The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นางสาวพัชรี กิ่งเกษ Adult II

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thanachot8761, 2020-05-04 06:22:38

นางสาวพัชรี กิ่งเกษ Adult II

นางสาวพัชรี กิ่งเกษ Adult II

49



การวนิ ิจฉัยโรค
^. จากการซกั ประวตั ิเก7ียวกบั อาการและการสมั ผสั เช2ือ
^.^) สมั ผสั สตั วป์ ี กท7ีป่ วยหรือตายในช่วง § วนั ท7ีผา่ นมา หรือ
^.M) สมั ผสั ผปู้ ่ วยปอดบวมในช่วง ^— วนั ที7ผา่ นมา หรือ
^.b) อาศยั ในหมู่บา้ นที7มีสตั วป์ ี กป่ วย ตาย หรืออยใู่ นพ2ืนที7ท7ีมีการระบาดของเช2ือ A H5N1 หรือ A H7N9 ใน
สตั วป์ ี ก ตามประกาศของกรมปศุสตั วใ์ นช่วง ^c วนั ที7ผา่ นมา
M. จากการตรวจร่างกายพบสญั ญาณชีพผดิ ปกติ เช่น มีไข้ หายใจเร็ว ชีพจรเร็ว
b. การตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการ

การรักษา
^. การใหย้ าตา้ นไวรัส
M. การรักษาตามอาการ

ตวั อย่างแผนการพยาบาลทสี> ําคญั สําหรับผู้ปวยตดิ เชืLอไข้หวดั นก
ข้อวนิ ิจฉัยทางการพยาบาล
^. การแลกเปลี7ยนก๊าซบกพร่อง เนื7องจาก มีการติดเช2ือในระบบทางเดินหายใจ /มีการระบายอากาศของถุง
ลมลดลง / การเสียสมดุลของ alveolar ventilation-perfusion / พ2ืนที7การ แลกเปลี7ยนก๊ซลดลง / การขยายตวั
ของปอดลดลง หรือ
M. ประสิทธิภาพในการทาํ ใหท้ างเดินหายใจใหโ้ ล่งลดลงจากการมีเสมหะมาก / การไอไม่มีประสิทธิภาพ /
ระดบั การรู้สติลดลง

ข้อมูลสนับสนุน
^. ผปู้ ่ วยบ่นวา่ หายใจลาํ บาก เหน7ือย หายใจไม่อ7ิม นอนราบหายใจไม่สะดวก
M. บ่นวา่ มีไข้ หนาวสนั7
b. สญั ญาณชีพผดิ ปกติ มีไข้ หายใจหอบ ชีพจรเร็ว มีอาการแสดงของภาวะขดออกซิเจน เช่น เหง7ือออก
กระสบั กระส่าย ตวั เยน็ ปลายมือ ปลายเทา้ ซีด เขียว
c. ฟังปอดไดย้ นิ เสียง crepitation / เคาะปอดไดเ้ สียงทึบ ฯลฯ
d. ผลตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการผดิ ปกติ
6. O2 saturation <95%, arterial blood gas wu hypoxemia/hypercapnia
7. Chest x-ray wu pneumonia / pulmonary edema

50



วตั ถุประสงค์การพยาบาล
เพื7อแกไ้ ข/ ป้องกนั ภาวะการแลกเปล7ียนก๊าซบกพร่อง และช่วยใหไ้ ดร้ ับออกชิเจนเพียงพอ

กจิ กรรมการพยาบาลทส>ี ําคญั
^. ใหก้ ารพยาบาลผปู้ ่ วยโดยยดึ หลกั aseptic technique และ universal precaution
หลกั การควบคุมและแพร่กระจายเชืLอให้ปฏบิ ้เช่นเดยี วกบั การดูแลผู้ป่ วยโรค SARร และ MRSA
M แยกใหผ้ ปู้ ่ วยอยใู่ นหอ้ งที7มี negative pressure หรือหอ้ งที7แยกจากผปู้ ่ วยรายอ7ืน

51



การพยาบาลผปู้ ่ วยท7ีมีปัญหาโรคติดเช2ือในโรงพยาบาล

โรคติดเช2ือในโรงพยาบาล (Nosocomial infection: NI) หมายถึง โรคติดเช2ือท7ีเกิดจากการไดร้ ับเช2ือ
ขณะท7ีผปู้ ่ วยไดร้ ับการตรวจ และ/หรือการรักษาในโรงพยาบาลและไม่อยใู่ นระยะฟัตวั ของเช2ือ (โดยทวั7 ไป
โรคติดเช2ือในโรงพยาบาลมกั เกิดข2ึนในผปู้ ่ วยท7ีรับไวร้ ักษาในโรงพยาบาลแลว้ นานเกิน c…-§M ชโั7 มง)
โรคติดเช2ือในโรงพยาบาลไม่ไดเ้ กิดข2ึนเฉพาะกบั ผปู้ ่ วยเท่าน2นั บุคคลอ7ืน เช่น แพทย์ พยาบาล บุคลากรทาง
การแพทย์ หรือผมู้ าเยย7ี มผปู้ ่ วย หากไดส้ มั ผสั และรับเช2ือในโรงพยาบาลกอ็ าจเกิดติดเช2ือในโรงพยาบาลได้

ประเภทของการตดิ เชืLอในโรงพยาบาลและเชืLอก่อโรค
^.การติดเช2ือระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง (hospital acquired pneumonia: HAP และ Ventilator-associated
pneumonia: VAP)
M.การติดเช2ือระบบทางเดินปัสสาวะ (Urinary tract infection: UTI)
b.การติดเช2ือบาดแผลผา่ ตดั (Surgical site infection: SSI)
c.การติดเช2ือในกระแสเสือด (Blood stream infection)
d.การติดเช2ือท7ีผวิ หนงั และเยอื7 บุ (Skin and soft tissue infections)
f.การติดเช2ือในทางเดินอาหาร (Gastrointestinal infection)
§.อื7นๆ (Other)

ปัจจยั ทเี> กยี> วข้องกบั โรคตดิ เชืLอในโรงพยาบาล
*. เชืLอก่อโรค (Agent) โรคติดเช2ือในโรงพยาบาลเกิดจากเช2ือแบคทีเรียเป็นส่วนใหญ่ ส่วนนอ้ ยเกิดจาก
เช2ือไวรัส ปรสิตหรือพยาธิ เช2ือโรคที7เป็นสาเหตุของโรคติดเช2ือในโรงพยาบาล ส่วนไหญ่เป็นเช2ือประจาํ ถิ7น
หรือเช2ือท7ีพบบนร่างกายผปู้ ่ วยเอง (normal fora หรือ colonization) เพียงส่วนนอ้ ยเท่าน2นั ท7ีเกิดจากเช2ือโรค
จากผปู้ ่ วยอื7น จากบุคลากร หรือจากส7ิงแวลอ้ ม เช2ือก่อโรคติดเช2ือในโรพยาบาลที7พบไดม้ ากท7ีสุดในประเทศ
ไทยคือเช2ือแบคทีเรียแกรมลบทรงแท่ง (gram-negative bacilli)
+. บุคคล(Host) ผทู้ 7ีติดเช2ือในโรงพยาบาลส่วนใหญ่เป็นผปู้ ่ วย แต่กอ็ าจจะเป็นบุคลากรในโรพยาบาลกไ็ ด้
ท2งั น2ีความแขง็ แรงของบุคคลหรือภูมิตา้ นทานโรคเป็นปัจจยั สาํ คญั ท7ีมีผลต่อความยากง่ายในการติดเช2ือ
โรคติดเช2ือในโรงพยาบาลจะพบมากในผปู้ ้วยท7ีมีภูมิตา้ นทานโรคต7าํ เช่น ในเดก็ เลก็ ที7ภูมิตา้ นทานยงั พฒั นา
ไม่เตม็ ที7 และผสู้ ูงอายุ ในคนที7ภูมิตา้ นทานโรคลดลงเน7ืองจากโรค เช่น เอชไอวี มะเร็งเมด็ เลือดขาว โรคของ
ระบบภูมิคุม้ กนั ภาวะทุพโภชนาการ ผปู้ ่ วยที7ไดร้ ับภยนั ตราย ผปู้ ่ วยท7ีไดร้ ับการผา่ ตดั หรือจาการรักษา หรือ
ในคนท7ีภูมิตา้ นทานโรคลดลงจากการรักษาโรค เช่น ในผทู้ ี7ใชย้ ารักษามะเร็ง หรือ สเตียรอยด์ เป็นตน้ ผปู้ ่ วย
เหล่าน2ีมกั จะไดร้ ับการรักษาในโรงพยาบาลใหญ่ ๆ เช่น โรงพยาบาลของมหาวทิ ยาลยั โรงพยาบาลศูนย์

52



จึงเป็นสาเหตุที7ทาํ ใหอ้ ตั ราการติดเช2ือในโรงพยาบาลเหล่าน2ีสูงตามไปดว้ ย
R. ส>ิงแวดล้อม (Environment) ส7ิงแวดลอ้ มผปู้ ่ วยในโรงพยาบาลครอบคลุมถึง อาคาร สถานที7 เคร7ืองมือ
เคร7ืองใช้ บุลลากรในโรงพยาบาล ญาติท7ีมาเยยี7 ม น2าํ ด7ืม น2าํ ใช้ การระบายน2าํ ควรกาํ จดั น2าํ สีย การกาํ จดั ขยะ
และระบบการทาํ ความสะอาดอาคารและสถานท7ีต่างๆ ถา้ สิ7งแวดลอ้ มสกปรกหรือมีการปนป2ื อนกจ็ ะเป็น
แหล่งสะสมหรือเพาะพนั ธุ์ของเช2ือโรค และโอกาสที7เช2ือโรคจะเขา้ สู่ผปู้ ่ วยสูงข2ึน ทาํ ใหผ้ ปู้ ่ วยเส7ียงต่อการติด
เช2ือมากข2ึน

วถิ กี ารแพร่เชืLอ
^. การสมั ผสั (Contact)
M. การแพร่ทางอากาศ (air-borne)
b. การแพร์โดยสตั วพ์ าหะ (vector-borne)

หลกั การป้องกนั และควบคุมการแพร่กระจายเชืLอโรคจากการดูแลผู้ป่ วย
^. ปฏิบตั ิต่อผปู้ ่ วยทุกรายเหมือนกนั โดยยดึ หลกั การ Standard Precautions
M. สวมเครื7องป้องกนั ร่างกาย เมื7อมีขอ้ บ่งช2ี ตามหลกั การของ Standard Precautions เพื7อป้องกนั การไดร้ ับเช2ือ
และแพร่กระจายเช2ือ
3. Transmission-based precautions จะใชเ้ พิ7มจาก Standard Precautions เม7ือผปู้ ่ วยมีโรคติดเช2ือที7แพร่เช2ือ

การป้องกนั การเกดิ ภาวะปอดอกั เสบทส>ี ัมพนั ธ์ุกบั การใช้เคร>ืองช่วยหายใจ
(VAP: Ventilator-associated pneumonia)
^. ลา้ งมือก่อนหลงั สมั ผสั ผปู้ ่ วยทุกคร2ัง
M. จดั ท่าใหห้ วั เตียงสูง >= 30 องศา ตลอดเวลา
b. การดูดเสมหะดว้ ย Aseptic technique / subglottic suction
c. วดั ระดบั cuff pressure อยใู่ นช่วง Md-b— cmH2O เวรละ ^ คร2ัง หรือเมื7อมีลมรั7ว
5. Mouth care ดว้ ย —.^M% Chlorhexidine (โดยการใชไ้ มพ้ นั สาํ ลี) ปริมาณที7ใช้ ^d-M— ml อยา่ งนอ้ ย วนั ละ

M-c คร2ัง, แปรงฟันเชา้ -เยน็
f. หลีกเลี7ยงการใหอ้ าหารแบบ bolus feeding
7. Daily sedation vacation
…. ประเมินความพร้อมในการหยา่ เคร7ืองช่วยหายใจ


Click to View FlipBook Version