คำนำ
แผนนิเทศรายบุคคล การนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา ปีงบประมาณ
2565 ได้ดาเนินการจัดทาขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ท่ีสาคัญเพ่ือเป็นเคร่ืองมือสาหรับการดาเนินการ
นิเทศ ติดตามการดาเนินงานนิเทศแบบบูรณาการโดยใช้พ้ืนท่ีเป็นฐาน นิเทศตามนโยบาย โครงการ/
กิจกรรมที่สอดคล้องกับนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 2 ประกอบด้วย หลักการและเหตุผล
วัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ภาพความสาเรจ็ แผนการนเิ ทศ กจิ กรรมการนเิ ทศ ปฏทิ ินการปฏบิ ตั งิ าน
ปฏิทินการนิเทศ ทรัพยากรท่ีต้องการ เคร่ืองมือนิเทศ และผลที่คาดว่าจะได้รับ เมื่อได้ดาเนินการ
นิเทศตามที่ได้กาหนดไว้จะส่งผลให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน ของโรงเรียนในความรับผิดชอบ
พฒั นาสู่มาตรฐานการศึกษาอยา่ งมีคณุ ภาพในทกุ ๆ ด้าน
เอกสารฉบับนี้จะเป็นแนวทางในการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาสาหรับศึกษานิเทศก์ผู้เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับภารกิจของแต่ละงาน/
โครงการ/กิจกรรมของหน่วยงานต้นสังกัด และเป็นเครื่องมือเสริมสร้างประสิทธิภาพการนิเทศ
การศึกษาท่เี กีย่ วข้องต่อไป
นางสาวนริศรา แสงจนั ทร์
ศึกษานเิ ทศก์ วทิ ยฐานะศึกษานิเทศก์ชานาญการพเิ ศษ
สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 2
สำรบญั
เรื่อง หนา้
หลกั การและเหตผุ ล ๑
วัตถุประสงค์ ๒
เปา้ หมาย ๒
ภาพความสาเรจ็ ๓
แผนการดาเนินการ ๓
กจิ กรรมการนเิ ทศ ๖
ปฏิทนิ การปฏบิ ัติงาน ๗
ปฏทิ ินการนเิ ทศ ๙
ทรัพยากรทตี่ ้องการ ๑๑
เครื่องมอื นิเทศ ๑๑
ผลทคี่ าดวา่ จะได้รบั ๑๑
1
หลกั กำรและเหตุผล
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาจะสาเร็จได้ตามเป้าหมาย จาเป็นต้องมีองค์ประกอบสาคัญ
ในการพฒั นา คือ กระบวนการบรหิ าร กระบวนการจัดการเรียนรู้ และกระบวนการนิเทศ ที่ต้องรว่ มกัน
สนับสนุนส่งเสริมไปด้วยกันการนิเทศการศึกษาเป็นกระบวนการหน่ึงท่ีสร้างแรงจูงใจแก่ผู้บริหาร ครู
และบคุ ลากรทางการศึกษา การปรบั ปรุงการใหบ้ ริการทางการศกึ ษาทั้งในทางตรงและทางอ้อม ชว่ ยให้
การจัดการเรียนรู้ของครูมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลซึ่งส่งผลโดยตรงแก่ผู้เรียน ครูควรได้รับการ
นิเทศเพื่อพัฒนาทางด้านงานวิชาการ การจัดการเรียนรู้ สามารถกระตุ้นและเป็นแนวทางในการนา
ความคิดใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้นกับครูภายในโรงเรียน เป็นการช่วยกระตุ้นให้เกิดความแนวคิดในการพัฒนา
รูปแบบการจัดการเรียนรู้แก่ครู อาจทาได้โดยการจัดให้มีการอบรมด้านวิชาชีพ พัฒนาหลักวิชาความรู้
มีความเช่ือมั่นในการสอน มีประสบการณ์ในการจัดทา และใช้ส่ือวัสดุอุปกรณ์การสอน พัฒนาทัศนคติ
ในการทางานปรบั ปรุงแผนการจัดการเรยี นรู้ เข้าใจเทคนคิ การประเมนิ ผล การนเิ ทศการศกึ ษาทปี่ ระสบ
ผลสาเร็จจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูและบุคลากรทุกฝ่ายจะ
ร่วมมือกันในการพัฒนาตนเองตามศักยภาพ ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน หัวใจของการ
นิเทศ คือ การเรียนรู้ของครูเพื่อการพัฒนาตนเองให้มีความรู้ท่ีทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ และมองภาพ
อนาคตของผู้เรียนซ่ึงเป็นผลผลิตทางการศึกษาได้ วิธีการที่ทาให้ครูสามารถพัฒนาตนเองได้อาจมี
หลากหลายวิธี การแลกเปล่ียนเรยี นรู้ระหวา่ งเพื่อนครู และบุคคลท่ีเก่ียวข้องกับการเรยี นรู้ของนักเรียน
มีโอกาสได้รบั ความรู้ ถา่ ยทอดความรู้ แลกเปล่ียนความรู้ และรว่ มคิดวิเคราะหป์ ญั หาเก่ียวกับการจัด
การเรียนรู้ทั้งปัญหาของตนเอง เพื่อน ครูและพ่อแม่ หาแนวทางแก้ปัญหาร่วมกัน ด้วยความตระหนัก
ในความสาคัญดังกลา่ วข้างต้น กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพน้ื ท่ี
การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 2 กาหนดให้มีการดาเนินการด้านการนิเทศการจัดการเรียนรู้
ส่งเสริม และพัฒนาทางด้านวิชาการให้แก่ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนของสถานศึกษาในสังกัด
ได้แก่ การนาหลักสูตรสถานศึกษาลงสู่ช้ันเรียน การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ แผนการจัด
การเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ การวัดประเมินผลการเรียนรู้ ซึ่งกาหนดการนิเทศติดตามในภาคเรียนที่
๒/2564 ระหวา่ งวนั ท่ี ๑ พฤศจิกายน 2564 ถงึ ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๕ และภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
ระหว่างวันท่ี ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๖๕ เพ่ือให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ส่งเสริมการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา และครูให้สามารถพัฒนาผู้เรียน และการจัดการ ศึกษา
ของสถานศึกษาให้มีคุณภาพเพ่ิมขึน้ ในโอกาสต่อไป
ดังนั้น ผู้จัดทาในฐานะศึกษานิเทศก์ กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 2 ได้ตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าว จึงได้
กาหนดแนวทางในการพัฒนาทั้งด้านการบริหารจัดการ ครูผู้สอน และผู้เรียน ให้สอดคล้องกับสภาพ
การดาเนินงานและปญั หาของเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต ๒ ตลอดจนจดั ใหม้ ีการนิเทศ
การศึกษาเพื่อเป็นกลไกในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยเน้นกระบวนการปฏิบัติร่วมกันระหว่าง
ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศทุกระดับ ทั้งนี้เพ่ือปรับปรุงและเพ่ิมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของผู้รับ
การนิเทศในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐานและพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีความรู้
ความสามารถ และผลการทดสอบระดบั ชาตใิ หเ้ ปน็ ไปตามเป้าหมายท่ีกาหนดต่อไป
๒
วัตถุประสงค์
๑. เพ่ือเป็นเอกสารแนวทางการขับเคลื่อนการนิเทศให้กับศึกษานิเทศก์ผู้รับผิดชอบ
ศนู ยป์ ระสานงานสถานศึกษาดงเจริญ ๐๑
๒. เพอ่ื เปน็ แนวทางการสรา้ งความเขม้ แขง็ ในการนเิ ทศของศึกษานเิ ทศก์ผรู้ บั ผดิ ชอบ
ศูนย์ประสานงานสถานศึกษาดงเจริญ ๐๑ ด้านการขับเคลื่อนการนาหลักสูตรสู่การจัดการเรียนรู้
เชิงรุก (Active Learning) การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 การจัดการเรียนรู้พัฒนาการจัด
การเรียนรู้เพื่อเพิ่มทักษะการคิดแบบมีเหตุผลและเป็นข้ันตอน (Coding) การนิเทศการส่งเสริม
การเรียนรู้เพ่ือยกระดับการประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล (PISA) การจัดการศึกษาโรงเรียน
มาตรฐานสากล การจัดการเรียนรู้การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS) การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทาง
การเรียน และการยกระดับคณุ ภาพสถานศึกษาต่าง ๆ การจัดการศึกษาของโรงเรียนในโครงการพิเศษ
การจัดการเรียนรู้ตามจุดเน้น/นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ สพฐ. และสานักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาด้วยการนเิ ทศบูรณาการโดยใช้พืน้ ทเ่ี ปน็ ฐานเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
เปำ้ หมำย
นิเทศ กากับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาภายใน
โรงเรียน ด้านการขับเคลื่อนการนาหลักสูตรสู่การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) การจัดการ
เรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 การจัดการเรียนรู้พัฒนาการจัดการเรียนรู้เพื่อเพิ่มทักษะการคิดแบบมีเหตุผล
และเปน็ ขน้ั ตอน (Coding) การสง่ เสริมการเรียนรูเ้ พือ่ ยกระดบั การประเมนิ สมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล
(PISA) การจัดการศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล การจัดการเรียนรู้การศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง (IS) การ
ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และการยกระดับคุณภาพสถานศึกษาต่าง ๆ การจัดการศึกษาของ
โรงเรียนในโครงการพิเศษ การจัดการเรียนรู้ตามจุดเน้น/นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ สพฐ. และ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา โดยนิเทศครูทุกคนในทุกหอ้ งเรยี น ๑๐๐ % ด้วยการนิเทศบูรณาการโดย
ใช้พ้ืนที่เป็นฐานเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ของโรงเรียนในศูนย์ประสานงานสถานศึกษาดงเจรญิ
0๑ จานวน 5 โรงเรียน ประกอบด้วย โรงเรียนวังก้านเหลือง โรงเรียนวัดใหม่ดงเจริญ โรงเรียนสานัก
ขุนเณร(หลวงพอ่ เขยี นอุทศิ ) โรงเรยี นบา้ นวงั กะทะไปเรียนรวมกับโรงเรียนวัดวังเรือน โรงเรียนวดั คลอง
ตนั (หลวงพ่อสรุ นิ ทร์อปุ ถัมภ์) และโรงเรียนวัดวังเรือน แบ่งออกเป็นผอู้ านวยการโรงเรียน จานวน 4 คน
และครผู สู้ อน จานวน 53 คน นกั เรยี น จานวน 960 คน จาแนกตามโรงเรียน ดังนี้
๓
๑) โรงเรียนสานกั ขุนเณร(หลวงพ่อเขียนอทุ ิศ) ผู้อานวยการโรงเรียน จานวน ๑ คน
ครูผู้สอน จานวน 14 คน นกั เรียน จานวน 30๕ คน
2) โรงเรยี นวดั คลองตนั (หลวงพอ่ สรุ ินทร์อุปถัมภ์) ครผู ้สู อน จานวน 2 คน นักเรียน
จานวน 22 คน
3) โรงเรียนวัดวงั เรือน ผอู้ านวยการโรงเรยี น จานวน ๑ คน ครูผ้สู อน จานวน 9 คน
นักเรียน จานวน ๑85 คน
4) โรงเรยี นวังกา้ นเหลือง ผ้อู านวยการโรงเรยี น จานวน ๑ คน ครผู ู้สอน จานวน ๑5 คน
นกั เรียน จานวน 319 คน
5) โรงเรียนวัดใหมด่ งเจริญ ผอู้ านวยการโรงเรยี น จานวน ๑ คน ครูผู้สอน จานวน ๑3 คน
นักเรียน จานวน 129 คน
ภำพควำมสำเร็จ
๑. มีแนวทางการขบั เคลื่อนการปฏบิ ตั ิการนเิ ทศสู่โรงเรียนของศึกษานิเทศกเ์ ป็นรายบุคคล
๒. มีแผนการนิเทศของศกึ ษานิเทศก์เปน็ รายบุคคล
๓. มีการนิเทศโรงเรียนทุกโรงเรยี นในศนู ยป์ ระสานงานสถานศกึ ษาดงเจรญิ ๐๑
๔. มกี ารสรุปและรายงานผลการนเิ ทศ
แผนกำรดำเนนิ กำร
ขั้นที่ ๑ กำรศึกษำสภำพปัจจบุ ันปญั หำและควำมตอ้ งกำร
การศึกษาสภาพปจั จบุ ันปญั หาและความต้องการ เป็นการกาหนดปัญหาและ
ความตอ้ งการในแก้ปัญหาหรือพัฒนา ดงั น้ี
๑.๑ การจัดทาข้อมูลสารสนเทศพืน้ ฐานของโรงเรยี นในศนู ยป์ ระสานงานสถานศกึ ษา
ดงเจรญิ ๐๑ เพ่อื เป็นข้อมลู ในการพจิ ารณาวางแผนการนิเทศ
๑.๒ การแลกเปล่ยี นระดมความคดิ วเิ คราะหเ์ พ่ือหาสภาพปัญหาท่ีเกดิ ขึ้นและ
ความต้องการในการพัฒนาตามบริบทของโรงเรยี น ในศูนยป์ ระสานงานสถานศึกษาดงเจริญ ๐๑
๑.๓ การจัดลาดับปัญหาและเลือกปัญหาท่เี ป็นความจาเปน็ หรือตอ้ งการในลาดบั
เรง่ ด่วนหรือลาดบั ที่เหน็ ว่าสาคญั ท่สี ดุ
๑.๔ การสร้างการรับรูร้ ะหว่างผนู้ ิเทศและผรู้ ับการนิเทศดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ เชน่
การประชุม การสัมมนา ฯลฯ เพ่ือสรา้ งวสิ ยั ทัศนห์ รอื สร้างเปา้ หมายร่วมกนั ในการดาเนินงาน
๔
ข้ันท่ี ๒ กำรวำงแผนกำรนิเทศ
การวางแผนการนิเทศ เป็นการนาปญั หาและความตอ้ งการ กาหนดรายละเอยี ด
ของกิจกรรมในการจัดทาแผนนเิ ทศ ดงั น้ี
๒.๑ กาหนดแนวทาง/วธิ ีการการพัฒนาทหี่ ลากหลายตามปัญหาท่เี กดิ ขน้ึ ตาม
ความตอ้ งการ และจาเปน็ อย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง
๒.๒ เลอื กแนวทาง/วิธีการในการพัฒนาโดยการมสี ่วนรว่ มของทกุ ฝ่ายทเ่ี กย่ี วข้อง
๒.๓ วางแผนการดาเนินงานพัฒนา
๑) การประชมุ เตรยี มการนเิ ทศ เพื่อสร้างความรคู้ วามเข้าใจรว่ มกัน
๒) กาหนดประเด็นการนิเทศ เปน็ การกาหนดเน้ือหาที่จะนเิ ทศ
๓) กาหนดระยะเวลาในการนิเทศ โดยกาหนดระยะเวลาในการนเิ ทศ
ท่เี หมาะสมกบั การแก้ปัญหาและการพัฒนา
๔) กาหนดวธิ ีการนเิ ทศและกิจกรรมการนเิ ทศทเ่ี หมาะสมตามสภาพปญั หา
และความต้องการ เช่น การประชมุ สัมมนา การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ การสงั เกตช้นั เรียน การสาธิต
การบนั ทกึ วิดีโอ และการถ่ายภาพ การสมั ภาษณ์ การ Coaching & Mentoring ฯลฯ โดยเนน้ การใช้
ICT ในรปู แบบต่าง ๆ และการนเิ ทศในรูปแบบออนไลน์ เช่น การใช้ Line Application การใช้ Clip
Video การ Conference การใช้ Video Line Youtube Facebook Live ZOOM Cloud Meeting
VooV Meeting TeamLink เปน็ ตน้
๒.๔ จดั ทาแผนนเิ ทศรายบุคคล ประกอบด้วย หลักการและเหตุผล วตั ถปุ ระสงค์
เปา้ หมาย แผนการดาเนนิ การ กิจกรรมการนเิ ทศ ปฏิทินการปฏิบัติงาน ทรัพยากรทีต่ ้องการ เคร่ืองมอื
นเิ ทศ และผลที่คาดวา่ จะได้รับ
ขั้นท่ี ๓ กำรสร้ำงส่ือและเคร่ืองมอื นเิ ทศ
ส่ือและเครือ่ งมอื นิเทศ สาหรบั นามาใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในการนิเทศ ติดตาม
ใช้เครอื่ งมือนเิ ทศทีส่ รา้ งโดยกล่มุ งานนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลระบบบริหารและการจัดการศึกษา
ซ่ึงเป็นเคร่ืองมือทม่ี ีการใชง้ านในรูปแบบของ google from ผ่านระบบอนิ เทอรเ์ นต ดงั น้ี
๑. แบบนเิ ทศการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรยี นท่ี 2/2564
๒. แบบนิเทศการเตรยี มความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนที่ ๑/2565
๓. แบบนิเทศการจดั การเรียนรู้เชงิ รุก (Active Learning)
๔. แบบนิเทศการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
๕. แบบนิเทศการจดั การเรยี นรู้เพ่อื เพม่ิ ทกั ษะการคดิ แบบมีเหตผุ ลและเป็นขนั้ ตอน
(Coding)
๖. แบบนเิ ทศการยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนตามรปู แบบ 6 A to S Model
๗. แบบนิเทศการดาเนินงานการนิเทศภายในโรงเรยี น
๘. แบบนิเทศการดาเนนิ งานโครงการตามนโยบาย สพฐ. ๕
๙. แบบนเิ ทศการดาเนินงานโครงการตามนโยบาย สพป.พิจติ ร เขต ๒
๑๐. แบบนิเทศการนาหลกั สตู รสถานศกึ ษาลงสกู่ ารจัดการเรียนรู้
๑๑. แบบนเิ ทศการอา่ นออกเขยี นได้ คดิ เลขเป็น
๑๒. แบบนเิ ทศการสง่ เสริมการเรียนรูเ้ พอื่ ยกระดบั การประเมินสมรรถนะนักเรียน
มาตรฐานสากล (PISA)
๑๓. แบบนเิ ทศการจดั การศึกษาโรงเรยี นมาตรฐานสากล
๑๔. แบบนิเทศการจดั การเรยี นรู้การศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง (IS)
๑๕. แบบนิเทศงานโครงการตามนโยบายสพฐ. และสพป.พิจติ ร เขต ๒
ขัน้ ท่ี ๔ กำรปฏิบัติกำรนเิ ทศ
การปฏิบัติการนเิ ทศ ดาเนินการนเิ ทศตามวธิ กี ารการนิเทศและกจิ กรรมการนเิ ทศ
ที่กาหนด ดงั นี้
๔.๑ ประชมุ เตรยี มการก่อนการนิเทศ เพ่ือสร้างความเขา้ ใจของผู้นิเทศ ให้การนเิ ทศ
เปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ
๔.๒ นเิ ทศตามขัน้ ตอน ระยะเวลา และใชเ้ คร่อื งมือตามที่กาหนด
๔.๓ การสะทอ้ นผลการนิเทศ
๔.๔ ปรับปรุงและพัฒนาการดาเนินงาน
ขัน้ ท่ี ๕ กำรประเมินผลและรำยงำนผล
การประเมินผลและรายงานผล ดาเนินการ ดังนี้
๕.๑ ประเมนิ ความก้าวหนา้ ของการดาเนินงาน เช่น การดาเนินงานของผู้รับ
การนิเทศ เพื่อนาผลไปปรบั ปรงุ แนวทางการดาเนินงาน
๕.๒ ประเมินผลการนิเทศเมอ่ื เสร็จสิ้นการปฏิบัตกิ ารนิเทศตามระยะเวลาทตี่ อ้ งการ
ในการนาผลไปใชใ้ นการพฒั นา หรอื ในแตล่ ะปกี ารศกึ ษา
๕.๓ รายงานผลการนเิ ทศตอ่ ผู้เกีย่ วขอ้ ง
๕.๔ นาผลการนเิ ทศทีเ่ ปน็ ปญั หา อปุ สรรคและข้อเสนอแนะไปพัฒนาการนิเทศ
ในครง้ั ต่อไป หรอื ในปีการศึกษาต่อไป
๖
กจิ กรรมกำรนิเทศ
กิจกรรมการนิเทศอย่างหลากหลายทั้งในรูปแบบ Face to Face และรูปแบบ Online
ตามบริบทของงานและโรงเรยี น ดังนี้
๑. การประชุม สร้างความเข้าใจในการดาเนนิ งาน
๒. การใหค้ าปรึกษา แนะนา ชแ้ี นะ ช่วยเหลอื แบบ Coaching & Metoring
Lesson Study
๓. การเยย่ี มนเิ ทศช้ันเรยี น เป็นเทคนคิ การนเิ ทศเพ่อื ชว่ ยครปู รบั ปรงุ การสอน
ใหด้ ขี น้ึ มีขั้นตอนทีจ่ ะต้องปฏิบัติร่วมกันของผใู้ ห้และผู้รบั การนเิ ทศบนพืน้ ฐานวตั ถุประสงคร์ ่วมกัน
๔. การสังเกตชัน้ เรยี น เปน็ เทคนคิ การนเิ ทศเพื่อช่วยครปู รับปรงุ การสอนใหด้ ขี ้นึ
มีข้ันตอนทจี่ ะต้องปฏบิ ัติรว่ มกันของผูใ้ ห้และผรู้ ับการนเิ ทศบนพนื้ วตั ถปุ ระสงคร์ ่วมกัน
๕. การนเิ ทศสอนงาน (Coaching) การพฒั นาสถานศึกษาใหเ้ ปน็ องคก์ รแห่งการ
เรียนรู้ (Learning Organization) บุคลากรในสถานศึกษาต้องมีการเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา และเรียนรู้
อย่างต่อเนื่อง ซึ่งการนิเทศ สอนงาน เป็นเทคนิคหนึ่งที่สาคัญที่จะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับครู
อันจะเป็นตัวจักรสาคัญท่ีจะนาไปสู่ความสาเร็จ โดยมุ่งเน้นให้ครูมีความสามารถ มีผลการปฏิบัติงาน
ท่ีดขี นึ้ และสถานศกึ ษาที่มคี วามพร้อมที่จะรบั การเปลยี่ นแปลง
๖. การนเิ ทศแบบระบบพเี่ ลี้ยงและการให้คาปรกึ ษา (Mentoring) หมายถึง
การนิเทศที่มีพ่ีเลี้ยงท่ีเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถเป็นที่ยอมรับท่ีสามารถให้คาปรึกษาและแนะนา
ชว่ ยเหลอื ครู ให้พัฒนา ศักยภาพสูงขึ้น เพอ่ื สามารถจัดกจิ กรรมการเรยี นรไู้ ด้อย่างมีคณุ ภาพ
๗. การนเิ ทศด้วย ICT เปน็ การนิเทศ โดยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการส่ือสารท่ีหลากหลาย เพ่ือส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามบริบท
ของสถานศึกษา ในรูปแบบต่าง ๆ และการนิเทศในรูปแบบออนไลน์ เช่น การใช้ Line Application
การใช้ Clip Video การ Conference การใช้ Video Line Youtube Facebook Live ZOOM Cloud
Meeting VooV Meeting TeamLink เป็นตน้
๘. การนเิ ทศแบบ PLC เป็นการรวมตวั รวมใจ รวมพลงั รว่ มมือกันของครู
ผ้บู รหิ าร และผทู้ ่ีมสี ่วนเก่ียวข้องในโรงเรยี น นาส่งิ ที่เรียนรูไ้ ปประยกุ ต์ใช้อย่างสรา้ งสรรคร์ ว่ มกนั
การรวมตวั ในรูปแบบนี้เป็นเหมอื น แรงผลักดนั โดยอาศยั ความตอ้ งการและความสนใจของ สมาชิก
ใน PLC เพื่อการเรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพสู่มาตรฐานการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นหลักเพื่อพัฒนา
การเรยี นร้ขู องผู้เรยี นเป็นสาคญั
๗
ปฏิทินกำรปฏบิ ตั ิงำน
ระยะเวลาดาเนินงานในปงี บประมาณ ๒๕๖๕ ระหว่างวันท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๔ –
๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๕ ได้กาหนดปฏทิ ินการปฏบิ ัติงาน ดังน้ี
ที่ กิจกรรม ระยะเวลำ ผปู้ ฏิบัติ
๑ การศกึ ษาสภาพปัจจุบนั ปัญหา ตุลาคม ๒๕๖๔ นรศิ รา แสงจันทร์
และความต้องการ
๒ การวางแผนการนเิ ทศ ตลุ าคม ๒๕๖๔ นริศรา แสงจันทร์
๓ การสร้างสอ่ื และเคร่ืองมือนิเทศ ตุลาคม ๒๕๖๔ นริศรา แสงจนั ทร์
นวตั กรรมการนเิ ทศ
๕ การปฏิบตั กิ ารนเิ ทศ ระยะที่ ๑ นรศิ รา แสงจันทร์
๑ พ.ย. ๖๔ – ๓๑ มี.ค. ๖๕
ระยะที่ ๒
๑๖ พ.ค. – ๒๔ ก.ย. ๖๕
๖ การประเมินผลและรายงานผล กนั ยายน ๒๕๖๕ นรศิ รา แสงจนั ทร์
ปฏิทนิ กำรนิเทศ
ระยะเวลาดาเนนิ งานปฏิบตั ิการนิเทศในปงี บประมาณ ๒๕๖๕ ระยะที่ ๑ ระหว่างวันที่
๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ – ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๕ ซง่ึ ได้กาหนดปฏทิ นิ การนิเทศ ดังน้ี
ประเดน็ กำรนเิ ทศ
๑. การเตรียมความพร้อมกอ่ นเปิดภาคเรียนที่ 2/256๓
๒. การนิเทศ ติดตามการจดั การเรียนรู้ ได้แก่ การจัดการเรียนรู้เชงิ รกุ (Active
Learning) การจดั การเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนรู้พฒั นาการจดั การเรยี นรู้เพื่อเพิ่ม
ทกั ษะการคิดแบบมีเหตผุ ลและเปน็ ข้นั ตอน(Coding) การจัดการเรียนรู้พหปุ ญั ญา
๓. การยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนตามรปู แบบ 6 A to S Model
๔. การนเิ ทศภายในโรงเรียน
๕. การนเิ ทศการอา่ นออกเขียนได้ คิดเลขเป็น
๖. การนเิ ทศงานโครงการตามนโยบาย สพฐ. และสพป.พิจิตร เขต ๒ ได้แก่ โรงเรียน
วถิ พี ทุ ธ โรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. และโรงเรียนสุจริต
ระยะเวลาดาเนินงานปฏบิ ัติการนเิ ทศในปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ระยะที่ ๒ ระหวา่ งวันที่
๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕ – ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๕ ซึ่งได้กาหนดปฏิทนิ การนิเทศ ดงั นี้
๘
ประเด็นกำรนิเทศ
๑. การเตรียมความพรอ้ มกอ่ นเปิดภาคเรยี นท่ี ๑/2565
๒. การนเิ ทศการนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาลงสู่การจัดการเรยี นรู้
๓. การนเิ ทศการอา่ นออกเขยี นได้ คิดเลขเปน็
๔. การนเิ ทศ ติดตามการจดั การเรยี นรู้ ได้แก่ การจดั การเรยี นรเู้ ชิงรุก (Active
Learning) การจดั การเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21 การจัดการเรยี นรู้พัฒนาการจัดการเรยี นรู้
เพอ่ื เพมิ่ ทกั ษะการคดิ แบบมีเหตผุ ลและเปน็ ขน้ั ตอน (Coding) การจดั การเรยี นรูพ้ หปุ ัญญา
๕. การนิเทศการสง่ เสรมิ การเรยี นรู้เพ่ือยกระดบั การประเมนิ สมรรถนะนักเรียน
มาตรฐานสากล (PISA)
๖. การนิเทศการจดั การศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล
๗. การนิเทศการจัดการเรียนรกู้ ารศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง (IS)
8. การนเิ ทศงานโครงการตามนโยบาย สพฐ. และสพป.พจิ ิตร เขต ๒ โรงเรียน
วิถีพุทธ โรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. และโรงเรยี นสจุ รติ
๙
ปฏิทินกำรนเิ ทศ
ระยะเวลาดาเนินงานปฏิบัติการนิเทศในปงี บประมาณ ๒๕๖๕ แบง่ ออกเป็น ๒ ระยะ คือ
ระยะที่ ๑ ระหว่างวันท่ี ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ – ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๕
ระยะที่ ๒ ระหวา่ งวันท่ี ๑๖ พฤษภาคม - ๓๐ กันยายน ๒๕๖๕
ซึ่งกลุม่ งานนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลระบบบริหาร และการจดั การศึกษา
ไดก้ าหนดปฏทิ นิ การนิเทศ ดังนี้
ระยะท่ี ๑ ระหวำ่ งวันท่ี ๑ พฤศจิกำยน ๒๕๖๔ – ๓๑ มีนำคม ๒๕๖๕
ที่ เร่อื งที่นิเทศ ผ้รู ับกำรนิเทศ ผ้นู เิ ทศ
นรศิ รา แสงจนั ทร์
๑ - การเตรียมความพร้อมเปิด โรงเรยี นในศนู ยป์ ระสานงาน
ภาคเรียนที่ 2/2564
ดงเจรญิ 0๑
- การนเิ ทศ ตดิ ตามการจัด
การเรียนรู้ ไดแ้ ก่ การจัดการ 1. โรงเรยี นสานักขุนเณร
เรียนรู้เชิงรกุ (Active Learning) (หลวงพอ่ เขียนอุทิศ)
การจดั การเรียนรู้ในศตวรรษ 2. โรงเรียนวดั คลองตัน
ที่ 21 การจดั การเรยี นรู้เพื่อเพ่ิม (หลวงพอ่ สรุ ินทร์อุปถัมภ)์
ทกั ษะการคิดแบบมีเหตุผลและ 3. โรงเรยี นวดั วังเรือน
เปน็ ขัน้ ตอน(Coding) การจดั 4. โรงเรยี นวังก้านเหลือง
การเรียนรู้พหปุ ัญญา 5. โรงเรียนวดั ใหมด่ งเจริญ
- การยกระดบั ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน
- การนเิ ทศภายในโรงเรยี น
- การนเิ ทศการอา่ นออก
เขียนได้ คดิ เลขเปน็
- โครงการตามนโยบาย สพฐ.
สพป.พิจิตร เขต ๒ โรงเรยี น
วถิ พี ุทธ โรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.
และโรงเรียนสุจริต
๑๐
ระยะที่ ๒ ระหวำ่ งวนั ที่ ๑๖ พฤษภำคม - ๓๐ กนั ยำยน ๒๕๖๕
ท่ี เรื่องทีน่ เิ ทศ ผรู้ ับกำรนิเทศ ผ้นู เิ ทศ
นรศิ รา แสงจันทร์
๑ - การเตรียมความพรอ้ มกอ่ นเปิด โรงเรยี นในศนู ยป์ ระสานงาน
ภาคเรียนที่ ๑/2565
ดงเจรญิ 0๑
- การนิเทศการนาหลกั สูตร
1. โรงเรียนสานกั ขนุ เณร
สถานศกึ ษาลงสู่การจดั การเรียนรู้ (หลวงพอ่ เขียนอุทศิ )
- การนเิ ทศการอา่ นออกเขียนได้ 2. โรงเรยี นวดั คลองตนั
คดิ เลขเปน็
(หลวงพอ่ สุรินทร์อุปถัมภ)์
- การนเิ ทศ ตดิ ตามการจัด
การเรียนรู้ ไดแ้ ก่ การจัดการ 3. โรงเรยี นวัดวังเรอื น
เรียนรู้ เชงิ รกุ (Active 4. โรงเรยี นวงั กา้ นเหลือง
Learning) การจดั การเรียนรู้ 5. โรงเรยี นวัดใหมด่ งเจรญิ
ในศตวรรษที่ 21 การจดั
การเรียนรู้เพ่ือเพ่ิมทักษะการคดิ
แบบมเี หตุผลและเป็นข้ันตอน
(Coding) การจัดการเรียนรู้
พหุปัญญา
- การนิเทศการสง่ เสรมิ การเรยี นรู้
เพอ่ื ยกระดบั การประเมนิ สมรรถนะ
นักเรยี นมาตรฐานสากล(PISA)
- โครงการตามนโยบาย สพฐ.
สพป.พิจติ ร เขต ๒ โรงเรยี น
วิถพี ทุ ธ โรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
และโรงเรยี นสจุ ริต
๑๑
ทรพั ยำกรทต่ี ้องกำร
1. งบประมาณจากโครงการนิเทศบูรณาการโดยใชพ้ ื้นทเ่ี ป็นฐานเพื่อพฒั นาคุณภาพ
การศกึ ษา
2. วัสดอุ ุปกรณใ์ นการดาเนนิ การนเิ ทศ
เคร่ืองมอื นิเทศ
๑. แบบนิเทศการเตรยี มความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรียนที่ 2/256๓
๒. แบบนิเทศการเตรยี มความพร้อมก่อนเปิดภาคเรยี นท่ี ๑/256๔
๓. แบบนเิ ทศการจดั การเรยี นร้เู ชงิ รกุ (Active Learning)
๔. แบบนิเทศการจดั การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21
๕. แบบนเิ ทศการจัดการเรยี นรู้เพื่อเพิ่มทักษะการคิดแบบมเี หตุผลและเป็นข้นั ตอน
(Coding)
6. การจัดการเรียนรู้พหปุ ญั ญา
7. แบบนเิ ทศการยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนตามรูปแบบ 6 A to S Model
8. แบบนิเทศการดาเนินงานการนิเทศภายในโรงเรียน
9. แบบนิเทศการนาหลกั สตู รสถานศกึ ษาลงสูก่ ารจดั การเรียนรู้
๑๐. แบบนเิ ทศการอ่านออกเขยี นได้ คิดเลขเป็น
๑๑. แบบนิเทศการสง่ เสรมิ การเรยี นร้เู พือ่ ยกระดบั การประเมนิ สมรรถนะนักเรียน
มาตรฐานสากล (PISA)
๑๒.แบบนิเทศการจดั การศกึ ษาโรงเรยี นมาตรฐานสากล
๑๓. แบบนิเทศการจัดการเรียนรู้การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS)
๑๔. แบบนิเทศงานโครงการตามนโยบายสพฐ. และสพป.พิจิตร เขต ๒ โรงเรยี นวถิ พี ุทธ
โรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. และโรงเรียนสุจรติ
ผลท่ีคำดวำ่ จะไดร้ บั
1. ศึกษานเิ ทศก์มนี วตั กรรมการนเิ ทศท่เี หมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาในสงั กดั
๒. ผู้อานวยโรงเรยี น และครูผูส้ อนไดร้ บั การนิเทศอย่างท่วั ถึงและต่อเนอ่ื ง ส่งผลใหม้ ีคุณภาพ
ผเู้ รียน และการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
๓. สถานศกึ ษาในสังกัดไดร้ บั การนเิ ทศอย่างท่ัวถงึ และต่อเนอื่ ง ส่งผลใหม้ ีคุณภาพการศึกษา
เปน็ ไปตามจดุ เน้นนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
และสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพจิ ติ ร เขต ๒
ที่ปรึกษำ ผู้จดั ทำ
๑. นายจันทบูรณ์ เขตการ
ผูอ้ านวยการสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา
๒. นายเวียงชยั พิมพ์ศรี ประถมศึกษาพิจิตร เขต ๒
รองผอู้ านวยการสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา
๓. นายทวี หาแก้ว ประถมศกึ ษาพจิ ิตร เขต ๒
ผูอ้ านวยการกลุ่มนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผล
ผจู้ ัดทำ การศึกษาการศกึ ษา
นางสาวนริศรา แสงจันทร์
ศึกษานเิ ทศกช์ านาญการพเิ ศษ