการเจริญเติบโต และพัฒนาของ
ร่างกาย เป็นไปไม่ได้เต็มท่ี และหญงิ ในชนบทมักจะเริ่มมีครรภ์ตั้งแต่อายุยงั น้อยในชว่ ยที่ตนเองยังมีการเจริญเติบโต
อยู่ การต้งั ครรภบ์ ่อยและถี่ทําให้ภาวะโภชนาการของแม่เลวลงเร่ือยๆ นอกจากน้ีความเช่ือในเรื่องอาหารแสลงขณะ
ตั้งครรภ์ เช่น งดกินไข่ เพราะเชื่อว่าคาว และเกิดไขหุ้มตัวเด็กทําให้คลอดยาก หรือความกลัวของแม่ที่ว่าถ้าแม่ กิน
อาหารมากเกินไป จะทาํ ใหล้ กู ในครรภต์ วั โต คลอดยาก

เครื่องบ่งชี้ภาวะโภชนาการของหญิงมีครรภ์อีกอย่างหนึ่ง คือ น้ำหนักตัวของมารดาที่เพิ่มขึ้นใน ระยะ
ตั้งครรภ์โดยทั่วไประยะ 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์น้ำหนักตัวของมารดาควรจะเพิ่มประมาณ 1-1.5 กก. และ
หลังจากนัน้ จะมนี ้ำหนกั เพิม่ โดยโดยเฉลี่ย 1.5 กก./เดอื น ไปจนถึงระยะเวลาคลอดและเม่ือรวมแลว้ ตลอด ระยะเวลา
ตั้งครรภ์ หญิงมีครรภ์ควรมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นเพิ่มขึ้นทั้งสิ้นประมาณ 12.5 kg จึงจะได้ทารกแรกเกิดที่มี ภาวะ
โภชนาการดี มนี ้ำหนักประมาณ 3 กก. ขอ้ มลู เก่ียวกับน้ำหนกั ตวั ของมารดาท่ีเพ่ิมข้ึนในระยะตั้งครรภ์ โดย เฉพาะใน
ชนบทเพมิ่ ขึ้นในระยะต้งั ครรภแ์ ค่ 5-7Kg เทา่ นนั้ ซึ่งเปน็ เครือ่ งบง่ ชี้ว่าภาวะโภชนาการของมารดาไมด่ ี เท่าทคี่ วร

3. การเกิดโรคขาดพลังงานและโปรตีน ในเด็กวัยเรียน ปัญหาของเด็กวัยนี้มีการศึกษาไว้น้อยมาก แม้ว่าจะ
มีการติด ตามชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงของเด็กนักเรียนอยู่เสมอ แต่ก็ไม่มีการแปรผล และสรุปออกมาถึงความรุนแรง
ของ - ปัญหาการขาค PEM ในเด็กวัยนี้ จะพบผลเสียสําหรับเด็กวัยนี้ ก็คือ จะทําให้มีสุขภาพอ่อนแอ ไม่มีสมาธิใน
การเรียนทําใหผ้ ลการเรยี นต่ำ

4. การเกดิ โรคขาดพลังงานและโปรตีนในวยั อนื่ ๆ วยั รนุ่ เป็นอกี วัยหน่ึงท่มี ีการเติบโตอย่างรวดเรว็ รวมทั้งมี
การ เปลี่ยนแปลงทางสรีระหลายอย่าง ถ้าได้รับอาหารที่จะมีการเติบโตได้ดีอาจจะมีน้ำหนักเพิ่มถึงปีละ 5-10 กก.
จน กระทั่งโตเกือบจะเป็นผู้ใหญ่ จากนั้นจะเติบโตช้าลง และหยุดการเจริญเติบโตในที่สุด การดูแลด้านโภชนาการ
ในวัยนี้ โดยเฉพาะสตรีจะมีผลดี คือ เป็นการเตรียมหญิงที่จะเป็นแม่ในอนาคตให้พร้อมที่จะได้มีลูกที่สุขภาพดี
สมบูรณ์ เพราะถ้าภาวะโภชนาการของแม่ไมด่ ี ก็จะมปี ญั หาการขาด Prot และ Cal ทั้งแมแ่ ละลูก

ประชากรอีกกลุ่มหนึ่งที่ควรคํานึงถึง คือ กลุ่มผู้ใช้แรงงาน ซึ่งรวมถึงชาวนา ชาวไร่ด้วย กลุ่ม คนเหล่านี้มี
ความตอ้ งการพลงั งานมากกวา่ ปกติ เพราะตอ้ งใช้แรงงานในการทาํ งาน ถา้ มีการขาด Prot และ Cal ขึน้ จะส่งผลให้
ประสิทธภิ าพการทาํ งานลดลง สขุ ภาพเลวลง มกี ารเจบ็ ป่วยบอ่ ย ซึง่ เปน็ ปัญหาท่ีพบเสมอในชนบท แตอ่ ย่างไรก็ตาม
การศกึ ษาถงึ ปัญหาการขาด Prot และ Cal ในกลุ่มคนนี้ยังไม่ไดร้ บั ความสนใจเทา่ ที่ควร

เพื่อให้เหน็ ปัญหาของโรคขาดพลงั งานและโปรตีน ได้ชัด จะแบ่งภาวะท่ีทาํ ให้เกดิ โรคขาดพลังงานและ

โปรตีน ในทารกและเด็กวัยกอ่ นเรียน ไดด้ งั นี้

1. ภาวะซง่ึ ทารกไม่ไดร้ บั การเล้ียงดูด้วยน้ำนมแม่
น้ำนมแมเ่ ป็นอาหารที่ดีที่สุดสาํ หรับทารกแรกเกิด และจะมสี ารอาหารเพียงพอกับความ ต้องการของทารก
ไปจนถงึ อายุ 6 เดอื น ทารกท่ีไดร้ ับน้ำนมแมจ่ ะเจริญเติบโตไดด้ ี เพราะน้ำนมแม่มีประโยชน์ คือ
- มีสารอาหารสําหรบั ทารกแรกเกดิ ครบถ้วน เช่น CHO, Fat โดยเฉพาะ Ca (แคลเซยี ม)
- มีภูมิตา้ นทานโรคติดเช้อื เชน่ โรคท้องเสีย โรคท่เี ก่ียวกบั ทางเดนิ หายใจ
- นำ้ นมแม่ สะอาด ปลอดภยั และชว่ ยประหยัดคา่ ใชจ้ ่ายของครอบครัว
ถ้าทารกไม่ได้รับการเลี้ยงดูด้วยน้ำนมแม่ และ ถูกหย่านมจากแม่เร็วเกินไป จะพบว่าทารกเหล่านี้ เป็นโรค
ขาดพลังงานและโปรตีนกันมาก ทั้งนี้เพราะการเลี้ยงทารกด้วยน้ำนมผสมยังทํากันไม่ถูกต้อง เพราะการเลี้ยงด้วย
น้ำนมผสมจะ ต้องคํานงึ ถึง
1. ชนดิ ของนมทใ่ี ช้
2. อปุ กรณ์
3. การเตรียมและการผสมท่ีถูกตอ้ ง
4. ความสะอาด
ถ้าทาํ ไมถ่ ูกหลักอนามัยแล้ว นอกจากจะเกดิ โรคขาดพลังงานและโปรตนี ยังทาํ ให้เป็นโรคติดเช้ือได้ง่ายด้วย ทําให้เด็ก
มีคุณภาพไม่ดี และ มีการตายมาก (โดยทั่วไปอายุ 2-8 เดอื น)
2. ภาวะซึ่งทารกและเดก็ ได้รับอาหารเสรมิ ไม่พอ
ภาวะน้ีสว่ นใหญพ่ บในชนบท เพราะเกิดในระยะหย่านม เดก็ ในชนบท 100% ได้รบั การ เลี้ยงดูด้วยน้ำมแม่
ตั้งแต่แรกเกดิ การเจริญเตบิ โตจะเป็นไปด้วยดจี นอายุประมาณ 6 เดือน จากนั้นการเจรญิ เติบ โตจะช้าลง เพราะได้
อาหารท่มี ี Prot และ Cal ไม่พอกบั ความตอ้ งการของรา่ งกาย อาหารเสริมท่ีได้ส่วนใหญ่มกั จะเป็นกล้วยและขา้ ว ซ่ึง
มี Prot นอ้ ย รวมทัง้ Cal ด้วย จะได้ Cal มากกต็ ่อเมอื่ ต้องรับประทานมาก แตท่ ารกและ เด็กมีกระเพาะอาหารท่ีไม่
โตนกั ไมส่ ามารถท่จี ะรับประทานทีละมาก ๆ ได้อาหารทีต่ ้องการควรมี Prot และ Cal สงู แตป่ ริมาณน้อย
อุบัตกิ ารของโรคขาดพลังงานและโปรตนี
โรคขาดพลังงานและโปรตนี เป็นโรคทีพ่ บได้เสมอ จากสถิติของกระทรวงสาธารณสุข ทารกและเด็ก ที่เป็น
โรคขาดสารอาหารต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลโรคขาดพลังงานและโปรตีนเป็นสาเหตุที่สําคัญที่สุดผู้ป่วย
เหล่านัน้ จะมี ลักษณะอาการปรากฏอย่างเห็นได้ชดั
การศึกษาเด็กที่เป็นโรคขาดพลังงานและโปรตีน กอ่ นท่จี ะเปน็ มากๆ ขนาดเข้าโรงพยาบาลน้ันจะอาศัยการ
วดั สัด สว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย ซึง่ มีอยหู่ ลายวิธีดว้ ยกนั เช่น
- การชั่งน้ำหนักเทียบกับอายุ ซึง่ เปน็ วธิ ีที่มปี ระโยชนท์ ี่สุด
- การวัดสว่ นสงู
- การวดั เสน้ รอบศีรษะ
- การวดั เสน้ รอบอก
- การวดั เส้นรอบกึ่งกลางแขนซ้าย
- การวดั ความหนาของไขมนั ใตผ้ ิวหนัง

เมอื่ ไดค้ า่ การวดั ส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายแลว้ กน็ าํ มาคํานวณเปรียบเทียบกบั คา่ ที่ได้จากเด็ก ปกติก็จะทราบ
วา่ เด็กที่กําลังตรวจนั้นเปน็ โรคขาดพลงั งานและโปรตีนหรอื ไม่

การใช้น้ำหนักเพื่อเป็นเครื่องบอกความรุนแรงของโรคนั้น มีผู้นิยมใช้กันมาก โดยถือเอา น้ำหนักเฉลี่ยของ
เดก็ ปกตเิ ป็นมาตรฐานร้อยละ 100 แลว้ ใชเ้ กณฑต์ ัดสินดงั ตารางขา้ งลา่ งน้ี โดยถือวา่ ถ้าเด็กเปน็ โรคขาดพลงั งานและ
โปรตีน ถา้ มีน้ำหนักต่ำกว่ารอ้ ยละ 85 ของมาตรฐานเดก็ อเมริกนั และ ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ 90 ของเดก็ ไทย

ลักษณะอาการ
การเปลี่ยนแปลงทางคลินิก ขึ้นอยู่กับว่าเด็กขาด Prot และ Cal มากกว่ากัน มักจะมีอาการ เปลี่ยนแปลง
ตงั้ แตศ่ ีรษะไปจนถงึ เท้า รวมถึงทง้ั ทางด้านอารมณแ์ ละจิตใจ

ลักษณะอาการของโรคขาด Prot และ Cal

ผลเสียของโรคขาดพลงั งานและโปรตนี แบ่งออกได้ดงั นี้
ก. ผลต่อทารกและเดก็
1. ถ้าเป็นโรคขาดพลังงานและโปรตีนในระยะรุนแรงเด็กจะตาย อัตราการตายของทารกและเด็กวัยก่อน
เรียนสูง สาเหตขุ องการตายในเดก็ วัยน้ีจะมีโรคขาดพลงั งานและโปรตีน เปน็ สาเหตุพ้นื ฐานหรือสาเหตรุ ว่ ม 30-50%
2. ทางด้านรา่ งกาย
- ทาํ ให้เด็กมีการเจรญิ เตบิ โตน้อยกวา่ ปกติ รา่ งกายแคระแกรน
- มภี ูมติ า้ นทานโรคตดิ เชื้อต่ำ ทาํ ใหเ้ กิดโรคได้งา่ ย
3. ทางดา้ นสมอง สตปิ ญั ญา และการเรยี นรู้
เด็กที่เป็นโรคขาดพลังงานและโปรตีนรุนแรงในอายุยังน้อย จะมีจํานวน เซลล์ในสมองมีการเจริญเติบโต
นอกจาก นี้สมองจะมีการเติบโตของเนื้อประสาท ตั้งแต่คลอดไปถึงอายุ 3-4 ปี ถ้าเกิดโรคขาดพลังงานและโปรตีน
ขึ้นในชว่ งน้ี เด็กจะมสี มอง เล็กกว่าปกติ มผี ลตอ่ สติปญั ญา การเรียนรู้ ทําให้นอ้ ยลง
ข. ผลต่อครอบครวั
ทําให้สิ้นเปลอื งการดูแลรกั ษาเม่อื เจ็บป่วยบ่อย เสยี เวลาในการประกอบอาชีพ
ค. ผลตอ่ ประเทศชาติ
ทําให้ได้พลเมืองที่มีปัญหา มีคุณภาพไม่ดี ทั้งด้านสติปัญญา การเรียนรู้ ค้านการ เจริญเติบโตของร่างกาย
ทําใหไ้ ดค้ ุณภาพของประชากรไม่ดี
การปอ้ งกันโรคขาดพลังงานและโปรตนี
เนื่องจากปัญหาเรื่อง โรคขาดพลังงานและโปรตีน เป็นเรื่องสําคัญที่เกี่ยวกับสุขภาพของคนการแก้ไข และ
การปอ้ งกนั โรคขาดพลังงานและโปรตีน ควรที่จะเป็นหนา้ ทีข่ องทุกคน ทกุ ระดับ ทุกหนว่ ยงาน เชน่ ดา้ นสาธารณสุข
เกษตร การศกึ ษา ฯลฯ
หลักการป้องกันโรคขาดพลงั งานและโปรตีน มี 2 อยา่ ง คอื
1. ปรบั ปรุงภาวะโภชนาการของคนทุกอายุใหเ้ ปน็ ปกติ โดยเฉพาะทารกและเด็ก
2. ป้องกนั ไม่ใหเ้ ดก็ ท่อี ยูใ่ นภาวะเสียงท่ีจะเกิดโรคขาดพลังงานและโปรตนี เกดิ เป็นโรคนไี้ ด้
วธิ ีการต่าง ๆ ที่ใชใ้ นการปอ้ งกนั โรคขาดพลงั งานและโปรตีน ในเดก็ วยั กอ่ นเรียน
1. การใช้ศูนย์ฟื้นฟูที่ก่อตั้งในแหล่งชุมชนเพื่อใช้เปน็ ที่สอนแม่ในการเลี้ยงดูทารก และเด็ก ที่มีปัญหา หรือ
กําลังจะมีปัญหาของโรคขาดพลังงานและโปรตีน โดยหัดให้ดู และเตรียมอาหารให้เด็ก วิธีการนี้จะสิ้นเปลืองน้อย
กวา่ การทป่ี ลอ่ ยให้เด็กต้องป่วยเป็น โรคขาดพลงั งานและโปรตนี และเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล แต่ผลท่ีได้จาก
ประสบการณ์ในอเมริกาใต้พบว่า โครงการนี้มักจะดีในระยะเริ่มแรก แต่ต่อมาการมีส่วนร่วมจะน้อยลง และจํานวน
เด็กทไี่ ดแ้ ค่ 30 คน/1 ศูนย์จึงทําให้เด็กทอ่ี ยูห่ า่ งไกลอาจเป็น โรคขาดพลงั งานและโปรตนี ได้
2. การใช้ คลินิกสุขภาพ เป็นการติดตามดูแลทารก และเด็กหลังคลอดที่มีตามโรงพยาบาล และศูนย์
อนามัยตา่ ง ๆ
จดุ ประสงค์ของคลนิ กิ สขุ ภาพก็คือ
2.1 ดแู ลการเจริญเตบิ โตของเด็กโดยเฉพาะภาวะโภชนาการว่า น้ำหนกั สว่ นสงู เปน็ ปกตหิ รอื ไม่
2.2 ดแู ลการพฒั นาความสามารถของเดก็
2.3 ใช้เปน็ ทใ่ี หค้ วามรูท้ างด้านโภชนาการและสุขภาพแก่พอ่ แม่

คลนิ กิ สขุ ภาพ ถา้ มีแพร่หลาย และมกี ารตดิ ตามผลอย่างทัว่ ถึงก็จะสามารถป้องกันการเกดิ PEM ได้ เพราะ
จะสามารถตรวจพบเด็กที่มนี ้ำหนักข้ึนไม่ค่อยดี ซง่ึ มกั จะเป็นอาการนําก่อนการเกิด PEM ทําให้รักษาและป้องกันได้
อยา่ งไรกต็ ามเนื่องจากตอ้ งก่อตงั้ คลินกิ สุขภาพ รว่ มไปกับการบริการทางการแพทย์อน่ื ๆ ด้วยจึงเปน็ เหตุใหบ้ างแหง่
ยังไมม่ กี ารบรกิ ารนี้ ทง้ั ๆ ทต่ี อ้ งการศนู ย์อนามัยเป็นที่ใหบ้ รกิ ารดงั กล่าว

3. โปรแกรมโภชนาการประยุกต์ เนื่องจากปัญหาโภชนาการเป็นปัญหาใหญ่ จึงได้รับความสนใจจาก
องค์การ ระหว่างประเทศมาก เช่น FAO, WHO, ยูนิเซฟ องค์การเหล่านี้พยายามสนับสนุนให้ประเทศต่าง ๆ ที่มี
ปัญหา ทางโภชนาการมีโครงการโภชนาการขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหานี้ จึงจัดให้มีการประสานงานของหน่วยงานต่าง ๆ
เพอื่ แกไ้ ขปญั หา ได้แก่

3.1 การเกษตร เพอ่ื เพ่มิ ผลผลติ ทางการเกษตร ส่งเสรมิ การเกษตรกรรมในครวั เรือน รจู้ กั ถนอม
แปรรูปอาหาร

3.2 การศึกษา โดยให้ความรเู้ รื่องโภชนาการ และอนามยั สว่ นบคุ คลเพ่ือให้เลอื กกนิ อาหารท่ีถูกต้องพอเพียง
เหมาะสมตามฐานะและแก้ไขบรโิ ภคนิสัยทไี่ ม่ถูกต้อง

3.3 การสาธารณสขุ โดยการใหบ้ ริการ เนน้ หนักเรือ่ งการบริการสาธารณสุขแก่แม่และเดก็ ให้แม่รู้จักรักษา
และบํารุงสุขภาพระหว่างตั้งครรภ์ ให้นมบุตร ส่งเสริมการเลี้ยงทารกด้วยน้ำนมแม่ การให้ อาหารเสริมที่เหมาะสม
ให้การปลูกฝี-ฉีดยา ป้องกันโรคติดเชื้อ ให้การรักษาเด็กที่เป็นโรคขาดพลังงานและโปรตีน ให้ดีขึ้น และให้การ
วางแผนรว่ มกบั การบรกิ ารทางโภชนาการ

3.4 ดา้ นอ่ืน ๆ ซง่ึ มผี ลตอ่ ภาวะโภชนาการทางออ้ ม และ โดยตรง เช่น สนบั สนุนใหม้ กี ารผลติ อาหาร
สาํ หรับทารกและเด็กในระดับต่าง ๆ ตัง้ แตร่ ะดบั หมบู่ า้ น และระดบั อตุ สาหกรรม นอกจากน้กี าร
พฒั นาเศรษฐกจิ เพอ่ื ให้ประชากรมรี ายไดม้ ากขนึ้ กจ็ ะเป็นการช่วยให้อํานาจการซ้อื ขายดขี ้นึ

การป้องกันโรคขาดพลังงานและโปรตีน นี้ ถ้าตรวจพบว่าเด็กน้ำหนักน้อยกว่าปกติ โดยเป็น โรคขาด
พลังงานและโปรตีน ระดับต่างๆ ตั้งแต่ระดับ ควรจะได้รับการช่วยเหลือในด้านอาหาร หรือแนะนําอาหารที่ถูกต้อง
เหมาะสมตามแต่ฐานะการแนะนําให้เลี้ยง ลูกด้วยนมแม่ จะช่วยป้องกันการเกิด โรคขาดพลังงานและโปรตีน ใน
ระยะแรกได้ และการแนะนําให้อาหารเสริมให้ถูกต้องในเวลาที่ เหมาะสม จะป้องกันการเกิด โรคขาดพลังงานและ
โปรตนี ในระยะตอ่ มา
2. โรคโลหติ จาง

โลหิตจาง หมายความว่า มักจะมีเมล็ดเลือดแดง ในเลอื ดนอ้ ยกว่าปกติ ซ่งึ อาจจะมสี าเหตุในทางโภชนาการ
2 แบบ ด้วยกัน

1. โรคโลหติ จางที่มีเมลด็ เลือดแดง นอ้ ยกวา่ ปกติ และเม็ดเลือดแดงมีขนาดเล็กกว่าปกติ สาเหตเุ กิดจากการ
ขาดธาตุเหลก็

2. โรคโลหิตจางที่มีเมล็ดเลือดแดง น้อยกว่าปกติ แล้วยังพบว่าขนาดของเม็ดเลือดแดง ใหญ่กว่าปกติ เกิด
เน่ืองจากการขาค Vit B12

*ปัญหาโรคโลหิตจางท่ีพบในประเทศไทยเรา พบว่าปัญหา คอื การขาคเมล็ดเลอื ด เพราะ โฟลกิ มีมากในพืช
ผกั สเี ขียว ส่วน B12 มีมากในอาหารพวกเนอื้ สัตว์เปน็ สว่ นใหญ่เราจึงมักไม่ขาด โฟลกิ & B12

*โรคโลหติ จางเนื่องจากการขาดธาตุ Fe การแบ่งภาว การณ์ขาคธาตุ Fe จะแบ่งเปน็ 3 ระดบั
การเกิด โรคโลหิตจาง จะแยกตามระดับภูมิภาคประเทศไทย ควรมี โรคโลหิตจาง ไม่เกิน 15% ในปัจจุบัน
จะพบ%ของ โรคโลหิตจาง สูงในภาคใต้รองลงมาคือภาคเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื และภาคกลางตามลําดบั
สาเหตุของ โรคโลหติ จาง
1. ได้รบั อาหารทมี่ ีธาตเุ หล็กไมเ่ พียงพอ
2. กินอาหารทม่ี ีธาตุ Fe แตเ่ ป็น Fe ทไี่ ม่ดี (ไมส่ มบูรณ)์ คือ Fe ในพวกพชื ผักต่างๆ
3. พบว่าลักษณะอาหารของประชากรไทยจะกินเน้ือสัตว์นอ้ ยกินผกั มาก ทาํ ให้การดดู ซึมของ Fe ไมด่ ี
เพราะในผักมี ไฟติก, ออกซาลกิ ทําให้การดดู ซมึ ของ Fe เสียไป
4. การเสียเลือดในหญงิ มีครรภ์ ให้นมบุตร เพราะต้องสรา้ งเลอื ดใหก้ ับลูก ส่วนหญงิ วยั ร่นุ เป็น
5. ภาคใต้เกิดจากพยาธิปากขอสูงทส่ี ดุ รองลงมาพยาธใิ บไม้ในตบั
ปญั หาที่พบการขาดธาตุ Fe ในหญงิ ตัง้ ครรภ์

1. แทง้ 2. ตายตลอด
3. คลอดรอดชวี ติ แตม่ ีการพัฒนาช้ามาก 4. ทานนอ้ ย
*ในปัจจุบนั เดก็ ไทยมกี ารขาคธาตุ Fe ถงึ 20-30%
ผลเสียของการขาด Fe
1. ในเด็กถ้าพบว่าซีดมากพัฒนาการจะยิ่งไม่ดี ถ้าเด็กอายุ 1 ขวบ ซีดนานถึง 3 เดือน จะมี พัฒนาการด้าน
ต่างๆ ชา้
2. ถ้าขาดธาตุ Fe จะทาํ ให้การดดู ซมึ (ตะกัว่ ) มีมากข้นึ มผี ลตอ่ สมองมาก
การแก้ปัญหา

1. ถา้ ทานอาหาร จะตอ้ งทานพวกเน้ือสัตวด์ ว้ ย ให้ Vit A/Fe เพื่อชว่ ยในการดูดซมึ ของ

Fe ได้ดขี นึ้

2. ใหท้ านธาตุ Fe จะทำให้หายซดี แค่พัฒนาการตา่ งๆ ไม่คอ่ ยดี มีผลต่อสมอง

3. ตอ้ งให้ Vit A อย่างเพียงพอ เพราะถา้ ขาด Vit A/Fe จะไม่สามารถนํามาใช้ได้

4. ให้โภชนาศกึ ษา ใหร้ ู้จักเลอื กวา่ อาหารไหนควรได้รับมากเป็นพเิ ศษ

5. ให้มกี ารเสรมิ อาหารที่มีธาตุ Fe สูงเปน็ พเิ ศษ ใน USA. มกี ารเสรมิ ธาตุ Fe ในขนมปงั ส่วนประเทศ ไทย

มกี ารเสรมิ ธาตุ Fe ในน้ำปลา เกลอื

6. ให้มีสุขศกึ ษา ร้จู ักการปอ้ งกนั โรคพยาธิปากขอ คือ ใส่รองเท้า และถ่ายอุจจาระใหเ้ ปน็ ที่

3. โรคคอพอก

โรคคอพอกทีพ่ บในประเทศไทยสว่ นใหญ่เกิดจากการขาคธาตุ I2 ทําให้ตอ่ ม ไทรอยด์ ซึ่งอย่มู ีคอมีการ ขยาย

ขนาดขึ้น โตกว่าปกติ 4-5 เท่า โรคนี้เมื่อเป็นแล้วจะทําให้ดอโตไม่สวย ที่เป็นอันตราย คือ อาจไปกดทับ หลอดลม

และหลอดอาหาร ทําใหก้ ารหายใจและการกลนื อาหาร ไม่สะดวก ถ้าเปน็ นานๆ จะขาด ฮอร์โมน ของ ต่อม ไทรอยด์

ทําให้อ่อนเพลีย เฉื่อยชา ถ้าเป็นในระยะตั้งครรภ์จะส่งผลให้ลูกที่เกิดมามีลักษณะแคระแกรน ปัญญาทึบ หูหนวก

เปน็ ใบ้

ถ้าชุมชนใดทีม่ ีโรคคอพอก ในเด็กวัยเรียนเกินกว่าร้อยละ 10 ก็ถือได้ว่าชุมชนน้ันยังมีปัญหาการขาด ธาตุ ,

โรคนี้พบว่าเป็นปัญหาของชนภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ในปัจจุบันท่ีพบโรคคอพอก เป็นทาง

ภาคเหนือมากท่ีสุด)

โรคคอพอก โดยท่ัว ๆ ไป แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

1. โรคคอพอกเฉพาะถิ่น, โรคคอพอกขาดสารไอโอดีน, คอพอกคอลลอยด์, สาเหตุของโรคคอพอกชนิดน้ี

เนอ่ื งจากการขาดธาตุ I2 ซง่ึ 1. นีเ้ ราจะนําไปสรา้ ง ไทรอยดฮ์ อร์โมน หรอื ไทร็อกซินโรค คอพอกนจ้ี ะมี

ไทรอยด์ฮอร์โมน น้อยกว่าปกติ เราเรียกวา่ เป็น ไฮโปไทรอยด์ เนื่องจากขาดธาตุ I2 จาก อาหารไม่พอ ส่วน

ใหญเ่ กิดกับคนภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ในทอ้ งถ่ินชนบท

2. โรคคอพอกชนิดมีพิษ พวกนี้ต่อม ไทรอยด์โต กว่าปกติ มีการสร้าง ไทรอยด์ฮอร์โมน มากกว่าปกติ เรา

เรียกวา่ เป็น ไฮเปอร์ไทรอยด์ ถ้าเป็นมาก ๆ อาจเปน็ คนยักษ์ (เปน็ ในเด็ก) ถา้ เป็นผู้ ใหญ่ จะมอี าการแทรกซ้อนมาก

ขึ้น ตับ-ไต ทํางานมากกว่าปกติ หงุดหงิดง่ายกินเก่งแต่ไม่อ้วน ถ้าเป็นในวัยผู้ ใหญ่ร่างกายจะไม่โตเป็นคนยักษ์ โรค

คอพอกชนดิ น้ีไมต่ ้องมกี ารเสรมิ ธาตุ I2 เพราะถ้ามีการเสรมิ I2 อาการจะเปน็ มากขึน้

สาเหตขุ องโรคคอพอก
1. ได้รับธาตุ I2 ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย มักจะเป็นปญั หาเน่ืองมาจากความต้องการสูง ข้ึน
ในหญิงมีครรภ์ เด็ก วยั รุน่ อัตราสว่ นพบวา่ หญิงจะเป็นโรคคอพอกมากกวา่ ชาย
2. ความยากจน คนภาคเหนอื ที่ยากจนไมม่ ีเงนิ พอทจี่ ะซ้ืออาหารทะเล เพราะอาหารทะเลมีราคาแพง
3. ส่งิ แวดล้อม โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งปริมาณ I2 ในดินและนำ้ ทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ต่ำ
มาก พวกพชื ผกั เลยมี I2 น้อยดว้ ย
4. การคมนาคมไม่สะดวก
5. อาจได้รับสารบางอย่างที่ทําให้การใช้ I2 เสียไป สารพวกนี้มักจะอยู่ในอาหารพวกพืชผัก จะมีมากในผัก
กระหล่ำปลี หวั ปลี ผกั คะน้า ซึง่ จะทาํ ให้การใช้ เสียไป
ผลเสยี ของโรคคอพอก
1. สติปัญญาต่ำ เซื่องซึม การเรียนรู้ไม่ดี (เริ่มมีการพูดถึงเรื่องคอพอกในปี 2496 โดย เสริมพริ้งพวงแก้ว
เปน็ ผูเ้ ริม่ บรรยายถงึ โรคนี้ ในปี 2508 เริม่ ใชเ้ กลือ I2 ชว่ ยรกั ษาโรคน้)ี
2. ผลเสียต่อสมอง ในเด็กถา้ ขาค I2 ตั้งแต่เล็ก โดยถา้ เรมิ่ ตงั้ แต่มารดาขาต ผลเสียตวั ลูกจะเล็ก
3. ความรสู้ กึ ผดิ ปกติ-อยากกินสี ฯลฯ
4. ไม่สนใจสิง่ แวดลอ้ ม
5. เฉ่อื ยชา
6. มคี วามสนใจระยะสั้น
7. เตีย้ เป็นใบ้ หูหนวก
แนวทางในการแก้ไข
1. ทําในรูปของเกลอื อนามัย โดยใช้เกลือทะเล อตั ราส่วนทใี่ ช้โดยทัว่ ไป ใช้เกลอื 2,000 สว่ น ตอ่ I2 1 ส่วน
2. มีการเสริมธาตุ I2ร่วมกับธาตุ Fe ในน้ำปลา

ขอ้ ควรระวงั ในการใชเ้ กลอื I2
ถา้ ได้รบั มากเกินไป บางคนอาจเกดิ อาการแพ้ I2 ได้ อาจทําให้เป็นลมพษิ หรือมอี าการบวมได้

4. โรคเหน็บชา

โรคเหน็บชา เป็นโรคที่เกิดจาการขาค Vit B1 และ ไทอามีน ปัญหาของโรคเหน็บชาเกิดขึ้นเมื่อหลัง
สงครามโลกครั้งที่ 2 เนื่องจากการที่มีการขัดสีข้าวมากทําให้ต้องสูญเสีย Vit B1 ปัญหาที่ตามมา คือ มีการหุงข้าว
เช็ดน้ำ ส่วนข้าวแดง ข้าวซ้อมมือ คนไทยไม่นิยมรับประทานกันโรคเหน็บชาโดยทั่วไป เราแบ่งได้เป็น 3 ชนิด ตาม

ลักษณะอาการ คอื

1. เป็นโรคเหน็บชาในทารก มักพบในทารกอายุ 2-6 เดือน โดยมากมักเป็นในทารก ที่กินนมแม่ และแม่

กินอาหารทีข่ าด Vit B1 ทารกที่เป็นโรคนี้จะมีอาการเสียงแหบ เด็กพยายามจะร้องแต่ไม่มีเสียง ถ้าเป็นมาก ๆ ก็เกิด

อาการหัวใจวาย ถา้ ไมไ่ ดร้ ับการรกั ษาอย่างถูกต้องก็อาจตายได้ในเวลาไมก่ ว่ี ัน

ข้อมลู ท่ีจะนาํ ไปส่กู ารวินิจฉัยโรคเหนบ็ ชาในทารก คือ

ก. ผปู้ ว่ ยถูกเลี้ยงดว้ ยนมแม่ และแม่มปี ระวัตอิ ดของแสลง และ กนิ อาหารที่ขาด Vit B1

ข. แม่ท่กี ําลังใหน้ มลกู มปี ระวัติชาตามมอื -เทา้ และ มีอาการอ่อนเปล้ีย โดยเฉพาะที่ขาท้ัง 2 ข้าง

ค. ผู้ป่วยมีอาการขนั้ ตน้ ของอาการแสดงโรคหวั ใจวาย คือ หอบเหนื่อย หัวใจเตน้ เรว็ อาการบวม หัว ใจโต

ตับโต

2. โรคเหนบ็ ชาชนดิ เปียก เป็นอาการทางระบบหวั ใจหลอดเลือด (อาการทางหวั ใจ) อาการเริม่ ตน้ มักใจสั่น

หวั ใจเตน้ เรว็ หายใจบาก มีการชาตามปลายแขน-ขา นอกจากนยี้ ังมีอาการบวมเพราะ มี ไฮโดรเจน อย่ใู น เซลล์

มากกว่าปกติ

3. โรคเหนบ็ ชาชนดิ แหง้ มอี าการชาที่มอื -เทา้ เจบ็ ทกี่ ล้ามเนอ้ื น่อง กล้ามเน้ือแขนขาไมม่ ี แรง ในรายที่

เปน็ มากจะมีอาการเปน็ อมั พาตได้ ผปู้ ว่ ยพวกนไ้ี ม่มีอาการบวม

สาเหตุท่ีทําใหเ้ กิดโรคเหน็บชา

1. อาหารที่บริโภค ประชากรกินข้าวเป็นอาหารหลัก กินข้าวที่ขัดสีจนขาว นอกจากนี้ Vit B1 ยังมีมาก ใน

เนื้อสตั ว์ คือ เน้ือหมู แตค่ นไทยไดร้ บั เนือ้ สตั ว์ในปรมิ าณน้อยยิง่ ทาํ ให้ขาด Vit B1 มากข้ึน

2. การประกอบอาหารไม่คอ่ ยถกู วิธใี นทางโภชนาการ เชน่ การหุงขา้ วเชด็ น้ำ และ การซาวขา้ วหลายครัง้

3. มีสาร แอนต้ีไทอามีน หรือสารท่ที าํ ลาย Vit ทีม่ ีอยใู่ นอาหารหลาย ๆ ชนดิ จงึ ทําใหเ้ ราขาด Vit B1

4. การเปน็ โรคเหนบ็ ชา ข้ึนอย่กู ับสภาพแวดลอ้ ม เช่น ในหนา้ ดำนาประชากรส่วนใหญ่ใชแ้ รงงานทาํ ให้เป็น

เหนบ็ ชากันมาก

แนวทางในการแกไ้ ข

- ให้โภชนศึกษา แนะนาํ ให้เขารจู้ กั วธิ กี ารหุงต้มที่ถูกวธิ ี รู้จักใช้อาหารตา่ ง ๆ ให้เป็นประโยชน์

5. โรคปากนกกระจอก

ปากนกกระจอกเกิดจากการขาด Vit B1ปัญหาที่พบได้ทั่วไปในชนบท โดยเฉพาะใน เด็กวัยเรียน อาการที่

พบเดน่ ชัด คือ

1. มมุ ปากทง้ั 2 ขา้ งจะแตกเป็นแผล ริมฝปี ากบวมเจอ่

2. อาจมีล้นิ บวมแดงดว้ ย
3. ผวิ หนงั มีคราบไขมันที่ซอกหู
4. ตาเกดิ การระคายเคือง
6. โรคขาด Vitamin A
ปัญหาการขาด Vit A เป็นปัญหาที่พบได้ทั่วประเทศ มีผลทําให้เยื่อบุตาอักเสบเป็นแผลจนถึงกับแก้วตา
ทะลุ และท่าให้ตาบอด เพราะคนทตี่ าบอดจะเป็นปัญหา และภาระของสังคมอยา่ งมาก โรคนี้มักจะพบในทารก และ
เด็กวัยก่อนเรียน อายุตั้งแต่ 2 เดือน ถึง 5 ปี บางครั้งมักจะพบโรคขาด Vit A ควบคู่ไปกับโรคขาดพลังงานและ
โปรตนี ซ่งึ พบได้บ่อยมากในแถบอนิ เดยี อินโดนีเซีย จอรแ์ ดน ประเทศไทย ฯลฯ
สาเหตุของการขาด Vit A
เพราะมี Vit A สะสมมากบั ทารกน้อย อันเนอ่ื งมาจากแม่ได้รบั Vit A ไม่มากพอกบั รา่ งกายต้องการในระยะ
ต้งั ครรภ์ ต่อมาทารกบางรายได้รับการเลีย้ งดูดว้ ยนมข้นหวาน หรอื น้ำขา้ วใสน่ ้ำตาลทราย และยงั ไดร้ ับ อาหารเสริม
ที่มี Vit A น้อย นอกจากนี้การรับประทานไขมันจากอาหารน้อย โดยที่ไขมันเป็นตัวละลาย Vit A ดัง นั้นเมื่อได้รับ
Vit A และไขมันในอาหารค่ำ เด็กก็จะเกิดการขาดได้ง่ายขึ้น และเมื่อมีการเจ็บป่วยเกิดขึ้นมักจะมี อาการทางตา
จนถึงขัน้ ตาบอดได้ คนที่เปน็ ตาบอดจากโรคนจี้ งึ เปน็ เคร่อื งอย่างหน่งึ ถึงความบกพรอ่ งของสังคมนน้ั ๆ
Vit A สามารถถูกเก็บไว้ในตับ เพราะเป็น Vit ที่ละลายในไขมัน สามารถเก็บไว้ใช้ได้นานถึง 6 เดือน
นอกจากนี้แหล่งของ Vit นี้มีอยู่ทั่วไป หาได้ง่าย ราคาถูก เช่น ผัก ผลไม้สีเหลือง เช่น มะละกอ แครอท ฟักทอง
มะเขือเทศ ผกั บุ้ง ผักตําลงึ เราจึงถือว่า โรคขาด Vit A เปน็ สาเหตุท่สี ําคัญของโรคตาบอดทีเ่ ราสามารถป้องกันได้
ในเด็ก
สรปุ สาเหตุของการขาด Vit A
1. ความไมร่ ใู้ นการเล้ยี งดู (เปน็ สาเหตุสําคัญ)
2. ความเช่ือเรอ่ื งอาหาร
3. ความยากจน
4. โรคภัยไขเ้ จ็บ
5. การขาดโปรตนี พลงั งาน ทาํ ใหข้ าด Vit A ควบค่ไู ปด้วย

6. คลอดก่อนกาํ หนด

7. เยอ่ื บุต่าง ๆ

ผลของการขาย Vit A
ผลการขาด Vit A มผี ลตอ่ เซลล์เย่ือบผุ วิ มาก มีผลต่อ

Vit A เป็นสารอาหารที่จําเป็นอย่างหนึ่งในการดํารงไว้ซึ่งสุขภาพที่ดีของร่างกาย การขาด Vit A จะ
กอ่ ใหเ้ กิดอาการผดิ ปกติหลายอยา่ ง ไดแ้ ก่

1. การเจริญเตบิ โต จะหยดุ ชะงกั ลง
2. สายตา จะมีการเสื่อมของการมองเห็นในที่มือ ซึ่งเป็นอาการที่ พบก่อนอาการทางตาอื่น ๆ ในระยะ
เร่ิมแรก มีอาการตามัวในเวลากลางคืน เกดิ เนื่องจาก ขาด Vit A ซงึ่ จําเปน็ ต่อการมองเป็นในที่มือ อาการตามัวนี้ถ้า
ได้ รบั การรักษาด้วย Vit A กจ็ ะหายได้ แต่ถา้ ไมไ่ ด้รับการรกั ษากจ็ ะมีการเปลี่ยนแปลงต่อไป
3. เย่ือบุ ต่างๆ
- เยื่อบุของตาที่ตาขาว และตาดำที่ กระจกตา เยื่อบุตาขาวแห้ง โดยเป็นเกร็ดกระด่ีที่ตาขาว ตาดำขุ่นขาว
เยื่อบุตาดำขาว ขุ่น และอ่อน ตาดํา หรือกระจกตาเป็นแผลทะลุ ในที่สุดกระจกตาที่ใสจะขุ่นขาว หรือเป็นแผลเปน็
ทําใหต้ าบอดอย่างถาวร
- ท่ผี ิวหนงั แหง้ เป็นเกรด็ เกดิ เป็นตุม่ สาก ๆ ทปี่ ากชอ่ งเปิดของรขู ุมขน ผิวหนังบริเวณนนั้ จะแหง้ ถา้ เป็นมาก
ๆ ผิวหนงั จะขรุขระจนเรียกวา่ “หนังคางคก”
- ทีเ่ ยอื่ บุในช่องทางเดนิ ต่าง ๆ ของร่างกาย
- เย่ือบทุ างเดนิ ของระบบหายใจ เกดิ การอักเสบในชอ่ งจมูก โพรงจมูก
- เยื่อบุระบบทางเดนิ ปัสสาวะ
- เย้อื งบุระบบทางเดนิ อาหาร
แต่อาการท่สี าํ คัญ คอื อาการทางตา
เรติน่า ของตา กระจกตา เซลล์ ที่รับคลื่นแสง แล้วเกิดการเปลี่ยนปลงทางปฏิกิริยาทาง เคมี ซึ่งทําให้มี
กระแสประสาทสง่ ไปยังสมอง 2 ชนิด คอื
ก. เซลลก์ ้าน สําหรับมองเหน็ ในทมี่ ดื
ข. เซลล์รูปกรวย สาํ หรบั มองเห็นภาพสี และรายละเอยี ดของภาพในท่สี ว่าง

ปจั จัยท่ีเกยี่ วข้องกบั ประมาณ Vit A
ภาวะการขาด Vit A ในเด็ก มักจะพบร่วมกับภาวการณ์ขาค Prot & Cal เพราะระดับ Vit A ในเลือด
นอกจากจะขึ้นอยู่กับการได้รับ Vit A จากอาหารแล้ว ยังขึ้นอยู่กับระดับของ Prot ท่ี Vit A ในรูปของ เรตินอล ซ่ึง
เป็น Prot ที่ขนนํา Vit A จากตับไปสู่อวัยวะต่าง ๆ ดังนั้น ในการ ศึกษาภาวะโภชนาการของ Vit A จึงต้องคํานึงถงึ
ภาวะโภชนาการของ Prot & Cal ไปพร้อมกนั ด้วย ปจั จยั ที่ เก่ยี วข้องกบั ปรมิ าณ Vit A ในต่างกายประกอบดว้ ย
1. ระดับ Prot ในเลอื ด เพื่อขนส่ง Vit A
2. ไขมันในอาหาร ซง่ึ จําเปน็ สาํ หรบั การดดู ซมึ Vit A
3. การหลั่งน้ำดีเพอื่ การดูดซมึ ไขมนั และ Vit A
4. การทําหน้าทด่ี ดู ซมึ ไดเ้ ปน็ ปกติของระบบการย่อย และการดูดซมึ ของทางเดินอาหาร
ลกั ษณะอาการแสดงของ เยอ่ื บตุ า
อาการท่มี ีการเปล่ียนแปลงทางตา “ตาแหง้ ” และรวมถงึ การ เปลี่ยนแปลงที่เกิดกับลูกตาทั้งหมด ออกเป็น
ระยะ ไดด้ งั นี้
1. ตาบอดกลางคืน ตาบอดแสง มองไม่เห็นในที่มืด เป็นอาการเริ่มแรกของการขาด Vit A ถ้าให้ Vit A
พอจะหายไดภ้ ายในไมน่ าน
2. เยื่อบุตาขาวแห้ง เยื่อบุตาด้านนอก รวมทั้งตาขาว จะพบว่าแห้ง มีจุคขุ่น ซึ่งจะไม่มีความชื้น โดยขาด
แผน่ เยอื่ น้ำตาบาง ๆ เคลอื บอยู่ .
3. เกรด็ กระดู่ จะเปน็ แผน่ ฟองมันๆ และมจี ุดๆ สีเทาขาว และเงินขาว จะอยบู่ นเยอ่ื บุ
4. กระจกตาแห้ง มกี ารเปล่ียนแปลงกระตาดําแหง้ ค้าน เกิดข้ึนเพราะไม่มี ความชืน้ เคลือบอยู่ กระจําตาจะ
เริม่ ขุน่ เปล่ยี นไปเป็นลกั ษณะขุ่นขาวเทา ๆ ระยะนี้จะเกิดอยา่ งรวดเร็ว
5. กระจกตาขรุขระ ถ้ารักษาให้กายได้ในระยะนี้ลูกตาจะไม่เป็นแผลที่กระจก ตา ถ้ารักษาไม่หายก็จะเป็น
ในข้อ 6
6. กระจกตาเปน็ แผล หรอื กระจกตาออ่ นเหลว เปน็ ท่ตี าดาํ
7. กระจกตาเปน็ แผลจนกระทั่งแก้วตาทะลทุ ําให้ตาบอดอย่าง ถาวร
พิษของ Vit A
ถ้าร่างกายได้รับ Vit A สูงมาก ๆ จะเกิดอาการเฉียบพลัน คือ เกิดอาการอ่อนเพลีย ซึม เบื่ออาหาร อึดอัด
ท้อง เจบ็ กระดกู ข้อต่อ ปวดหัว คล่นื ไส้ อาเจยี น นอนไม่หลบั ผมร่วง ตวั เหลือง ตาเหลือง
ถา้ ได้รับ Vit A สูงนาน ๆ จะทาํ ให้
1. ความดนั โลหติ สูง
2. ปวดกระดกู
3. ตบั โต
4. ผิวแดง ลอก ผื่น
5. ผมร่วง
*แตถ่ า้ ในหญงิ ตงั้ ครรภ์ แลว้ ไดร้ ับ Vit A ในรูปของยามากถงึ 10,000 IU/day จะทาํ ใหแ้ ท้งได้

7. โรคนิ่วในกระเพาะปสั สาวะ
ปัญหานี้พบมากในเด็กชายวัยก่อนเรียนในชนบทภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ โดยมีอาการ
ปัสสาวะขัด ขุ่น มีทราย และ ก้อนนิ้วเล็ก ๆ ออกมา บางครั้งปัสสาวะเป็นเลือด หรือมีอาการของทางเดินปัสสาวะ
อักเสบร่วมด้วย
"ถ้าเปน็ นว่ิ ในไต องค์ประกอบของน้วิ ไมแ่ น่นอน น่ิวในไตจะพบในผูใ้ หญ่ สาเหตุของน่ิวในกระเพาะปัสสาวะ
1. การเกดิ ก้อนน่วิ ไม่ได้เกิดจากน้ำกระด้าง เพราะองค์ประกอบของก้อนนิ่วไม่เหมือนกบั องค์ประกอบ ของ
น้ำกระดา้ ง
2. สาเหตุท่แี น่นอน คือ เกิดจากอาหารท่ีรับประทาน โดยแยกได้ในเดก็ ในผู้ใหญ่
- ในเด็ก พบว่าบริโภคอาหารส่วนใหญ่กินข้าวเหนียวเป็นหลัก ซึ่งทําให้ไม่ค่อยได้อาหาร Port ใน วัยก่อน
เรยี น Port ทไ่ี ดม้ ักมาจากพชื ซึ่งเป็น Port ที่มคี ณุ ภาพตำ่ สามารถเปลีย่ นเปน็ ออกซาลกิ ได้สรุปไดว้ ่าคุณ ภาพของ
Port ในเด็กไม่ดีทําให้มีการเปลี่ยนแปลงของ อะมิโน เปลี่ยนไปในทางผิดปกติ คือ มีการเพิ่ม ออกซาลิก มากขึ้น
โอกาสที่ แคลเซียม จะตกตะกอนก็มมี ากด้วย
- ในผู้ใหญ่ พบว่าบริโภคข้าวก็ได้ Port ได้ อะมิโน พอสมควร แต่สาเหตุท่ีสําคัญในการทําให้เกิด นิ้ว พบว่า
เกิดจากการกินผักที่มีในท้องถิ่น และผักนั้นมี ออกซาเลต สูงเช่น ผักแพรวผักเสม็ด ผักกระโดน หน่อไม้ ผักโขม ใบ
ชะพลู ใบมันสําปะหลงั ฯลฯ
แนวทางในการแกไ้ ข
1. เพมิ่ คุณภาพของ Port ในเด็กใหด้ ขี น้ึ
2. ในผ้ใู หญ่ควรลดการบริโภคผักดงั กลา่ วให้นอ้ ยลง
3. ทานน้ำให้มากข้ึนกวา่ เดิม เพอื่ ชว่ ยละลายก้อนนวิ่


Click to View FlipBook Version