The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประกอบการพิจารณา IQA AWARD 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by armal_nik, 2021-10-08 12:34:10

รายงานประกอบการพิจารณา IQA AWARD 2562

รายงานประกอบการพิจารณา IQA AWARD 2562

รายงานประกอบการพิจารณา

การประเมนิ คัดเลอื กสถานศึกษาเพื่อรับรางวลั
IQA AWARD ประเภทสถานศกึ ษา
ระดบั ปฐมศึกษาขนาดใหญ่

ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒

โรงเรยี นอนุบาลยะลา

สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษายะลาเขต ๑
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

รายงานประกอบการพิจารณา
การประเมนิ คดั เลือกสถานศกึ ษาเพอ่ื รบั รางวัล IQA AWARD

ประเภทสถานศกึ ษา ระดับปฐมศกึ ษา ขนาดใหญ่
ปีการศึกษา 2562

โรงเรียนอนุบาลยะลา
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต 1

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ

กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2562 ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มี
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาโดยการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการประกาศ กำหนด พร้อมทั้งจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ี
มุ่งคุณภาพตามมารตฐานการศึกษา และดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้ จัดให้มีการปนะเมินผลและ
ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มี
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด หรือ
หนว่ ยงานทกี่ ำกบั ดแู ลสถานศกึ ษาเปน็ ประจำทกุ ปี

โรงเรียนอนุบาลยะลา อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ได้ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษา
ขั้นพื้นฐานเพื่อประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา จำนวน 3 มาตรฐาน คือ 1. ด้านคุณภาพผู้เรียน
2. ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ 3.ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น
สำคัญ พร้อมทั้งประกาศกำหนด ค่าเป้าหมาย ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษา
ขั้นพ้นื ฐาน เพ่ือประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาในแตล่ ะมาตรฐาน ให้มรี ะดบั ดีเย่ยี ม ทุกมาตรฐาน
ส่งผลใหน้ ักเรียน มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลักสูตร เปน็ ไปตามเป้าหมายทีก่ ำหนดมีพัฒนาการขยาย
ผลการทดสอบ ทางการศกึ ษาระดบั สงู ข้ึนอย่างต่อเน่ือง

บุคลากรโรงเรียนอนุบาลยะลาทุกฝ่ายได้ร่วมมือกัน เพื่อให้งานทุกมาตรฐานดังกล่าวสำเร็จ
ลุล่วงตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ดังปรากฏในข้อมูล เพื่อนำเสนอประกอบการประเมิน IQA AWARD
ประจำปี 2562 ข้อมูลที่นำเสนอในรายงานเป็นผลนรวมโดยสรุปในการดำเนนิ งาน ตามองค์ประกอบท้ัง
5 องค์ประกอบคือ 1. การกำหนดเปา้ หมายมาตรฐานคณุ ภาพ 2. การขบั เคลอื่ นคณุ ภาพสมู่ าตรฐานสากล
3. ประเมินความสำเร็จตามมาตรฐาน 4. การนำการเปลี่ยนแปลงสู่สถานศึกษาและการสร้างคุณค่า
แก่วงวิชาการ 5. การเกดิ วฒั นธรรมคุณภาพท่สี ะท้อนการพฒั นาทย่ี ัง่ ยนื

ลงชอื่

(นายไพศาล วอ่ งภาณสุ กุล)
ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนอนบุ าลยะลา

สารบญั หน้า

เร่ือง ข
คำนำ
สารบัญ ๑
บทท่ี 1 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา 8
10
ขอ้ มูลท่ัวไป................................................................................................................. ๑๑
ขอ้ มูลครูและบุคลากร................................................................................................. ๑3
ข้อมลู นักเรียน ............................................................................................................ ๑4
สรุปข้อมูลผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนระดับสถานศึกษา................................................. ๑5
ผลการทดสอบระดับชาติของผเู้ รียน (O-NET)........................................................... ๑๗
การประเมนิ การทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผ้เู รยี น (NT ๒๕๖๐-๒๕๖๑)........ 17
ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านออกของผ้เู รียน (RT)................................ ๑8
การใช้แหล่งเรยี นรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา .................................................. 18
ขอ้ มลู งบประมาณ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ …………………………………………………………… 19
ผลงานดเี ดน่ /รางวลั ของสถานศกึ ษา..........................................................................
ผลงานดเี ดน่ /รางวลั ของคร/ู ผู้บรหิ าร ……………………………........................................ 25
ผลงานนักเรยี น ……………………………………………………………………………………………… 26
บทที่ 2 ระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพ 27
ของสถานศกึ ษา
องคป์ ระกอบท่ี 1 กำหนดเปา้ หมายมาตรฐานคุณภาพ …………………………………… 28
องค์ประกอบที่ 2 การขับเคลื่อนคุณภาพสู่มาตรฐานสากล ……………………………… 29
องค์ประกอบที่ 3 ประเมินความสำเรจ็ ตามมาตรฐาน………………………………………
องคป์ ระกอบท่ี ๔ การนำการเปล่ียนแปลงสูส่ ถานศึกษาและการสรา้ งคุณค่า 31

แก่วงวิชาการ…………………………………………………………………… 37
องค์ประกอบที่ 5 การเกิดวัฒนธรรมคุณภาพทสี่ ะท้อนการพฒั นาท่ยี ั่งยนื ………….
ภาคผนวก ............................................................................................................................. .......... 39
คำสัง่ แต่งต้งั คณะกรรมการทบทวนและปรบั ปรุงมาตรฐานการศกึ ษา พฒั นามาตรฐาน
การศึกษาและรายงานผลการประเมนิ ตนเอง ระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
ปีการศึกษา ๒๕๖๒....................................................................................................
ประกาศโรงเรยี นอนุบาลยะลาเร่ือง แต่งต้ังคณะกรรมการทบทวนและปรับปรุงมาตรฐาน
การศกึ ษาระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๖๒....................................................
ประกาศโรงเรยี นอนุบาลยะลา เรือ่ ง มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
พ.ศ. ๒๕๖๒ ...............................................................................................................

-1-

บทท่ี 1
ข้อมูลพื้นฐาน

๑. ขอ้ มูลทว่ั ไป

โรงเรยี นอนบุ าลยะลา ท่ีอยู่ ๑๓๑ ถนนเทศบาล ๓ ตำบลสะเตง อำเภอเมือง จงั หวดั ยะลา ๙๕๐๐๐

โทรศัพท์ ๐๗๓ – ๒๑๒๗๙๐ โทรสาร ๐๗๓ – ๒๒๒๓๑๒

ผู้บรหิ ารโรงเรยี น :

นายไพศาล ว่องภาณสุ กลุ ผู้อำนวยการโรงเรียน วทิ ยฐานะเชี่ยวชาญ

โทรศพั ท์ ๐๘๔-๗๔๙๘๐๗๗

E-mail:wongpanu๑๑@gmail.com

นางสาวมะลิวรรณ์ จิตกุล รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น วทิ ยฐานะชำนาญการพิเศษ

ฝ่ายบรหิ ารวชิ าการ, บริหารงานบุคคล วทิ ยฐานะชำนาญการพเิ ศษ

โทรศัพท์ ๐๙๙-๕๓๕๖๑๕๕

E-mail: maliwan.๒๐๓๐[email protected]

นายคปุ ตพงศ์ หนปู ระสงค์ รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น วิทยฐานะชำนาญการพเิ ศษ

ฝ่ายบริหารงบประมาณ โทรศัพท์ ๐๙๑-๘๔๙๑๗๕๕

E-mail: kuptapong๑๗๕๕@hotmail.com

นายสพุ งศ์ศักดิ์ อุดม รองผู้อำนวยการโรงเรียน วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ

ฝ่ายบรหิ ารทั่วไป โทรศัพท์ ๐๖๑-๖๒๓๘๕๙๐

E-mail: Theone๑_๑@hotmail.com

เปดิ สอน : ระดับช้ันอนุบาลปีที่ ๑ ถึงระดับประถมศกึ ษาปีท่ี ๖

-2-

ประวตั ิโรงเรียนโดยย่อ
โรงเรียนอนุบาลยะลา ตั้งอยู่เลขที่ ๑๓๑ ถนนเทศบาล ๓ ตำบลสะเตง อำเภอเมืองยะลา

จังหวัดยะลา มีเนื้อที่ ๑๖ ไร่ ๒ งาน เปิดทำการสอนครั้งแรกเมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๔๙๖ ได้อาศัย
อาคารเรียนของโรงเรียนเมืองยะลา เป็นสถานที่เรียน เปิดสอนชั้นอนุบาล ๑ นักเรียนจำนวน ๒๖ คน
ครูจำนวน ๒ คน โดยมีนาวสาวจิตรา อุดมวงศ์ เป็นครูใหญ่ ในปีพ.ศ. ๒๔๙๗ เปิดขยายอกี ๑ ห้องเรียน
โดยมีนางสาวพะยอม เอกรัตน์ มารับตำแหนง่ ครูใหญ่ เมือ่ วันท่ี ๑๘ พฤษภาคม ๒๔๙๗

ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๐๒ ได้สร้างอาคารแบบ ๐๐๘ จำนวน ๑ หลัง ใช้งบประมาณของทาง
ราชการ ๓๒๐,๐๐๐ บาท (สามแสนสองหมื่นบาทถ้วน) จำนวน ๑๐ ห้องเรียน ซึ่งตั้งอยู่เลขที่ ๑๓๑ ถนน
เทศบาล ๓ ตำบลสะเตง อำเภอเมือง จงั หวดั ยะลา และได้ย้ายนักเรยี นจากทีเ่ ดิมมาเรียนท่ีแห่งน้ี เม่ือวันท่ี
๒๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๐๓ และนางสาวชมพู โปษกบุตร มารับตำแหน่งครูใหญ่ เมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม
พ.ศ. ๒๕๐๓

ปี พ.ศ. ๒๕๑๐ นางรัมภา ทรงพงษ์ ดำรงตำแหน่งครูใหญ่และปี พ.ศ. ๒๕๑๒ ได้รับ
งบประมาณสร้างอาคารเรียนแบบ ๕๐๑ จำนวน ๑ หลัง จำนวน ๑๐ ห้องเรียน งบประมาณ ๗๕๐,๐๐๐
บาท (เจ็ดแสนหา้ หม่นื บาทถ้วน)

ปี พ.ศ. ๒๕๑๔ นางชูศรี ไชยประสิทธิ์ ได้ดำรงตำแหน่งครูใหญ่วันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๑๔
และได้รับงบประมาณสร้างสว้ มแบบ ๔๐๑ จำนวน ๑ หลัง งบประมาณ ๓๕,๐๐๐ บาท (สามหมืน่ หา้ พัน
บาทถว้ น)

ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ นางสาวเพ็ญพรรณ จิตโรภาส ได้รับคำสั่งแต่งตั้งดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่
เมื่อวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๒๐ ได้รับงบประมาณสร้างบ้านพักครู แบบกรมสามัญ จำนวน ๑ หลัง
งบประมาณ ๓๕,๐๐๐ บาท (สามหมื่นห้าพันบาทถว้ น) เปิดสอนชั้นอนบุ าล ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
จำนวน ๒๖ ห้องเรียน นกั เรยี น ๘๘๕ คน ครูอาจารย์ จำนวน ๓๖ คน คนงาน จำนวน ๙ คน

ปี พ.ศ. ๒๕๒๓ นางอรพินท์ นาคประดิษฐ์ ดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ เมื่อวันที่ ๑๖ เมษายน
๒๕๒๓ เปิดสอน ๒๙ ห้องเรียน ครูอาจารย์ จำนวน ๔๓ คน นักเรียน จำนวน ๙๙๕ คน คนงาน จำนวน
๑๒ คน ปนี ี้โอนโรงเรยี นจากกรมสามัญศึกษาไปสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ
(สปช.) ต้งั แตว่ นั ท่ี ๑๓ ตุลาคม ๒๕๒๓

ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ นายสัญญา สุวรรณโพธิ์ ได้รับคำสั่งแต่งตั้งให้มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ
โรงเรียนอนุบาลยะลา วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๙ เปิดสอน ๔๘ ห้องเรียน นักเรียน ๑,๗๙๒ คน
ครูอาจารย์ ๖๐ คน คนงาน ๑๘ คน สร้างอาคารหอ้ งสมุดเคร่ืองเลน่ ๑ หลงั ด้วยงบประมาณของสมาคม
ผปู้ กครองและครูโรงเรียนอนุบาลยะลาเป็นเงิน ๕๘๕,๐๐๐ บาท (ห้าแสนแปดหมื่นหา้ พันบาทถ้วน) และ
ได้รับงบประมาณสร้างอาคารเรียน ๑ หลัง แบบ สปช. ๒/๒๘ งบประมาณ ๔,๒๘๐,๐๐๐ บาท (สี่ล้าน
สองแสนแปดหม่ืนบาทถ้วน) สมาคมผปู้ กครองโรงเรยี นอนุบาลยะลา จัดซอื้ โต๊ะ เก้าอี้ จำนวน ๑๒๐ ชุด
เปน็ เงนิ ๗๒,๐๐๐ บาท (เจด็ หม่ืนสองพนั บาทถว้ น)

ปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เปิดสอน ๕๑ ห้องเรียน นักเรียน ๒,๐๘๕ คน ครูอาจารย์จำนวน ๗๑ คน
ครูอัตราจ้าง ๗ คน ครูบรรณารักษ์ ๑ คน ลูกจ้างประจำ ๑๐ คน ลูกจ้างชั่วคราว ๑๙ คน โรงเรียนได้
ปรับปรุงระบบบริหารงานคุณภาพด้านบริการตาม ISO ๙๐๐๒ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ได้ปรับปรุงพื้น
และสวนหย่อมรวมทั้งน้ำตกบริเวณลานไทร หน้าอาคารเรียน ๓ โดยใช้เงินจากการจัดงานสปอรต์ไนท์

-3-

บอล และเงินบริจาคจำนวน ๑,๒๐๐,๐๐๐ บาท และได้ปรับปรุงพืน้ ที่หลังอาคารเรียน ๒ โดยปูอิฐบล็อก
และสรา้ งส้วม ๑ หลัง จำนวน ๒๐ ทน่ี ั่ง โดยใช้เงนิ บริจาคจำนวน ๑,๘๐๐,๐๐๐ บาท

ปี พ.ศ.๒๕๔๖ เปิดสอน ๔๘ ห้องเรียน และทางสปช.กำหนดให้ทางโรงเรียนเปิด Mini English
Program ในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ อีก ๑ ห้องเรียน รวมเป็น ๔๙ ห้องเรียน นักเรียน ๒,๑๑๙ คน
ครูอาจารย์ ๖๘ คน ครูอัตราจ้าง ๑๔ คน บรรณารักษ์ ๑ คน ลูกจ้างประจำ ๘ คน ลูกจ้างชั่วคราว (คนครัว)
๕ คน พี่เลี้ยง ๑๒ คน โรงเรียนได้จัดสร้างพิพิธภัณฑ์เพื่อการศกึ ษา เนื่องในมหามงคล การจัดงานฉลอง
สิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยใช้งบประมาณจากผู้บริจาค จำนวน
๑,๗๑๙,๔๘๐ บาท งบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจำนวน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิดพิพิธภัณฑ์
เมอ่ื ๖ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๐

๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ นายสัญญา สุวรรณโพธิ์ ขอลาออกจากการรับราชการเพื่อไปดำรง
ตำแหน่งทางการเมือง (รองนายกเทศมนตรี เทศบาลนครยะลา) และนางสมบูรณ์ สุวรรณราช
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้าน โฉลง ได้รับแต่งตั้งให้มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลยะลาแทน
นายสญั ญา สวุ รรณโพธ์ิ

ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ เปิดสอน ๔๙ ห้องเรียน ข้าราชการครู ๗๕ คน พนักงานราชการ ๑๔ คน
ครูอัตราจ้าง ๑๐ คน ครูการศึกษาพิเศษ ๒ คน ลูกจ้างประจำ ๕ คน ลูกจ้างชั่วคราว ๒๓ คน เจ้าหน้าท่ี
ธุรการ ๑ คน โดยมีอาคารเรียน จำนวน ๕ หลัง อาคารประกอบ จำนวน ๘ หลัง โรงอาหาร ๑ หลัง
โรงครัว ๑ หลัง อาคารอเนกประสงค์ ๑ หลัง บ้านพักครู ๒ หลัง บ้านพักภารโรง ๑ หลัง โดยมี
นายวิชัย ศรีทอง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านนิบงพัฒนา กษาราชการแทนผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาล
ยะลา

ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ โรงเรียนอนบุ าลยะลา ไดร้ บั ประกาศให้เป็นโรงเรยี นประชาธิปไตยตัวอย่างรักษา
มาตรฐาน ประจำปี ๒๕๕๕ จากคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี และได้รับการ
รับรองมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับทอง ปีการศึกษา ๒๕๕๕ จากกรมอนามัย กระทรวง
สาธารณสุข ปัจจบุ ันเปิดสอน ๔๙ หอ้ งเรยี น ข้าราชการครู ๗๔ คน พนักงานราชการ ๑๔ คน ครูอตั ราจ้าง
๑๐ คน ครูการศึกษาพิเศษ ๒ คน ลูกจ้างประจำ ๕ คน ลูกจ้างชั่วคราว ๒๓ คน เจ้าหน้าที่ธุรการ ๑ คน
โดยมีอาคารเรียน จำนวน ๕ หลัง อาคารประกอบ จำนวน ๘ หลัง โรงครัว ๑ หลัง อาคารอเนกประสงค์
๑ หลัง บ้านพักครู ๒ หลัง บ้านพักภารโรง ๑ หลัง โดยมีนายสมคิด สมพงษ์ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ
โรงเรียนอนุบาลยะลา

ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ โรงเรียนอนุบาลยะลา ได้รับโล่เชิดชูเกียรติ ผลการทดสอบระดับชาติข้ันพืน้ ฐาน
(O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ได้รับโล่
เกียรติคุณ เป็นโรงเรียนคาร์บอนต่ำลดการใช้พลังงานไฟฟ้า ที่สามารถลดการใช้พลังงานไฟฟ้าได้ไม่น้อย
กวา่ รอ้ ยละ ๓ (จำนวนนกั เรียนน้อยกวา่ ๒,๐๐๐ คน) และได้รบั รางวลั “โรงเรยี นประชาธิปไตยตัวอย่าง ”
ประจำปี ๒๕๕๙ ปัจจุบันเปิดสอน ๔๔ ห้องเรียน ข้าราชการครู ๖๔ คน พนักงานราชการ ๑๕ คน
ครูอัตราจ้าง ๑๓ คน ครูการศึกษาพิเศษ ๒ คน ลูกจ้างประจำ ๒ คน ลูกจ้างชั่วคราว ๒๔ คน เจ้าหน้าที่
ธุรการ ๑ คน โดยมีอาคารเรียน จำนวน ๖ หลัง อาคารประกอบ จำนวน ๘ หลัง โรงครัว ๑ หลัง อาคาร
อเนกประสงค์ ๑ หลัง โดยมนี ายสมคดิ สมพงษ์ ดำรงตำแหน่งผ้อู ำนวยการโรงเรียนอนบุ าลยะลา

-4-

ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ โรงเรียนอนุบาลยะลา ได้รับโล่เกียรตคิ ุณ โครงการรวมใจภักดิ์ รักษ์วัฒนธรรม
ท้องถิ่นใต้ มโนราห์แอโรบิก จากมูลนิธิยุวทูตความดี กระทรวงการต่างประเทศ ปัจจุบันจัดชั้นเรียนในปี
การศึกษา ๒๕๖๑ คือ ระดับชั้นก่อนประถมศึกษา จำนวน ๑๑ ห้องเรียน ระดับชั้นประถมศึกษา จำนวน
๓๖ ห้องเรียน รวมชั้นเรียนทั้งหมด ๔๗ ห้องเรียน นักเรียนระดับก่อนประถมศึกษา จำนวน ๒๙๒ คน
นักเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน ๑,๓๔๔ คน รวมจำนวนนักเรียนทั้งหมด ๑,๖๓๖ คน มีข้าราชการ
ครู จำนวน ๕๙ คน พนักงานราชการ ตำแหน่งครูผู้สอน จำนวน ๑๑ คน บุคลากรจ้างด้วยเงินนอก
งบประมาณ จำนวน ๒๐ คน ครชู าวต่างประเทศ จำนวน ๗ คน มอี าคารเรียน ๖ หลงั อาคารประกอบ ๘
หลัง จำนวนอาคารดังกล่าวมีปริมาณเพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอนที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน โดยมี
นายไพศาล ว่องภาณสุ กุล ดำรงตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนอนุบาลยะลา

ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ โรงเรียนอนุบาลยะลา รับโล่รางวัลยอดเยี่ยม โรงเรียนรักการอ่าน โรงเรียน
ขนาดใหญ่ ศูนยเ์ ครอื ขา่ ยเรืองวิทย์ โรงเรยี นอนุบาลยะลา ในโครงการสง่ เสริมนิสยั รักการอ่านและพัฒนา
ห้องสมุดมีชีวิต ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑ รับรางวัลชมเชย การประกวดการแสดงทางวิทยาศาสตร์
(Science Show ) ระดับประถมศึกษาตอนปลาย ระดับประเทศ ประจำปี ๒๕๖๒ รับรางวัลรองชนะเลศิ
อันดับ ๑ การประกวดขับร้องประสานเสียง กิจกรรมการประกวดศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยจังหวัดยะลา
ประจำปี ๒๕๖๒ ปัจจุบันจัดชั้นเรียนปีการศึกษา ๒๕๖๒ คือ ระดับชั้นก่อนประถมศึกษา จำนวน ๑๑
ห้องเรียน ระดับชั้นประถมศึกษา จำนวน ๓๗ ห้องเรียน รวมชั้นเรียนทั้งหมด ๔๘ ห้องเรียน นักเรียน
ระดับก่อนประถมศึกษา จำนวน ๓๒๗ คน นักเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน ๑,๓๘๘ คน รวมจำนวน
นักเรยี นทง้ั หมด ๑,๗๑๕ คน มีขา้ ราชการครู จำนวน ๖๐ คน พนกั งานราชการ ตำแหน่งครผู ูส้ อน จำนวน
๙ คน บคุ ลากรจา้ งด้วยเงนิ นอกงบประมาณ จำนวน ๓๔ คน ครูชาวตา่ งประเทศ จำนวน ๖ คน มีอาคาร
เรียน ๖ หลัง อาคารประกอบ ๘ หลัง จำนวนอาคารดังกล่าวมีปริมาณเพียงพอต่อการจัดการเรียนการ
สอนที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน โดยมีนายไพศาล ว่องภาณุสกุล ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาล
ยะลา

-5-

ขอ้ มูลสภาพชุมชน
สภาพพื้นท่โี รงเรียน

โรงเรยี นอนุบาลยะลา มีเน้ือท่ี ๑๖.๕ ไร่ สภาพพน้ื ท่เี ป็นท่รี าบโดยมีอาณาเขต ดังนี้
ทศิ เหนอื ตดิ ต่อกับ สถาบนั การพลศึกษา วทิ ยาเขตยะลา
ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกับ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา
ทิศตะวันออก ตดิ ต่อกบั ถนนเทศบาล ๖ บา้ นพักอาจารย์มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา
ทศิ ตะวันตก ติดตอ่ กับ วิทยาลัยเทคนิคยะลา

เขตพนื้ ที่บริการ
จงั หวดั ยะลา

สภาพชุมชน
โรงเรียนอนุบาลยะลา ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลนครยะลา ตำบลสะเตง อำเภอเมืองยะลา

จังหวัดยะลา สถานที่ราชการสำคัญที่ตั้งอยู่ใกล้เคียงได้แก่ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตยะลา
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา วิทยาลัยเทคนคิ จังหวัดยะลา สถานที่
สำคัญทางศาสนา ได้แก่ วัดพุทธภูมิ พระอารามหลวง สถานที่ตั้งโรงเรียนเป็นชุมชนเมือง การคมนาคม
สะดวก การติดต่อสอื่ สารสะดวก มีสถานประกอบการหลายชนิดอยู่ในชุมชน ฐานะของผู้ปกครองนักเรียน
ส่วนมากยังอยู่ในระดับดี อาชีพของผู้ปกครองนักเรียนมีหลากหลาย เช่น รับราชการ พนักงานบริษัท
ค้าขาย ประกอบธุรกิจส่วนตัวผู้ปกครองนักเรียนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีประเพณีวัฒนธรรมอันดี
งามอยู่มากมายสืบทอดเป็นมรดกของชุมชน มีภูมิปัญญาท้องถิ่นและปราชญ์ชาวบ้านหลากหลายสาขา
ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนให้ความสนใจและความร่วมมือกับโรงเรียนในการพัฒนาการจัดการศึกษา
ทกุ ดา้ นเป็นอย่างดี

ขนาดของโรงเรียน
โรงเรยี นอนุบาลยะลา เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่

ข้อมูลสง่ิ อำนวยความสะดวกและสาธารณูปโภค
๑. ไฟฟ้า ใชไ้ ฟฟ้าแรงสูงขนาด ๒๒๐ และหมอ้ แปลงไฟฟา้ ขนาด ๑๐๐ kVA

จากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
๒. ประปา จากประปาเทศบาลนครยะลา และประปาภายในโรงเรยี น
๓. โทรศพั ท์ / โทรสาร จากองค์การโทรศัพท์แหง่ ประเทศไทย
๔. น้ำดม่ื จากประปาภายในโรงเรยี น โดยผา่ นเครือ่ งกรองน้ำด่มื
๕. นำ้ ใชจ้ ากประปาเทศบาลนครยะลา และประปาภายในโรงเรียน

-6-

ปรชั ญาของโรงเรียน (School Philosophy)

ปรชั ญา :
ทกั ษะเย่ียม เปี่ยมคณุ ธรรม นำวชิ าการ
 ทักษะเยี่ยม หมายถึง ผู้เรียนมีทักษะที่สำคัญในการใช้ชีวิตและทำงานในศตวรรษที่ ๒๑

ไดแ้ ก่ ทักษะการเรียนรแู้ ละนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สอ่ื เทคโนโลยี ทักษะชวี ติ และอาชพี
 เปี่ยมคุณธรรม หมายถึง ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลาง

การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มี ๘ ประการ ไดแ้ ก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่อื สตั ย์สุจรติ
มวี นิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ อย่อู ยา่ งพอเพยี ง มุ่งม่ันในการทำงาน รกั ความเป็นไทย มีจติ สาธารณะ

 นำวิชาการ หมายถงึ ผ้เู รยี นมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษามีผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนผา่ นการประเมนิ ระดับชาติ อย่ใู นระดับดี

วิสัยทศั น์

โรงเรียนเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล เปี่ยมคุณธรรม ครูมี
มาตรฐานวิชาชีพ ขับเคลื่อนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้วยระบบการบริหารจัดการที่มี
ประสิทธภิ าพ

พนั ธกจิ

๑. พัฒนาระบบบริหารการจัดการศึกษาด้วยระบบคุณภาพและยึดหลักการมีส่วนร่วมประสาน
ความร่วมมือผู้มสี ่วนเกยี่ วขอ้ งทุกภาคส่วน

๒. พัฒนาหลักสูตร การออกแบบจัดการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษามุ่งเน้นศักยภาพผู้เรียน
ตามมาตรฐานสากล

๓. ส่งเสริมให้ผู้เรียนยึดมั่นคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมหลัก ๑๒ ประการและคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

๔. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีสมรรถนะ มีความเชี่ยวชาญ มีความสามารถในการ
ออกแบบการเรียนรู้ ใช้สอื่ นวัตกรรมในการพฒั นาผูเ้ รยี น

เป้าหมาย

๑. ผู้เรยี นมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนท่สี ูงขึ้น มคี ุณภาพตามหลกั สตู ร มคี วามสามารถในการสื่อสาร
อยา่ งน้อย ๒ ภาษา มีทักษะการคดิ ทักษะชวี ิตในการอย่รู ว่ มกันในสังคมอย่างสนั ตสิ ขุ

๒. ผ้เู รยี นมวี ินยั มีคุณธรรม จรยิ ธรรม ประพฤติปฏบิ ัตติ ามคา่ นยิ มหลัก ๑๒ ประการ
และคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงคต์ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

๓. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถออกแบบ
การเรยี นรูแ้ ละมนี วัตกรรมในการพฒั นาผู้เรยี น

๔. โรงเรียนมรี ะบบการบรหิ ารทีม่ ปี ระสิทธิภาพ มีวฒั นธรรมองค์กรแหง่ การเรยี นรู้
๕. โรงเรียนมีเครือข่ายทางการศึกษาที่หลากหลาย และมีส่วนร่วมรับผิดชอบในการพัฒนา
คณุ ภาพผู้เรยี น

-7-

สัญลักษณ์ของโรงเรียนอนบุ าลยะลา

สปี ระจำโรงเรยี น : สชี มพู – กรมท่า

คำขวัญโรงเรยี นอนบุ าลยะลา : ความรดู้ ี มีอนามยั ใฝ่คุณธรรม

เอกลักษณ์ของโรงเรยี นอนบุ าลยะลา : พพิ ธิ ภัณฑ์เพ่ือการศกึ ษา

อัตลักษณข์ องโรงเรยี นอนุบาลยะลา : ผ้เู รียนมีมารยาทงาม

วัฒนธรรม/คา่ นยิ มองค์กร
วฒั นธรรมองค์กร : “ร่วมคดิ ร่วมพฒั นา ใช้ฉนั ทามติ งานมีผลสัมฤทธิ์ ผ้รู ับบริการพึงพอใจ”

ค่านิยมองค์กร :
SMART
S = Specialization (ความเชี่ยวชาญ ชำนาญการเฉพาะทาง) หมายถึง การทำงานที่ต้องใช้

ความรู้ ความสามารถที่เป็นความชำนาญ หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะทางที่ตรงกับลักษณะของงานมาก
เปน็ พิเศษ พฒั นาตนเองให้เท่าทันการเปล่ียนแปลงอย่างสมำ่ เสมอ

M = Morality (การมีคุณธรรม จริยธรรม) หมายถึง การทำงานด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต
โปรง่ ใส เสมอภาค เปน็ กลาง ไมเ่ ลือกปฏิบัติ

A = Accountability (ความรับผดิ ชอบทสี่ ามารถตรวจสอบไดต้ ลอดเวลา) หมายถึง
การทำงานด้วยความขยันหมั่นเพียร มุ่งมั่น มีความรับผิดชอบ เสียสละ มุ่งเน้นความถูกต้องตามกฎ
ระเบียบ และยอมรบั การตรวจสอบผลสำเร็จของงานอยา่ งเปดิ เผยทัง้ ในทางบวกและทางลบ

R = Relationship (ความรว่ มมือ ความสมั พันธท์ ่ีดีต่อกัน) หมายถึง การมีความร่วมมือ ร่วม
ใจกันทำงาน มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ยอมรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน มีความสามัคคี กลมเกลียว
เป็นหนงึ่ เดยี วกนั ในการทำงาน รวมทั้งมจี ติ ใจเอ้อื เฟื้อเผ่ือแผ่ ใหบ้ รกิ ารผู้อ่ืนดว้ ยความเตม็ ใจ

T = Team and Technology (การทำงานเป็นทีม และใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน)
หมายถึง การมอบหมายงานที่เหมาะสมกับคน การสร้างทีมทำงานอย่างเหมาะสม มุ่งเน้นประสิทธิภาพ
และความเป็นเลิศของผลงาน มุ่งเน้นประสิทธิภาพและความเป็นเลิศของผลงาน รวมถึงมุ่งเน้นการ
ประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานได้อยา่ งเหมะสม

-8-

คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลยะลา พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มุ่งพฒั นาผูเ้ รยี นให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพอ่ื ให้สามารถอยู่ร่วมกับ
ผ้อู น่ื ในสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสุข ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดังน้ี

๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซ่ือสัตย์สุจรติ
๓. มวี ินัย
๔. ใฝเ่ รียนรู้
๕. อยู่อยา่ งพอเพยี ง
๖. มุ่งมั่นในการทำงาน
๗. รกั ความเป็นไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ

๒. ข้อมูลครูและบคุ ลากร:
๒.๑ ตารางแสดงจำนวนครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ปีการศึกษา ๒๕๖๒

ที่ ประเภทบุคลากร จำนวน (คน)

๑. ขา้ ราชการครู ๖๒
๒. พนักงานราชการครูผสู้ อน ๙
๓. พนกั งานราชการครูพเ่ี ลย้ี ง ๔
๔. ลูกจา้ งประจำ ๒
๕. ครูพ่ีเลย้ี งเด็กพิการ/ครูการศึกษาพิเศษ ๔
๖. เจ้าหน้าทธ่ี ุรการ โครงการคืนครฯู ๑
๗. วทิ ยากรชาวต่างชาติ ๖
๘. ลกู จา้ งช่ัวคราว

- ครพู เ่ี ลย้ี ง ๑๔
- ครอู ตั ราจา้ ง ๑
- เจา้ หนา้ ท่ธี รุ การ ๑๒
- คนครัว ๑
๙. เจา้ หนา้ ท่รี ักษาความปลอดภัย ๑๒๒

รวม

-9-

๒.๒ วุฒกิ ารศึกษาสูงสุดของบุคลากร

ต่ำกว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ประกาศนยี บตั รบณั ฑิต ปรญิ ญาโท ปริญญาเอก
๑๒ -
๑๖ ๙๔ -

๒.๓ วทิ ยฐานะ

ครูผูช้ ว่ ย ครู คศ.๑ ครู คศ.๒ ครู คศ.๓ ครู คศ.๔
๖ ๑๐ ๓๒ ๑๓ ๑

๒.๔ สาขาวิชาท่จี บการศกึ ษาและภาระงานสอน

สาขาวิชา จำนวน ภาระงานสอนเฉลย่ี ของครู ๑ คน (ชม./สัปดาห์)

บริหาร ๔ -
ภาษาไทย ๖ ๑๕
คณติ ศาสตร์ ๙ ๑๕
วิทยาศาสตร์ ๔ ๑๒
สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๖ ๑๒
ประวตั ศิ าสตร์ ๑ ๑๒
สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๗ ๑๒
ศลิ ปะ ๕ ๑๒
การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๕ ๑๒
ภาษาอังกฤษ ๖ ๑๘
ภาษาจนี ๓ ๑๒
การประถมศึกษา ๙ ๑๕

- 10 -

๓. ข้อมูลนักเรยี น

ขอ้ มูลนักเรยี น : ตารางแสดงจำนวนนกั เรยี น ปีการศึกษา ๒๕๖๒

ระดับชน้ั เรยี น ชาย หญิง รวม เฉลี่ย
(คน) (คน) (คน) ตอ่ ห้อง

ช้นั อนุบาลปีท่ี ๑ ๔๖ ๔๐ ๘๖ ๒๙

ชัน้ อนบุ าลปีที่ ๒ ๖๐ ๕๗ ๑๑๗ ๒๙

ชั้นอนุบาลปีที่ ๓ ๕๙ ๖๘ ๑๒๗ ๓๐

รวมชน้ั อนบุ าลท้ังหมด ๑๖๕ ๑๖๕ ๓๓๐ -

ระดบั ช้ันเรียน ชาย หญงิ รวม เฉลย่ี
(คน) (คน) (คน) ตอ่ ห้อง
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑ ๑๕๑ ๑๓๔ ๒๘๕ ๔๑
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๒ ๑๒๓ ๑๓๖ ๒๕๙ ๔๓
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๓ ๑๐๔ ๑๐๑ ๒๐๕ ๓๔
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ๑๐๓ ๑๑๔ ๒๑๗ ๓๖
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๕ ๘๙ ๑๑๙ ๒๐๘ ๓๕
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ๙๙ ๑๑๗ ๒๑๖ ๓๖
รวมชั้นประถมศึกษาท้ังหมด ๖๖๙ ๗๒๑ ๑,๓๙๐ -
๘๓๔ ๘๘๖ ๑,๗๒๐ -
รวมท้ังส้นิ
(ขอ้ มูล ณ วันท่ี ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๒)

- 11 -

๔. สรุปข้อมูลผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นระดบั สถานศึกษา

ร้อยละของนักเรียนทมี่ เี กรดเฉล่ียผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ๘ สาระ
ในระดบั คุณภาพ ๓ ข้ึนไป ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๑-๖ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒

ระดับชั้นเรียน ภาษาไทย รวม
ค ิณตศาสตร์ ร้อยละ
วิทยาศาสตร์
สังคม ึศกษาฯ
สุขศึกษาฯ
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
ภาษาต่างประเทศ

ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ๙๗.๕๔ ๙๙.๒๙ ๑๐๐ ๙๕.๗๕ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๙๖.๔๙ ๙๘.๖๓

ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ ๘๖.๐๔ ๘๓.๗๒ ๙๐.๗๐ ๗๒.๐๙ ๑๐๐ ๙๗.๒๙ ๑๐๐ ๗๔.๐๓ ๘๗.๙๘

ประถมศึกษาปที ่ี ๓ ๘๙.๗๖ ๗๗.๐๗ ๕๕.๑๒ ๙๒.๖๘ ๙๙.๕๑ ๙๘.๕๔ ๙๘.๕๔ ๕๗.๐๗ ๘๓.๕๔

ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ ๖๖.๙๘ ๕๕.๓๕ ๗๘.๑๔ ๘๕.๕๘ ๙๑.๑๖ ๙๓.๐๒ ๘๒.๓๓ ๕๔.๔๒ ๗๕.๘๗

ประถมศึกษาปีที่ ๕ ๗๑.๙๘ ๗๔.๔๐ ๖๐.๘๗ ๘๐.๑๙ ๙๗.๕๘ ๙๐.๘๒ ๙๒.๒๗ ๗๑.๐๑ ๗๙.๘๙

ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ๘๔.๑๙ ๔๖.๐๕ ๖๕.๑๒ ๗๙.๕๓ ๑๐๐ ๘๐.๔๗ ๙๖.๒๘ ๖๖.๕๑ ๗๗.๒๙

รวมทง้ั สน้ิ ๔๙๖.๔ ๔๓๕.๘ ๔๔๙.๙ ๕๐๕.๘ ๕๘๘.๒ ๕๖๐.๑ ๕๖๙.๔ ๔๑๙.๕ ๔๐๒๕.๔
ร้อยละ ๘๒.๗๕๙ ๗๒๘.๖๕ ๗๔๕.๙๙ ๘๔๒.๓๐ ๙๘๕.๐๔ ๙๓๔.๓๖ ๙๔๒.๙๐ ๖๙.๙๒๓ ๘๓๘.๘๖

- 12 -

๕. สรปุ ขอ้ มลู ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นระดบั สถานศึกษา

รอ้ ยละผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนแตล่ ะกลุม่ สาระการเรียนรู้ ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑-๖
ตามเป้าหมายของโรงเรยี นอนุบาลยะลา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒

ภาษาไทย
ค ิณตศาสต ์ร
ิวทยาศาสต ์ร
ัสงคมศึกษาฯ
ประ ัว ิตศาสต ์ร
ุสขศึกษาฯ
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
ภาษา ่ตางประเทศ
ภาษา ัองกฤษเ ื่พอ
การ ่ืสอสาร
ภาษาจีน
การศึกษาค้นค ้วา
้ดวยตนเอง (IS)
ิวทยาการคำนวณ
ระดับ
ชัน้ ๗๕ ๗๕
เรียน
เป้าหมาย ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๕ ๗๕ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๗๐ ๗๕ ๗๕ - -

ป.๑ ๘๘.๑๖ ๙๐.๗๕ ๘๙.๓๙ ๘๖.๐๗ ๘๘.๘๑ ๙๔.๖๖ ๘๕.๘๘ ๙๔.๒๐ ๘๕.๐๗ ๗๙.๙๙ ๘๒.๘๕

ป.๒ ๗๔.๙๖ ๗๒.๘๗ ๗๖.๓๐ ๗๐.๙๕ ๗๐.๗๑ ๗๙.๔๕ ๗๘.๙๙ ๘๒.๕๘ ๗๓.๑๐ ๖๘.๓๕ ๖๘.๙๑ - -

ป.๓ ๘๑.๖๑ ๗๗.๔๗ ๖๙.๔๕ ๘๓.๔๙ ๗๗.๒๐ ๘๓.๗๒ ๖๗.๘๔ ๘๑.๑๕ ๗๒.๙๓ ๗๒.๐๔ ๗๓.๕๕ - -

ป.๔ ๗๔.๖๕ ๗๑.๗๓ ๗๔.๔๕ ๘๐.๖๐ ๗๔.๘๐ ๘๑.๐๓ ๗๙.๒๘ ๗๘.๓๓ ๗๒.๙๓ ๗๔.๘๙ ๗๓.๐๖ ๘๑.๖๔ ๗๕.๙๖

ป.๕ ๗๔.๑๗ ๗๕.๘๒ ๗๑.๘๘ ๗๖.๘๑ ๗๑.๘๗ ๘๐.๑๖ ๗๘.๙๒ ๗๘.๙๔ ๗๖.๑๐ ๗๔.๖๐ ๘๐.๘๑ ๘๒.๕๘ ๗๗.๒๘

ป.๖ ๗๕.๘๒ ๖๙.๕๑ ๗๓.๙๗ ๗๖.๗๓ ๗๔.๓๑ ๘๔.๘๘ ๗๕.๐๕ ๘๐.๒๑ ๗๕.๗๕ ๗๒.๖๕ ๘๐.๐๖ ๘๑.๕๖ -

รวม ๔๖๙.๓๗ ๔๕๘.๑๕ ๔๕๕.๔๔ ๔๗๔.๖๕ ๔๕๗.๗๐ ๕๐๓.๙๐ ๔๖๕.๙๖ ๔๙๕.๔๑ ๔๕๕.๘๘ ๔๔๒.๕๒ ๔๕๙.๒๔ ๒๔๕.๗๘ ๑๕๓.๒๔
ทงั้ ส้นิ
ร้อยละ ๗๘.๒๓ ๗๖.๓๖ ๗๕.๙๑ ๗๙.๑๑ ๗๖.๒๘ ๘๓.๙๘ ๗๗.๖๖ ๘๒.๕๖ ๗๕.๙๘ ๗๓.๗๕ ๗๖.๒๔ ๘๑.๙๓ ๗๖.๖๒

ร้อยละความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสือ่ สารและการคิดคำนวณของผเู้ รยี น

กลุม่ สาระการเรยี นร/ู้ รายวชิ าภาษาไทย ภาษาองั กฤษ ภาษาจนี คณิตศาสตร์

ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑-๖

ระดบั ช้นั เรยี น ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ ภาษาจนี คณิตศาสตร์

ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ๙๗.๕๔ ๙๖.๔๙ ๘๙.๘๒ ๙๗.๘๙

ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ ๙๐.๓๑ ๗๔.๐๓ ๕๗.๗๕ ๘๔.๘๘

ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๗๗.๐๗ ๕๗.๐๗ ๖๐.๙๘ ๘๙.๗๖

ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ ๖๖.๙๘ ๕๔.๔๒ ๕๗.๖๗ ๕๕.๓๕

ประถมศึกษาปีท่ี ๕ ๗๑.๙๘ ๗๑.๐๑ ๗๙.๗๑ ๗๔.๔๐

ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ๘๔.๑๙ ๖๖.๕๑ ๘๑.๔๐ ๔๕.๕๘

รวมท้งั สิ้น ๔๘๘.๐๗ ๔๑๙.๕๓ ๔๒๗.๓๓ ๔๔๗.๘๖
ร้อยละ ๘๑.๓๓ ๖๙.๙๒ ๗๑.๒๒ ๗๔.๖๔

- 13 -

ร้อยละการอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน
ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑-๖ ของโรงเรยี นอนุบาลยะลา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒

ระดับชนั้ เรยี น อา่ นคดิ วเิ คราะห์ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ สมรรถนะสำคัญ
และเขียน ประสงค์ ของผู้เรียน

ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ๑๐๐ ๙๙.๖๕ ๙๙.๖๖
ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ ๑๐๐ ๙๕ต.ค๘๑ ๙๗.๓๕

ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ๙๙.๕๐ ๙๓.๒๗ ๙๖.๐๘

ประถมศึกษาปีที่ ๔ ๙๕.๑๓ ๘๘.๐๑ ๙๘.๘๐

ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ ๙๘.๔๓ ๙๙.๔๗ ๑๐๐

ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ๑๐๐ ๘๗.๕๐ ๙๙.๗๓

รวมท้งั ส้นิ ๕๙๓.๐๖ ๕๖๓.๗๑ ๕๙๑.๖๒
ร้อยละ ๙๘.๘๔ ๙๓.๙๕ ๙๘.๖๐

๖. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ (O-NET) ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒

ระดบั /รายวิชา ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

คะแนนเฉลย่ี ของโรงเรียน ๖๓.๐๗ ๔๕.๘๐ ๔๙.๕๐ ๕๒.๙๑
๒๙.๔๓
คะแนนเฉล่ยี ระดับจังหวดั ๓๙.๔๘ ๒๕.๑๘ ๒๘.๙๖ ๓๐.๘๖
๓๔.๔๒
คะแนนเฉลี่ย สงั กดั สพฐ.ทง้ั หมด ๔๗.๙๕ ๓๑.๖๐ ๓๔.๓๐

คะแนนเฉลีย่ ระดบั ประเทศ ๔๙.๐๗ ๓๒.๙๐ ๓๕.๕๕

ช่อื -สกุล สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
เดก็ ชายวารสิ ศรศี รยทุ ธ์ คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน

เปรียบเทียบภาพรวมผลการประเมนิ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET)

ระหว่างปีการศึกษา ๒๕๖๑-๒๕๖๒

ระดบั / ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ
รายวิชา

คะแนนเฉลย่ี ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ผลต่าง ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ผลตา่ ง ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ผลต่าง ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ผลต่าง

ระดบั โรงเรยี น ๗๐.๙๖ ๖๓.๐๗ -๗.๘๙ ๕๘.๐๖ ๔๕.๘๐ -๑๒.๒๖ ๕๑.๕๖ ๔๙.๕๐ -๒.๐๖ ๖๑.๓๔ ๕๒.๙๑ -๘.๔๓
ระดบั จังหวดั ๔๒.๖๘ ๓๙.๔๘ -๓.๒๐ ๒๖.๔๘ ๒๕.๑๘ -๑.๓๐ ๓๒.๗๙ ๒๘.๙๖ -๓.๘๓ ๓๒.๑๕ ๒๙.๔๓ -๒.๗๒

สงั กัดสพฐ. ๕๖.๖๑ ๔๗.๙๕ -๘.๖๖ ๓๕.๖๕ ๓๑.๖๐ -๔.๐๕ ๓๘.๘๓ ๓๔.๓๐ -๔.๕๓ ๓๕.๔๗ ๓๐.๘๖ -๔.๖๑
ทั้งหมด
ระดบั ประเทศ ๕๕.๙๐ ๔๙.๐๗ -๖.๘๓ ๓๗.๕๐ ๓๒.๙๐ -๔.๖๐ ๓๙.๙๓ ๓๕.๕๕ -๔.๓๘ ๓๙.๒๔ ๓๔.๔๒ -๔.๘๒

- 14 -

เปรยี บเทียบผลสัมฤทธิ์ O-NET ชั้น ป.๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ของอนบุ าลยะลา
กบั สำนกั งานเขตพนื้ ทฯี่ จังหวัด และประเทศ

๗. การประเมนิ การทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผ้เู รยี นระดับชาติ
(National Test: NT) ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ ระหว่างปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐-๒๕๖๑

ระดบั /รายวิชา ความสามารถดา้ นภาษา ความสามารถดา้ นคำนวณ ความสามารถดา้ นเหตผุ ล
๒๕๖๑ ๒๕๖๑ ๒๕๖๑
คะแนนเฉลย่ี ของ ๗๐.๑๑ ๕๘.๔๘ ๖๓.๑๓
โรงเรียน
คะแนนเฉลยี่ ๕๒.๗๓ ๔๗.๘๙ ๔๗.๕๗
สังกดั สพฐ.ทงั้ หมด
คะแนนเฉลย่ี ๕๓.๑๘ ๔๗.๑๙ ๔๘.๐๗
ระดบั ประเทศ

- 15 -

๘. การประเมนิ การทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผู้เรยี นระดับชาติ (National Test: NT)
ระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๓

เปรียบเทียบภาพรวมผลการประเมนิ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT)
ระหว่างปีการศกึ ษา ๒๕๖๑-๒๕๖๑

ความสามารถดา้ นภาษา ความสามารถดา้ นคำนวณ ความสามารถดา้ นเหตผุ ล
ระดบั /รายวิชา ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ผลตา่ ง ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ผลตา่ ง ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ผลต่าง

คะแนนเฉลี่ยของ ๖๔.๖๕ ๗๐.๑๑ +๕.๔๖ ๔๖.๗๐ ๕๘.๔๘ +๑๑.๗๘ ๕๑.๙๘ ๖๓.๑๓ +๑๑.๑๕

โรงเรยี น

คะแนนเฉลี่ย สังกดั ๕๑.๙๔ ๕๒.๗๓ +๐.๗๙ ๓๘.๓๘ ๔๗.๘๙ +๙.๕๑ ๔๔.๙๘ ๔๗.๕๗ +๒.๕๙

สพฐ.ทั้งหมด

คะแนนเฉลย่ี ๕๒.๖๗ ๕๓.๑๘ +๐.๕๑ ๓๗.๗๕ ๔๗.๑๙ +๙.๔๔ ๔๕.๓๑ ๔๘.๐๗ +๒.๗๖

ระดบั ประเทศ

๙. ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านออกของผเู้ รยี น (Reading Test: RT)

ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านออกของผ้เู รยี น (Reading Test: RT)
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒

สมรรถนะ โรงเรยี น เขตพ้ืนท่ี จงั หวดั ศึกษาธกิ ารภาค สงั กัด ประเทศ

การอา่ นออกเสยี ง ๗๘.๓๒ ๕๓.๔๙ ๔๗.๑๔ ๔๔.๘๔ ๖๗.๕๐ ๖๘.๕๐
การอ่านรเู้ ร่ือง ๘๑.๖๙ ๖๘.๗๗ ๕๙.๑๒ ๕๙.๐๓ ๗๒.๕๑ ๗๒.๘๑
รวม ๒ สมรรถนะ ๘๐.๐๐ ๖๑.๑๓ ๕๓.๑๕ ๕๑.๙๔ ๗๐.๐๐ ๗๐.๖๖

ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านออกของผ้เู รียน (Reading Test: RT)
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒

ความสามารถ ดีมาก รอ้ ยละ ดี ร้อยละ พอใช้ รอ้ ยละ ปรับปรงุ ร้อยละ

การอ่านออกเสยี ง ๑๙๔ ๖๙.๕๓ ๓๘ ๑๓.๖๒ ๒๒ ๗.๘๘ ๒๕ ๘.๙๖

การอา่ นรู้เร่ือง ๑๙๘ ๗๐.๙๖ ๖๗ ๒๔.๐๑ ๑๔ ๕.๐๑ ๐ ๐.๐๐

เฉลยี่ รวม ๒ สมรรถนะ ๑๙๔ ๖๙.๕๓ ๕๑ ๑๘.๒๗ ๒๙ ๑๐.๓๙ ๕ ๑.๗๙

- 16 -

กราฟเปรยี บเทยี บคะแนนผลการประเมินการอ่านของโรงเรียน
กับเขตพ้นื ท่ี จังหวัด ศึกษาธิการภาค สงั กดั และประเทศ

๑๐. การใชแ้ หล่งเรยี นร้ภู ายในและภายนอกสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒

๑๐.๑ จำนวนนกั เรียนใช้แหลง่ เรียนรู้ในโรงเรยี น

แหล่งเรยี นรู้ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ รวม รอ้ ยละ

ห้องสมุด ๒๘๕ ๒๕๘ ๖๐ ๒๑๗ ๒๐๗ ๒๑๕ ๑๒๔๒ ๘๙.๓๕

ห้องวิทยาศาสตร์ ๑ - - ๒๐๕ ๒๑๗ - - ๔๒๒ ๓๐.๓๖

หอ้ งวทิ ยาศาสตร์ ๒ - - - - ๒๐๗ ๒๑๕ ๔๒๒ ๓๐.๓๖

หอ้ งคอมพิวเตอร์ ๑ - ๒๕๘ ๒๐๕ - - - ๔๖๓ ๓๓.๓๑

หอ้ งคอมพวิ เตอร์ ๒ - ๒๕๘ - ๒๑๗ ๒๐๗ ๒๑๕ ๘๙๗ ๙๙.๗๘

พิพธิ ภณั ฑ์เพ่ือการศกึ ษา ๒๘๕ ๒๕๘ ๒๐๕ ๒๑๗ ๒๐๗ ๒๑๕ ๑๓๘๗ ๙๙.๗๘

สนามหญ้า ๒๘๕ ๒๕๘ ๒๐๕ - ๒๐๗ ๒๑๕ ๑๑๗๐ ๘๔.๑๗

อาคารอเนก ๒๘๕ ๒๕๘ ๒๐๕ ๒๑๗ ๒๐๗ ๒๑๕ ๑๓๘๗ ๙๙.๗๘

หอ้ งดนตรีสากล ๒๘๕ - ๒๐๕ ๒๑๗ ๒๐๗ ๒๑๕ ๑๑๒๙ ๘๑.๒๒

ห้องนาฏศิลป์ ๒๘๕ ๒๕๘ ๒๐๕ ๒๑๗ ๒๐๗ ๒๑๕ ๑๓๘๗ ๙๙.๗๘

ห้องศลิ ปะ - - ๒๐๕ ๒๑๗ ๒๐๗ ๒๑๕ ๘๔๔ ๖๐.๗๑

สวนป่า ๒๘๕ ๒๕๘ ๒๐๕ ๒๑๗ ๒๐๗ ๒๑๕ ๑๓๘๗ ๙๙.๗๘

ลานไทร ๒๘๕ ๒๕๘ ๒๐๕ ๒๑๗ ๒๐๗ ๒๑๕ ๑๓๘๗ ๙๙.๗๘

สวนเศรษฐกิจพอเพยี ง - ๒๕๘ ๒๐๕ - - - ๔๖๓ ๓๓.๓๐

ห้องสงั คม - ๒๕๘ ๒๐๕ ๒๑๗ ๒๐๗ ๒๑๕ ๑๑๐๒ ๗๙.๒๘

ห้องการงาน - - - - ๒๐๗ ๒๐๗ ๔๑๔ ๒๙.๐๐

หอ้ งเรยี นสีเขยี ว ๒๘๕ ๒๕๘ ๒๐๕ ๒๑๗ ๒๐๗ ๒๑๕ ๑๓๘๗ ๙๙.๗๘

- 17 -

๑๐.๒ จำนวนนักเรียนใช้แหลง่ เรียนรู้นอกโรงเรยี น

แหลง่ เรยี นรู้ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ร้อยละ

ศูนยก์ ารไฟฟา้ จะนะ - - ๒๐๕ - - - ๑๐๐
หอประวัติศาสตรป์ ๋าเปรม - - ๒๐๕ - - - ๑๐๐
มสั ยดิ กลาง - - ๘ - - - ๓.๙๐
วดั หวั ควน - - ๒๒ - - - ๑๐.๗๓
มสั ยดิ โรงเรยี นพฒั นาวิทยา - - ๓๕ - - - ๑๗.๐๗
สวนสตั วส์ งขลา, แหลมสมิหลา ๒๘๐ - - - - - ๙๘.๒๔
หอดดู าวเฉลมิ พระเกียรติ จ.สงขลา - ๒๕๘ - - - - ๑๐๐
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา - - - ๓๙ - - ๑๗.๙๗
เรอื รบหลวงจกั รีนฤเบศร์ - - - ๒๐๒ - - ๙๓.๐๗
ศูนยอ์ นุรักษพ์ นั ธเ์ ตา่ ทะเล จ.ชลบุรี - - - ๒๐๒ - - ๙๓.๐๗
สวนสัตว์เปิดเขาเขยี ว - - - ๒๐๒ - - ๙๓.๐๗
คา่ ยลกู เสอื ภูตะวนั - - - ๒๐๒ - - ๙๓.๐๗
วดั พุทธภูมิ - - - ๖๘ - - ๔๕.๑๖
ค่ายประวัตศิ าสตร์อยุธยา - - - - ๒๐๗ - ๑๐๐
สวนสยามกรุงเทพฯ - - - - ๒๐๗ - ๑๐๐
คา่ ยบรุ ฉตั ร จ.ราชบรุ ี - - - - - ๑๙๕ ๙๐.๖๙
โรงงานเซรามิค เถ้าฮงไถ่ จ.ราชบรุ ี - - - - - ๑๙๕ ๙๐.๖๙
อทุ ยานหินเขางู จ.ราชบุรี - - - - - ๑๙๕ ๙๐.๖๙
โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จ.ยะลา - - - - - ๒๑๕ ๙๐.๖๙

๑๑. ขอ้ มูลงบประมาณ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ ๕,๒๐๔,๔๕๐ บาท

เงินงบประมาณ ๑๖,๙๙๗,๓๐๐ บาท
เงนิ นอกงบประมาณ ๒๒,๒๐๑,๗๕๐ บาท
รวมเงินทงั้ หมดของโรงเรียน

- 18 -

๑๒. ผลงานดีเดน่ /รางวลั ของสถานศกึ ษา ระดับรางวลั ท่ไี ดร้ ับ หน่วยงานทมี่ อบรางวลั
สำนกั งานวัฒนธรรมจังหวดั
ที่ ชอื่ รางวัลท่ีไดร้ ับ รองชนะเลิศ
อันดับ ๑ จังหวดั ยะลา
1. ประกวดสวดมนตห์ มู่สรรเสริญ
พระรตั นตรยั ทำนองสรภัญญะ ระดับประเทศ กระทรวงศึกษาธิการ
การไฟฟา้ ฝ่ายผลติ แห่งประเทศไทย
2. เปน็ หน่วยงานสนบั สนุนการประกวด ระดับประเทศ
ผลงานโครงการ รางวลั ชมเชย จังหวัดยะลา
TO BE NUMBER ONE
ระดบั ประเทศ
3. การประกวดการแสดงทาง รองชนะเลิศ
วทิ ยาศาสตร์ (Science Show) อนั ดับ ๑

4. เป็นโรงเรียนคารบ์ อนต่ำ
(ลดพลงั งานไฟฟ้าทโ่ี รงเรียน)

5. การประกวดขับรอ้ งประสานเสยี ง

๑๓. ผลงานดเี ด่น/รางวัลของครู/ผู้บริหาร

ท่ี ช่ือ - สกลุ ช่อื รางวัลท่ไี ดร้ ับ ระดบั รางวลั ที่ไดร้ ับ หน่วยงาน

๑. นายไพศาล ว่องภาณุสกลุ - เกียรตบิ ตั รวิทยากร - สพฐ.
- สำนักงาน
พเ่ี ลย้ี งหลักสตู รการ ปลัดกระทรวง
ศกึ ษาธิการ
พฒั นาขา้ ราชการครู
สพฐ.
และบุคลากรก่อน คุรุสภา

แต่งตง้ั ให้ดำรงตำแหน่ง สพฐ.

ผ้อู ำนวยการ กระทรวงการ
ตา่ งประเทศ
สถานศกึ ษา ครุ สุ ภา

๒. นายคปุ ตพงศ์ หนูประสงค์ OBEC AWARDS ชนะเลิศเหรยี ญทอง

๓. นางศิรพิ ร อมรนรชยั - ผปู้ ฏิบัตติ นตาม คุรสุ ดดุ ี

จรรยาบรรณ

ของวิชาชีพ

4. นางมะลวิ ลั ย์ เพชรศรชี าติ ครผู ู้ฝึกสอนตอบปญั หา ชนะเลิศเหรยี ญทอง

5. นายกาญจนพรรณ สรรเสรญิ สุขศกึ ษาและพลศึกษา

6. นางพรประภา รัตนกรัณฑ์ ครูยวุ ทตู ความดีตน้ แบบ เขม็ ยกย่องเชดิ ชู

เกียรติ

7. นางสาวณฐั ชา พรอ้ มเพรยี ง ครูดใี นดวงใจ ครูดใี นดวงใจ

- 19 -

ท่ี ชอื่ - สกลุ ชือ่ รางวัลท่ไี ด้รบั ระดับรางวัลท่ไี ด้รับ หน่วยงาน
8. นายชัชวาลย์ ไชยม่อม
ครูผฝู้ ึกสอนขบั ร้องเพลง รองชนะเลศิ อันดับ ๒ สพฐ.
9. นายศภุ ฤกษ์ หงอสกลุ ไทยลูกกรงุ หญิง

ครูผู้ฝึกสอนขับร้อง รองชนะเลิศอันดับ ๒ สพฐ.
ประสานเสยี ง

๑๔. ผลงานนกั เรยี น :

๑๔.๑ ผลการแข่งขัน “ยะลา ยาลนั มหศั จรรย์เด็กใต้” คร้งั ที่ ๑๒ ประจำปี ๒๕๖๒ สำนกั งานเขต
พนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑ ระหว่างวนั ที่ ๓ – ๕ ตุลาคม ๒๕๖๒ นกั เรยี นเขา้ ร่วมจำนวน
๗๐ รายการ โดยมผี ลการแขง่ ขนั ดงั นี้

ที่ รายการ คะแนน ระดับ อันดบั

๑. ภาษาไทย

- การแขง่ ขนั คัดลายมือส่ือภาษาไทย ป.๔-๖ ๙๐ ทอง รองชนะเลิศอนั ดับ ๒

- การแข่งขันเรียงร้อยถ้อยความ(การเขยี นเรอ่ื ง ๘๕ ทอง
จากภาพ) ป.๑-ป.๓
รองชนะเลศิ อันดบั ๑
- การแข่งขันเรียงร้อยถ้อยความ(การเขยี น
เรยี งความ) ป.๔-ป.๖ ๘๕ ทอง ชนะเลศิ

- การแข่งขนั ท่องอาขยานทำนองเสนาะ ป.๑-๓
- การแขง่ ขนั ท่องอาขยานทำนองเสนาะ ป.๔-๖ ๘๘.๖๗ ทอง รองชนะเลศิ อนั ดับ ๑
๘๙ ทอง รองชนะเลิศอันดบั ๑
- การแข่งขันกวีเยาวชนคนรุ่นใหม่ กลอนสี่

(๔ บท) ป.๔-๖ ๘๘ ทอง ชนะเลิศ

- การแขง่ ขนั ต่อคำศพั ท์ภาษาไทย (คำคมเดิม) ป.๔-๖ ๙๒ ทอง ชนะเลศิ
- การแข่งขันคัดลายมอื ส่ือภาษาไทย ป.๑-๓ เงนิ อนั ดับ ๖
๗๘

- 20 -

ท่ี รายการ คะแนน ระดบั อนั ดบั

๒. คณิตศาสตร์

- การแขง่ ขนั อัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์ ป.๑-๓ ๘๑ ทอง ชนะเลิศ
ทอง ชนะเลศิ
- การแขง่ ขันอจั ฉริยภาพทางคณิตศาสตร์ ป.๔-๖ ๘๙.๕๐ ทอง ชนะเลิศ
- การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภท ๙๐.๔๐
สรา้ งทฤษฎหี รอื คำอธบิ ายทางคณิตศาสตร์ป.๔-๖ ทอง ชนะเลศิ

- การแข่งขนั สรา้ งสรรคผ์ ลงานคณิตศาสตร์โดยใช้ ๙๒
โปรแกรม GSP ป.๔-๖

- การแข่งขันต่อสมการคณติ ศาสตร์ (เอแม็ท) ๑๐๐ ทอง ชนะเลศิ

- การแขง่ ขนั ซูโดกุ ป.๑-๖

- การประกวดโครงงานคณติ ศาสตร์ ประเภทบูรฯ ๙๕.๗๐ ทอง รองชนะเลิศอนั ดับ ๒
การความรู้ในคณติ ศาสตรไ์ ปประยกุ ต์ใช้ ป.๔-๖ ๗๒ เงิน รองชนะเลิศอนั ดับ ๑
- การแข่งขันคดิ เลขเร็ว ป.๔-๖

- การแข่งขนั เวทคณติ ป.๔-๖ ๗๒ เงิน รองชนะเลศิ อนั ดับ ๑
- การแข่งขนั คดิ เลขเรว็ ป.๑-๓ ๗๓ เงนิ รองชนะเลิศอนั ดับ ๑
- การแข่งขนั เวทคณิต ป.๑-๓ ๒๘ เข้ารว่ ม รองชนะเลิศอนั ดบั ๑

๓๙ เขา้ รว่ ม รองชนะเลศิ อันดบั ๑

3. วิทยาศาสตร์

- การแข่งขันอจั ฉริยภาพทางวทิ ยาศาสตร์ ป.๔-๖ ๘๓.๒๕ ทอง ชนะเลศิ

- การแข่งขนั การแสดงทางวทิ ยาศาสตร(์ Science ๘๖.๖๐ ทอง รองชนะเลิศอนั ดบั ๑
Show) ป.๔-๖

- การประกวดผลงานสง่ิ ประดิษฐท์ าง ๘๙ ทอง ชนะเลิศ
วิทยาศาสตร์ ป.๑-๖

- การประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ประเภท ๗๒ เงนิ อนั ดับ ๖
ทดลอง ป.๔-๖

- การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภท

สง่ิ ประดษิ ฐ์ ป.๔-๖ ๗๖ เงนิ อันดบั ๕

- การแข่งขนั เครื่องร่อนไกล ประเภทร่อนนานยิง

ยาง ป.๔-๖ ๖๘.๕๕ ทองแดง อนั ดบั ๔
- การแข่งขันเคร่ืองร่อน ประเภทร่อนนานปล่อย

ด้วยมือ ป.๔-๖ ๖๒ ทองแดง อนั ดับ ๕

- 21 -

ที่ รายการ คะแนน ระดับ อันดบั

๔. สงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม ๘๙ ทอง ชนะเลศิ

- การประกวดโครงงานคุณธรรม ป.๑-ป.๓ ๙๔ ทอง ชนะเลิศ
- การประกวดโครงงานคุณธรรม ป.๔-๖
- การประกวดเล่านิทานคุณธรรม ป.๑-ป.๓ ๘๘.๖๔ ทอง รองชนะเลศิ อนั ดบั ๒
- การประกวดเล่านทิ านคุณธรรม ป.๔-๖
- การประกวดมารยาทไทย ป.๑-ป.๓ ๙๕ ทอง ชนะเลศิ
- การประกวดมารยาทไทย ป.๔-๖
- การประกวดสวดมนตแ์ ปลไทย ป.๑-๓ ๘๕ ทอง รองชนะเลิศอันดับ ๑
- การประกวดเพลงคณุ ธรรม ป.๑-ป.๓
- การประกวดเพลงคุณธรรม ป.๔-๖ ๘๘ ทอง รองชนะเลิศอนั ดับ ๑

๘๘ ทอง ชนะเลศิ

๖๒ ทองแดง อันดบั ๑๐

๖๙ ทองแดง อนั ดับ ๑๕

๕. สุขศกึ ษาและพลศึกษา

- การแขง่ ขันตอบปญั หาสุขศึกษาและพลศกึ ษา ๘๖ ทอง ชนะเลิศ
ป.๑-๖

6. ภาษาต่างประเทศ

- การแขง่ ขันพูดภาษาอังกฤษ (Impromptu ๙๗ ทอง ชนะเลศิ

Speech) ป.๑-ป.๓ ๙๗.๖๕ ทอง ชนะเลิศ
- การแข่งขันพูดภาษาองั กฤษ (Impromptu

Speech) ป.๔-๖

- การแขง่ ขันเลา่ นทิ าน (Story Telling) ป.๔-๖ ๙๓ ทอง รองชนะเลิศอันดับ ๒
- การแขง่ ขนั ต่อศัพท์ภาษาอังกฤษ (ครอสเวริ ด์ ) ๙๔ ทอง ชนะเลิศ

ป.๑-๖

- การแข่งขนั พูดภาษาจัน ป.๔-๖

๘๓ ทอง รองชนะเลิศอันดับ ๑

- 22 -

ท่ี รายการ คะแนน ระดบั อันดับ

7. ศลิ ปะ-ทศั นศลิ ป์-ดนตรี-นาฏศิลป์

- การแขง่ ขนั ศิลปส์ รา้ งสรรค์ ป.๑-๓ ๘๘ ทอง ชนะเลศิ
- การแข่งขนั ศลิ ป์สร้างสรรค์ ป.๑-๖
- การแข่งขันการวาดภาพระบายสี ป.๑-๓ ๘๔ ทอง ชนะเลศิ
- การแขง่ ขันขบั ร้องเพลงไทยลกู ทุ่ง ประเภท
๘๕ ทอง อนั ดบั ๕
หญงิ ป.๑-๖
๙๐.๓๒ ทอง รองชนะเลิศอันดบั ๒

- การแข่งขันขบั ร้องเพลงไทยลกู กรุง ประเภท ๘๑.๓๔ ทอง รองชนะเลศิ อนั ดับ ๑

ชาย ป.๑-๖

- การแขง่ ขันขับร้องเพลงไทยลกู กรุง ประเภท

หญิง ป.๑-๖ ๙๒.๖๗ ทอง ชนะเลิศ

- การแขง่ ขนั ขับร้องเพลงสากลประเภทหญิง

ป.๑-๖ ๙๓.๓๓ ทอง รองชนะเลิศอันดับ ๑
- การแขง่ ขนั ขับร้องเพลงพระราชนพิ นธ์

ประเภทชาย ป.๑-๖ ๘๗.๓๓ ทอง รองชนะเลศิ อันดบั ๒
- การแขง่ ขนั ขบั ร้องเพลงพระราชนิพนธ์

ประเภทหญิง ป.๑-๖ ชนะเลิศ
- การประกวดขบั ขานประสานเสยี ง ป.๑-๖ ๙๓.๐๑ ทอง

- การแข่งขันเดีย่ วซอด้วง ป.๑-๖

- การแข่งขนั เด่ียวขิม ๗ หยอ่ ง ป.๑-๖ ๙๓ ทอง ชนะเลิศ
ชนะเลศิ
- การแขง่ ขันนาฏศลิ ป์ไทยอนรุ ักษ์ ป.๑-๖ ๘๐.๙๙ ทอง ชนะเลิศ
- การแข่งขันการสร้างสรรคภ์ าพด้วยการปะตดิ ๘๑.๖๔ ทอง ชนะเลิศ
อันดับ ๙
ป.๔-๖ ๙๐ ทอง

- การแขง่ ขันการวาดภาพระบายสี ป.๔-๖
- การแขง่ ขันการสร้างสรรค์ภาพดว้ ยการปะตดิ ๗๖ เงนิ

ป.๑-๓

- การแขง่ ขนั ขับร้องเพลงไทยลกู ทุ่ง ประเภท ๖๘ ทองแดง อนั ดับ ๑๑
ชาย ป.๑-๖ ๖๐ ทองแดง อันดบั ๖

- การแข่งขนั ขบั ร้องเพลงสากล ประเภทชาย

- ป.๑-๖ ๖๖.๔๗ ทองแดง อันดับ ๗

๖๓.๓๓ ทองแดง อันดบั ๙

- 23 -

ที่ รายการ คะแนน ระดับ อนั ดับ

๘. คอมพวิ เตอร์ ๘๔ ทอง ชนะเลศิ
๕๘ เข้าร่วม อันดบั ๑๑
- การแขง่ ขนั การสรา้ งเกมสรา้ งสรรค์จาก
คอมพวิ เตอร์ ป.๔-๖ ๘๗ ทอง ชนะเลศิ

- การแข่งขันการสร้างการต์ ูนด้วยโปรแกรม ๙๑ ทอง ชนะเลศิ
คอมพวิ เตอร์กราฟกิ ป.๑-๓
๘๐ ทอง รองชนะเลิศอนั ดับ ๒
๙. กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น
๘๔ ทอง ชนะเลศิ
- การแขง่ ขนั กจิ กรรมสภานกั เรียน ป.๑-๖
- การแขง่ ขันการทำหนงั สือเล่มเลก็ ป.๔-๖ ๘๐ ทอง อนั ดับ ๙
- การแข่งขนั การสรา้ งการต์ นู เรื่องสนั้ (Comic
๖๗.๗๕ ทองแดง อันดบั ๕
Strip) ป.๔-๖
- การแขง่ ขนั การสร้างเกมสร้างสรรค์จาก ๕๓ เขา้ ร่วม อันดบั ๑๒

คอมพวิ เตอร์ ป.๔-๖
- การแข่งขันการใชโ้ ปรแกรมนำเสนอ

(Presentation) ป.๔-๖
- การแขง่ ขันการใชเ้ ข็มทิศและการคาดคะเน

และการสะกดรอย ป.๔-๖
- การแขง่ ขนั การผูกเงื่อน เดินทรงตวั และโยน

บอล ป.๑-๓

๑๐. ปฐมวยั ๘๖ ทอง รองชนะเลศิ อนั ดบั ๑

- การป้ันดนิ นำ้ มัน ปฐมวยั ๘๗ ทอง ชนะเลิศ
- การสรา้ งภาพดว้ ยการฉกี ตัด ปะกระดาษ
๙๐ ทอง รองชนะเลศิ อนั ดบั ๑
ปฐมวยั
๑๑. เรียนรวม-ศิลปะ

- การแข่งขนั การวาดภาพระบายสี ประเภท
นกั เรยี นที่มีความบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา
ป.๑-๖

- 24 -

สรปุ ผลการแข่งขนั งานสรุปผลการแข่งขัน “ยะลา ยาลัน มหัศจรรย์เดก็ ใต้” คร้ังที่ ๑๒ ประจำปี

๒๕๖๒ สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑ ระหวา่ งวันท่ี ๓-๕ ตลุ าคม ๒๕๖๒

โรงเรยี นอนบุ าลยะลา สง่ นกั เรยี นเข้าร่วมจำนวน ๗๐ รายการ สรุปเหรียญรางวลั ดงั นี้

เหรียญทอง จำนวน ๕๐ เหรียญ คิดเปน็ ร้อยละ ๗๑.๔๓

เหรียญเงนิ จำนวน ๗ เหรยี ญ คิดเป็นร้อยละ ๑๐

เหรียญทองแดง จำนวน ๙ เหรียญ คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๘๖

เข้ารว่ ม จำนวน ๔ เหรยี ญ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๕.๗๑

โรงเรียนอนบุ าลยะลา ไดเ้ ป็นตัวแทนของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

เขา้ ร่วมแขง่ งานศิลปหัตถกรรมนกั เรียนระดับภาคใต้ คร้ังท่ี ๖๙ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ในระหว่างวันที่ ๖-๘

มกราคม ๒๕๖๓ ณ จงั หวัดนครศรธี รรมราช รวมทง้ั ส้ิน ๓๐ รายการ

- 25 -

บทท่ี ๒
ระบบบริหารจดั การคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

เพื่อการประกันคุณภาพของสถานศกึ ษา

องค์ประกอบท่ี 1 การกำหนดเปา้ หมายมาตรฐานคณุ ภาพ
การกำหนดเป้าหมายมาตรฐานของโรงเรียนอนุบาลยะลา โดยมีผู้บริหาร คณะครู บุคลากร

ทางการศึกษา และคณะกรรมการสถานศึกษา และผู้เรียน ได้ร่วมกันระบุองค์ประกอบ กำหนดเป้าหมาย
ตัวชี้วัด เกณฑ์การตัดสินคุณภาพอย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐานการศกึ ษาที่กำหนด มีเกณฑ์
การตัดสินคุณภาพที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา มีการนำผลการประเมินทั้งภายในและภายนอก
มาเป็นข้อมูลในการกำหนดเป้าหมายความสำเร็จ เป้าประสงค์ของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์
พันธกิจ ค่านยิ ม และความโดดเด่นเฉพาะของโรงเรียนเพอื่ ใหก้ ารจดั การเรยี นการสอนมีประสิทธิภาพและ
ศักยภาพที่ดี ทำให้โรงเรียนผลิตผู้เรียนเก่ง ดี มีคุณภาพ มีคุณธรรม ซึ่งทำให้โรงเรียนได้จัดทำแผนพัฒนา
คณุ ภาพการศึกษาได้อยา่ งเหมาะสม มคี ุณภาพและเปน็ ไปได้

- 26 -

องคป์ ระกอบท่ี 2 การขบั เคล่ือนคุณภาพสมู่ าตรฐาน
ผู้บริหารโรงเรียนอนุบาลยะลาใช้ภาวะผู้นำ มีความโดดเด่นทางด้านวิชาการ สร้างความเข้าใจ

ให้กับหัวหน้างาน หัวหน้าสายชั้น หัวหน้ากลุ่มสาระต่างๆ คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้เรียน
ผปู้ กครอง ชมุ ชน และผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสียร่วมกันออกแบบระบบการจัดการคุณภาพ ร่วมจัดทำแผนปฏิบัติ
งาน จัดทำแผนงานโครงการหรือกิจกรรมในการจัดสรรทรัพยากร เพื่อสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพของ
โรงเรียนสู่มาตรฐานการศึกษาที่กำหนดอย่างเป็นรูปธรรม ผู้บริหารและผู้รับผิดชอบการนำแผนสู่การ
ปฏิบัติโดยมีการกำกับ ตรวจสอบ นิเทศงานอย่างเป็นระบบตามปฏิทินการขับเคลื่อน รายงาน
ความก้าวหนา้ ของงานเป็นระยะ สร้างความตระหนกั และสอ่ื สารท่วั ท้งั โรงเรยี น

- 27 -

องค์ประกอบที่ 3 การประเมินความสำเร็จตามมาตรฐาน
โรงเรียนอนุบาลยะลา มีการระบบและกลไกในการประเมินคุณภาพภายในอย่างเป็นรูปธรรม

มกี ารจดั ต้งั คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ไดอ้ อกแบบและสร้างเคร่ืองมือในการประเมินคุณภาพ
ภายในที่ครอบคลุมทุกมาตรฐานและประเด็นในการพิจารณา จัดทำคู่มือการประเมินมาตรฐานการจัด
การศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายในปฏิบัติตามปฏิทินประกันคุณภาพภายใน มีการประเมินตนเอง
สรุปและจัดทำรายงานประจำปี ผลการประเมินมีความเที่ยงตรง ตรวจสอบได้ โดยสะท้อนคุณภาพของ
ผู้เรียนและผลสำเร็จของการบริหารการศึกษาที่ชัดเจน มีการตรวจสอบ ปรับปรุงคุณภาพของรายงาน
แลว้ นำเสนอต่อคณะกรรมการสถานศึกษา การนำขอ้ มูลสารสนเทศจากการประเมนิ ศึกษาแนวทางวิธีการ
ปฏิบัติงานท่ดี ี เพอ่ื ปรบั ปรุงพัฒนาระบบงานอยา่ งต่อเนอื่ ง

- 28 -

องคป์ ระกอบท่ี 4 การนำการเปลยี่ นแปลงสูส่ ถานศกึ ษาและการสร้างคณุ คา่ แก่วงวชิ าการ
โรงเรียนอนุบาลยะลามีผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนทางวิชาการเป็นตามเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนด

มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ ได้เหมาะสมตาม
ระดับชั้น รวมทั้งการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น แก้ปัญหาและนำไป
ประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ การสื่อสาร ได้อย่างเหมาะสมปลอดภัย มีประสิทธิภาพ ค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติ
(O- NET) ของผู้เรียนมีพัฒนาการสูงกว่าระดับชาติทุกกลุ่มสาระ ผู้เรียนมีความรู้ทักษะ เจตคติที่ดี ด้าน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนและค่านิยมหลัก 12 ประการ มีสุขภาวะทางร่างกายและสังคม
ความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทยการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
เคารพกฎกติกา มีค่านิยมและจิตสำนึกตามที่โรงเรียนกำหนด โดยไม่ขัดต่อกฎหมายและวัฒนธรรมอันดี
งามของสังคม มีระบบประกันคุณภาพภายในท่ีมีประสิทธิผลก่อใหเ้ กิดการพัฒนาด้านการบริหารและการ
จัดการอย่างเป็นรูปธรรม ครูมีความชำนาญ มีทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผูเ้ รียนเป็น
สำคัญ ใชก้ ระบวนการ สุ จิ ปุ ลิ ในการยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของผู้เรียน

- 29 -

องค์ประกอบท่ี 5 การเกิดวัฒนธรรมคณุ ภาพทีส่ ะท้อนการพัฒนาที่ย่ังยนื
ผู้บริหารโรงเรียนและทีมงานมีภาวะผู้นำสามารถบริหารจัดการให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายร่วมกัน

ขับเคลื่อนระบบประกันคุณภาพภายในที่สะท้อนการพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ครูและ
บุคลากรเป็นบุคคลแหง่ การเรียนรู้ร่วมกันพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง โดยโรงเรยี น
อนุบาลยะลาได้ดำเนินการในการบริหารการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและ
ปรับปรุง โดยมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา นำผลไปใช้พัฒนาการเรียนรู้
ของผู้เรียน ครูผู้สอนร่วมกันแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ และนำไปปรับปรุง พัฒนาการจัดการ
เรียนรู้ สร้างบรรยากาศด้านวิชาการในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปรับปรุงพัฒนากระบวนการสอน เพื่อ
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และการวิจัยในชั้นเรียน จากการดำเนินการทั้งหมดส่งผลให้โรงเรียน
ได้รับความชื่นชมและเป็นที่ไว้วางใจของผู้ปกครองและชุมชนใกล้เคียงส่งบุตรหลานเข้ามาศึกษาใน
โรงเรียนอนบุ าลยะลา เพม่ิ จำนวนขน้ึ ในแต่ละปีการศกึ ษาตลอดมา

- 30 -

ภาคผนวก

- 31 -

คำส่ังโรงเรียนอนบุ าลยะลา
ท่ี ๖๓/๒๕๖๒

แตง่ ต้งั คณะกรรมการทบทวนและปรับปรุงมาตรฐานการศกึ ษา พัฒนามาตรฐานการศกึ ษา
และรายงานผลการประเมนิ ตนเอง ระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒
--------------------------------

โดยที่มีการประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วย ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ที่ปรับปรุงใหม่ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศกึ ษาของ
สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามประกาศ ณ
วันที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ประกาศ เรื่องนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองที่กำหนด
เป้าหมายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศกึ ษาไทยในอนาคต รวมทั้งอัตลักษณ์และ
จุดเน้นของสถานศกึ ษา

โรงเรียนอนุบาลยะลา จึงกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาและการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทั้งบุคลากรทุกคนใน
โรงเรียนและผู้ปกครอง เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตลอดจนเพื่อส่งเสริม สนับสนุน กำกับ ดูแล และติดตามตรวจสอบคุณภาพ
การจัดการศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วย มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน มาตรฐานที่ ๒
กระบวนการบริหารและการจัดการ และมาตรฐานที่ ๓ กระบวนการเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
รวมท้งั หมด ๓ มาตรฐาน เพ่ือให้การดำเนินการตามระบบประกันคุณภาพภายในโรงเรียนอนบุ าลยะลา
จงึ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการพัฒนามาตรฐานการศึกษาและรายงานผลการประเมินตนเองระดับการศึกษา
ขัน้ พ้นื ฐาน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ดังนี้

๑. คณะกรรมการอำนวยการ มีหน้าที่ ส่งเสริม สนับสนุน ให้คำปรึกษา แนะนำและช่วยเหลือ
ฝา่ ยต่าง ๆ ให้ดำเนนิ งานเป็นไปตามทีก่ ำหนด ประกอบดว้ ย

๑.๑ นายไพศาล วอ่ งภาณุสกุล ประธานกรรมการ
๑.๒ นางสาวมะลวิ รรณ์ จติ กลุ รองประธานกรรมการ
๑.๓ นายคุปตพงศ์ หนูประสงค์ กรรมการ
๑.๔ นายสุพงศศ์ กั ดิ์ อดุ ม กรรมการ
๑.๕ นางบุญมา หนยู ิ้ม กรรมการ
๑.๖ นางกุหลาบ พรหมศรี กรรมการ
๑.๗ นางศิริพร อมรนรชัย กรรมการและเลขานุการ

- 32 -

๒. คณะกรรมการกำหนดมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

๒.๑ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ประกอบด้วย

๒.๑.๑ ผลสมั ฤทธท์ิ างวชิ าการของผูเ้ รยี น

๑. นางศริ ิพร อมรนรชยั ประธานกรรมการ

๒. นางนศิ าชล วนั ชาติ รองประธานกรรมการ

๓. นางจฑุ ารัตน์ แก้วประดับ กรรมการ

๔. นางจตุ ิพร ศรีสุวรรณ์ กรรมการ

๕. นางเสาวนารถ บตุ รมาตา กรรมการ

๖. นางอมั พร สุทธิมาศ กรรมการ

๗. นางสุปราณี ห้นุ เอียด กรรมการ

๘. นางรชั ฎาภรณ์ เพชรมณี กรรมการ

๙. นางธันยาภรณ์ เนาวสนิ ธ์ุ กรรมการ

๑๐. นางสมศิริ แก้วเนือ้ อ่อน กรรมการ

๑๑. นางสณุ า ปาสนน่ั กรรมการ

๑๒. นายศภุ ฤกษ์ หงอสกุล กรรมการ

๑๓. นายเกรียงศักดิ์ ทองเป็นเพช็ ร กรรมการ

๑๔. นางทวลี าภ พรหมทอง กรรมการ

๑๕. นางมลิวลั ย์ เพชรศรีชาติ กรรมการ

๑๖. นางสาวสมจิตร พรหมคงบุญ กรรมการ

๑๗. นางรตั นาภรณ์ แก้วเขยี ว กรรมการและเลขานุการ

๒.๑.๒ คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ของผ้เู รียน

๑. นางมลวิ ัลย์ เพชรศรชี าติ ประธานกรรมการ

๒. นางสภุ าณี อะตะราใจ รองประธานกรรมการ

๓. นางตว่ นซากนี ะห์ ลอี ะละ กรรมการ

๔. นางพรประภา รัตนกรัณฑ์ กรรมการ

๕. นางมัสตรู อ อาแซ กรรมการ

๖. นางปราณี เลศิ พงศ์พิรุฬห์ กรรมการ

๗. นางสาวปาณสิ รา เมืองสง กรรมการ

๘. นางภาลิณยี ์ อนันต์เดชพงศ์ กรรมการ

๙. นางสาวสปีนา หมัดโซะ๊ กรรมการ

๑๐. นางภัทราวดี หลำหวัง กรรมการ

๑๑. นายเธียรธวชั คณะทอง กรรมการ

๑๒. นางพัตมาวตียามา กรรมการ

๑๓. นางอษุ า เจะซู กรรมการ

๑๔. นางสาวมารยี ัม อิแต กรรมการ

๑๕. นางสาวสายสุนยี ์ จันทร์ขาว กรรมการ

๑๖. นางสาวภฐั ชรา แกว้ แปน้ กรรมการ

- 33 -

๑๗. นางสาวกนกกาญจน์ อมัติรัตน์ กรรมการ

๑๘. นางอรอนงค์ สมบรู ณ์ กรรมการและเลขานุการ

๒.๒ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ประกอบด้วย

๑. นางสาวมะลวิ รรณ์ จติ กุล ประธานกรรมการ

๒. นางบุญมา หนูยม้ิ รองประธานกรรมการ

๓. นางอามาล โตะ๊ ตาหยง กรรมการ

๔. นางขวัญใจ ชนะกลุ กรรมการ

๕. นางมารียมั อแิ ต กรรมการ

๖. นางแจว๋ วรรณดี เพชรศรี กรรมการ

๗. นางสาวรอกีเยาะ สะมะแอ กรรมการ

๘. นางภัทรกัญญา รัตนธนาสกลุ กรรมการ

๙. นางจฑุ ามาศณฐั วดี ทิพย์กองลาศ กรรมการ

๑๐. นายกาญจนพรรณ สรรเสรญิ กรรมการ

๑๑. นายนเรนฤทธ์ิ รัตนซ้อน กรรมการ

๑๒. นางนิรมล ปรเิ ปรมกลุ กรรมการและเลขานุการ

๒.๓ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั ประกอบดว้ ย

๑. นางกุหลาบ พรหมศรี ประธานกรรมการ

๒. นางสาวมะลิ ธารานุวงศ์ รองประธานกรรมการ

๓. นางสาวสมจติ ร พรหมคงบญุ กรรมการ

๔. นางสาวณัฐชา พรอ้ มเพรียง กรรมการ

๕. นางนรู อัยนี จติ หลัง กรรมการ

๖. นางประทีป ดาวกระจาย กรรมการ

๗. นางสาวปาบลี ะ๊ เจ๊ะและ กรรมการ

๘. นางสาวรงุ่ นภา วงศ์ศรที อง กรรมการ

๙. นางสาวมลฤดี มหัศนียนนท์ กรรมการ

๑๐. นางสาวฟาตมี ะห์ เส็งหลี กรรมการ

๑๑. นายณัฐสิทธิ์ คงนวลใย กรรมการ

๑๒. นายบุญพา พลอาษา กรรมการ

๑๓. นางสาวบุณยนุช สามหว้ ย กรรมการ

๑๔. นายชชั วาลย์ ไชยม่อม กรรมการ

๑๕. นายเรืองยศนติ ิ พลู ภิญโญ กรรมการ

๑๖. นายปอ้ มเพชร นาควจิ ิตร กรรมการ

๑๗. นางสาวรอกเี ยาะ สะมะแอ กรรมการ

๑๘. นางพรฤดี สุขแกว้ กรรมการ

๑๙. นางสาวฟาตมี ะห์ เส็งหลี กรรมการ

๒๐. นางสาวร้งุ นภา ชมุ ประเสรฐิ กรรมการ

๒๑. นางสาวนภิ ากร เศษศรี กรรมการและเลขานุการ

- 34 -

๓. คณะกรรมการทำงานมาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศกึ ษา มหี นา้ ท่ี จัดทำเป็นมาตรฐาน

การปฏบิ ัตงิ านของสถานศกึ ษาและประกาศให้ทกุ คนนำไปปฏิบตั ิ ประกอบด้วย

๑. นางสาวมะลิวรรณ์ จิตกุล ประธานกรรมการ

๒. นายคปุ ตพงศ์ หนปู ระสงค์ รองประธานกรรมการ

๓. นางศริ พิ ร อมรนรชัย กรรมการ

๔. นางกหุ ลาบ พรหมศรี กรรมการ

๕. นางบญุ มา หนยู ้ิม กรรมการ

๖. นางจตุ ิพร ศรีสุวรรณ์ กรรมการ

๗. นางรตั นาภรณ์ แก้วเขยี ว กรรมการ

๘. นางนิศาชล วันชาติ กรรมการ

๙. นางสุปราณี หุ้นเอยี ด กรรมการ

๑๐. นางสมจิตร พรหมคงบุญ กรรมการ

๑๑. นางสมศิริ แกว้ เนื้ออ่อน กรรมการ

๑๒. นางนิภากร เศษศรี กรรมการ

๑๓. นางมลิวลั ย์ เพชรศรีชาติ กรรมการ

๑๔. นางแจ๋ววรรณดี เพชรศรี กรรมการ

๑๕. นางสาวไซนะ แดแบง กรรมการ

๑๖. นางสุภาณี อะตะราใจ กรรมการ

๑๗. นางปราณี เลศิ พงศ์พิรุฬห์ กรรมการ

๑๘. นางทวีลาภ พรหมทอง กรรมการ

๑๙. นางสาวมะลิ ธารานวุ งศ์ กรรมการ

๒๐. นางอามาล โต๊ะตาหยง กรรมการ

๒๑. นายเกรียงศักด์ิ ทองเป็นเพชร กรรมการ

๒๒. นางอัญชลี คงทน กรรมการ

๒๓. นางธนั ยาภรณ์ เนาวสินธุ์ กรรมการ

๒๔. นายศุภฤกษ์ หงอสกุล กรรมการ

๒๕. นางภัทรกัญญา รตั นธนาสกุล กรรมการ

๒๖. นางสาวปาณสิ รา เมืองสง กรรมการ

๒๗. นางเสาวนารถ บุตรมาตา กรรมการ

๒๘. นางสาววณษิ า จะริดิ กรรมการและเลขานุการ

๔. คณะกรรมการสร้างเคร่อื งมือเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐานของสถานศกึ ษา ตามมาตรฐาน

คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา มหี น้าที่ ดำเนนิ การสร้างเครื่องมอื เกบ็ รวบรวมข้อมูล ตามมาตรฐาน

คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตรวจสอบคุณภาพของเครอ่ื งมือเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และจัดเกบ็

เครือ่ งมือเพื่อการนำไปใช้ ประกอบดว้ ย

๑. นางสาวมะลิวรรณ์ จติ กลุ ประธานกรรมการ

๒. นางศิริพร อมรนรชัย รองประธานกรรมการ

๓. นางเสาวนารถ บุตรมาตา กรรมการ

- 35 -

๔. นายเกรยี งศักดิ์ ทองเปน็ เพชร กรรมการ

๕. นางสาวฟารีดะ๊ มะแอ กรรมการ

๖. นางสาวนิอาดีลา หะยีเจะ๊ มงิ กรรมการ

๗. นางสาวภาลิณีย์ อนันตเดชพงศ์ กรรมการ

๘. นางแจ๋ววรรณดี เพชรศรี กรรมการ

๙. นางขวัญใจ ชนะกลุ กรรมการ

๑๐. นางนิรมล ปรเิ ปรมกุล กรรมการ

๑๑. นายเธียรธวชั คณะทอง กรรมการ

๑๒. นางซุลฮา หมัดเล๊าะ กรรมการ

๑๓. นางอามาล โต๊ะตาหยง กรรมการและเลขานุการ

๕. คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษา มีหนา้ ที่ เตรียมเครือ่ งมอื ประเมนิ รวบรวมเคร่ืองมอื

ประเมนิ ทีเ่ กย่ี วกบั นักเรียน ครู ผู้บริหาร ดำเนนิ การประเมิน และสรปุ ผลการประเมินตามมาตรฐานและ

ตัวชี้วัด ประกอบดว้ ย

๑. นางสาวมะลวิ รรณ์ จติ กลุ ประธานกรรมการ

๒. นางศิรพิ ร อมรนรชยั รองประธานกรรมการ

๓. คณะครูสายชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ กรรมการ

๔. คณะครูสายช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๒ กรรมการ

๕. คณะครสู ายชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๓ กรรมการ

๖. คณะครูสายชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ กรรมการ

๗. คณะครสู ายชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๕ กรรมการ

๘. คณะครูสายช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ กรรมการ

๙. นายเกรยี งศักด์ิ ทองเปน็ เพชร กรรมการ

๑๐. นางเสาวนารถ บตุ รมาตา กรรมการและเลขานุการ

๖. คณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการพฒั นาคุณภาพ มีหน้าที่ ตรวจสอบ ติดตาม

ให้คำแนะนำในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ประกอบด้วย

๑. นายไพศาล วอ่ งภาณสุ กลุ ประธานกรรมการ

๒. นางสาวมะลิวรรณ์ จิตกลุ รองประธานกรรมการ

๓. นายคปุ ตพงศ์ หนปู ระสงค์ กรรมการ

๔. นายสุพงศ์ศักดิ์ อุดม กรรมการ

๕. นางศิรพิ ร อมรนรชยั กรรมการ

๖. นางบญุ มา หนูยม้ิ กรรมการ

๗. นางกหุ ลาบ พรหมศรี กรรมการ

๘. นางรัชฎาภรณ์ เพชรมณี กรรมการ

๙. นางนศิ าชล วนั ชาติ กรรมการ

๑๐. นางสาวมะลิ ธารานุวงศ์ กรรมการ

๑๑. นางเสาวนารถ บุตรมาตา กรรมการ

๑๒. นายเกรยี งศกั ดิ์ ทองเป็นเพช็ ร กรรมการ

- 36 -

๑๓. นางอามาล โต๊ะตาหยง กรรมการ

๑๔. นางรัตนาภรณ์ แก้วเขียว กรรมการ

๑๕. นางซลุ ฮา หมัดเล๊าะ กรรมการ

๑๖. นางสมศิริ แกว้ เน้อื อ่อน กรรมการและเลขานุการ

๗. คณะกรรมการรวบรวมข้อมูลและจดั พิมพร์ ายงานผลการประเมินตนเอง ระดับการศกึ ษา

ข้ันพ้นื ฐาน มีหนา้ ที่ พัฒนามาตรฐานการศกึ ษาขนั้ ฐานและจดั ทำรายงานผลงานการประเมินตนเอง

ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ ประกอบดว้ ย

๑. นางสาวมะลิวรรณ์ จิตกลุ ประธานกรรมการ

๒. นางศิรพิ ร อมรนรชัย รองประธานกรรมการ

๓. นางรัชฎาภรณ์ เพชรมณี กรรมการ

๔. นางกุหลาบ พรหมศรี กรรมการ

๕. นางสปุ ราณี หุ้นเอียด กรรมการ

๖. นางธันยาภรณ์ เนาวสนิ ธ์ิ กรรมการ

๗. นางสณุ า ปาสนัน่ กรรมการ

๘. นายเกรียงศักดิ์ ทองเป็นเพช็ ร กรรมการ

๙. นางซุลฮา หมดั เล๊าะ กรรมการ

๑๐. นางอามาล โต๊ะตาหยง กรรมการ

๑๑. นางเสาวนารถ บตุ รมาตา กรรมการและเลขานุการ

๙. คณะกรรมการรวบรวมข้อมูลเผยแพร่ มหี นา้ ท่ี บันทึกภาพ เผยแพร่ ประชาสมั พนั ธข์ ้อมลู

มาตรฐานการศึกษา และลงเว็บไซต์สชู่ มุ ชน ประกอบดว้ ย

๑. นายเกรียงศักด์ิ ทองเป็นเพช็ ร ประธานกรรมการ

๒. นางอามาล โต๊ะตาหยง รองประธานกรรมการ

๓. นางสาวภาลิณีย์ อนนั ตเ์ ดชพงศ์ กรรมการ

๔. นางประทปี ดาวกระจาย กรรมการ

๕. นายกามะรูดงิ เลาะมะ กรรมการ

๖. นางกนกวรรณ ไชยนาพงษ์ กรรมการ

๗. นางสาววณิษา จะริดิ กรรมการและเลขานุการ

ทง้ั น้ี ใหผ้ ู้ท่ีไดร้ บั มอบหมายงานปฏิบัติหนา้ ทีด่ ว้ ยความรับผิดชอบ เสียสละ เตม็ เวลา และความรู้
ความสามารถ ปฏิบตั ิงานใหส้ ำเร็จลุล่วงไปด้วยความเรียบร้อย โดยคำนึงถึงประโยชน์แก่นกั เรียนและ
โรงเรยี นอนุบาลยะลาเปน็ สำคัญ

สง่ั ณ วนั ที่ ๑๐ เดอื น พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒

(นายไพศาล ว่องภาณสุ กุ ล)
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นอนุบาลยะลา

- 37 -

ประกาศโรงเรยี นอนุบาลยะลา
เรอ่ื ง แต่งต้งั คณะกรรมการทบทวนและปรบั ปรงุ มาตรฐานการศกึ ษา

ระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๖๒

--------------------------------

เพื่อให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย

ระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน และระดับการศึกษาข้นั พื้นฐานศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ลงวันท่ี ๖ สงิ หาคม พ.ศ.

๒๕๖๑ เพื่อใช้เป็นหลักเทียบเคียงของสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

เพื่อการพัฒนาสนับสนุน ส่งเสริม กำกับดแู ล และติดตามตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา

โรงเรยี นอนบุ าลยะลา จึงแต่งตัง้ คณะกรรมการทบทวนและปรับปรุงมาตรฐานการศึกษา ระดับ

การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ประกอบดว้ ยบคุ คลตอ่ ไปนี้

๑. นายไพศาล ว่องภาณุสกลุ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ

๒. นางสาวมะลวิ รรณ์ จิตกลุ รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ

๓. นายคปุ ตพงศ์ หนปู ระสงค์ รองผู้อำนวยการโรงเรยี น รองประธานกรรมการ

๔. นายสุพงศ์ศกั ดิ์ อดุ ม รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น รองประธานกรรมการ

๕. นางศิรพิ ร อมรนรชัย ครู กรรมการ

๖. นางกุหลาบ พรหมศรี ครู กรรมการ

๗. นางบญุ มา หนยู มิ้ ครู กรรมการ

๘. นางจุตพิ ร ศรสี วุ รรณ์ ครู กรรมการ

๙. นางรัตนาภรณ์ แกว้ เขียว ครู กรรมการ

๑๐. นางอมั พร สทุ ธิมาศ ครู กรรมการ

๑๑. นางสุปราณี หุ้นเอยี ด ครู กรรมการ

๑๒. นางจฑุ ารตั น์ แก้วประดับ ครู กรรมการ

๑๓. นางนิศาชล วันชาติ ครู กรรมการ

๑๔. นางรัชฎาภรณ์ เพชรมณี ครู กรรมการ

๑๕. นางปราณี เลิศพงศ์พิรุฬห์ ครู กรรมการ

๑๖. นายเกรียงศักด์ิ ศรเี ทพ ผปู้ กครองนักเรยี น กรรมการ

๑๗. นางดวงกมล วัชระสมั พันธ์ ผปู้ กครองนักเรยี น กรรมการ

๑๘. นายเสรี วาจาเพชร กรรมการสถานศึกษา กรรมการ

๑๙. นายสรายทุ ธ์ โยธี กรรมการสถานศกึ ษา กรรมการ

๒๐. เดก็ ชายธนกฤต สุขาเขิน ตัวแทนสภานกั เรยี น กรรมการ

- 38 -

๒๑. เด็กหญงิ จฑุ ามณี เซ่งซ้าย ตัวแทนสภานักเรยี น กรรมการ
๒๒. นางเสาวนารถ บุตรมาตา ครู กรรมการและเลขานุการ

ทัง้ น้ี ให้คณะกรรมการดังกลา่ ว มหี นา้ ท่ี วิเคราะห์และนำผลการประเมนิ ตนเองของโรงเรียน
มาศกึ ษา เพ่ือใชก้ ำหนดสภาพปัญหาและความตอ้ งการ และให้ทบทวนและปรับปรงุ มาตรฐานการศกึ ษา
ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ให้เหมาะสมและสอดคล้องกบั สภาพจรงิ และบรบิ ทของโรงเรยี น

ประกาศ ณ วันที่ ๒๘ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

(นายไพศาล วอ่ งภาณสุ กุล)
ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนอนุบาลยะลา

- 39 -

ประกาศโรงเรียนอนุบาลยะลา
เร่ือง มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖๒

----------------------------------
ด้วยกระทรวงศกึ ษาธิการได้ประกาศเรอื่ ง ให้ใช้มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั ระดบั การศึกษา
ขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ ลงวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๖๑ เพื่อใช้เป็น
หลักเทียบเคียงสำหรับสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อการพัฒนา
สนับสนุน ส่งเสริม กำกับดูแล และติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษานั้น
โรงเรียนอนุบาลยะลาจึงกำหนดให้มีมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.
๒๕๖๒ เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาจำนวน ๓ มาตรฐาน พร้อมกันนี้ได้กำหนดตัวบ่งชี้และค่า
เปา้ หมายความสำเรจ็ ของแต่ละมาตรฐานการศกึ ษา ดงั เอกสารแนบทา้ ยประกาศดงั นี้
มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖๒ มีจำนวน ๓ มาตรฐาน ๒๑ ตัวบ่งช้ี
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพผ้เู รยี น

๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน
๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และการคิดคำนวณ
๒) มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ อย่างมวี ิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ียน

ความ คดิ เห็น และแก้ปญั หา
๓) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม
๔) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
๕) มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
๖) มคี วามรู้ ทักษะพ้นื ฐาน และเจตคตทิ ่ีดตี ่องานอาชีพ

๑.๒ คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องผูเ้ รยี น
๑) การมีคณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ตามหลกั สตู ร คณุ ธรรมเปา้ หมาย และค่านยิ มท่ดี ี

ตามทส่ี ถานศึกษากำหนด
๒) ความภมู ิใจในท้องถิ่นและความเปน็ ไทย
๓) การยอมรบั ทจี่ ะอย่รู ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
๔) สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจติ สงั คม

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
๒.๑ มีเปา้ หมาย วสิ ัยทศั น์ และพนั ธกิจทสี่ ถานศึกษากำหนดชดั เจน
๒.๒ มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา
๒.๓ ดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการท่เี นน้ คุณภาพของผู้เรยี นรอบด้านตามหลกั สูตรสถานศึกษา

และทุกกลมุ่ เป้าหมาย

- 40 -

๒.๔ พฒั นาครูและบุคลากรให้มคี วามเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี
๒.๕ จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ และสงั คมทีเ่ อ้ือต่อการจัดการเรียนรอู้ ย่างมคี ุณภาพ
๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ สนบั สนุนการบริหารจัดการ และการจัดการเรยี นรู้
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผ้เู รียนเป็นสำคญั
๓.๑ จัดการเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ รงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ได้
๓.๒ ใช้ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรทู้ เ่ี อ้ือต่อการเรียนรู้
๓.๓ มกี ารบรหิ ารจดั การช้นั เรยี นเชิงบวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพฒั นาผ้เู รยี น
๓.๕ มีการแลกเปล่ียนเรยี นรแู้ ละให้ข้อมลู สะทอ้ นกลบั เพื่อพัฒนาและปรับปรงุ
การจดั การเรียนรู้

ประกาศ ณ วันที่ ๒๔ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๒

(นายไพศาล ว่องภาณุสกุล)
ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลยะลา

โรงเรียนอนบุ าลยะลา อาเภอเมือง จังหวดั ยะลา
สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑


Click to View FlipBook Version