บรรจุภัณฑ์โยเกิร์ต
ที่มา และ โยเกิร์ตเป็นผลิตภัณฑ์นมชนิ ดหนึ่ ง ที่ได้รับ
ความสำคัญ ความนิ ยมอย่างมากในหมู่ผู้บริโภคทั่วโลกแต่
ยุคปัจจุบันการทานโยเกิร์ตในถ้วยอาจจะไม่
ตอบโจทย์กลุ่มผู้บริโภคยุคใหม่สั กเท่าไหร่
เนื่ องจากสังคมในปัจจุบันมีความเร่งรีบบรรจุ
ภัณฑ์ของโยเกิร์ตอาจจะไม่ตอบโจทย์ ทางคณะ
ผู้จัดทำก็เลยเล็งเห็นว่าการทำเป็นแบบพร้อม
ทานโดยที่เป็นแบบดูดจะรับประทานได้ง่าย
กว่าแบบใช้บรรจุภัณฑ์เพราะทำให้สะดวกใน
การรับประทานมากกว่า
วัตถุประสงค์
1.เพื่อเพิ่มความสะดวกสะบายในการรับประทาน
2.เพื่อลดการเกิดปัญหาในการรับประทานแล้วหก
ประโยชน์ ที่คาด ได้บรรจุภัณฑ์ที่สะดวก
ว่าจะได้รับ สบายกว่าเดิม
การเรียนรู้ในการ
ดำเนิ นงานจัดทำบรรจุ
ภัณฑ์ใหม่
การพัฒนาทักษะกระบวนการ
ความคิด และการวางแผน ในการ
ทำบรรจุภัณฑ์ใหม่
ปัญหาที่พบ
- บรรจุภัณฑ์เดิมทำให้ไม่สะดวกในการรับประทาน บางคน พอเปิด
ฝาที่รับประทานก็เลอะมือบางทีก็ลืมหยิบช้อน ทำให้บางครั้งซื้อมาก็
ไม่ได้ทานเลยก็ปล่อยทิ้งไว้จนกว่าจะถึงบ้านถึงจะได้กิน
การแก้ไขปัญหา
ปรับเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ที่สะดวกสบายกว่าเดิม จากเดิมที่เคย
ใช้ช้อน เปลี่ยนมาเป็นแบบดูดแทนแบบไม่ต้องเปื้ อน ถ้าเรา
ทานไม่หมดก็สามารถปิดฝาแล้วกลับมาทานในวันนั้ นได้ใหม่
ระยะเวลาการดำเนิ นงาน
ระยะเวลาตั้งแต่ เริ่มต้น - สิ้ นสุด วันที่8 กุมภาพันธ์
- 28 กุมภาพันธ์ 2565
- ศึ กษาข้อมูลเกี่ยวกับการทำบรรจุภัณฑ์ 1 วัน
- สำรวจหาผู้บริโภคที่มีปัญหาเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
- ทดลองกับผู้บริโภค 1 วัน
การดำเนิ นงาน Status:
ต้องการทำโครงงานแบบ design thinkingpro
ขั้นตอนที่ 1 ระบุความต้องการ
- คือกระบวนการทำงานของบรรจุภัณฑ์
-สามารถสร้างประสบการณ์ใหม่ๆ ให้แก่ผู้บริโภคได้
ขั้นตอนที่ 2 ค้นคว้า
- ศึ กษาการทำบรรจุภัณฑ์ให้ออกมาตอบโจทย์ผู้บริโภค
ขั้นตอนที่ 3 นำเสนอ
- หาแนวทางแก้ไขปัญหาสนองความต้องการของผู้บริโภค
ขั้นตอนที่ 4 เลือกวิธีทีเหมาะสม
- ในขั้นตอนนี้ เราจะทำการทดลองจากผู้บริโภค เพื่อที่จะได้รู้ว่าตอบโจทย์สำหรับผู้บริโภคดีกว่า
บรรจุภัณฑ์เดิมหรือเปล่า
-พัฒนาแนวทางที่คาดว่าดีที่สุด เพื่อตอบสนองความต้องการหรือแก้ไขปัญหาในขั้นตอนที่เลือกปรับ
เปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ใหม่ ปรับเปลี่ยนเพื่อการใช้สำหรับประทานที่สะดวกมากยิ่งขึ้น เนื่องจากระยะ
เวลาการทำงานมีการกระชั้นชิด จึงต้องรีบทดลองให้สำเร็จโดยไว
การดำเนินงาน (ต่อ)
ขั้นตอนที่ 5 รังสรรค์ตัวตนแบบ
การรังสรรค์ตัวตนแบบด้วยเทคนิ คSCAMPER
- S : การนําเอาโยเกิร์ตมาเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ใหม่
- C : การรวมทักษะและทรัพยากรที่มีเพื่อปรับปรุงพัฒนาบรรจุภัณฑ์แบบใหม่ที่
สะดวกกว่า
- M : ปรับเปลี่ยนรูปร่างของบรรจุภัณฑ์ของโยเกิร์ตใหม่ จากเดิมที่เป็นรูปทรง
เป็นถ้วยและมีช้อน
- P : บรรจุภัณฑ์นี้ จะทำงานแตกต่างกัน จากบรรจุภัณฑ์เดิม
- E : การปรับเอากระบวนการคิดบรรจุภัณฑ์ใหม่มาขยายให้ดีกว่าบรรจุภัณฑ์เดิม
Back to Dashboard Page
การดำเนินงาน
(ต่อ)
ขั้นที่ 6ประเมินและสะท้อนผล
•การสะท้อนผลผ่าน PMI
•P : ความแปลกใหม่ที่นำบรรจุภัณฑ์เดิมมาปรับเปลี่ยนแพ็คเกจหรือบรรจุภัณฑ์ใหม่ให้เกิดความ
หลากหลายและดูน่ าสนใจมากขึ้ นสะดวกต่อการรับประทาน
•M : ไม่ใช่ทุกคนชอบบรรจุภัณฑ์เดิมเพราะบางคนจะพบปัญหาในการรับประทานโยเกิร์ตบ่อยครั้ง
จนบางทีอยากได้บรรจุภัณฑ์ใหม่ที่สามารถสะดวกต่อการรับประทานมากยิ่งขึ้น และเหมาะกับทุกคน
จึงเป็นข้อจำกัดและสร้างความท้าทายให้แก่เราว่า"เราจะสามารถปรับเปลี่ยนแพ็คเกจหรือบรรจุภัณฑ์
ให้คนบางส่ วนที่ยังไม่เห็นด้วยเปิดใจกับบรรจุภัณฑ์ใหม่”
•I : การปรับปรุงบรรจุภัณฑ์เพื่อให้ถูกใจผู้บริโภค และ สะดวกสบายต่อการรับประทานมากยิ่งขึ้น
งบประมาณที่ใช้
ถุงพร้อมดูด 13 บาท
โยเกิร์ต 55 บาท
แพ็จเกจหน้าถุง 10 บาท
ไซริงค์ หลอดดูด 10 บาท
รวมทั้งหมด 78 บาท
การนำมิติมาใช้
มิติด้านทักษะของการคิด
-การคิดพื้นฐาน : การหาข้อมูลหรือประโยชน์ของโยเกิร์ต
-การคิดแกน : การคิดและการปรับเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์
-การคิดขั้นสูง : การปรับเปลี่ยนเพื่อให้ได้บรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมที่สุด
มิติลักษณะการคิด
-เป็นการคิดอย่างละเอียด เนื่องจากบรรจุภัณฑ์ ทำออกมาแล้วต้องตอบโจทย์ความ
ต้องการของผู้บริโภค
มิติด้านกระบวนการคิด
-เป็นการคิดแก้ไขปัญหาจากโจทย์ที่ได้รับ โดยใช้ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเข้า
มาในการแก้ไขปัญหา
มิติการควบคุมและการประเมินการคิดของตนเอง
เป็นการเรียนรู้และการเปิดประสบการณ์ ด้านการปรับเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ใหม่ครั้งแรก
จากปัญหาที่เกิดขึ้นได้รับคำแนะนำจากบุคคลหลายๆ คน ส่วนใหญ่ได้เรียนรู้
ประสบการณ์ใหม่ในครั้งนี้ เพื่อนำไปปรับใช้ในอนาคตได้
ผลประเมิน
เกณฑ์การทำประเมิน ความพึงพอใจ
มากที่สุด 13 คะแนน
มาก 9 คะแนน
ปานกลาง 11 คะแนน
พอใช้ 7 คะแนน
ผลงาน
สะท้อนข้อคิดสิ่ งที่ได้รับ
ทักษะที่ได้รับจากการทําโปรเจคนี้ นั้นคือ ทักษะการจัดการเวลา
เนื่องจากโปรเจคนี้ มีระยะเวลาในการทํางานที่ค่อนข้างกระชั้นชิด
จึงจําเป็นจะต้องวางแผนการทํางานให้รัดกุมที่สุด เพื่อไม่ให้เสีย
เวลาในการดําเนินงานไปอย่างสูญเปล่า รวมไปถึง การทําผลงาน
ให้ออกมาดีที่สุดในระยะเวลานั้น หากงานเสร็จก่อนเวลา ก็ให้คิด
ทบทวนเกี่ยวกับงานของเราว่า มีจุดบกพร่องตรงไหนหรือเรา
หลงลืมองค์ประกอบอะไรไปหรือเปล่า เพื่อให้เราแน่ใจว่า ชิ้นงาน
นี้ เป็นงานที่สมบูรณ์ที่สุด เพื่อที่เราจะได้ไม่ต้องเสียใจภายหลังที่ไม่
ได้ทําบางอย่างเพื่อให้ได้งานที่สมบูรณ์ และดีที่สุด
นารีรัตน์ ประชุมฉลาด 6310600150
คณะศึกษาศาสตร์สาขาคหกรรมศาสตรศึกษา